Fri Apr 21 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ข้อบัญญัติขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งคอก เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ พ.ศ. 2563


ข้อบัญญัติขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งคอก เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ พ.ศ. 2563

ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลทุงคอก เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงหรือปลอยสัตว พ.ศ. 2563 โดยที่เป็นการสมควรตราขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลทุงคอก วาด้วยการควบคุม การเลี้ยงหรือปลอยสัตว อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 71 แห่งพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 และที่แกไขเพิ่มเติม ประกอบมาตรา 29 และมาตรา 30 แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 องคการบริหารสวนตําบลทุงคอก โดยความเห็นชอบของสภาองคการบริหารสวนตําบลทุงคอก และนายอําเภอสองพี่นอง จึงตราขอบัญญัติไว ดังต่อไปนี้ ขอ 1 ขอบัญญัตินี้เรียกวา “ ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลทุงคอก เรื่อง การควบคุม การเลี้ยงหรือปลอยสัตว พ.ศ. 2563 ” ขอ 2 ขอบัญญัตินี้ให้ใชบังคับในเขตองคการบริหารสวนตําบลทุงคอก นับแต่วันถัดจาก วันที่ได้ประกาศไวโดยเปดเผย ณ ที่วาการอําเภอและที่ทําการองคการบริหารสวนตําบลทุงคอกแล้ว 7 วัน ขอ 3 บรรดาขอบังคับ ประกาศ ระเบียบ หรือคําสั่งอื่นใดในสวนที่ได้ตราไวแล้วในขอบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแยงกับขอบัญญัตินี้ ให้ใชขอบัญญัตินี้แทน ขอ 4 ให้นายกองคการบริหารสวนตําบลทุงคอกรักษาการตามขอบัญญัตินี้ และให้มีอํานาจ ออกขอบังคับ ระเบียบ คําสั่ง ประกาศ เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามขอบัญญัตินี้ หมวด 1 บททั่วไป ขอ 5 ในขอบัญญัตินี้ “ สัตว ” หมายความวา สัตวที่โดยปกติเลี้ยงไวเพื่อเป็นสัตวในบ้าน สัตวเลี้ยงเพื่อใชงาน สัตวเลี้ยงเพื่อใชเป็นพาหนะ สัตวเลี้ยงเพื่อใชเป็นเพื่อน สัตวเลี้ยงเพื่อใชเป็นอาหาร สัตวเลี้ยงเพื่อใชในการแสดง สัตวเลี้ยงเพื่อใชในการอื่น ทั้งนี้ ไม่วาจะเป็นเจ้าของหรือไม่ก็ตามและให้หมายความรวมถึงสัตวที่อาศัยอยู่ ตามธรรมชาติ “ การเลี้ยงสัตว ” หมายความวา การมีสัตวไวในครอบครอง และดูแลเอาใจใส บํารุงรักษา ตลอดจนให้อาหารเป็นอาจิณ ้ หนา 74 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 92 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 เมษายน 2566

