Mon Apr 24 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ ขส. 5/2566 เรื่อง โครงสร้างการจัดองค์กร อำนาจหน้าที่ วิธีดำเนินงาน และสถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์


ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ ขส. 5/2566 เรื่อง โครงสร้างการจัดองค์กร อำนาจหน้าที่ วิธีดำเนินงาน และสถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ ขส. 5/2566 เรื่อง โครงสร้างการจัดองค์กร อำนาจหน้าที่ วิธีดาเนินงาน และสถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ตามที่คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“ คณะกรรมการ ก.ล.ต. ”) ได้อนุมัติให้ปรับปรุงโครงสร้างองค์กรเพื่อรองรับภารกิจต่าง ๆ ของสานักงานคณะกรรมการกากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“ สานักงาน ”) ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 7 (1) (2) และ (3) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ที่จะให้ประชาชนได้มีโอกาสรับรู้ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับดาเนินงานต่าง ๆ ของหน่วยงานรัฐ จึงสมควรประกาศโครงสร้างการจัดองค์กร อานาจหน้าที่ วิธีดา เนินงาน และสถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของสานักงานให้ทราบทั่วกัน ดังนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกประกาศสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ ขส. 1/2563 เรื่อง โครงสร้างการจัดองค์กร อานาจหน้าที่ วิธีดาเนินงานและสถานที่ติดต่อ เพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ลงวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2563 ข้อ 2 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 บัญญัติให้จัดตั้ง สานักงาน และกำหนดให้มีคณะกรรมการ ก.ล.ต. และต่อมาพระราชบัญญัติหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มีการแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 กำหนดให้มีคณะกรรมการกำกับตลาดทุนเพิ่มเติม ข้อ 3 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกอบด้วยประธานกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง โดยคาแนะนาของรั ฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังแต่งตั้ง โดยผ่านการคัดเลือกตามที่กาหนดในมาตรา 31/7 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ . 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562 จานวนไม่น้อยกว่า 4 คนแต่ไม่เกิน 6 คนเป็นกรรมการ โดยในจานวนนี้อย่างน้อยต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านกฎหมาย ด้านบัญชี และด้านการเงิน ด้านละ 1 คน และให้เ ลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการ ก.ล.ต. มีอำนาจหน้าที่วางนโยบายการส่งเสริมและพัฒนา ตลอดจนกำกับดูแล ในเรื่องหลักทรัพย์ ธุรกิจหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (“ ตลาดหลักทรัพย์ ”) ศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง องค์กรที่ เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย์ การออก ้ หนา 28 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 94 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 เมษายน 2566

หรือเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน การเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงากิจการ และการป้องกัน การกระทำอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ อำนาจดังกล่าวรวมถึง ( 1 ) ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง หรือข้อกาหนดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ( 2 ) กำหนดค่าธรรมเนียมสำหรับคำขออนุญาต คำขอรับใบอนุญาต ใบอนุญาต หรือ การประกอบกิจการตามที่ได้รับใบอนุญาต ( 3 ) วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของคณะอนุกรรมการ ( 4 ) ออกระเบียบ คาสั่ง และข้อบังคับเกี่ยวกับการพนักงาน ระบบพนักงานสัมพันธ์ การบรรจุ แต่งตั้งถอดถอน และวินัยพนักงานและลูกจ้างของสานักงาน การกาหนดเงินเดือนและเงินอื่น ๆ รวมตลอดถึงการสงเคราะห์และสวัสดิการต่าง ๆ ( 5 ) กาหนดหลักเกณฑ์เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพิจำรณาปัญหาที่อาจเกิดขึ้นอันเนื่องมาจาก การใช้บังคับพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ( 6 ) ปฏิบัติการอื่นใดเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 นอกจากนี้ คณะกรรมการ ก.ล.ต. ยังมีอานาจหน้าที่ ตามพระราชกาหนดนิติบุคคลเฉพาะกิจ เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ พ.ศ. 2540 พระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 และพระราชกาหนดการประกอบธุรกิจ สินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 ดังนี้ อานาจหน้า ที่ตามพระราชกาหนดนิติบุคคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ พ.ศ. 2540 ( 1 ) กำหนดนโยบายเกี่ยวกับการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ( 2 ) กากับดูแลให้นิติบุคคลเฉพาะกิจปฏิบัติตามพระราชกาหนดนิติบุคคลเฉพาะกิจเพื่อการ แปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ พ.ศ. 2540 ( 3 ) กำหนดประเภทของสินทรัพย์ที่อนุญาตให้ทำการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ และประเภทของหลักทรัพย์ที่จะออกเนื่องจากการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ( 4 ) ออกประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชกาหนดนิติบุคคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์ เป็นหลักทรัพย์ พ.ศ. 2540 ( 5 ) กาหนดค่าธรรมเนียมในการดาเนินการต่าง ๆ ตามพระราชกาหนดนิติบุคคลเฉพาะกิจ เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ พ.ศ. 2540 ( 6 ) ปฏิบัติการอื่นใดเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของพระราชกาหนดนิติบุคคลเฉพาะกิจ เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ พ.ศ. 2540 อำนาจหน้ำที่ตามพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 ้ หนา 29 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 94 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 เมษายน 2566

คณะกรรมการ ก.ล.ต. มีอานาจหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาตลอดจน กากับดูแลในเรื่องสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ศูนย์ซื้อขายสัญญาซื้อขาย ล่วงหน้า สานักหักบัญชีสัญญาซื้อขำยล่วงหน้า สมาคมกากับผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า และการป้องกันการกระทาอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า อานาจหน้าที่ ดังกล่าวรวมถึง ( 1 ) ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง หรือข้อกาหนดตามพระราชบัญญัติสัญญา ซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 ( 2 ) กาหนดค่าธรรมเนียมสาหรับการขออนุญาต การขอจดทะเบียน การขอความเห็นชอบ การออกใบอนุญาต การรับจดทะเบียน การให้ความเห็นชอบ หรือการประกอบกิจการตามที่ได้รับ ใบอนุญาตที่ได้จดทะเบียน หรือที่ได้รับความเห็นชอบ ( 3 ) กำหนดขอบเขตและวิธีปฏิบัติในการปฏิบั ติหน้าที่ของอนุกรรมการและเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องตามพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 ( 4 ) กาหนดหลักเกณฑ์เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาปัญหาที่อาจเกิดขึ้นอันเนื่องมาจาก การใช้บังคับพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 อำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 คณะกรรมการ ก.ล.ต. มีอานาจหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนา ตลอดจน กำกับดูแลทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน อำนาจหน้าที่ดังกล่าวรวมถึง ( 1 ) ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง ห รือข้อกาหนดตามพระราชบัญญัติทรัสต์ เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ( 2 ) กำหนดค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาต การอนุญาต หรือการประกอบธุรกิจ ตามพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ( 3 ) กาหนดหลักเกณฑ์เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาปัญหาที่อาจเกิ ดขึ้นอันเนื่องมาจาก การใช้บังคับพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 อำนาจหน้าที่ตามพระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 คณะกรรมการ ก.ล.ต. มีหน้าที่และอำนาจวางนโยบายเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนา ตลอดจนกำกับและควบคุมสินทรัพย์ดิจิทัลและผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลตามที่บัญญัติไว้ใน พระราชกาหนดดังกล่าว เพื่อประโยชน์ในการกากับและควบคุมการออกและเสนอขายโทเคนดิจิทัลและ การประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล หน้าที่และอำนาจดังกล่าวรวมถึง ( 1 ) ออกระเบียบ ข้อบั งคับ ประกาศ คาสั่ง หรือข้อกาหนดเกี่ยวกับการออกและเสนอขาย โทเคนดิจิทัลและการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ้ หนา 30 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 94 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 เมษายน 2566

( 2 ) กาหนดค่าธรรมเนียมสาหรับคาขออนุญาต การอนุญาต คาขอความเห็นชอบ การให้ ความเห็นชอบ การยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัล การยื่นแบบแสด งรายการ ข้อมูลประจำปี การยื่นคำขอต่าง ๆ หรือการประกอบกิจการตามที่ได้รับอนุญาตหรือได้รับความเห็นชอบ ( 3 ) กาหนดหลักเกณฑ์เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาปัญหาที่อาจเกิดขึ้นอันเนื่องมาจาก การใช้บังคับพระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 ( 4 ) ปฏิบั ติการอื่นใดเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของพระราชกาหนดการประกอบธุรกิจ สินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 ข้อ 4 คณะกรรมการกำกับตลาดทุนประกอบด้วยเลขาธิการเป็นประธานกรรมการ รองเลขาธิการซึ่งเลขาธิการมอบหมาย 1 คน ผู้อานวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง และกรรมการ ผู้ ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังแต่งตั้งโดยผ่านการคัดเลือกตามที่กาหนดในมาตรา 31/7 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562 อีกไม่เกิน 4 คน เป็นกรรมการ ทั้งนี้ ผู้ทรงคุณวุฒิอย่างน้อย 2 คน ต้องมีประสบการณ์ในการบริหารกิจการบริ ษัทที่มีหลักทรัพย์จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์หรือบริษัทหลักทรัพย์ ให้เลขาธิการแต่งตั้งพนักงานของสำนักงานคนหนึ่งเป็นเลขานุการคณะกรรมการกำกับตลาดทุน คณะกรรมการกากับตลาดทุนมีอำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติการเพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และกฎหมายอื่น โดยต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการ ก.ล.ต. อำนาจและหน้าที่ดังกล่าวรวมถึง ( 1 ) ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง หรือข้อกาหนดในเรื่องการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ การออกและเสนอขายหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์ ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ สำ นักหักบัญชี นายทะเบียนหลักทรัพย์ สมาคมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย์ และการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ ( 2 ) รายงานผลการดาเนินงานเป็นระยะต่อคณะกรรมการ ก.ล.ต. ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. กาหนด ( 3 ) ปฏิบัติการอื่นใด ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือเพื่อให้เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 นอกจากนี้ ตามพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 คณะกรรมการกากับ ตลาดทุนมีอานาจประกาศกาหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้ผู้ประ กอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าปฏิบัติ เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองลูกค้า การรักษาความมั่นคงของระบบการเงิน หรือการควบคุมความเสี่ยง อันเกิดจากสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ข้อ 5 สำนักงานมีเลขาธิการเป็นผู้รับผิดชอบในการดาเนินกิจการทั้งปวงของสำนักงาน ทั้งนี้ ในการดาเ นินกิจการดังกล่าวเลขาธิการต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการ ก.ล.ต. ้ หนา 31 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 94 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 เมษายน 2566

สานักงานมีอานาจหน้าที่ปฏิบัติการใด ๆ เพื่อให้เป็นไปตามมติของคณะกรรมการ ก.ล.ต. และปฏิบัติงานอื่นตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 พระราชกำหนดนิติบุคคลเฉพาะกิ จเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ พ.ศ. 2540 พระราชบัญญัติ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 พระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 หรือตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง อานาจและหน้าที่ข องสานักงานดังกล่าวรวมถึงกรณีดังนี้ ซึ่งเป็นไปเพื่อประโยชน์ในการดาเนินกิจการ ของสำนักงาน ( 1 ) ถือกรรมสิทธิ์หรือมีสิทธิครอบครองหรือมีทรัพยสิทธิต่าง ๆ สร้าง ซื้อ จัดหา ขาย จาหน่าย เช่า ให้เช่า เช่าซื้อ ให้เช่าซื้อ ยืม ให้ยืม รับจานา รับจานอง แลกเปลี่ยนโอน รับโอน หรือดาเนินการใด ๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินทั้งในและนอกราชอาณาจักร ตลอดจนรับทรัพย์สินที่มีผู้มอบให้ ( 2 ) กู้ยืมเงินหรือให้กู้ยืมเงินและลงทุนหาผลประโยชน์ ( 3 ) กำหนดค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล การจดทะเบียนและการยื่นคำขอต่าง ๆ ( 4 ) รับค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามที่กาหนดในกฎกระทรวงหรือตามที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. และสำนักงานกำหนด โดยที่สานักงานได้รับการแต่งตั้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง แต่งตั้งนายทะเบียนตามพระราชบัญญัติกองทุนสารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ล งวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2543 ให้เป็นนายทะเบียนตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยให้มีผล ตั้งแต่วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา สำนักงานจึงมีอำนาจหน้าที่ในการกำกับและควบคุม โดยทั่วไปเพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติดังกล่าวด้วย ข้อ 6 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป โครงสร้างการดาเนินงานของ สำนักงานโดยอนุมัติของคณะกรรมการ ก.ล.ต. แบ่งออกเป็นส่วนงานต่าง ๆ ดังนี้ ( 1 ) ฝ่ายกฎหมายผู้ประกอบธุรกิจ ( 2 ) ฝ่ายกฎหมายระดมทุน ( 3 ) ฝ่ายกฎหมายองค์กรและคดีปกครอง ( 4 ) ฝ่ายการเงินและบริหารทั่วไป ( 5 ) ฝ่ายกำกับการสอบบัญชี ( 6 ) ฝ่ายกำกับตลาด ( 7 ) ฝ่ายกำกับธุรกิจจัดการลงทุน ( 8 ) ฝ่ายกำกับธุรกิจตัวกลาง ( 9 ) ฝ่ายกำกับผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ( 10 ) ฝ่ายกำกับรายงานทางการเงิน ( 11 ) ฝ่ายกำกับและตรวจสอบความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสำรสนเทศ ้ หนา 32 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 94 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 เมษายน 2566

