ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ (พ.ร.ก. ช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ระยะที่สอง) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 2
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ (พ.ร.ก. ช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ระยะที่สอง) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 2
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ (พ.ร.ก. ช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ระยะที่สอง) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 2 เพื่อให้เป็นไปตามความในมาตรา 6 แห่งพระราชกาหนดให้อานาจกระทรวงการคลังกู้เงิน และจัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ระยะที่สอง พ.ศ. 2545 (พ.ร.ก. ช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ระยะที่สอง) กระทรวงการคลังขอประกาศ ให้ทราบ โดยทั่วกันว่า กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ตามมติเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 7 แห่ง พ.ร.ก. ช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ระยะที่สอง และมาตรา 24/1 แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ได้ดาเนินการกู้เงินเพื่อปรับ โครงสร้างหนี้ที่ออกภายใต้ พ.ร.ก. ช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ระยะที่สอง ที่ครบกาหนด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ด้วยการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ (พ.ร.ก. ช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ระยะที่สอง) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 2 โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้ 1 . กระทรวงการคลังได้ดำเนินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ (พ.ร. ก. ช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ระยะที่สอง) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 2 วงเงิน 30,000 ล้านบาท (สามหมื่นล้านบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.1 พันธบัตรรัฐบาลที่ออกจาหน่ายเป็นพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 2 ( LB 266 A ) ที่ออกจำหน่ายเพิ่มเติม ( Reopened Bond ) ส่งผลให้ยอดคงค้าง ของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้ ณ วันที่ 17 มีนาคม 2566 มีจานวนทั้งสิ้น 170,000 ล้านบาท (หนึ่งแสนเจ็ดหมื่นล้านบาทถ้วน) 1.2 พันธบัตรรัฐบาลมีอายุคงเหลือ 3.25 ปี โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ 17 มิถุนายน 2569 และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกาหนด หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดธนาคาร แห่งประเทศไทย ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป 1.3 พันธบัตรรัฐบาลมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2.350 ต่อปี ชำระปีละ 2 ครั้ง ในวั นที่ 17 มิถุนายน และ 17 ธันวาคม ของทุกปี สาหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะจ่าย ณ วันไถ่ถอน พันธบัตรรัฐบาล หากวันครบกาหนดจ่ายดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เลื่อน ไปจ่ายในวันทาการถัดไป โดยไม่นับวันหยุดตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยดังกล่าวเข้ารวม เพื่อคานวณดอกเบี้ยในงวดที่ถึงกาหนดจ่ายดอกเบี้ย ยกเว้นการจ่ายดอกเบี้ยงวดสุดท้ายให้คานวณดอกเบี้ย จนถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลที่เลื่อนออกไป ้ หนา 6 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 98 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 เมษายน 2566
2 . วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล มีดังนี้ 2.1 การจาหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ( Competitive Bidding : CB ) ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ Contractual Savings Funds และสถาบันการเงินอื่น 2.2 การจาหน่ายโดยวิธีการเสนอซื้อ ( Non - Competitive Bidding : NCB ) ในวงเงิน ไม่เกินร้อยละ 20 ของวงเงินจาหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ซึ่งไม่มีผู้ที่ได้รับ การจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล 3 . การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ 2 ได้ดาเนินการเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2566 จานวน 30,000 ล้านบาท (สามห มื่นล้านบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดผลการจาหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ดังนี้ วันที่จ ําหน่ําย วันที่ชําระเงิน วิธีกําร จ ําหน่ําย วงเงิน จ ําหน่ําย (ล้ํานบําท) จ ํานวนเงินที่ได้รับ (บําท) ส่วนเพิ่ม/(ส่วนลด) (บําท) ดอกเบี้ยจ่ําย รับล่วงหน้ํา (บําท) อัตรํา ผลตอบแทน เฉลี่ย (ร้อยละต่อปี) 15 มีนาคม 2566 17 มีนาคม 2566 CB 30,000 30,578,832,541 . 85 404,996,941 . 85 173,835,600 . 00 1 . 9204 NCB - - - - รวม 30,000 30,578,832,541 . 85 404,996,941 . 85 173,835,600 . 00 4 . กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจาหน่าย นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาล โดยค่าธรรมเนียมในการจัดการพันธบัตรรัฐบาลธนาคาร แห่งประเทศไทยยกเว้นให้ ประกาศ ณ วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 256 6 บุญชัย จรัสแสงสมบูรณ์ รองปลัดกระทรวงการคลัง หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ้ หนา 7 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 98 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 เมษายน 2566