Tue Apr 25 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6875 (พ.ศ. 2565) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม จุลชีววิทยาของโซ่อาหาร - การตรวจสอบความใช้ได้วิธีทดสอบ - เล่ม 5 แนวทางสำหรับการตรวจสอบความใช้ได้แบบแฟคทอเรียลระหว่างห้องปฏิบัติการสำหรับวิธีซึ่งไม่มีกรรมสิทธิ์


ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6875 (พ.ศ. 2565) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม จุลชีววิทยาของโซ่อาหาร - การตรวจสอบความใช้ได้วิธีทดสอบ - เล่ม 5 แนวทางสำหรับการตรวจสอบความใช้ได้แบบแฟคทอเรียลระหว่างห้องปฏิบัติการสำหรับวิธีซึ่งไม่มีกรรมสิทธิ์

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 687 5 (พ.ศ. 2565) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม จุลชีววิทยาของโซ่อาหาร - การตรวจสอบความใช้ได้วิธีทดสอบ - เล่ม 5 แนวทางสาหรับการตรวจสอบความใช้ได้แบบแฟคทอเรียลระหว่างห้องปฏิบัติการสำหรับวิธีซึ่งไม่มีกรรมสิทธิ์ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราช บัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2558 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม จุลชีววิทยาของโซ่อาหาร - การตรวจสอบความใช้ได้วิธีทดสอบ - เล่ม 5 แนวทางสำหรับการตรวจสอบ ความใช้ได้แบบแฟคทอเรียลระหว่างห้องปฏิบัติการสำหรับวิธีซึ่งไม่มีกรรมสิทธิ์ มาตรฐานเลขที่ มอก. 2164 เล่ม 5 - 2565 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 2 6 ธันวาคม พ.ศ. 25 6 5 สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ้ หนา 5 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 96 ง ราชกิจจานุเบกษา 25 เมษายน 2566

ขอมูลมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม แนบทายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6875 (พ.ศ. 2565) ชื่อมาตรฐาน : จุลชีววิทยาของโซอาหาร - การตรวจสอบความใชได้วิธีทดสอบ - เลม 5 แนวทางสําหรับการตรวจสอบความใชได้แบบแฟคทอเรียลระหวาง หองปฏิบัติการสําหรับวิธีซึ่งไม่มีกรรมสิทธิ์ MICROBIOLOGY OF THE FOOD CHAIN - METHOD VALIDATION - PART 5: PROTOCOL FOR FACTORIAL INTERLABORATORY VALIDATION FOR NON-PROPRIETARY METHODS มาตรฐานเลขที่ : มอก. 2164 เลม 5-2565 ผู้จัดทํา : สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กรรมการวิชาการ : คณะกรรมการวิชาการรายสาขา คณะที่ 35 ผลิตภัณฑอาหาร ขอบขาย : มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ - กําหนดขึ้นโดยรับ ISO 16140-5:2020(E) Microbiology of the food chain — Method validation — Part 5: Protocol for factorial interlaboratory validation for non-proprietary methods มาใช โดยวิธีพิมพซ้ํา (reprinting) ในระดับเหมือนกันทุกประการ (identical) โดยใช ISO ฉบับภาษาอังกฤษเป็นหลัก - กําหนดหลักการทั่วไปและแนวทางเทคนิค [บนพื้นฐานการศึกษาแบบออรโธ โกนอล แฟคทอเรียล (orthogonal factorial studies)] สําหรับการ ตรวจสอบความใชได้ของวิธีซึ่งไม่มี กรรมสิทธิ์ (non-proprietary) สําหรับ จุลชีววิทยาของโซอาหาร - สามารถประยุกตใชกับการตรวจสอบความใชได้สําหรับวิธีการวิเคราะห (การตรวจหาหรือการหาปริมาณ) ของจุลินทรีย ใน - ผลิตภัณฑที่ใชเป็นอาหารมนุษย - ผลิตภัณฑที่ใชเป็นอาหารสัตว - ตัวอยางสิ่งแวดลอมในบริเวณการผลิตและการปฏิบัติต่ออาหารมนุษยและ อาหารสัตว - ตัวอยางจากขั้ นตอนการผลิตขั้นตน - สามารถประยุกตใชกับแบคทีเรียและรา บางหัวขอของมาตรฐานนี้สามารถ ประยุกตใชกับจุลินทรียอื่นหรือสารเมตาบอลิซึมของจุลินทรียในบางกรณี - กําหนดแนวทางสําหรับการตรวจสอบความใชได้ของวิธีการอางอิงสําหรับ ทั้งวิธี การหาเชิงคุณภาพและวิธี การหาเชิงปริมาณ มาตรฐานนี้ยังมีแนวทาง สําหรับการตรวจสอบความใชได้ ของวิธีการหาเชิงปริมาณที่ไม่มีวิธีการ

อางอิง วิธีการหาเชิงคุณภาพไม่สามารถตรวจสอบความใชได้หากไม่มีวิธีการ อางอิงตามมาตรฐานนี้ หมายเหตุ ISO 16140-2 กําหนดหลักการทั่วไปและแนวทางเทคนิคสําหรับ การตรวจสอบความใชได้ของวิธีทางเลือกซึ่งสวนใหญมีกรรมสิทธิ์ วิธี การเทียบกับวิธีการอางอิง - กําหนดแนวทางสําหรับการตรวจสอบเฉพาะวิธีการอางอิงที่มีการระบุไว ครบถวนโดยคํานึงถึงพารามิเตอรที่เกี่ยวของทั้งหมด (รวมถึงความคลาด เคลื่อนของอุณหภูมิและขอกําหนดเฉพาะของอาหารเลี้ยงเชื้อ) และได้รับ การปรับให้เหมาะสมที่สุด - วิธี ทดสอบที่ได้รับการตรวจสอบตามมาตรฐานนี้สามารถใชกับ หองปฏิบัติการที่ เจาะจง เนื้อหาประกอบด้วย : รายละเอียดให้เป็นไปตาม ISO 16140-5:2020(E) จํานวนหน้า : 50 หน้า ISBN : 978-616-595-154-8 ICS : 07.100.30 สถานที่ จัดเก็บ : หองสมุดสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 02 430 6834 ต่อ 2440-2441 สถานที่จําหนาย : สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพมหานคร 10400 https://www.tisi.go.th