ประกาศคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณา เรื่อง แนวทางการใช้ข้อความโฆษณาที่มีลักษณะเป็นการยืนยันข้อเท็จจริงอันยากแก่การพิสูจน์และแนวทางการพิสูจน์เพื่อแสดงความจริงเกี่ยวกับข้อความโฆษณา พ.ศ. 2565
ประกาศคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณา เรื่อง แนวทางการใช้ข้อความโฆษณาที่มีลักษณะเป็นการยืนยันข้อเท็จจริงอันยากแก่การพิสูจน์และแนวทางการพิสูจน์เพื่อแสดงความจริงเกี่ยวกับข้อความโฆษณา พ.ศ. 2565
ประกาศคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณา เรื่อง แนวทางการใช้ข้อความโฆษณาที่มีลักษณะเป็นการยืนยันข้อเท็จจริงอันยากแก่การพิสูจน์ และแนวทางการพิสูจน์เพื่อแสดงความจริงเกี่ยวกับข้อความโฆษณา พ.ศ. 2565 โดยที่ปัจจุบัน การโฆษณาสินค้าหรือบริการสามารถกระทาได้หลายรูปแบบ โดยอาศัยสื่อต่าง ๆ เช่น สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อป้ายโฆษณา หรือสื่อสังคมออนไลน์ ที่สามารถกระทาการ โฆษณาไปได้ทั่วโลก ซึ่งข้อความที่ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทาการโฆษณาใช้ในการโฆษณามีลักษณะ เป็นการเชิญชวนหรือชักจูงใจให้ผู้บริโภคซื้อสินค้าหรือบริการ โดยจะพรรณนาถึงข้อดี คุณภาพที่โดดเด่น แต่ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทาการโฆษณาไม่สามารถพิสูจน์เพื่อแสดงความจริงได้ตามที่ได้มีการอ้ำงอิง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับรายงานทางวิชาการ ผลการวิจัย สถิติการรับรองของสถาบันหรือบุคคลอื่นใด หรือใช้ ข้อความที่ยากแก่การพิสูจน์ เพื่อจูงใจให้ผู้บริโภคเกิดความเชื่อมั่นและเกิดความต้องการซื้อสินค้าหรือบริการ และเพื่อให้การโฆษณาสินค้าหรือบริการมีความชัดเจ น ถูกต้องเป็นธรรมแก่ผู้บริโภค ประกอบกับ เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทาการโฆษณา ตลอดจนเพื่อให้การพิจารณา และการใช้อำนาจของคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาตาม มาตรา 28 แห่ง พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 เป็นไปด้วยความถู กต้อง เป็นธรรม โปร่งใส เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 จึงกำหนดแนวทางการใช้ข้อความโฆษณาที่มีลักษณะเป็น การยืนยันข้อเท็จจริงอันยากแก่การพิสูจน์และแนวทางการพิสูจน์เพื่อแสดงความจริงเกี่ยวกับข้อความโฆษณา จึงได้ออก ประกาศไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 2 ให้ยกเลิก (1) ประกาศคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณา เรื่อง การโฆษณาสินค้าหรือบริการโดยใช้ ข้อความโฆษณาที่มีลักษณะเป็นการยืนยันข้อเท็จจริงอันยากแก่การพิสูจน์ ลงวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2526 (2) ประกาศคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณา เรื่อง แนวทางการพิสูจน์เพื่อแสดงความจริง เกี่ยวกับข้อความโฆษณา ลงวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 ข้อ 3 การใช้ข้อความโฆษณาไม่ว่าจะกระทาทางสื่อโฆษณาใดก็ตามจะต้องมีข้อความเป็น ภาษาไทยที่สามารถเห็น ฟัง หรืออ่านได้ชัดเจนตามประเภทของสื่อโฆษณา ไม่ทาให้ผู้บริโภคเข้าใจผิด ในสาระสาคัญเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ ถ้าข้อความโฆษณาทาเป็นภาษาต่างประเทศต้องมีคำแปลภาษาไทย กำกับข้อความที่เป็นสาระสำคัญด้วยทุกครั้ง ข้อความที่ใช้เป็นหลักในการโฆษณาทางสื่อต่าง ๆ ต้องแสดงให้เห็น อ่าน ฟังได้อย่างครบถ้วน ชัดเจน และไม่ทำให้ผู้บริโภคหลงผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ ข้อความที่แสดงรายละเอียดเงื่อนไขเพิ่มเติม เพื่อให้ผู้บ ริโภคเข้าใจความหมายของโฆษณา ได้อย่างถูกต้อง ให้ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทำการโฆษณาปฏิบัติ ดังนี้ ้ หนา 33 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 9 ง ราชกิจจานุเบกษา 13 มกราคม 2566