( 12 ) ฝ่ายขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง ( 13 ) ฝ่ายคดี ( 14 ) ฝ่ายความเสี่ยงตลาดทุนและองค์กร ( 15 ) ฝ่ายงานเลขาธิการ ( 16 ) ฝ่ายจดทะเบียนตราสารทุน 1 ( 17 ) ฝ่ายจดทะเบียนตราสารทุน 2 ( 18 ) ฝ่ายจัดการและวิเคราะห์ข้อมูล ( 19 ) ฝ่ายตรวจสอบตลาดทุน 1 ( 20 ) ฝ่ายตรวจสอบตลาด ทุน 2 ( 21 ) ฝ่ายตรวจสอบภายใน ( 22 ) ฝ่ายตรวจสอบสินทรัพย์ดิจิทัล ( 23 ) ฝ่ายตราสารหนี้ ( 24 ) ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ( 25 ) ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ( 26 ) ฝ่ายนโยบายผู้ประกอบธุรกิจ ( 27 ) ฝ่ายนโยบายระดมทุน ( 28 ) ฝ่ายนโยบายสินทรัพย์ดิจิทัลและนวัตกรรมทางการเงิน ( 29 ) ฝ่ายพัฒนาและส่งเสริมความรู้ตลาดทุน ( 30 ) ฝ่ายยุทธศาสตร์และการต่างประเทศ ( 31 ) ฝ่ายวิจัยและขับเคลื่อนข้อมูล ( 32 ) ฝ่ายส่งเสริมความยั่งยืน ( 33 ) ฝ่ายสื่อสารองค์กร ทั้งนี้ รายละเอียดหน้าที่ของแต่ละส่วนงานเป็นไปตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 7 สถานที่ติดต่อเพื่อขอ รับข้อมูลข่าวสารของสานักงาน รวมถึงการติดต่อสานักงาน คณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือคณะกรรมการกำกับตลาดทุน สามารถกระทำผ่านสำนักงานได้ตามสถานที่ ติดต่อดังนี้ ( 1 ) อาคารสำนักงาน เลขที่ 333/3 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ 0 - 2033 - 9999 โทรสาร 0 - 2033 - 9660 ( 2 ) ศูนย์บริการประชาชน ก.ล.ต. โทรศัพท์ 1207 ( 3 ) เว็บไซต์ www . sec . or . th ( 4 ) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ขอรับข้อมูลข่าวสาร info@sec . or . th ้ หนา 33 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 94 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 เมษายน 2566

สาหรับช่องทางในการยื่นคาขอหรือติดต่อสานักงานหรือเลขาธิการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ตามพระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2565 ให้เป็นไปตามประกาศ ว่าด้วยช่องทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับติดต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อ 8 วันและเวลาทางานปกติของสานักงาน คือ วันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา 8.30 นาฬิกา ถึง 16.30 นาฬิกา เว้นแต่เป็นวันหยุดทำการประจำปี วันหยุดทำการกรณีพิเศษ หรือกรณีที่ สำนักงานกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น วันหยุดประจำสัปดาห์ คือ วันเสาร์และวันอาทิตย์ วันห ยุดทาการประจาปี และวันหยุดทาการกรณีพิเศษ ให้เป็นไปตามประกาศว่าด้วยวันหยุดทาการ ของบริษัทหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าประจำปี ประกาศ ณ วันที่ 4 เ ม ษายน พ.ศ. 25 6 6 รื่นวดี สุวรรณมงคล เลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ้ หนา 34 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 94 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 เมษายน 2566

เอกสารแนบท้าย ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ ขส. 5 / 2566 เรื่อง โครงสร้างการจัดองค์กร อำนาจหน้าที่ วิธีดาเนินงาน และสถานที่ติดต่อ เพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โครงสร้างการดำเนินงานของสำนักงานโดยอนุมัติของคณะกรรมการ ก.ล.ต. ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป ประกอบด้วย ส่วนงานต่าง ๆ โดยมี รายละเอียดหน้าที่ของ แต่ละ ส่วนงาน ดังนี้ 1. ฝ่าย กฎหมายผู้ประกอบธุรกิจ มีหน้าที่ ( 1 ) ยกร่างและปรับปรุงกฎหมายและ ประกาศ ในเรื่อง ดังนี้ (ก) การกากับดูแลตัวกลางในการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจสัญญาซื้อขาย ล่วงหน้า และธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ( intermediary ) (ข) ทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน (ค) การเสนอขายหลักทรัพย์ผ่านผู้ให้บริการระบบคราวด์ฟันดิง และการเสนอขาย โทเคนดิจิทัล (ง) ผู้ประกอบวิชาชีพและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ (ก) (ข) และ (ค) (จ) การกระทาอันไม่เป็นธรรมในการซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าและสินทรัพย์ ดิจิทัล ( 2 ) ให้คาปรึกษาและความเห็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับกฎหมายและ ประกาศ ที่เกี่ยวข้องตาม ( 1 ) ( 3 ) ประสานงานและติดตามความคืบหน้าร่างกฎหมายและ ประกาศ ที่เกี่ยวข้องตาม ( 1 ) รวมทั้งเป็นผู้ประสานงานในการชี้แจง ศึกษารวบรวมข้อมูล และปรับปรุงร่างกฎหมายดังกล่าวในชั้นการพิจารณา ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการตรากฎหมาย ( 4 ) ศึกษา พัฒนา และแก้ไขกฎหมายและ ประกาศ ที่เกี่ยวข้องตาม ( 1 ) ( 5 ) ให้ความเห็นหรือให้การสนับสนุนในการพิจารณาร่างกฎหมายที่หน่วยงานภายนอก ขอความเห็น ( 6 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 2. ฝ่ายกฎหมายระดมทุน มีหน้าที่ ( 1 ) ศึกษา พัฒนา และแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาและกำกับดูแล (ก) การเสนอขายหลักทรัพย์เพื่อการระดมทุนหรือเพื่อเป็นเครื่องมือทางการเงิน ของภาคธุรกิจ (ข) การบริหารกิจการของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์

2 (ค) การเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำ กิจการ (ง) ผู้ประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมตาม (ก) (ข) และ (ค) ได้แก่ ที่ปรึกษา ทางการเงิน ผู้สอบบัญชีในตลาดทุน บริษัทประเมินมูลค่าทรัพย์สินในตลาดทุน สถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ (จ) การกระทำอันไม่เป็นธรรมในการซื้อขายหลักทรัพย์ ( 2 ) ยกร่างและปรับปรุงประกาศที่เกี่ยวข้องตาม ( 1 ) ( 3 ) ให้คำปรึกษาและความเห็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับกฎหมายและประกาศที่เกี่ยวข้องตาม ( 1 ) และ ( 2 ) ( 4 ) ประสานงานและติดตามความคืบหน้าร่างกฎหมายตาม ( 1 ) รวมทั้งเป็นผู้ประสานงาน ในการชี้แจง ศึกษารวบรวมข้อมูล และปรับปรุงร่างกฎหมายดังกล่าวในชั้นการพิจารณาของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการตรากฎหมาย ( 5 ) ให้ความเห็นหรือให้การสนับสนุนในการพิจารณาร่างกฎหมายที่หน่วยงานภายนอก ขอความเห็น ( 6 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย 3. ฝ่ายกฎหมายองค์กรและคดีปกครอง มีหน้าที่ ( 1 ) ศึกษา พัฒนา และแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาและกากับดูแลตลาดหลักทรัพย์ ศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ ศูนย์ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า สานักหักบัญชี องค์กรที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจหลักทรัพย์ และบรรดาสมาคมหรือองค์กรที่ส่งเสริมการประกอบธุรกิจดังกล่าว ( 2 ) ยกร่างและปรับปรุงปร ะกาศที่เกี่ยวข้องตาม ( 1 ) ( 3 ) ให้คำปรึกษาและความเห็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับกฎหมายและประกาศที่เกี่ยวข้องตาม ( 1 ) และ ( 2 ) รวมทั้งการให้คำปรึกษาและความเห็นทางกฎหมายต่อส่วนงานต่าง ๆ ของสำนักงานในฐานะ ที่ปรึกษากฎหมาย ( 4 ) วางแนวทางในการต่อสู้คดีปกครองที่สำนักงาน คณะกรรมการพิจารณาโทษ ทางปกครอง คณะกรรมการกำกับตลาดทุน หรือคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นผู้ถูกฟ้องคดี รว บ รวม พยานหลักฐาน เพื่อแก้ต่างและจัดทำเอกสารเพื่ออธิบายความเชื่อมโยงของพยานหลักฐาน รวมทั้งเหตุผลของการกระทำ อันเป็นสาเหตุแห่งการถูกฟ้องคดี ตลอดจนเป็นผู้แทนในการติดต่อกับศาลจนคดีถึงที่สุด ( 5 ) ดูแลรับผิดชอบการดำเนินกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์คาสั่งทางปกครองของ สำ นักงานและคณะกรรมการพิจารณาโทษทางปกครองให้เป็นไปตามกฎหมาย จัดทำสรุปข้อเท็จจริง รวบรวมพยานหลักฐาน และจัดทำความเห็นเสนอคณะอนุกรรมการซึ่งทำหน้ำที่พิจารณาอุทธรณ์ ตลอดจน ปฏิบัติงานในฐานะเลขานุการของคณะอนุกรรมการ รวมถึงการสรุปข้อเท็จจริงและนาเสนอความเห็น

3 ของคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ ก.ล.ต. เพื่อพิจารณาวินิจฉัย รวมทั้ งแจ้งผล การพิจารณาอุทธรณ์ ( 6 ) ยกร่างและตรวจพิจารณาบันทึกความร่วมมือ บันทึกข้อตกลง สัญญา ข้อบังคับ คำสั่ง และระเบียบ ที่ใช้กับงานภายในของสำนักงาน กรรมการ พนักงานของสำนักงาน และที่สำนักงานทำกับ หน่วยงานภายนอก ( 7 ) ดูแลรับผิดชอบการดำเนินกระบวนการอนุญาโตตุลาการของสำนักงานให้เป็นไปตาม กฎหมาย ติดต่อประสานกับคู่กรณี และปฏิบัติงานในฐานะเลขานุการของอนุญาโตตุลาการ ( 8 ) ติดตามพัฒนาการกฎหมายต่าง ๆ ที่อาจเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของสานักงาน และดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายดังกล่าว ( 9 ) ปฏิบัติงานในฐานะเลขานุการของคณะกรรมการคัดเลือกและคณะอนุกรรมการ ฝ่ายกฎหมาย (ด้านที่ปรึกษา) ( 10 ) กำกับดูแลให้มีนโยบายและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ของสำนักงาน ( compliance ) ( 11 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รั บ มอบหมาย 4. ฝ่ายการเงินและบริหารทั่วไป มีหน้าที่ ( 1 ) สนับสนุนการกาหนดกลยุทธ์บัญชีและการเงินให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ เป้าหมาย และนโยบายของสำนักงาน เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติการด้านบัญชีและการเงิน รวมถึง ควบคุมการบันทึกบัญชีให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ( 2 ) บริหารจัดการระบบบัญชี จัดทารายงานด้านการเงินและภาษีอากร บริหารจัดการเงินสด สภาพคล่อง และเงินลงทุน รวมทั้งสนับสนุนข้อมูลทางการเงินเพื่อการตัดสินใจทางนโยบาย ( 3 ) บริหารจัดการการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุและงานบริการให้เป็นไปตามหลั ก เกณ ฑ์ของ สำนักงาน กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และหลักธรรมาภิบาลที่ดี รวมทั้งใ ห้ คำแนะนาเกี่ยวกับการจั ด ซื้อจัดจ้างพัสดุ และงานบริการแก่ส่วนงานต่าง ๆ ( 4 ) วางแผนและบริหารจัดการระบบวิศวกรรมอาคาร การจัดสรรพื้นที่สานักงาน การให้บริการด้านการจัดประชุม การจัดเลี้ยง การดูแลความสะอาดในอาคาร และบริการด้านรถยนต์ สำหรับผู้บริหารและส่วนกลาง ( 5 ) จัดระบบรักษาความปลอดภัยแก่ผู้ใช้อาคารและผู้มาติดต่อ รวมทั้งบริหารจัดการ ผู้ประกอบการที่ใช้พื้นที่อาคารสำนักงาน ( 6 ) จัดการเอกสารที่รับจากภายนอกและจัดเก็บในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจ นบริหาร จัดการคลังเอกสาร