“ สัตวควบคุม ” หมายความวา สุนัขหรือสัตวอื่นที่กําหนดไวในกฎกระทรวง “ สัตวควบคุมพิเศษ ” หมายความวา 1. สุนัขสายพันธุที่ดุราย เชน ร็อตไวเลอร (Rottweiller), พิทบูลเทอรเรีย (Pitbull terrier), บูลเทอรเรีย (Bullterrier), บางแกว , โดเบอรแมน (Doberman), เยอรมัน เชฟเพิรด (german shepherd), มาสทิสต ( mastiff), เชาเชา ( chow chow), อลาสกัน มารามิวท ( alaskan malamute) หรือสายพันธุที่ใกลเคียงกันกับที่กลาวมาทั้งหมด หรือลูกผสมของสายพันธุดังกลาว 2. สัตวที่มีประวัติทํารายคน หรือพยายามทํารายคน โดยมีหลักฐานการแจงความ ต่อเจ้าหน้าที่ตํารวจ 3. สัตวที่มีพฤติกรรมไลทํารายคนหรือสัตว โดยปราศจากการยั่วยุ 4. สัตวที่เจ้าพนักงานทองถิ่นประกาศกําหนด “ การขึ้นทะเบียน ” หมายความวา การนําเสนอเอกสารเกี่ยวกับสุนัขหรือแมว ที่จดทะเบียนไวแล้วแจงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับรูปพรรณสัณฐาน “ การปลอยสัตว ” หมายความวา การเลี้ยงสัตวในลักษณะที่มีการปลอยให้อยู่ นอกสถานที่เลี้ยงสัตว รวมทั้งการสละการครอบครองสัตว “ เจ้าของสัตว ” หมายความรวมถึงผู้ครอบครองสัตวด้วย “ เครื่องหมายประจําตัวสัตว ” หมายความวา เครื่องหมายประจําตัวสัตวควบคุม “ สถานที่เลี้ยงสัตว ” หมายความวา คอกสัตว กรงสัตว ที่ขังสัตว หรือสถานที่ในลักษณะอื่ น ที่ใชในการควบคุมสัตวที่เลี้ยง “ ที่หรือทางสาธารณะ ” หมายความวา สถานที่หรือทางซึ่งมิใชเป็นของเอกชน และประชาชนสามารถใชประโยชนหรือใชสัญจรได้ “ เจ้าพนักงานทองถิ่น ” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนตําบลทุงคอก “ เจ้าพนักงานสาธารณสุข ” หมายความวา เจ้าพนักงานซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 “ พนักงานเจ้าหน้าที่ ” หมายความวา ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งจากเจ้าพนักงานทองถิ่นให้ปฏิบัติหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และขอบัญญัตินี้ “ สัตวแพทย ” หมายความวา สัตวแพทยผู้ปฏิบัติงานในสวนราชการของรัฐในอําเภอ/กิ่งอําเภอ ้ หนา 75 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 92 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 เมษายน 2566

ขอ 6 หามมิให้มีการเลี้ยงสัตว ชนิด หรือประเภทดังต่อไปนี้ในเขตองคการบริหารสวนตําบลทุงคอก โดยเด็ดขาด ได้แก (1) งูพิษและงูที่อาจกอให้เกิดอันตรายแกคนและสัตวเลี้ยง (2) ปลาปรันยา (3) คางคกไฟ (4) สัตวดุรายตาง ๆ (5) สัตวมีพิษรายอื่น ๆ (6) สัตวต้องหามตามกฎหมายอื่น ๆ ขอ 7 เพื่อประโยชนในการควบคุมการเลี้ยงหรือการปลอยสัตวในเขตองคการบริหาร สวนตําบลทุงคอกให้เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจออกประกาศกําหนดเขตพื้นที่เลี้ยงสัตวหรือปลอยสัตว ที่ต้องควบคุมโดยให้มีมาตรการอยางหนึ่งอยางใด ดังต่อไปนี้ (1) กําหนดจํานวน ประเภท และชนิดของสัตวที่เลี้ยง (2) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการทําทะเบียนตามประเภทและชนิดของสัตว (3) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการปลอยสัตว ขอ 8 เพื่อประโยชนในการรักษาสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดํารงชีพของประชาชน ในทองถิ่น หรือเพื่อปองกันอันตรายจากเชื้อโรคที่เกิดจากสัตวให้พื้นที่ในเขตอํานาจขององคการบริหาร สวนตําบลทุงคอกเป็นเขตควบคุมการเลี้ยงหรือปลอยสัตว ดังนี้ ให้พื้นที่ต่อไปนี้เป็นเขตหามเลี้ยงหรือปลอยสัตวประเภทชาง