(1) สื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือสื่อโฆษณาอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับสื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้ใช้ ตัวอักษรที่เห็นและอ่านได้ชัดเจน หรือหากเป็นข้อความเสียงให้ใช้ความเร็วแ ละจังหวะในการพูดข้อความ โฆษณาให้สามารถรับฟังได้อย่างชัดเจน (2) วิทยุโทรทัศน์ ให้แสดงอักษรลอย ( Super ) เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 วินาที ด้วย ตัวอักษรที่เห็นและอ่านได้ชัดเจนตัดกับสีพื้น และมีขนาดความสูงของตัวอักษรไม่น้อยกว่าหนึ่งส่วน ในยี่สิบห้าส่วนของขนาดควำมสูงของจอภาพ (3) วิทยุกระจายเสียงให้ใช้ความเร็วและจังหวะในการพูดข้อความโฆษณาให้สามารถรับฟัง ได้อย่างชัดเจน (4) ป้ายโฆษณา หรือป้ายที่มีแต่ภาพเคลื่อนไหวที่ไม่มีเสียง ให้ใช้ตัวอักษรที่เห็นและอ่าน ได้ชัดเจนตัดกับสีพื้น มีขนาดไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของขนาดตั วอักษรสูงสุด (5) หนังสือพิมพ์หรือสื่อสิ่งพิมพ์ ให้ใช้ตัวอักษรที่เห็นและอ่านได้ชัดเจน มีขนาดความสูง ของตัวหนังสือไม่น้อยกว่า 2 มิลลิเมตร และต้องอยู่ใกล้กับข้อความที่เป็นสาระสำคัญ ข้อ 4 ในการโฆษณาสินค้าหรือบริการ ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทาการโฆษณาต้อ งยึดถือ ความเข้าใจของผู้บริโภคเป็นสาคัญ เช่น การโฆษณาให้บริการฟรี ผู้บริโภคย่อมเข้าใจว่าการให้บริการนั้น ไม่เสียค่าตอบแทน แต่หากการให้บริการฟรีดังกล่าวต้องกระทาภายใต้หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข หรือข้อกาหนดใดผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทาการโฆษณาจะต้องระบุหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขหรือ ข้อกาหนดให้ครบถ้วน ข้อ 5 โฆษณาที่แสดงปริมาณ ปริมาตร ขนาด จานวน ส่วนประกอบของสินค้าหรือบริการ ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทำการโฆษณา ต้องโฆษณาให้ตรงกับสินค้าหรื อบริการที่ขายหรือ ให้บริการจริง ข้อ 6 กรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทาการโฆษณา อ้างอิงผลการทดสอบหรือทดลอง ภายใต้สภาวะแวดล้อมหรือเงื่อนไขเฉพาะ เช่น อุณหภูมิ ความชื้น สภาพพื้นที่ ต้องระบุไว้ในโฆษณา ด้วยตัวอักษรให้เห็นและอ่านได้ชัดเจนว่าเป็นผลการทดสอ บหรือทดลองของสถาบัน หน่วยงาน หรือ องค์กรใดสภาวะแวดล้อมหรือเงื่อนไขเฉพาะ และให้ภาระการพิสูจน์อยู่ที่ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทา การโฆษณาและพร้อมที่จะแสดงยืนยันได้ทันทีเมื่อคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาเรียกให้ไปพิสูจน์ ข้อ 7 ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทำการโฆษณา ไม่ควรใช้ข้อความโฆษณาที่มีลักษณะ เป็นการยกเว้นหรือจากัดความรับผิด หรือข้อความที่ให้สิทธิผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทาการโฆษณา สามารถเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขได้โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า