4 ( 7 ) จัดระบบควบคุมภายในที่ดีและบริหารจัดการให้มีการใช้ทรัพยากรในอาคาร อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งจัดระบบการบริหารความเสี่ยง และระบบสารสนเทศที่เพียงพอและเหมาะสม กับการบริหารจัดการงานในส่วนงาน ( 8 ) ดูแลด้านการบริหารสัญญาและการประสานงานกับผู้บริหารโครงการของผู้ให้บริการ อย่างใกล้ชิด เพื่อให้โครงการเป็นไปตามสัญญาและแผนงานที่กาหนด ( 9 ) ดาเนินงานในฐานะเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ( 10 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 5. ฝ่ายกำกับการสอบบัญชี มีหน้าที่ ( 1 ) พัฒนาด้านการสอบบัญชีที่เกี่ยวข้องกับตลาดทุน รวมถึงเสนอแนะการกำหน ด หลักเกณฑ์การให้ความเห็นชอบเป็นผู้สอบบัญชีในตลาดทุน และมาตรฐานการปฏิบัติงาน ( 2 ) ให้ความเห็นชอบและกำกับดูแลผู้สอบบัญชีและสำนักงานสอบบัญชีที่เกี่ยวข้อง กับตลาดทุน รวมถึงให้ความเห็นในกรณีการพิจารณาความผิดและการพิจารณาลงโทษผู้สอบบัญชีในตลาดทุน ( 3 ) ตรวจสอบการทำงาน และสอบทานคุณภาพงานของผู้สอบบัญชีและสำนักงานสอบ บัญชี ( 4 ) ให้คำปรึกษาหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับด้านการสอบบัญชี ( 5 ) ร่วมมือกับสายยุทธศาสตร์และแผนงาน ในการปฏิบัติงานด้านการต่างประเทศ เพื่อส่งเสริมการสอบบัญชีในตลาดทุนไทย ให้มีความน่าเชื่อถือและเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ( 6 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย 6. ฝ่ายกำกับตลาด มีหน้าที่ ( 1 ) ติดตามพัฒนาการใหม่ ๆ ของธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานของตลาดทุน ( capital market infrastructure ) ซึ่งรวมถึงตลาดหลักทรัพย์ ธุรกิจศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า ธุรกิจให้บริการหลังการซื้อขายหลักทรัพย์ ( post - trade services ) เช่น สำนักหักบัญชี ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ และนายทะเบียนหลักทรัพย์ เพื่อใช้ประกอบการกำหนดทิศทาง นโยบาย ภูมิทัศน์ ( landscape ) และการกำกับดูแลให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล ( 2 ) กำกับดูแลและพัฒนาธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานของตลาดทุน รวมถึงการให้ใบอนุญาต การให้ความเห็นชอบกฎเกณฑ์ การพิจารณาเรื่องร้องเรียน และการตรวจสอบ ( on - site inspection ) องค์กรดังกล่าว เพื่อให้มีความมั่นคงปลอดภัย น่าเชื่อ ถือ เป็นไปตามมาตรฐาน และแข่งขันได้ในระดับสากล ( 3 ) ติดตามสภาพการซื้อขายในตลาดรองของหลักทรัพย์ต่าง ๆ และศูนย์ซื้อขายสัญญา ซื้อขาย ล่วงหน้าในภาพรวม รวมทั้งติดตามความเสี่ยงของระบบชาระราคาและส่งมอบหลักทรัพย์ ( 4 ) งานดูแลความเสี่ยงด้าน ฐานะการเงิน ( prudential ) เงินกองทุนของบริษัทหลักทรัพย์ ในเรื่องการออกเกณฑ์ รวมทั้ง การจัดทำ การทดสอบภาวะวิกฤติ ( stress test )

5 ( 5 ) ออกหลักเกณฑ์และ พิจารณาคำขออนุญาตใบสำคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์และตราสาร แสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศ ( 6 ) ดำเนินการเรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวข้อง ( 7 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย 7. ฝ่ายกำกับธุรกิจจัดการลงทุน มีหน้าที่ ( 1 ) กำกับดูแล พิจารณาใบอนุญาต ให้ความเห็นชอบการเริ่มประกอบธุรกิจ และการติดตาม ตรวจสอบการประกอบธุรกิจ ( ทั้งนี้ ไม่รวมการกากับดูแลความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ) (ก) ผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการลงทุน (ข) ผู้ประกอบธุรกิจอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจจัดการลงทุน เช่น ผู้ดูแลผลประโยชน์ ผู้รับฝากทรัพย์สิน นายทะเบียนหน่วยลงทุน ตัวแทนการตลาดกองทุนส่วนบุคคล ธุรกิจการจัดอันดับ กองทุนรวม ( MF rating agency ) (ค) ผู้ประกอบธุรกิจทรัสต์ตีสาหรับการบริหารและจัดการลงทุน เฉพาะทรัสตี ( REIT / ICO / PE / Infra Trustee ) ที่เป็นบริษัทหลักทรัพย์จัดการลงทุน (ง) ผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทนายหน้า ค้า และจัดจำหน่ายหน่วยลงทุน ที่เป็นธนาคาร บริษัทประกันชีวิต บริษัทหลักทรัพย์จัดการลงทุน และบริษัทนายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุน (จ) ผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทนายหน้า ค้า และจัดจำหน่ายตราสารหนี้ ที่เป็นธนาคารและบริษัทประกันชีวิต ( 2 ) อนุญาต ผ่อนผัน ให้ความเห็นชอบผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และบุคลากร ได้แก่ กรรมการ และผู้บริหาร เฉพาะที่สังกัดบริษัทหลักทรัพย์จัดการลงทุน บริษัทหลักทรัพย์ประเภทนายหน้า ค้า และ จัดจำหน่ายหน่วยลงทุน ผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทนายหน้า ค้า และจัดจาหน่ายตราสารหนี้ ที่เป็นธนาคารและบริษัทประกันชีวิต และผู้จัดการกองทุน รวมทั้งผู้วางแผนการลงทุนและผู้แนะนำ การลงทุนของผู้ประกอบธุรกิจทุกประเภท ( 3 ) ให้คำปรึกษา หารือ รวมทั้งอนุญาต และผ่อนผันกรณีต่าง ๆ ของผู้ประกอบธุรกิจ ตาม ( 1 ) ยกเว้น (ง) เช่น การมีสาขา และการประกอบธุรกิจอื่น เป็นต้น ( 4 ) การตรวจสอบพิจารณาเรื่องร้องเรียน การกระทำความผิดที่เกี่ยวกับผู้ประกอบธุรกิจ และบุคลากรของผู้ประกอบธุรกิจ ตาม ( 1 ) รวมถึงการตรวจสอบ กองทุนส่วนบุคคล และ การให้บริการ คำแนะนาและวางแผนทางการเงิน ของผู้ประกอบธุรกิจทุกประเภท ( 5 ) ติดตามและพิจารณาดาเนินการเบื้องต้นในกรณีที่มีการประกอบธุรกิจตาม ( 1 ) โดยไม่ได้รับอนุญาต ( unlicensed business ) ( 6 ) ให้ความเห็นชอบและกำกับดูแลผู้ให้บริการแบบรวมศูนย์ ( c entral u tility o utsource ) ที่ผู้ประกอบธุรกิจตาม ( 1 ) มีการมอบหมายงาน

6 ( 7 ) ดำเนินการในฐานะนายทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ( 8 ) ติดตาม รวบรวมข้อมูลที่ผู้ประกอบธุรกิจนำส่งสำนักงานที่เกี่ยวกับการให้บริการ ออกแบบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพและการให้บริการออกแบบการลงทุน เพื่อนามาวิเคราะห์และจัดทารายงาน ( 9 ) การให้ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการประกอบธุรกิจและการกำกับดูแลผู้ประกอบธุรกิจ ตาม ( 1 ) และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ( 10 ) พัฒนาโครงการระบบรองรับการให้ความเห็นชอบผู้แนะนำการลงทุน ผู้วางแผน การลงทุน และนักวิเคราะห์ ( Professional Link Extension ) ( 11 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 8. ฝ่ายกำกับธุรกิจตัวกลาง มีหน้าที่ ( 1 ) กำกับดูแลผู้ประกอบธุรกิจตัวกลางที่เกี่ยวกับหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ทุกประเภทที่เป็นบริษัทหลักทรัพย์ ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขาย สินค้า เกษตรล่วงหน้า บริษัทหลักทรัพย์ที่ปรึกษาการลงทุน และบริษัทหลักทรัพย์เพื่อการให้สินเชื่อเพื่อ ธุรกิจหลักทรัพย์ โดยการให้ใบอนุญาต ให้ความเห็นชอบ พิจารณาการเริ่มประกอบธุรกิจ ติดตามดูแล การเปลี่ ยนแปลงและความเคลื่อนไหว และตรวจสอบการประกอบธุรกิจ ความเสี่ยงด้านฐานะการเงินของ ผู้ประกอบธุรกิจตัวกลาง เช่น เงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิ และการให้กู้ยืมเงินเพื่อซื้อหลักทรัพย์ เป็นต้น ( 2 ) อนุญาต ผ่อนผัน ให้ความเห็นชอบผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และบุคลากร ได้แก่ กรรมการ ผู้บริหาร นักวิเคราะห์เฉพาะที่สังกัด ผู้ประกอบ ธุรกิจตัวกลางตาม ( 1 ) ( 3 ) ให้คำปรึกษา หารือ อนุญาต และผ่อนผันกรณีต่าง ๆ ของผู้ประกอบธุรกิจตัวกลาง ตาม ( 1 ) เช่น การมีสาขา และการประกอบธุรกิจอื่น เป็นต้น ( 4 ) พิจารณาและดำเนินการเรื่องร้องเรียนและความผิดที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบธุรกิจตัวกลาง และบุคลากรที่เกี่ยวข้องตาม ( 1 ) ( 5 ) ติดตามและพิจารณาดาเนินการเบื้องต้นในกรณีที่มีการประกอบธุรกิจตัวกลางตาม ( 1 ) โดยไม่ได้รับอนุญาต ( 6 ) กำกับดูแลตลาดหลักทรัพย์และ บริษัท ตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ในส่วนที่เกี่ยวกับการกำกับดูแลและลงโทษบริษัทสมาชิก ( 7 ) ให้ความเห็นชอบ และกำกับดูแลผู้ให้บริการแบบรวมศูนย์ ( central utility outsource ) ที่ผู้ประกอบธุรกิจ ตาม ( 1 ) มีการมอบหมายงาน ( 8 ) เป็นศูนย์กลางในการประสานงานกับสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน

7 ( 9 ) การให้ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการประกอบธุรกิจตัวกลางและการกำกับดูแล ผู้ประกอบธุรกิจ ตาม ( 1 ) และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ( 10 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 9. ฝ่ายกำกับผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล มีหน้าที่ ( 1 ) กำกับดูแลผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล โดยการ ให้ใบอนุญาต ได้แก่ ใบอนุญาต การประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล เป็นต้น ตรวจสอบก่อนเริ่มประกอบธุรกิจ เพิกถอนใบอนุญาต และ การผ่อนผันต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ติดตามดูแล การเปลี่ยนแปลงและความเคลื่อนไหว ตรวจสอบ การประกอบธุรกิจ และ การ พัฒนาการตรวจ ( 2 ) กำกับ ติดตาม และตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสาร สนเทศของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ ดิจิทัล เพื่อประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งประเมินความพร้อม ในการรับมือภัยคุกคามทางไซเบอร์ของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล และเสนอรายงานการตรวจสอบ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลให้ส่วนงานที่เกี่ยวข้องเพื่อท ราบ และ เพื่อพิจารณาดำเนินการตามมาตรการกำกับดูแลผู้ประกอบธุรกิจที่เหมาะสมต่อไป ( 3 ) ให้ความเห็นเกี่ยวกับความเสี่ยงและความมั่นคงปลอดภัย ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ของผู้ ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ( 4 ) อนุญาต ผ่อนผัน ให้ความเห็นชอบ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และบุคลากร ในธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ( 5 ) พิจารณาให้ความเห็นชอบ อนุญาต และผ่อนผันในกรณีต่าง ๆ เช่น กำรให้ความเห็นชอบ หลักเกณฑ์ของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล การให้ความเห็นชอบโฆษณา และ การประกอบธุรกิจอื่น เป็นต้น ( 6 ) พิจารณาและดำเนินการเรื่องร้อง เรียน และ ความผิดที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบธุรกิจ สินทรัพย์ดิจิทัล และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ( 7 ) ติดตามและพิจารณาดำเนินการเบื้องต้นในกรณีที่มีการ ประกอบธุรกิจ สินทรัพย์ดิจิทัล โดยไม่ได้รับอนุญาต ( 8 ) กำกับดูแลผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่เข้าเงื่อนไขเป็นหน่วยงานโครงสร้าง พื้นฐานสาคัญทางสารสนเทศ ( c ritical i nformation i nfrastructure - CII ) ให้มีประสิทธิภาพเป็นไปตาม มาตรฐานและแนวปฏิบัติตามกรอบกฎหมายและมาตรฐานสากล ( 9 ) ประสานความร่วมมือและดำเนินการร่วมกับภาคอุตสาหกรรมหรือหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือภัยคุกคามทางไซเบอร์และเมื่อเกิดเหตุภัยคุกคามทางไซเบอร์

8 ( 10 ) ดำเนินการร่วมกับฝ่าย กากับและตรวจสอบความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ในกรณีผู้ประกอ บธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลเผชิญเหตุภัยคุกคามทางไซเบอร์ ( cyber incident ) เพื่อตอบสนอง ( response ) และติดตามสถานการณ์การดำเนินการแก้ไขปัญหาของผู้ประกอบธุรกิจ หากเหตุการณ์ดังกล่าว มีผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจ ( 1 1 ) งานให้คำปรึกษาและตอบข้อหารือ ( 12 ) งานประสานงานกับหน่วยงานภายนอก เช่น หน่วยงานบังคับใช้กฎหมาย หน่วยงาน กำกับดูแลอื่น เป็นต้น และ งานจัดประชุมสัมมนากับ compliance ( 13 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 10. ฝ่ายกำกับรายงานทางการเงิน มีหน้าที่ ( 1 ) พัฒนาด้านการบัญชีที่เกี่ยวข้องกับงบการเงินของบริษัทที่ออกและเสนอขาย หลักทรัพย์และบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงเสนอแนะแนวทางที่เกี่ยวข้องกับการรายงาน ทางการเงินของธุรกิจในตลาดทุน และตรวจทานงบการเงินของบริษัทที่ออกและเสนอขายหลักทรัพย์และ บริษัทจดท ะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ( 2 ) ให้คำปรึกษาและความเห็นต่าง ๆ เกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชีแก่ส่วนงานในสำนักงาน ผู้ประกอบธุรกิจ หรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง ( 3 ) ประสานงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับด้านการบัญชี ( 4 ) ร่วมมือกับสายยุทธศาสตร์และแผนงานปฏิบัติงานด้านการต่างประเทศเพื่อส่งเสริม ให้รายงานทางการเงินของตลาดทุนไทยมีความน่าเชื่อถือและเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ( 5 ) ปฏิบัติงานหรือสนับส นุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 11. ฝ่ายกำกับและตรวจสอบความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีหน้าที่ ( 1 ) ศึกษากฎหมาย หลักเกณฑ์ และแนวทางปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการบริหารจัดการความเสี่ยง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและไซเบอร์ และร่วมกับส่วนงานที่เกี่ยวข้อง พิจารณา การออกและแก้ไขหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติให้สอดคล้องกับกฎหมาย หลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติที่ดี ( 2 ) ศึกษาและพัฒนาเครื่องมือและแนวทางในการกากับดูแลความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและไซเบอร์ของผู้ประกอบธุรกิจ ให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์และแนวปฏิบั ติ ที่สำนักงานกำหนด รวมทั้งวิเคราะห์และติดตามแนวโน้มภัยคุกคามทางไซเบอร์ ( cyber resilience ) ในภาคการเงิน เพื่อร่วมหา แนวทาง หรือวิธีป้องกันความเสี่ยงที่เหมาะสมแก่ผู้ประกอบธุรกิจ

9 ( 3 ) กำกับ ติดตาม และตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้ประกอบธุรกิจ หลักทรัพย์ เพื่อประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งประเมินความพร้อม ในการรับมือ ภัยคุกคามทางไซเบอร์ของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ และเสนอรายงานการตรวจสอบระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศของผู้ประก อบธุรกิจหลักทรัพย์ให้ส่วนงานที่เกี่ยวข้องเพื่อทราบ และเพื่อพิจารณา ดำเนินการตามมาตรการกากับดูแลผู้ประกอบธุรกิจที่เหมาะสมต่อไป ( 4 ) ให้ ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้ขอประกอบ ธุรกิจ หลักทรัพย์ ตาม ที่ได้รับการ ร้องขอ จากส่วนงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ส่วนงานที่เกี่ยวข้อง นำไปประกอบ การ พิจารณาการให้ใบอนุญาตประกอบธุรกิจหรือเริ่มประกอบธุรกิจ หลักทรัพย์ ( 5 ) ให้ความเห็นเกี่ยวกับความเสี่ยงและความ มั่นคง ปลอดภัยของระบบ เทคโนโลยี สารสนเทศ ของผู้ประกอบธุรกิจ หลักทรัพย์ ตามที่ได้รับการร้องขอจากส่วนงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไ ป ประกอบ การพิจารณาดำเนินการต่อไป ( 6 ) สนับสนุนด้านเทคนิคให้แก่สายงานหลักในการกากับและตรวจสอบด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ได้แก่ การเข้า ร่วม ตรวจ ประเมิน กับสายงานหลัก หรือตอบข้อหารือของหน่วยงานภายนอก ( 7 ) กำกับดูแลการจัดการความเสี่ยงด้านความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ของหน่วยงาน โครงสร้างพื้นฐานสาคัญทางสารสนเทศ ( c ritical i nformation i nfrastructure - CII ) ให้มีประสิทธิภาพ เป็นไปตามมาตรฐานและแนวปฏิบัติตามกรอบกฎหมายและมาตรฐานสากล ( 8 ) ประสานความร่วมมือและดำเนินการร่วมกับภาคอุตสาหกรรมหรือหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือภัยคุกคามทางไซเบอร์และเมื่อเกิดเหตุภัยคุกคามทางไซเบอร์ ( 9 ) เป็นด่านแรกในการรับข้อมูลและตอบสนอง ( response ) ในกรณีผู้ประกอบธุรกิจ หลักทรัพย์ เผชิญเหตุภัยคุกคามทางไซเบอร์ ( cyber incident ) และ ร่วมกับ ส่วนงานที่เกี่ยวข้อง ติดตาม สถานการณ์การดำเนินการแก้ ไขปัญหาของผู้ประกอบธุรกิจ หากเหตุการณ์ดังกล่าวมีผลกระทบ ต่อการประกอบธุรกิจ ( 10 ) ให้ความเห็น ส่วน งานที่เกี่ยวข้องกับข้อร้องเรียนด้านภัยไซเบอร์ของผู้ประกอบธุรกิจ หลักทรัพย์ ตามที่ได้รับการร้องขอจาก ส่วน งาน ( 11 ) ให้คาปรึกษา ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูล ( data security ) ตาม แนวทางการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ( PDPA ) แก่ ส่วนงานที่เกี่ยวข้อง ( 1 2 ) กำหนดนโยบายและกรอบด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ และประสานงาน กับฝ่าย เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการติดตามความเสี่ยงด้านไซเบอร์ของสำนักงาน ( 13 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย

10 12. ฝ่ายขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง มีหน้าที่ ( 1 ) กำหนดแผนกลยุทธ์ในการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง ครอบคลุมด้านบุคลากร กระบวนการทำงาน และเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมให้องค์กร ( 2 ) กำหนดและติดตามการดำเนินงานตามแผนขับเคลื่อนองค์กร ( t ransformation p lan ) ซึ่งรวมถึงแผนยุทธศาสตร์ดิจิทัลองค์กร ( d igital t ransformation s trategic p lan ) และแผนขับเคลื่อน บริการดิจิทัล ( SEC d igital s ervice r oadmap ) ( 3 ) ประสานงานกับฝ่ายทรัพยากรบุคคลแล ะฝ่าย เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการขับเคลื่อน แ ผนงานตาม ( 1 ) และ ( 2 ) ( 4 ) ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเชื่อมโยงมาตรฐาน บริการ และพัฒนางาน ตาม ( 1 ) และ ( 2 ) ( 5 ) ติดตามทิศทางด้านการพัฒนาองค์กร บุคลากร และเทคโนโลยี ทั้งสากล ภาครัฐ และตลาดทุน ทั้งในและต่างประเทศ ( 6 ) กำหนดธรรมาภิบาลด้านสถาปัตยกรรมองค์กร ( EA : e nterprise a rchitecture ) และจัดทำ สถาปัตยกรรม องค์กรด้าน ธุรกิจ ( EA : b usiness a rchitecture ) รวมทั้งดูแลภาพรวมการจัดทา สถาปัตยกรรมองค์กร เพื่อเป็นทิศทางในการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงขององค์กรให้มีประสิทธิภาพ ( 7 ) ออกแบบและปรับปรุงกระบวนการทำงาน ตลอดจนนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินงาน ( 8 ) บริหารการเปลี่ยนแปลง ( c hange m anagement ) และสร้างวัฒนธรรมสาคัญ ด้านดิจิทัล และนวัตกรรม ( 9 ) บริหารจัดการ ติดตาม และวัดผลโครงการสาคัญ ( p roject m anagement ) ( 10 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 13. ฝ่ายคดี มีหน้าที่ ( 1 ) พิจารณาการดาเนินการลงโทษทางปกครองกับนิติบุคคลและผู้ประกอบวิชาชีพ ที่อยู่ภายใต้การกากับดูแลต่าง ๆ รวมทั้งผู้บริหารและบุคลากรที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับเรื่องมาจากส่วนงาน ต้นเรื่อง ( 2 ) เสนอข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และความเห็นเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมาย รวมถึงการปฏิบัติงานในฐานะเลขานุการของ (ก) คณะกรรมการพิจารณามาตรการลงโทษทางแพ่งตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล

11 (ข) คณะกรรมการเปรียบเทียบตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กฎหมายว่าด้วยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กฎหมายว่าด้วยนิติบุคค ลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์ เป็น หลักทรัพย์ กฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า กฎหมายว่าด้วยทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน และกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (ค) คณะกรรมการพิจารณาโทษทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขาย ล่วงหน้า และกฎหมายว่าด้วยทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน (ง) คณะกรรมการวินัยบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน (จ) คณะกรรมการวินัยบุคลากรในธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ( ฉ ) คณะอนุกรรมการฝ่ายกฎหมาย (ด้านคดี) ( 3 ) ดำเนินการเพื่อการบังคับใช้มาตรการลงโทษทางแพ่งตามที่ได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการพิจารณามาตรการลงโทษทางแพ่ง ทั้งกรณีที่ผู้กระทำความผิดยินยอมที่จะปฏิบัติ ตามมาตรการลงโทษทางแพ่ง และกรณีที่ผู้กระทำความผิดไม่ยินยอมที่จะระงับคดี และสำนักงาน ต้องดำเนินการฟ้องคดีผู้กระทาความผิดต่อศาลเพื่อกาหนดมาตรการลงโทษทางแพ่ง ( 4 ) ประสานงานและติดตามคดีที่อยู่ในกระบวนการดำเนินคดีอาญา ( 5 ) เป็นผู้แทนในการแก้คดี หรือให้คำปรึกษาด้านกฎหมายและคดีในกรณีที่มีผู้ยื่นฟ้อง สำนักงานหรือบุคคลที่ปฏิบัติงานหรือเคยปฏิบัติงานให้กับสำนักงานเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญา อันเนื่องมาจาก การปฏิบัติหน้าที่ รวมถึงการให้ความช่วยเหลือบุคคลดังกล่าวในการต่อสู้คดี ฟ้องแย้ง หรือฟ้องกลับ ( 6 ) ดำเนินคดีกับบุคคลที่ไม่ชาระเงินค่าธรรมเนียมตามกฎหมาย ดำเนินการบังคับคดี กับบุคคลที่ไม่ชำระค่าปรับทางปกครอง หรือบังคับคดีตามมาตรการลงโทษทางแพ่ง ( 7 ) พิจารณาดำเนินการบังคับใช้กฎห มาย (อาญาและปกครอง) กับผู้ประกอบธุรกิจ และบุคลากรที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับเรื่องมาจากส่วนงานต้นเรื่อง ( 8 ) พิจารณาข้อมูลที่จะนำส่งตามหมายศาล หนังสือเรียกของพนักงานผู้มีอานาจ หรือพิจารณาบุคคลที่จะเป็นผู้แทนสำนักงานในการเบิกความเป็นพยานในคดีตามหมายเรียกของศำล รวมทั้งการเตรียมข้อมูลการเป็นพยานให้กับบุคคลดังกล่าว ( 9 ) ให้คำปรึกษา คำแนะนา และความเห็นแก่ ส่วน งานเจ้าของเอกสารในการพิจารณา ข้อมูล ที่จะนำส่งตาม หนังสือร้องขอใช้สิทธิตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ( 10 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 14. ฝ่ายความเสี่ยงตลาดทุนและองค์กร มีหน้าที่ ( 1 ) เสนอแนะนโยบายและแนวทางการบริหารความเสี่ยงและความต่อเนื่อง ในการดาเนินงาน รวมถึงจัดทำหรือทบทวนกรอบการบริหารความเสี่ยงให้สอดคล้องกับทิศทางและ

12 มาตรฐานสากล ครอบคลุมความเสี่ยงต่อเสถียรภาพ ความเสี่ยงตลาดทุน และความเสี่ยงองค์กร เพื่อให้สามารถดำเนินนโยบาย ยุทธศาสตร์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์การกำกับดูแลได้บรรลุเป้าหมาย ( 2 ) จัดทาทะเบียนความเสี่ยงและแผนบริหารความเสี่ยง รายงานความคืบหน้าการปฏิบัติ ตามแผน ติดตามตัวชี้วัดความเสี่ยงสำคัญ ( k ey r isk i ndicators : KRIs ) ผลสัมฤทธิ์ของการบริหารจัดการความเสี่ยง ( 3 ) วิเคราะห์และติดตามทิศทางของความเสี่ยงและประเมินผลกระทบ เพื่อเป็นข้อมูลสำคัญ ให้แก่ผู้บริหารในการตัดสินใจ ( 4 ) เสนอแนะแนวทาง สนับสนุน และให้คำแนะนำแก่ส่วนงานในการออกแบบปรับปรุง กระบวนการทำงานและการบริหารความเสี่ยง ( 5 ) จัดทำรายงานการประเมินความเสี่ยงระดับส่วนงานและรายงานการควบคุมภายใน เสนอต่อกระทรวงการคลัง ( 6 ) จัดทำสถิติภาพรวม รวมถึงติดตามภาวะตลาด รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบ ต่อตลาดทุน ( 7 ) จัดทำแนวทาง กลไก ในการเสริมสร้างธรรมาภิบาล ความโปร่งใส การต่อต้าน การทุจริตและคอร์รัปชันของสำนักงานเพื่อพัฒนาสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน ( 8 ) ประเมินความเสี่ยงด้านธรรมา ภิบาล ความโปร่งใส และการไม่ทุจริตคอร์รัปชันของ องค์กร ( 9 ) จัดทำรายงาน ประสานงาน และชี้แจงกับผู้บริหารและพนักงานในการเข้าประเมิน การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ( i ntegrity & t ransparency a ssessment : ITA ) ตลอดจนเสนอแผนปรับปรุงองค์กรจากความเห็นตาม ITA และติดตามผลการปรับปรุง ( 10 ) ดำเนินการด้านงานการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ( d ata p rotection o ffice ) ให้สอดคล้องกับกฎหมายและนโยบายของ ก.ล.ต. ( 11 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 15. ฝ่ายงานเลขาธิการ มีหน้าที่ ( 1 ) ปฏิบัติงานเลขานุการคณะกรรมการ ก.ล.ต. และคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ( 2 ) สนับสนุนเลขาธิการในงานคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ที่เลขาธิการดำรงตำแหน่งทั้งภายในและภายนอกสำ นักงาน ( 3 ) ประสานงานกับหน่วยงานภายนอก เช่น กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย์ ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เป็นต้น เพื่อให้เกิดการทำงานแบบบูรณาการ

13 ( 4 ) ปฏิบัติงานด้านวิชาการตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การศึกษาและจัดทาข้อเสนอ ในเรื่องที่เป็นประเด็นสาคัญและเร่งด่วนตามที่ได้รับมอบหมาย เป็นต้น ( 5 ) กลั่นกรองงานที่เสนอต่อเลขาธิการ ( 6 ) สนับสนุนผู้บริหารระดับสูงในงานตามที่ได้รับมอบหมาย ( 7 ) ปฏิบัติงานด้านเลขานุการและงานธุรการของสำนักงานและผู้บริหารระดับสูง ( 8 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 16. ฝ่ายจดทะเบียนตราสารทุน 1 มีหน้าที่ ( 1 ) พัฒนาและกากับดูแลบริษัทที่ออกหลักทรัพย์หรือบริษัทจดทะเบียน รวมถึงการออก หรือปรับปรุงหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการระดมทุนหรือการกำกับดูแล ( 2 ) ให้คำปรึกษาหรือคำแนะนำแก่บริษัทที่อยู่ระหว่างเตรียมตัว ออกและเสนอขาย หลักทรัพย์ต่อประชาชน บริษัทจดทะเบียน และที่ปรึกษาทางการเงิน เพื่อให้ปฏิบัติให้ถูกต้องและเป็นไป ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด ( 3 ) พิจารณาคาขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ เพื่อให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสอบทานข้อมูลที่เปิดเผยในแบบแสดงรายการข้อมูล เพื่อให้ผู้ ลงทุนมีข้อมูลที่เพียงพอสำหรับประกอบการตัดสินใจลงทุน ( 4 ) กำกับดูแลบริษัทจดทะเบียนและบุคคลที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บริษัทจดทะเบียน และบุคคลที่เกี่ยวข้องปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่ กำหนด ซึ่งรวมถึงการเปิดเผยข้อมูลที่สำคัญ การเข้าทำรายการที่มีนัยสำคัญและรายการที่เกี่ยวโยงกัน การจัดส่งงบการเงินและรายงานทางการเงิน และการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ ( 5 ) ยกระดับคุณภาพของ ผู้ประกอบวิชาชีพ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ที่ปรึกษาทางการเงินหรือ ผู้ตรวจสอบภายใน เป็นต้น รวมถึงการดำเนินการกรณีพบการปฏิบัติงานบกพร่องของที่ปรึกษาทางการเงิน ( 6 ) พิจารณาและดำเนินการเรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวข้อง ( 7 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย 17. ฝ่ายจดทะเบียนตราสารทุน 2 มีหน้าที่ ( 1 ) พัฒนาและกากับดูแลบริษัทที่ออกหลักทรัพย์หรือบริษัทจดทะเบียน รวมถึงการออก หรือปรับปรุงหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการระดมทุนและการกำกับดูแล ( 2 ) ให้คำปรึกษาหรือคำแนะนำแก่บริษัทที่อยู่ระหว่างเตรียมตัว ออกและเสนอขาย หลักทรัพย์ต่อประชาชน บริษัทจดทะเบียน และที่ปรึกษำทางการเงิน เพื่อให้ปฏิบัติให้ถูกต้องและเป็นไป ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด

14 ( 3 ) พิจารณาคาขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ เพื่อให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการสอบทานข้อมูลที่เปิดเผยในแบบแสดงรายการข้อมูล เพื่อให้ผู้ลงทุนมีข้อมูลเพียงพอประกอบการตัดสินใจลงทุน ( 4 ) กำกับดูแลบริษัทจดทะเบียนและบุคคลที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บริษัทจดทะเบียน และบุคคลที่เกี่ยวข้องปฏิบัติให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ ที่ กำหนด ซึ่งรวมถึงการเปิดเผยข้อมูลที่สำคัญ การเข้า ทำรายการที่มีนัยสาคัญและรายการที่เกี่ยวโยงกัน การจัดส่งงบการเงินและรายงานทางการเงิน และการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ ( 5 ) ยกระดับคุณภาพของ ผู้ประกอบวิชาชีพ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ที่ปรึกษาทางการเงิน หรือผู้ตรวจสอบภายใน เป็นต้น รวมถึงการดำเนินการกรณีพบการปฏิบัติงานบกพร่องของที่ปรึกษาทางการเงิน ( 6 ) พิจารณาและ ดำเนินการเรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวข้อง ( 7 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย 18. ฝ่ายจัดการและวิเคราะห์ข้อมูล มีหน้าที่ ( 1 ) เสนอแนะนโยบาย บทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ และขอบเขตอานาจในการตัดสินใจ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการข้อมูล ข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงแนวทางการรักษาความปลอดภัยข้อมูลสำคัญ ( 2 ) วางแผน ดำเนินการ และบริหารจัดการข้อมูล รวมทั้งประสานกับหน่วยงานภายนอก ในการแลกเปลี่ยนข้อมู ล เพื่อให้สำนักงานมีข้อมูลที่มีคุณภาพพร้อมใช้ ( 3 ) ออกแบบและพัฒนาคลังข้อมูล รวมถึงพัฒนาเครื่องมือในการวิเคราะห์และเรียกดูข้อมูล เพื่อให้สำนักงานมีข้อมูลสารสนเทศในการตัดสินใจเชิงนโยบาย และสนับสนุนงานของส่วนงานต่าง ๆ และการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณชน ( 4 ) พัฒนาการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกและเครื่องมือที่จำเป็นในการวิเคราะห์เชิงลึก เพื่อให้สำนักงานมีข้อมูลสารสนเทศในการตัดสินใจเชิงนโยบาย และสนับสนุนงานสาคัญ ( 5 ) สนับสนุนและให้คำแนะนำแก่ส่วนงานในการจัดทำรายงาน รวมถึงการออกแบบ และปรับปรุงระบบงาน และกระบวนการทำงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการข้อมูล ( 6 ) กำหนด ดำเนินการ และติดตามนโยบายด้านข้อมูลและการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ( PDPA ) ของสำนักงาน ( 7 ) จัดทำและปรับปรุงสถาปัตยกรรม องค์กร ด้านข้อมูล ( EA : data a rchitecture ) ( 8 ) วางแผนปฏิบัติงาน และพัฒนา ด้าน ข้อมูล รวมถึงสื่อสารไปยังผู้ใช้งานตามแนวทาง การบริหารจัดการความต้องการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงระบบสารสนเทศ ( demand management ) ( 9 ) ประสานและให้การสนับสนุนหน่วยงานกำกับดูแลด้านดิจิทัลที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทา แผนกำหนดมาตรฐาน และกฎระเบียบด้านข้อมูลสารสนเทศ