ม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ สุนัข แมว สัตวที่มีพิษและสัตวดุราย หรือสัตวอื่น ๆ โดยเด็ดขาด (1) สถานที่ราชการในการดูแลขององคการบริหารสวนตําบลทุงคอก เชน ที่ทําการ องคการบริหารสวนตําบลทุงคอก ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก เป็นตน (2) สถานที่ราชการหรือหนวยงานราชการในเขตองคการบริหารสวนตําบลทุงคอก เชน โรงเรียน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล เป็นตน (3) บริเวณถนนสาธารณะทุกสาย บริเวณทางเดินรถไฟ บริเวณแมน้ําทุกสาย ให้พื้นที่นอกจากที่ระบุไวในขอ 8 วรรคสอง (1) และ (2) เป็นเขตหามเลี้ยงหรือปลอยสัตว ประเภทสุนัขและแมวเกินจํานวน 5 ตัว เวนแต่ได้รับความเห็นชอบจากเจ้าพนักงานทองถิ่น ้ หนา 76 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 92 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 เมษายน 2566

หมวด 2 การควบคุมการเลี้ยง หรือปลอยสัตว ขอ 9 นอกจากการเลี้ยงสัตวตามปกติวิสัยแล้ว เจ้าของสัตวจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ และเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (1) ในกรณีที่เป็นสัตวเลี้ยงลูกด้วยนมและเจ้าของสัตวประสงคจะเลี้ยงสัตวนั้นไว เป็นสัตวเลี้ยงต้องนําสัตวที่มีอายุระหวาง 2 - 4 เดือน ไปฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาเป็นครั้งแรก และต้องนําสัตวไปฉีดวัคซีนครั้งต่อไปตามที่กําหนดในใบรับรองการฉีดวัคซีน (2) จัดให้มีสถานที่เลี้ยงสัตวที่มั่นคงแข็งแรงตามความเหมาะสมแกประเภท และชนิดของสัตว และมีขนาดเพียงพอแกการดํารงชีวิตของสัตว มีแสงสวางและการระบายอากาศที่เพียงพอ มีระบบการระบายน้ํา และบําบัดของเสียที่เกิดขึ้นอยางถูกสุขลักษณะ กรณีเป็นสัตวควบคุมพิเศษจะต้องเลี้ยงในสถานที่ หรือกรงที่สัตวไม่สามารถเขาถึงบุคคล ภายนอกได้ และมีปายเตือนให้ระมัดระวังที่สามารถสังเกตเห็นได้อยางชัดเจน (3) รักษาสถานที่เลี้ยงสัตวให้สะอาดอยู่เสมอ จัดเก็บสิ่งปฏิกูลให้ถูกสุขลักษณะเป็นประจํา ไม่ปลอยให้เป็นที่สะสมหมักหมมจนเกิดกลิ่นเหม็นรบกวนผู้ที่อยู่บริเวณใกลเคียง (4) เมื่อสัตวตายลงเจ้าของสัตวจะต้องกําจัดซากสัตวและมูลสัตวให้ถูกสุขลักษณะ เพื่อปองกันมิให้เป็นแหลงเพาะพันธุแมลงหรือสัตวนําโรค ทั้งนี้ โดยวิธีที่ไม่กอเหตุรําคาญจากกลิ่น ควัน และไม่เป็นเหตุให้เกิดการปนเปอนของแหลงน้ํา (5) จัดให้มีการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในสัตวเพื่อปองกันอันตรายจากเชื้อโรคที่เกิดจากสัตว (6) ให้เลี้ยงสัตวอยู่ภายในสถานที่ของตน ไม่ปลอยให้สัตวอยู่นอกสถานที่เลี้ยงสัตว โดยปราศจากการควบคุม กรณีเป็นสัตวดุรายจะต้องเลี้ยงในสถานที่หรือกรงที่บุคคลภายนอกเขาไปไม่ถึงตัวสัตว และมีปายเตือนให้ระมัดระวังที่สังเกตเห็นได้อยางชัดเจน (7) ไม่เลี้ยงสัตวภายในสถานที่ที่เจ้าพนักงานทองถิ่นกําหนด (8) ควบคุมดูแลสัตวของตนมิให้กออันตรายหรือเหตุรําคาญต่อผู้อื่น (9) ปฏิบัติการอื่นใดตามคําแนะนําของเจ้าพนักงานสาธารณสุข คําสั่งเจ้าพนักงานทองถิ่น รวมทั้งขอบังคับ ระเบียบ และคําสั่งขององคการบริหารสวนตําบลทุงคอก ้ หนา 77 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 92 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 เมษายน 2566