หรือข้อความอื่นใดที่มีความหมาย ในลักษณะทำนองเดียวกันที่ทำให้ผู้บริโภคตกอยู่ ในฐานะเสียเปรียบ ข้อ 8 ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทาการโฆษณาไม่ควรใช้ข้อความโฆษณาที่อาศัยความเชื่อ ส่วนบุคคลหรือข้อความอื่นใดที่มีความหมายในลักษณะทานองเดียวกันเป็นสิ่งเชิญชวนหรือชักจูงใจ ให้ผู้บริโภคที่กำลังมีความทุกข์หรือต้องการที่พึ่งทางใจซื้อสินค้าหรือ รับบริการ ้ หนา 34 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 9 ง ราชกิจจานุเบกษา 13 มกราคม 2566
ข้อ 9 ข้อความโฆษณาที่มีลักษณะเป็นการรับประกันสินค้าหรือบริการ ผู้ประกอบธุรกิจ หรือผู้กระทาการโฆษณาต้องระบุตัวผู้รับประกัน ระยะเวลาการรับประกัน ลักษณะ ขอบเขต ขั้นตอน วิธีการและเงื่อนไขของการปฏิบัติตามสัญญาของการรับประกันให้ชัดเจนและถูกต้องค รบถ้วน เพื่อแสดง ถึงเจตนาความรับผิดชอบของผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทาการโฆษณา และมิให้ผู้บริโภคเข้าใจผิด ในสาระสำคัญเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ ข้อ 10 ข้อความโฆษณาที่มีลักษณะเป็นการยืนยันข้อเท็จจริงเปรียบเทียบคุณสมบัติสินค้า หรือบริการของตนกับสินค้าหรือบริการอื่น ๆ ในประเภทเดียวกัน หรือข้อความอ้างอิงข้อเท็จจริงจาก รายงานทางวิชาการ ผลการวิจัย สถิติ การรับรองของสถาบันหรือบุคคลอื่นใด หรือยืนยันข้อเท็จจริ ง อย่างหนึ่งอย่างใดในการโฆษณา ตลอดจนรางวัลต่าง ๆ ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทาการโฆษณาต้องมี หน้าที่พิสูจน์เอกสารหลักฐานหรือข้อมูลยืนยันได้ในขณะที่โฆษณาโดยมีหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการอ้างอิง ดังนี้ (1) กรณีอ้างอิงจากหน่วยงานต่างประเทศ ต้องมีเอกสำรหลักฐาน ดังนี้ (ก) หนังสือรับรองห้องปฏิบัติการจากหน่วยงานของรัฐต่างประเทศที่มีอานาจหน้าที่ ตรวจสอบ (ข) หนังสือรับรองและรายละเอียดผลการทดสอบ หรือผลการวิจัย หรือผลการสารวจ หรือเอกสารหลักฐานการได้รับรางวัล จากหน่วยงานของรัฐต่างประเทศที่มีอำนาจหน้าที่ต รวจสอบ หรือ หนังสือรับรองผลการทดสอบของห้องปฏิบัติการหรือสถาบันทดสอบเอกชนซึ่งหน่วยงานของรัฐต่างประเทศ ที่มีอำนาจหน้าที่ให้การรับรอง (ค) ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทาการโฆษณาต้องแปลและรับรองความถูกต้องเป็นภาษาไทย โดยการรับรองความถูกต้องของคาแปลเป็นภาษาไทยให้ เป็นไปตามกฎกระทรวง (พ.ศ. 2540) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 (2) กรณีอ้างอิงจากหน่วยงานในประเทศไทย ต้องมีเอกสารหลักฐาน ดังนี้ (ก) หลักฐานอันแสดงว่า หน่วยงานหรือบุคคลอื่นใดที่ทาการทดสอบ หรือเก็บรวบรวม ข้อมูล หรื อได้กระทาการวิจัย หรือเก็บผลสารวจ ให้ความยินยอมและอนุญาตให้ใช้ข้อความนั้น ในการโฆษณาได้ (ข) หนังสือรับรองและรายละเอียดผลการทดสอบ หรือผลการวิจัย หรือผลการสารวจ หรือเอกสารหลักฐานการได้รับรางวัลจากส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐในประเทศไทย ซึ่งมี ผู้ชานา ญการหรือมีอานาจหน้าที่ตรวจสอบเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการที่โฆษณานั้น หรือสถาบันของเอกชน ที่เชื่อถือได้หรือสถาบันที่มีการศึกษาร่วมกับหน่วยงานของรัฐ (ค) กรณีที่เป็นภาษาต่างประเทศ ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทาการโฆษณาต้องแปล และรับรองความถูกต้องเป็นภาษาไทย โด ยการรับรองความถูกต้องของคาแปลเป็นภาษาไทยให้เป็นไป ้ หนา 35 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 9 ง ราชกิจจานุเบกษา 13 มกราคม 2566