15 ( 10 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 19. ฝ่ายตรวจสอบตลาดทุน 1 มีหน้าที่ ( 1 ) ตรวจสอบและรวบรวมข้อเท็จจริง ตลอดจนพยานหลักฐานที่เกี่ยวกับการกระทำ อันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์และการกระทำความผิดในมาตราที่สำคัญอื่น ๆ หรือ การกระทำผิดอื่นซึ่งจำเป็นต้องใช้ความเชี่ยวชาญหรือใช้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่ในการตรวจสอบเชิงลึก ( 2 ) นำเสนอผลสรุปการตรวจสอบและความเห็น รวมถึงประเด็นข้อกฎหมายให้คณะกรรมการ ด้านตรวจสอบและคดีพิจารณาก่อนจะเสนอสำนักงาน ( 3 ) ประสานงานและสนับสนุนด้านข้อมูลกับฝ่ายคดี พนักงานสอบสวน และพนักงานอัยการ สำหรับการดำเนินการทางอาญา และร่วมกับฝ่ายคดีในการฟ้องผู้กระทำผิดต่อศาลเพื่อกำหนดมาตรการ ลงโทษทางแพ่ง สำ หรับการดาเนินมาตรการลงโทษทางแพ่ง ( 4 ) กำกับและดูแลตลาดหลักทรัพย์และตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้าในส่วนที่เกี่ยวข้อง กับการกำกับดูแลการซื้อขายและการป้องกันการกระทาอันไม่เป็นธรรมในตลาดทุน ( 5 ) ติดตามข่าวสารและพิจารณาเรื่องร้องเรียนต่อจากฝ่ายสื่อสารองค์กรที่เกี่ยวกับ การกระทำอันไม่เป็นธรรมในการซื้อขายหลักทรัพย์ ( 6 ) จัดการระบบฐานข้อมูลลักษณะต้องห้ามของบุคคลที่เกี่ยวข้องจากการดำเนินคดี ( 7 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 20. ฝ่ายตรวจสอบตลาดทุน 2 มีหน้าที่ ( 1 ) ตรวจสอบและรวบรวมข้อเท็จจริง ตลอดจนพยานหลักฐานเกี่ยวกับการกระทำ อันฝ่าฝืนหรือกระทำผิดกฎหมายในลักษณะการบริหารงานที่เป็นการกระทำทุจริต ยักยอก แสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบ และการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ของกรรมการหรือผู้บริหารของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ รวมถึง การกระทำความผิดในมาตราที่สำคัญอื่น ๆ หรือการกระทำผิดอื่น ซึ่งจำเป็นต้องใช้ความเชี่ยวชาญหรือ ใช้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่ในการตรวจสอบเชิงลึก ( 2 ) นำเสนอผลสรุปการตรวจสอบและความ เห็น รวมถึงประเด็นข้อกฎหมายใ ห้ คณะกรรมการ ด้านตรวจสอบและคดีพิจารณาก่อนจะเสนอสำนักงาน ( 3 ) กรณีดำเนินการทางอาญา จัดทำคำให้การและส่งมอบพยานหลักฐานต่อพนักงาน สอบสวน และพนักงานอัยการ ตลอดจนเป็นพยานในชั้นศาล และประสานข้อมูลกับฝ่ายคดี เพื่อติดตาม ผลคดี กรณีดำเนินการทางแพ่ง จะร่วมกับฝ่ายคดีในการเสนอผลการตรวจสอบต่อ คณะกรรมการพิจารณา มาตรการลงโทษทางแพ่ง เพื่อกำหนดมาตรการลงโทษทางแพ่งรวมถึงการฟ้องผู้กระทาผิดต่อศาลแพ่ง

16 ( 4 ) ให้คำปรึกษาหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ การกระทำทุจริต และการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบของกรรมการหรือผู้บริหาร ( 5 ) จัดการระบบฐานข้อมูลลักษณะต้องห้ามของบุคคลที่เกี่ยวข้องจากการดำเนินคดี ( 6 ) ประสานงานกับตลาดหลักทรัพย์และหน่วยงานอื่น เช่น สำนักงานป้องกันแล ะ ปราบปรามการฟอกเงิน และการประสานงานกับหน่วยงานต่างประเทศ เพื่อให้ความช่วยเหลือและ ดำเนินการตามบันทึกความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่มีร่วมกัน ( 7 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 21. ฝ่ายตรวจสอบภายใน มีหน้าที่ ( 1 ) วางแผน ปฏิบัติงานตรวจสอบ และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการควบคุมภายใน เพื่อสร้างความมั่นใจว่าการดำเนินงานของสำนักงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง และการกำกับดูแลกิจการ รวมทั้งการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เพื่อช่วยให้สานักงานบริหารความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และสามารถบรรลุเป้าหมายและแผนกลยุทธ์ ที่วางไว้ รวมทั้งสอดคล้องกับแนวโน้มทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐานสากลและแนวปฏิบัติที่ดี ( best practice ) ( 2 ) ศึกษาและติดตามความรู้ พัฒนาการทางด้านการตรวจส อบภายในและมาตรฐาน การตรวจสอบภายใน รวมทั้งติดตามการดำเนินการของสำนักงาน เพื่อนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ในการวางแผน การตรวจสอบหรือการให้คาปรึกษา ( 3 ) ปฏิบัติงานด้านเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งรวมถึงการจัดทำวาระ การประชุมที่เกี่ยวข้อง ร่วมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและจัดทำรายงานการประชุม ( 4 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 22. ฝ่ายตรวจสอบสินทรัพย์ดิจิทัล มีหน้าที่ ( 1 ) ตรวจสอบและรวบรวมข้อเท็จจริง ตลอดจนพยานหลักฐานที่เกี่ยวกับการกระทำ อันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล และการกระทำความผิดในมาตราที่สาคัญอื่น ๆ หรือ การกระทำผิดอื่นซึ่งจำเป็นต้องใช้ความเชี่ยวชาญหรือใช้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่ในการตรวจสอบเชิงลึก ( 2 ) นำเสนอผลสรุปการตรวจสอบและความเห็น รวมถึงประเด็นข้อกฎหมายใ ห้ คณ ะกรรมการ ด้านตรวจสอบและคดีพิจารณาก่อนจะเสนอสำนักงาน ( 3 ) ประสานงานและสนับสนุนด้านข้อมูลกับฝ่ายคดี พนักงานสอบสวน และพนักงานอัยการ สำหรับการดำเนินการทางอาญา และร่วมกับฝ่ายคดีในการฟ้องผู้กระทำผิดต่อศาลเพื่อกาหนดมาตรการ ลงโทษทางแพ่ง สาหรับการดาเนินมาตรการลงโทษทางแพ่ง

17 ( 4 ) กำกับและดูแลสินทรัพย์ดิจิทัลที่เกี่ยวข้องกับการกำกับดูแลการซื้อขายและ การป้องกันการกระทำอันไม่เป็นธรรมในตลาดสินทรัพ ย์ดิจิทัล ( 5 ) ติดตามข่าวสารและพิจารณาเรื่องร้องเรียนต่อจากฝ่ายสื่อสารองค์กรที่เกี่ยวกับ การกระทำอันไม่เป็นธรรมในการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล ( 6 ) กำหนดและจัดทำเครื่องมือ surveillance และมาตรการการตรวจสอบการกระทำ อันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล ประสาน งานกับ ฝ่ายนโยบายสินทรัพย์ดิจิทัลและนวัตกรรม ทางการเงิน และฝ่ายกากับผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล เพื่อการปรับปรุงกระบวนการที่เกี่ยวข้อง ( 7 ) จัดการระบบฐานข้อมูลลักษณะต้องห้ามของบุคคลที่เกี่ยวข้องจาก การดำเนินคดี ( 8 ) ประสานงานกับตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลและหน่วยงานอื่น เช่น สำนักงานป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน และการประสานงานกับหน่วยงานต่างประเทศ เพื่อให้ความช่วยเหลือและ ดำเนินการตามบันทึกความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่มีร่วมกัน ( 9 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 23. ฝ่ายตราสารหนี้ มีหน้าที่ ( 1 ) ศึกษาและเสนอนโยบายในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ และส่งเสริม การออกเสนอ ขายตราสารหนี้เพื่อการระดมทุนทุกประเภท รวมถึงการออกหลักเกณฑ์ ( 2 ) พิจารณาคาขออนุญาตออกและเสนอขายตราสารหนี้ (ไม่รวมถึงหุ้นกู้แปลงสภาพ) ( 3 ) จัดการระบบฐานข้อมูล สถิติภาพรวม รวมถึงติดตามภาวะตลาดเงินและตราสารหนี้ รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงเกี่ยวกับการออกและเสนอขายตราสารหนี้ที่อาจส่งผลกระทบต่อตลาดเงินตลาดทุน วิเคราะห์และประเมินผลกระ ทบ พร้อมทั้งเตือนภัยและหามาตรการจัดการความเสี่ยง ซึ่งรวมถึงเสนอแนะ แนวทางเพื่อป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ( MIS / r isk monitoring ) ( 4 ) ติดตามการรายงานผลการขายตราสารหนี้ และการดำเนินการภายหลังการออก และเสนอขายตราสารหนี้ ( 5 ) กำกับนโยบาย แนวทาง และกำกับดูแล สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย บริษัทจัดเครดิต เรตติ้ง และผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ( 6 ) ดำเนินการเรื่องร้องเรียนในขอบเขตงานต่อหลังจากฝ่ายสื่อสารองค์กรรับเรื่อง เป็นที่เรียบร้อย และในกรณีที่สงสัยว่าอาจมีการกระทำความผิดที่เกี่ยวข้องกับผู้ออกตราสารหนี้สมาคมตลาด ตราสารหนี้ไทย บริษัทจัดเครดิตเรตติ้ง หรือผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ แต่ไม่รวมถึงกรณีที่เข้าข่ายเป็นการกระทำ อันไม่ เ ป็นธรรมในการซื้อขายหลักทรัพย์ รวมทั้งมีหน้าที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกั บการปฏิบัติหน้าที่บกพร่อง ของผู้ประกอบการ ทั้งนี้ เฉพาะกรณีที่ไม่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญในการตรวจสอบเชิงลึก

18 ( 7 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 24. ฝ่ายทรัพยากรบุคคล มีหน้าที่ ( 1 ) ศึกษาและติดตามเทคนิคการบริหารจัดการเกี่ยวกับการดาเนินงานด้านพนักงานใหม่ ๆ เพื่อนำมาปรับใช้ในงานสานักงาน ( 2 ) รับผิดชอบงานด้านบริหารบุคคลของสำนักงาน ซึ่งรวมถึงการจัดโครงสร้างองค์กร จัดทำแผนอัตรากำลัง การสรรหาพนักงาน การประเมินผล การจ่ายค่าตอบแทนและสวัสดิการ ( 3 ) รับผิดชอบงานด้านการพัฒนาพนักงาน รวมถึงการพัฒนาภาวะผู้นาสำหรับผู้บริหาร การฝึกอบรม การพัฒนาสายงานอาชีพ การพัฒนาพนักงานที่มีศักยภาพและการจัดทำแผนสืบทอดตำแหน่ง รวมถึงการสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ ( 4 ) สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระห ว่างพนักงาน รวมถึงการสื่อสารและเสริมสร้างสภาพแวดล้อม การทำ งานให้เป็นองค์กรน่าทางาน ( 5 ) กำหนดกลยุทธ์ นโยบาย แผนงาน และแนวทางการดำเนินการด้านทรัพยากรบุคคล กับ ส่วนงาน ต่าง ๆ ตามนโยบายและทิศทางขององค์กร รวมถึงกำกับดูแลให้สาเร็จลุล่วงตามเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งครอบคลุมถึงการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ได้แก่ การวางแผนอัตรากำลัง การพัฒนาเส้นทาง ความก้าวหน้าสายอาชีพของพนักงาน และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ( 6 ) กำหนดแนวทางการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการความเปลี่ยนแปลง ด้านทรัพยากรบุคคล ( 7 ) กำหนดแนวทางและขับเคลื่อนการสร้างองค์ความรู้ขององค์กร รวมถึงเสริมสร้าง วัฒนธรรมองค์กร ( 8 ) สอนงาน ถ่ายทอดประสบการณ์ แก้ไขปัญหา และให้คำปรึกษาแนะนาเพื่อพัฒนา และเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรให้สามารถปรับการทางานให้สอดคล้องกับเทคโนโลยี กฎระเบียบ มาตรฐานใหม่ และ แผนธุรกิจขององค์กร ( 9 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 25. ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ มีหน้าที่ ( 1 ) ศึกษามาตรฐาน และ แนวปฏิบัติที่ดี ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดทำนโยบาย และแนวปฏิบัติในการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับบริบทของสำนักงาน เป็นไปตามมาตรฐาน รวมทั้งนโยบายด้าน การกากับดูแลและการบริหารจัดการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ( IT governance ) และกำหนดมาตรฐานและแนวปฏิบัติในงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