ขอ 10 ให้เจ้าของสัตวมีหน้าที่ต้องกําจัดสิ่งปฏิกูลอันเกิดจากสัตวของตนในที่หรือทางสาธารณะ ขอ 11 เมื่อมีกรณีสงสัยหรือพบวาสัตวที่ตนเลี้ยงไวมีอาการเป็นโรค เชน มีอาการดุราย วิ่งเพนพาน กัดสิ่งที่ขวางหน้า หรือเซื่องซึม ซุกตัวในที่มืด ปากอาลิ้นหอยแดงคล้ํา น้ําลายไหล เดินโซเซ ตัวแข็ง ขาออนเปลี้ย เจ้าของสัตวมี หน้าที่ต้องแจงต่อเจ้าพนักงานทองถิ่น หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ ภายใน 24 ชั่วโมง เมื่อสัตวซึ่งปรากฏอาการตามวรรคหนึ่ง กัดหรือทํารายบุคคลใด ให้เจ้าของที่เป็นผู้ครอบครองสัตว จับสัตวนั้นกักขังไวเพื่อสังเกตอาการไม่นอยกวา 10 วัน และแจงอาการสัตวให้เจ้าพนักงานทองถิ่น พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือสัตวแพทยของสํานักงานปศุสัตวจังหวัด/อําเภอทราบ เมื่อสัตวซึ่งปรากฏอาการตามวรรคหนึ่ง ตายหรือสงสั ยวาจะเป็นโรค เจ้าของต้องแจง เจ้าพนักงานทองถิ่นหรือพนักงานเจ้าหน้าที่หรือสัตวแพทยของสํานักงานปศุสัตวจังหวัด/อําเภอทราบ เพื่อตรวจหาโรคสัตว ขอ 12 บุคคลผู้ให้อาหารสัตวเป็นประจําหรือครั้งคราว มีหน้าที่สังเกตอาการสัตว หากปรากฏ กรณีสงสัยวาสัตวดังกลาวมีอาการตามขอ 11 วรรคหนึ่ง บุคคลดังกลาวมีหน้าที่ต้องแจงต่อเจ้าพนักงานทองถิ่น หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ภายใน 24 ชั่วโมง ขอ 13 เมื่อสัตวตายเจ้าของสัตวจะต้องกําจัดซากสัตวให้ถูกสุขลักษณะเพื่อปองกันมิให้เป็น แหลงเพาะเชื้อโรค เพาะพันธุแมลงหรือพาหะนําโรค โดยวิธีที่ไม่กอให้เกิดเหตุรําคาญและไม่ให้เกิดการปนเปอน ในแหลงน้ํา ขอ 14 เมื่อสัตวที่เลี้ยงไวมีอาการโรคสัตว หรือเป็นโรคสัตว หรือถูกสัตวที่เป็นโรคกัดหรือทําราย เจ้าของสัตวมีหน้าที่ต้องแจงต่อเจ้าพนักงานทองถิ่น หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือสัตวแพทยของ สํานักงานปศุสัตวจังหวัด/อําเภอ ขอ 15 ในกรณีที่มีเหตุควรสงสัยวาสัตวที่เลี้ยงนั้นเป็นโรคอันอาจเป็นอันตรายแกสุขภาพ ของบุคคลทั่วไปให้เจ้าของสัตวแยกกักสัตวนั้นไวตางหาก และแจงให้เจ้าพนักงานทองถิ่นหรือเจ้าพนักงาน สาธารณสุขทราบ และแจงให้สัตวแพทยของหนวยงานราชการทราบ และต้องปฏิบัติตามคําแนะนํา โดยเครงครัด ้ หนา 78 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 92 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 เมษายน 2566

ขอ 16 เจ้าของสัตวมีหน้าที่ต้องอํานวยความสะดวก หรือไม่กระทําการใดอันเป็นการขัดขวาง การปฏิบัติหน้าที่ตามอํานาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานทองถิ่นหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ และหามมิให้บุคคลใด ขัดขวางการจับสัตวที่ไม่มีเจ้าของในที่หรือทางสาธารณะ ทั้งนี้ ให้เจ้าของสัตวหรือบุคคลอื่นใด มีหน้าที่ให้ขอมูลสัตวที่สงสัยวาจะเป็นโรคสัตว ขอ 17 เมื่อมีประกาศเขตระบาดโรคสัตว หรือประกาศเขตโรคสัตวชั่วคราว หามมิให้ผู้ใด เคลื่อนยายสัตวหรือซากสัตว เขา - ออก ภายในเขตองคการบริหารสวนตําบลทุงคอก เวนแต่ได้รับอนุญาต เป็นหนังสือจากสัตวแพทยของสํานักงานปศุสัตวจังหวัด/สํานักงานปศุสัตวอําเภอหรือเจ้าพนักงานทองถิ่น หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ ขอ 18 ผู้ใดนําสัตวออกนอกสถานที่เลี้ยงต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ (1) ควบคุมสัตวด้วยอุปกรณที่แข็งแรงพอที่จะหยุดยั้งมิให้สัตวทํารายผู้อื่น หรือทําความเสียหายแกสิ่งของสาธารณะหรือของผู้อื่นได้อยางทันทวงที (2) กรณีที่เป็นสัตวควบคุมพิเศษ ต้องสวมใสอุปกรณครอบปากและสายลากจูงที่แข็งแรง และจับสายลากจูงสัตวหางจากตัวสัตวไม่เกิน 50 เซนติเมตร ขอ 19 กรณีการเลี้ยงสัตวซึ่งดําเนินกิจการในลักษณะของฟารมเลี้ยงสัตว หรือเลี้ยงสัตว เป็นจํานวนมาก เจ้าของสัตวต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑและเงื่อนไขตามขอ 9 อยางเครงครัด เพื่อตรวจดูแลสภาพ หรือสุขลักษณะของสถานที่ที่ใชเลี้ยงสัตว และต้องปฏิบัติตามมาตรการเพื่อปองกันอันตรายจากเชื้อโรค หรือเหตุรําคาญจากการเลี้ยงสัตว ดังนี้ (1) การดูแลสภาพและสุขลักษณะของสถานที่เลี้ยงสัตวต้องทํารางระบายน้ํารับน้ําโสโครก ไปให้พนจากที่นั้นโดยสะดวกและเหมาะสม (2) การระบายน้ําเสียต้องไม่ให้เป็นที่เดือดรอนแกผู้ใชน้ําแหลงน้ําสาธารณะ (3) ต้องจัดให้มีระบบกักเก็บหรือบําบัดน้ําเสียให้เหมาะสม ทั้งนี้ ต้องไม่ทําให้เกิด กลิ่นเหม็นจนสรางความเดือดรอนรําคาญแกผู้อยู่อาศัยขางเคียง (4) ต้องทําความสะอาด กวาดลางสถานที่เลี้ยงสัตวให้อยู่ในภาวะอันดีและถูกสุขลักษณะ อยู่เสมอ ้ หนา 79 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 92 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 เมษายน 2566

(5) ต้องรักษาสถานที่ไม่ให้เป็นที่เพาะพันธุแมลงวัน แมลงสาบ ยุง หนู หรือสัตว ซึ่งเป็นพาหะนําโรคตาง ๆ และต้องเก็บวัสดุอุปกรณเครื่องใชในการลี้ยงสัตวให้เป็นระเบียบเรียบรอยเสมอ (6) ต้องมีที่รองรับมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลตาง ๆ ให้ถูกสุขลักษณะและมีจํานวนเพียงพอ ขอ 20 หลังจากที่ขอบัญญัตินี้มีผลบังคับใช การดําเนินกิจการเกี่ยวกับสัตวตามขอ 18 ต้องได้รับความยินยอมจากการประชุมประชาคมหมู่บ้าน และได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่น การอนุญาตตามวรรคหนึ่งนั้น ต้องปรากฏขอเท็จจริงวาสถานที่เลี้ยงสัตวนั้นเป็นบริเวณที่โปรง อากาศถายเทสะดวก มีตนไมให้รมเงาพอสมควร ตั้งอยู่หางจากแหลงชุมชน ศาสนสถาน โบราณสถาน สถาบันการศึกษา โรงพยาบาล หรือสถานที่ราชการอื่น ๆ ในระยะที่ไม่สงผลกระทบต่อสุขภาพ อนามัย ไม่กอเหตุรําคาญต่อชุมชน โดยต้องมีระยะหางจากสถานที่ดังกลาว และแหลงน้ําสาธา รณะ ในระยะที่เหมาะสมตามจํานวนของสัตว หมวด 3 การจดทะเบียนสัตว ขอ 21 