19 ( 2 ) ศึกษาและติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม กับสำนักงาน ( 3 ) จัดทำ แผน ในการขับเคลื่อนงาน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้รองรับ การเปลี่ยนแปลง ในอนาคต มีความพร้อมต่อการใช้งาน รองรับการทำงานได้อย่างต่อเนื่อง มีความมั่นคงปลอดภัย ต่อการใช้งาน และคุ้มค่าต่อการลงทุน ( 4 ) บริหารจัดการ งานออกแบบโครงสร้างระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ภายในองค์กร และระบบฐานข้อมูล ( d atabase a dministrator ) ทั้งศูนย์คอมพิวเตอร์หลัก ศูนย์สำรอง ระบบ คลาว ด์ และโครงสร้างพื้นฐานระบบสารสนเทศ ( IT i nfrastructure ) ตามแนวทางที่เป็นมาตรฐานสากล เพื่อให้มีประสิทธิภาพ เพียงพอ มีความมั่นคงปลอดภัย และให้บริการได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งสนับสนุน การแก้ไขปัญหาด้านเทคนิคเชิงลึก ( 5 ) ศึกษาและติดตามเทคโนโลยีด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัย มาตรฐานต่าง ๆ และกาหนดมาตรการในการป้องกันภัยคุกคาม เก็บหลักฐานด้านดิจิทัล การตรวจจับความผิดปกติ ที่อาจเกิดขึ้นกับระบบสารสนเทศของสำนักงาน ทั้งมาตรการในระดับนโยบายและแนวปฏิบัติ รวมถึง มาตรการในการให้ความรู้และสร้างความตระหนักให้พนักงานในทุกระดับ ( ISSO ) ( 6 ) ปฏิบัติตามประกำศ และมาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยเทคโนโลยี สารสนเทศ ของหน่วยงานกำกับดูแลด้านไซเบอร์ของประเทศ ในฐานะเป็นหน่วยงานของรัฐ ( 7 ) ให้การสนับสนุน ส่วน งานที่เกี่ยวข้องในการเก็บรวบรวมหลักฐานดิจิทัลตามคาร้องขอ ( 8 ) เข้าร่วมการฝึกซ้อมการรับมือภัยคุกคามทางไซเบอร์ของทั้งภาคตลาดทุน ภาคการเงิน และระดับประเทศ ( 9 ) บริหารจัดการงานตามแผน การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ( BCM ) เพื่อทดสอบ แผนประจำปีของสำนักงาน และเตรียมความพร้อมเมื่อมีความจำเป็นต้องปฏิบัติตามแผนเมื่อมีเหตุ ( 10 ) ประสานงานและให้การสนับสนุนหน่วยงานกำกับดูแลด้านดิจิทัลที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทำแผน กำหนดมาตรฐาน และกฎระเบียบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ( 11 ) จัดทำและทบทวนสถาปัตยกรรม องค์กร ด้านระบบงาน ( EA : a pplication architecture ) และสถาปัตยกรรม องค์กร ด้านเทคโนโลยี ( EA : technology architecture ) และ การ ให้บริการและบริหารจัดการ สถาปัตยกรรมองค์กร ด้านระบบงานและด้านเทคโนโลยี ( EA : s ervices ) ( 12 ) วางแผนปฏิบัติงานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ แผนพัฒนาระบบงาน รวมถึง สื่อสารไปยังผู้ใช้งานตามแนวทาง การบริหารจัดการความต้องการ พัฒนาและเปลี่ยนแปลงระบบสารสนเทศ ( d emand m anagement ) ( 13 ) บริหาร วางแผน และดาเนินการจัดจ้าง จัดหา ทุกขั้นตอนของงานจัดซื้อจัดจ้าง รวมถึงบริหารจัดการงบประมาณด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ของทั้งสำนักงาน

20 ( 14 ) สำรวจความต้องการ ( survey requirement ) ออกแบบ และ พัฒนาระบบให้เป็นไป ตาม ขอบเขต ความต้องการของผู้ใช้งาน ( u ser requirement ) และตอบโจทย์การใช้งานของ ผู้ใช้งาน กลุ่มเป้าหมาย ( t arget user ) รวมถึงเป็นไปตามมาตรฐานข้อตกลงสถาปัตยกรรมที่ได้วางไว้ และทำการพัฒนา ทดสอบระบบเพื่อตอบโจทย์ของ ผู้ใช้งาน ( 15 ) บริหารจัดการงานด้านทดสอบระบบงานสาคัญก่อนขึ้นใช้งานจริง รวมทั้งสอบทาน เอกสารที่เกี่ยวข้องในการทดสอบและรายงานผลการทดสอบในภาพรวมต่อผู้บริหาร ( 16 ) บริหารจัดการงานด้าน การแก้ไขปัญหาการใช้ระบบงาน ( a pplication s upport ) รวมถึงวิเคราะห์และรายงานภาพรวมของปัญหา เพื่อหำแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ และจัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ ( post implementation review ) ของผู้ใช้ระบบงานภายนอก ( 17 ) ให้การสนับสนุนการใช้อุปกรณ์ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และช่วยเหลือผู้ใช้งาน ภายในสำนักงาน ( 18 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 26. ฝ่ายนโยบายผู้ประกอบธุรกิจ มีหน้าที่ ( 1 ) ออกแบบและสร้าง ภูมิทัศน์ภาคการเงิน ( financial l andscape ) ในระบบตลาดทุนไทย ( 2 ) เสนอแนะนโยบายเพื่อการพัฒนาและกำกับดูแลการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ ประเภทการจัดการลงทุน ซึ่งได้แก่ กองทุนรวม กองทุนส่วนบุคคล กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และธุรกิจ ที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจจัดการลงทุน (เช่น ผู้ดูแลผลประโยชน์กองทุนรวม ผู้รับฝากทรัพย์สินกองทุนส่วนบุคคล ไม่รวมศูนย์รับฝากหลักทรัพย์และบริษัทในกลุ่มตลาดหลักทรัพย์ เป็นต้น) การประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ ประเภทนายหน้า ค้า และจัดจำหน่ายหน่วยลงทุน รวมถึงออกหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ( 3 ) เสนอแนะนโยบายในการพัฒนาและกำกับดูแลการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ ประเภทตราสารทุน นายหน้าและจัดจาหน่ายตราสารหนี้ ธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ธุรกิจการให้ สินเชื่อ เพื่อธุรกิจ หลักทรัพย์ ธุรกิจสินค้าเกษตร และบริษัทหลักทรัพย์เพื่อธุรกิจหลักทรัพย์ รวมถึงการออก หลักเกณฑ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ( 4 ) พิจารณาคำขออนุญาตที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม รวมทั้ง การ ตอบข้อหารือที่เกี่ยวข้อง ( 5 ) ติดตามดูแลการบริหารความเสี่ยงในด้านฐานะการเงินของผู้ประกอบธุรกิจ จัดการ ลงทุน และ บริษัทหลักทรัพย์เฉพาะประเภทหน่วยลงทุน ทั้งนี้ เพื่อมิให้กระทบต่อลูกค้า ระบบการชาระราคา และส่งมอบ ตลอดจนความเชื่อมั่นของตลาดทุนโดยรวม ( 6 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย

21 27. ฝ่ายนโยบายระดมทุน มีหน้าที่ ( 1 ) ศึกษาและเสนอนโยบายในการส่งเสริมให้ตลาดทุนเป็นทางเลือกในการระดมทุน รวมทั้ง ออกหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งรวมถึงงานพัฒนาและกำกับดูแลการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ ของกิจการที่ภาครัฐมีนโยบายในการสนับสนุน เช่น กิจการที่ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ BCG Economy หรือเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว ( b io - c ircular - g reen e conomy ) กิจการประเภทวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก ( SMEs ) วิสาหกิจเริ่มต้น ( s tartups ) วิสาหกิจเพื่อสังคม ( SE ) กิจการขนาดใหญ่ เป็นต้น และการปฏิบัติหน้าที่ของบริษัทจดทะเบียน และ กรรมการและผู้บริหาร เพื่อให้ บริษัทจดทะเบียนและ บุคคลที่เกี่ยวข้องปฏิบัติให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ ที่เกี่ยวข้อง ( 2 ) วางนโยบายเกี่ยวกับการออกและเสนอขายตราสารทุน หรือตราสารอื่นที่เกี่ยวข้อง กับการระดมทุน ( 3 ) วางนโยบายเกี่ยวกับการทำหน้าที่ของตัวกลางในกระบวนการออกและเสนอขาย หลักทรัพย์ ได้แก่ ที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัทประเมินมูลค่าทรัพย์สินในตลาดทุน ผู้จัดการกองทรัสต์ เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ( trust manager ) และ พิจารณา คำขอความเห็นชอบตัวกลางดังกล่าว รวมทั้งตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของ trust manager ( 4 ) วางนโยบายพิจารณาคำขออนุญาตและตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ขออนุญาตเกี่ยวกับ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้าง พื้นฐาน รวมทั้งกำกับดูแลการดำเนินการภายหลังการจัดตั้งและเสนอขายกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (กอง 1 ) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เพื่อแก้ไขปัญหาในระบบสถาบันการเงิน (กอง 2 ) กองทุนรวม เพื่อแก้ไขปัญหาในระบบสถาบันการเงิน (กอง 3 ) และกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้อง (กอง 4 ) เพื่อให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง และตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนเพียงพอของข้อมูล เพื่อให้ ผู้ลงทุนใช้ประกอบการตัดสินใจลงทุน ( 5 ) พิจารณาข้อร้องเรียนที่เกี่ยวข้อง ( 6 ) จัดการระบบฐานข้อมูลเกี่ยวกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ การดำเนินการ ภายหลังการเสนอ ขาย หลักทรัพย์ และการทำหน้าที่ของตัวกลางในกระบวนการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ ( 7 ) จดแจ้งและกำกับดูแล ธุรกิจเงินร่วมลงทุน ( v enture c apital : VC ) และ p rivate e quity ( PE ) ( 8 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย

22 28. ฝ่ายนโยบายสินทรัพย์ดิจิทัลและนวัตกรรมทางการเงิน มีหน้าที่ ( 1 ) ติดตามพัฒนาการและผลกระทบของนวัตกรรม เทคโนโลยีทางการเงิน รวมถึงรูปแบบ ทางธุรกิจใหม่ ๆ และการลงทุน ทั้งในประเทศและต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ดิจิทัลและนวัตกรรม ทางการเงิน ( 2 ) เสนอแนะนโยบายเพื่อการพัฒนาและกำกับดูแลการระดมทุนเกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัล และนวัตกรรมทางการเงิน วางแนวทาง ปรับปรุง และออกกฎหมายเกี่ยวกับการกากั บดูแลสินทรัพย์ดิจิทัล และนวัตกรรมทางการเงิน รวมถึงออกหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ( 3 ) เสนอแนะนโยบายเพื่อการพัฒนาและกำกับดูแลการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล วางแนวทาง ปรับปรุง และออกกฎหมายเกี่ยวกับการกำกับดูแลการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล รวมถึงออกหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ( 4 ) พิจารณาคาขออนุญาตและกากับดูแลการออกเสนอขายโทเคนดิจิทัล ซึ่งรวมถึง โทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุนและโทเคนดิจิทัลเพื่อการใช้ประโยชน์ การให้ความเห็นชอบและกำกับดูแล ผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้ อง เช่น ผู้เก็บรักษาเงินจองซื้อโทเคนดิจิทัล เป็นต้น ( 5 ) พิจารณาให้ความเห็นชอบและกากับดูแลผู้ให้บริการระบบคราวด์ฟันดิง การเสนอ ขายหลักทรัพย์คราวด์ฟันดิง รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้เก็บรักษาเงินจองซื้อหลักทรัพย์ นายทะเบียน เป็นต้น ( 6 ) ดำเนินการเกี่ยว กับเรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวข้อง ( 7 ) ให้คำปรึกษา ให้ความรู้ จัดกิจกรรม ประสานงานกับหน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง กับสินทรัพย์ดิจิทัลและนวัตกรรมทางการเงิน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ( 8 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 29. ฝ่ายพัฒนาและส่งเสริมความรู้ตลาดทุน มีหน้าที่ ( 1 ) กำหนดกลยุทธ์ แผนการให้ความรู้ ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ด้านการเงินการลงทุน การระดมทุน และตลาดทุน ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย โดยจัดทำโครงการ ผลิตสื่อ เครื่องมือสนับสนุนการพัฒนา ความรู้ และจัดกิจกรรม ตลอดจนการออกไปพบปะประชาชนในพื้นที่ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรม ( 2 ) เป็นศูนย์กลางในการให้ความรู้การเงิน การลงทุน การระดมทุน และตลาดทุน สำหรับกลุ่มเป้าหมาย ( 3 ) ทำความเข้าใจสถานการณ์ในตลาดทุน ผลิตภัณฑ์ด้านตลาดทุนใหม่ ๆ พฤติกรรม ของผู้ลงทุน เพื่อเข้าใจความเสี่ยงที่จะ เกิดขึ้นกับผู้ลงทุน และสามารถใช้เครื่องมือที่เหมาะสมและหลากหลาย ในการให้ความรู้ ความเข้าใจ ป้องกันหรือป้องปรามโอกาสเกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ตอบสนองทั นต่อเหตุการณ์ ผ่านสื่อและช่องทางที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย

23 ( 4 ) พัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนด้านตลาดทุน เพื่อนาความรู้ไปส่งต่อกลุ่มเป้าหมาย สนับสนุนการทำงานของสำนักงานในพื้นที่ และสนับสนุนการทำงานแบบมีส่วนร่วมกับภาคประชาชน ( 5 ) ร่วมวางแผนงาน และ/หรือดำเนินการให้ความรู้ด้านการเงิน การลงทุน การระดมทุน และตลาดทุนแบบบูรณาการกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ และเครือข่าย ภาคประชาชนในจังหวัดต่าง ๆ ( 6 ) บริหารจัดการเว็บไซต์และสื่อออนไลน์ให้ความรู้ ที่อยู่ภายใต้การดูแลของฝ่ายพัฒนา และส่งเสริมความรู้ตลาดทุน ( 7 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 30. ฝ่ายยุทธศาสตร์และการต่างประเทศ มีหน้าที่ ( 1 ) ศึกษาแนวโน้มพัฒนาการสำคัญในตลาดทุนและการบริหารองค์กร กำหนดท่าที นโยบาย และยุทธศาสตร์ของตลาดทุนไทยรวมถึงด้านการต่างประเทศ และยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อน องค์กร และท่าทีกลยุทธ์กับตลาดทุนต่างประเทศ ทั้งในระดับภูมิภาค พหุภาคี และทวิภาคี เพื่อให้ตลาดทุนไทย แข่งขันได้ ในระดับสากลและมีความน่าเชื่อถือ สามารถตอบสนองการพัฒนาเศรษฐกิจและความสำมารถ ในการแข่งขันของประเทศ ( 2 ) เสนอแนะและกาหนดท่าทีในการเจรจาการค้าระหว่างประเทศในส่วนที่เกี่ยวกับ ตลาดทุน และสำนักงาน ทั้งในกรอบพหุภาคี ภูมิภาค และทวิภาคี โดยประสานกับสายงานกฎหมายและ สายงานที่เกี่ยวข้องเพื่อกาหนดท่าทีที่เกี่ยวข้องกับข้อกฎหมาย ธุรกิจในตลาดทุน และการปฏิบัติของสำนักงาน ( 3 ) สนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาตลาดทุนไทย และจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของสำนักงาน ในส่วนตลาดทุน ตลอดจนนำรายงานความคืบหน้าในการดาเนินการตามแผนและผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัด ( KPI ) ตามแผนดังกล่าวของสายงานต่าง ๆ มาวิเคราะห์และกาหนดประเด็น ผลักดัน และทบทวนเพื่อให้สาเร็จ ตามเป้าหมาย ที่ กำหนดไว้ตามแผน ( 4 ) สนับสนุนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของสำนักงานในส่วนขององค์กร ตลอดจนติดตา ม และ รายงานความคืบหน้าในการ ดาเนินการตามแผนและผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัด ( KPI ) ตามแผนดังกล่าวของ สายงานต่าง ๆ มาวิเคราะห์และกำหนดประเด็น ผลักดัน และทบทวนเพื่อให้สาเร็จตามเป้าหมาย ที่ กำหนดไว้ ตามแผน ( 5 ) ติดตามการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานสากลสำคัญในตลาดทุนและพัฒนาการของตลาดทุน ต่างประเทศ เพื่อสนับสนุนส่วนงานต่าง ๆ ในการปรับปรุงแนวทางการกำกับดูแลของสำนักงานให้เทียบเคียงได้กับ มาตรฐานสากล ( 6 ) ดำเนินการด้านการต่างประเทศให้สอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาตลาดทุนไทย วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของสำนักงาน

24 ( 7 ) เสนอแนะท่าทีของสำนักงานและใน forum ระหว่างประเทศในระดับเลขาธิการ โดยประสาน รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลจากทั้งภายในสานักงาน หน่วยงานในประเทศที่เกี่ยวข้อง และ หน่วยงานในต่างประเทศ ( 8 ) จัดการประชุมระหว่างประเทศใน ( 7 ) รวมถึงสนับสนุนการปฏิบัติงาน หรือทำงา น ร่วม กัน ระหว่างหน่วยงานกำกับดูแลที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศในการประชุมดังกล่าว ( 9 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 31. ฝ่ายวิจัยและขับเคลื่อนข้อมูล มีหน้าที่ ( 1 ) ให้บริการด้านงานวิจัยเชิงนโยบายที่สอดคล้องกับพันธกิจและวิสัยทัศน์ของสำนักงาน โดยจัดให้มีการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ในด้านพัฒนาการต่าง ๆ ของตลาดทุน รวมถึง โอกาสและปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในงานด้านนโยบายของสำนักงาน ( 2 ) ให้คำปรึกษาและร่วมเป็นคณะทำงานกับส่วนงานและหน่วยงานต่าง ๆ ในประเด็น ที่เกี่ยวข้องหรือต่อยอดงานวิจัย รวมทั้งสนับสนุนด้านเทคนิคและการวิเคราะห์แก่ส่วนงานต่าง ๆ ในเรื่อง ที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และกลไกในตลาดทุน ( 3 ) เผยแพร่และแลกเปลี่ยนผลงานวิจัยกับหน่วยงานต่าง ๆ เช่น การเข้าร่วมและ จัดประชุมสัมมนาเกี่ยวกับตลาดทุน เป็นต้น ( 4 ) กำหนดขอบเขตของข้อมูลที่สานักงานจำเป็นต้องนำมาใช้ในการตัดสินใจดำเนินงาน ( 5 ) ประสานกับฝ่ายจัดการและวิเคราะห์ข้อมูล และ ส่วน งานต่าง ๆ เพื่อให้สำนักงาน มีข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และพร้อ มใช้ สามารถนำมาใช้ในการตัดสินใจดำเนินงานและบริหารความเสี่ยง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ( 6 ) ประสานงานกับส่วนงานต่าง ๆ ในการพัฒนาการ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกและ เครื่องมือที่จาเป็นในการวิเคราะห์เชิงลึก เพื่อให้สำนักงานมีข้อมูลสารสนเทศในการตัดสินใจเชิงนโยบาย และสนับสนุนงานสาคัญ ( 7 ) สนับสนุนและให้คำแนะนำแก่ส่วนงานในการนำข้อมูลมาใช้ในการวิเคราะห์และ ตัดสินใจดำเนินงาน ( 8 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 32. ฝ่ายส่งเสริมความยั่งยืน มีหน้าที่ ( 1 ) ศึกษาและติดตามพัฒนาการด้านธรรมาภิบาล และการมีความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม ( e nvironment, s ocial and g overnance : ESG ) ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ

25 เพื่อร่วมกับ ส่วน งานที่เกี่ยวข้องใน การกาหนดและจัดทำ แผนแม่บท ESG ( ESG m aster p lan ) เพื่อส่งเสริม การประกอบธุรกิจอย่างมี ESG ให้แก่บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ และผู้ประกอบธุรกิจในตลาดทุน ( 2 ) ดำเนินการหรือสนับสนุน ส่วน งานที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อน ESG m aster p lan ในส่วนของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ พร้อมทั้งติดตามและรายงานความคืบหน้าการดำเนินการ ( 3 ) ประสานงานและสนับสนุน ส่วน งานที่เกี่ยวข้อง ในการดาเนินการตาม ESG m aster p lan ในส่วน ของ ผู้ประกอบธุรกิจในตลาดทุน พร้อมทั้งติดตามความคืบหน้าการดาเนินการ ( 4 ) ศึกษาและร่วมกับ ส่วน งานที่เกี่ยวข้องในการกำหนดนโยบายและแผนงาน ESG ของสำนักงานเพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรที่ยั่งยืน ( 5 ) ประสานงานและสนับสนุน ส่วน งานที่เกี่ยวข้องในการดาเนินการตามแผนงาน ESG ของสำนักงาน เช่น ฝ่ายทรัพยากรบุคคลในงานด้านบุคลากร ฝ่ายการเงินและบริหารทั่วไป ในงานที่เกี่ยวกับ อาคารและสถานที่ ฝ่ายสื่อสารองค์กรในงานที่เกี่ยวกับ ความรับผิดชอบต่อสังคม c orporate s ocial r esponsibility ( CSR ) ฝ่ายความเสี่ยงตลาดทุนและองค์กรในงานที่เกี่ยวกับการเสริมสร้างธรรมาภิบาล และการต่อต้านการทุจริตและคอร์รัปชันของสานักงาน เป็นต้น พร้อมทั้งติดตามความคืบหน้า การดำเนินการ ( 6 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย 33. ฝ่ายสื่อสารองค์กร มีหน้าที่ ( 1 ) ติดตามข้อมูลข่าวสาร กำหนดท่าทีกลยุทธ์ ดำเนินการสื่อสาร และให้คาปรึกษา แก่ผู้บริหารระดับสูงในประเด็นที่เป็นข่าว รวมทั้งจัดเตรียมร่างข่าวและงานสื่อมวลชนสัมพันธ์ โดยทำงาน ร่วมกับโฆษกของสานักงาน ( 2 ) กำหนดกลยุทธ์และดำเนินการบริหารจัดการภาพลักษณ์ของสำนักงาน การสื่อสาร ทั้งภายในและภายนอก การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ การเขียนบทความ การจัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อออนไลน์ การบริหารจัดการสื่อโซเชียลของสำนักงาน (เช่น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์) ที่อยู่ภายใต้การดูแลของฝ่ายสื่อสารองค์กร การจัดกิจกรรมและการสร้างความสัมพันธ์กับผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่ อส่งเสริมภาพลักษณ์ ผลงาน ความสำเร็จองค์กร และการดำเนินงาน ( 3 ) เป็นศูนย์กลางในการให้บริการข้อมูลสาหรับผู้ลงทุนและผู้ที่เกี่ยวข้อง รับเบาะแส และเรื่องร้องเรียนจากบุคคลภายนอก ซึ่งรวมทั้งบริหารจัดการโดยประสานงานกับส่วนงานต่าง ๆ เพื่อมุ่งให้ การดำเนินการของสา นักงานมีความรวดเร็วและช่วยยับยั้งความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อผู้ลงทุน ( 4 ) เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมงานสื่อสารหรือการดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับภาพลักษณ์ ของสำนักงาน รวมถึงจัดทำแผนและดำเนินการสื่อสารบุคลากรภายใน

26 ( 5 ) วางแผนงานขับเคลื่อนและดำเนินโครงการ เกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม c orporate s ocial r esponsibility ( CSR ) โดยประสานงานให้ ส่วน งานที่เกี่ยวข้องร่วมดำเนินการ ( 6 ) บริหารจัดการเว็บไซต์ขององค์กรและสื่อออนไลน์ที่อยู่ภายใต้การดูแลของ ฝ่ายสื่อสารองค์กร เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลเพื่อการบริการผู้ลงทุนและผู้ที่เกี่ยวข้อง ( 7 ) บริหารจัดการการแปลข่าว ประกาศ และข้อมูลสาคัญอื่น ๆ เป็นภาษาอังกฤษ ( 8 ) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับ มอบหมาย