ในการจดทะเบียนสัตวให้เจ้าของบ้านหรือเจ้าของสัตวที่ครอบครองสัตวเป็นระยะเวลา ไม่นอยกวา 60 วัน ยื่นคําขอใบรับรองการจดทะเบียนและขึ้นทะเบียนสัตวต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ที่ทําการองคการบริหารสวนตําบลทุงคอก หรือสถานที่ใดตามที่เจ้าพนักงานทองถิ่นกําหนด ขอ 22 ในกรณีที่สัตวตาย หรือได้พบสัตวที่ตายแล้ว เจ้าของบ้านหรือเจ้าของสัตวมีหน้าที่ ต้องแจงการตาย หรือการพบสัตวที่ตายนั้นต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามแบบที่เจ้าพนักงานทองถิ่นกําหนด ภายใน 30 วันนับแต่วันที่สัตวตายหรือพบสัตวที่ตายเพื่อให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการตามอํานาจหน้าที่ต่อไป กรณีที่สัตวพนไปจากการครอบครองของเจ้าของสัตว เชน หาย ยกสัตวให้บุคคลอื่น เป็นตน เจ้าของสัตวมีหน้าที่ต้องแจงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามแบบที่เจ้าพนักงานทองถิ่นกําหนดภายใน 90 วัน นับแต่วันที่สัตวพนไปจากการครอบครอง หมวด 4 การรักษาความเป็นระเบียบเรียบรอย ขอ 23 ให้เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจกําหนดการเลี้ยงหรือปลอยสัตว หรือหามเลี้ยง หรือปลอยสัตวในเขตควบคุมการปลอยสัตว เฉพาะในเขตทองที่ใดทองที่หนึ่งหรือเต็มพื้นที่องคการบริหาร สวนตําบลทุงคอก ้ หนา 80 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 92 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 เมษายน 2566

ความในวรรคหนึ่งไม่ให้ใชบังคับแกการปลอยสัตวเพื่อการกุศลตามประเพณีซึ่งไม่กอให้เกิด ความเดือดรอนเสียหายแกประชาชนสวนรวม ขอ 24 ในกรณีที่เจ้าพนักงานทองถิ่น พนักงานเจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงานสาธารณสุขพบสัตว ในที่หรือทางสาธารณะซึ่งอยู่ภายในเขตองคการบริหารสวนตําบลทุงคอก หรือเขตควบคุมการเลี้ยง หรือปลอยสัตวโดยไม่ปรากฏเจ้าของให้เจ้าพนักงานทองถิ่นหรือผู้ได้รับมอบหมายจากเจ้าพนักงานทองถิ่น มีอํานาจกักสัตวดังกลาวไวเป็นเวลาอยางนอย 30 วัน หากเห็นวาสัตวนั้นอาจเป็นอันตรายต่อประชาชน เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจทําลายหรือจัดการตามที่เห็นสมควร ในระหวางการจับสัตว หากสัตวหลบหนีหรือเกิดอุบัติเหตุอื่นใดทําให้สัตวบาดเจ็บ หากเจ้าพนักงาน ทองถิ่นได้ใชความระมัดระวังตามสมควรแล้ว องคการบริหารสวนตําบลทุงคอกไม่ต องรับผิดชอบ ต่อความเสียหายใด ๆ ที่เกิดขึ้น ขอ 25 เมื่อได้มีการจับสัตวมากักไวตามความในขอ 24 เจ้าพนักงานทองถิ่นจะปดประกาศ แจงให้เจ้าของทราบและให้มารับสัตวคืนภายใน 30 วันนับตั้งแต่วันที่จับสัตวมากักไวโดยประกาศไว ณ สํานักงานองคการบริหารสวนตําบลทุงคอกหรือสถานที่อื่นใดโดยเปดเผยเมื่อพนกําหนด 30 วันแล้ว ไม่มีผู้ใดมาแสดงตัวเป็นเจ้าของสัตวให้สัตวนั้นตกเป็นขององคการบริหารสวนตําบลทุงคอก เวนแต่ จะได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่นให้คืนสัตวนั้นแกเจ้าของสัตวและได้มีการชําระอัตราคาธรรมเนียม การปรับและคาใชจายในการดูแลสัตวตามที่กําหนดไวทายขอบัญญัตินี้ ขอ 26 กรณีที่การกักสัตวไวอาจกอให้เกิดอันตรายแกสัตวนั้นเองแกสัตวอื่นหรือหรือแกบุคคลอื่น หรือต้องเสียคาใชจายเกินสมควร เจ้าพนักงานทองถิ่นจะจัดการขาย หรือขายทอดตลาดสัตวนั้ น ตามสมควรแกกรณีกอนถึงกําหนด 30 วันก็ได้เงินที่ได้จากการขายหรือขายทอดตลาดเมื่อได้หักคาใชจาย ในการขายหรือขายทอดตลาดและการเลี้ยงดูแล้วให้เก็บรักษาเงินนั้นไวแทนตัวสัตว หากไม่มีผู้ใดมาแสดงตัว และสามารถพิสูจนได้วาเป็นเจ้าของสัตวที่แทจริงเมื่อพนกําหนด 60 วันนับแต่วันที่ทําการขาย หรือขายทอดตลาดสัตวดังกลาวให้เงินที่เก็บไวแทนสัตวนั้นตกเป็นขององคการบริหารสวนตําบลทุงคอก กรณีที่สัตวนั้นตาย เจ็บปวย หรือการเก็บรักษาสัตวนั้นไวจะกอให้เกิดผลเสียมากกวาผลดี หรือสัตวนั้นเป็นโรคติดต่อที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชนหรือสัตวอื่น ๆ เมื่อสัตวแพทยได้ตรวจสอบ หรือให้ความเห็นเป็นลายลักษณอักษรแล้ว เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจทําลายสัตวนั้นได้ ้ หนา 81 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 92 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 เมษายน 2566

กรณีที่มิได้มีการขายหรือขายทอดตลาดตามวรรคหนึ่ง และเจ้าของสัตวมาขอรับสัตวคืนภายในกําหนด ตามขอ 25 หรือได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่นให้รับคืนสัตวนั้น เจ้าของสัตวต้องเสียคาธรรมเนียม การปรับและคาใชจายในการเลี้ยงดูสัตวตามที่กําหนดไวทายขอบัญญัตินี้ หมวด 5 อํานาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานทองถิ่น ขอ 27 ให้เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจแต่งตั้งขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ ตามมาตรา 44 วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ในเขตอํานาจของ องคการบริหารสวนตําบลทุงคอก ในเรื่องใดหรือทุกเรื่องก็ได้ หมวด 6 บทกําหนดโทษ ขอ 28 ผู้ใดฝาฝนขอหามหรือขอควรปฏิบัติตามขอบัญญัตินี้ต้องระวางโทษตามที่กําหนดไว ในบทกําหนดโทษแห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ประกาศ ณ วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2563 สุรพล ตันกสิกิจ นายกองคการบริหารสวนตําบลทุงคอก ้ หนา 82 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 92 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 เมษายน 2566

อัตราคาธรรมเนียมการปรับและคาใชจายในการเลี้ยงดูสัตว ทายขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลทุงคอก เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงหรือปลอยสัตว พ.ศ. 2563 ลําดับที่ ประเภท คาธรรมเนียม บาท/ป 1 2 3 4 คาธรรมเนียมการปรับ ชาง คาปรับเชือกละไม่เกิน ม้า โค กระบือ สุกร คาปรับตัวละไม่เกิน แพะ แกะ ลอ ลา สุนัข แมว คาปรับตัวละไม่เกิน สัตวอื่น ๆ คาปรับตัวละไม่เกิน คาใชจายในการเลี้ยงดู คาใชจายในการ เลี้ยงดูสัตวแต่ละชนิด หรือแต่ละประเภท 1,000 บาท 500 บาท 200 บาท 100 บาท ตามจํานวนที่ได้จายจริง