ตามกฎกระทรวง (พ.ศ. 2540) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ข้อ 11 ในการพิสูจน์ข้อความโฆษณาของผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทาการโฆษณาตามข้อ 10 ให้ดาเนินการภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือหรือถือว่าได้รับหนังสือแจ้งให้ใช้สิทธิในการพิสูจน์ เว้นแต่มีพฤติการณ์พิเศษที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ คณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาอาจพิจารณาให้เลื่อน ระยะเวลาในการพิสูจน์ได้ตามที่เห็นสมควร ถ้าผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทาการโฆษณาไม่ใช้สิทธิ ในการพิสูจน์ภายในระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทำการโฆษณาสละสิทธิ์ที่จะพิสูจน์เพื่อแสดงความจริงเกี่ยวกับข้อความ โฆษณานั้น คณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาอาจออกคาสั่งตามมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ได้ แล ะให้ถือว่าผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทำการโฆษณารู้หรือควรรู้อยู่ แล้วว่าข้อความนั้นเป็นเท็จ ข้อ 12 ถ้าผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทาการโฆษณาไม่สามารถพิสูจน์ข้อความโฆษณาสินค้า หรือบริการเพื่อแสดงความจริงได้ หรือดำเนินการโฆษณาสินค้าหรือบริการที่ฝ่าฝืนจากประกาศ คณะก รรมการว่าด้วยการโฆษณาฉบับนี้ ให้ถือว่าอาจเป็นข้อความโฆษณาที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภคหรือ เป็นข้อความที่อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมเป็นส่วนรวม ข้อ 13 ข้อความโฆษณาที่อาจจะเข้าข่ายมีลักษณะเป็นการยืนยันข้อเท็จจริงอันยากแก่การพิสูจน์ แสดงไว้ตามบัญชีแนบท้ายประกำศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 25 6 5 ชัยพร เกริกกุลธร ประธานกรรมการว่าด้วยการโฆษณา ้ หนา 36 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 9 ง ราชกิจจานุเบกษา 13 มกราคม 2566
บัญชีแนบท้ายประกาศคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณา เรื่อง แนวทาง การใช้ข้อความโฆษณาที่มีลักษณะเป็นการยืนยันข้อเท็จจริงอันยากแก่การพิสูจน์ และแนวทางการพิสูจน์เพื่อแสดงความจริงเกี่ยวกับข้อความโฆษณา พ.ศ . 2565 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ข้อความ ตาม ประกาศฯ ตัวอย่าง ข้อความโฆษณา ที่อาจเข้าข่ายเป็ นข้อความที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค ข้อ 7 ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทํากํารโฆษณํา ไม่ควรใช้ข้อควํามโฆษณํา ที่มีลักษณะเป็นกํารยกเว้นหรือจํากัด ควํามรับผิด หรือข้อควํามที่ให้สิทธิ ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทํากํารโฆษณํา สํามํารถ เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขได้ โดยไม่ต้องแจ้งให้ทรําบล่วงหน้ํา หรือข้อควํามอื่นใดที่มีควํามหมําย ในลักษณะท ํานองเดียวกัน ที่ ท ําให้ผู้บริโภคตกอยู่ในฐํานะเสียเปรียบ - บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในกํารเปลี่ยนแปลงรําคําและเงื่อนไขโดยไม่ต้องแจ้งให้ทรําบ ล่วงหน้ํา ขอสงวนสิทธิ์ในกํารเปลี่ยนแปลงรําคําสินค้ํา ขอสงวนสิทธิ์ปัดเศษ ส่วนลดขึ้น โดยไม่ต้องแจ้งให้ทรําบล่วงหน้ํา - ภําพสินค้ําเป็นเพียงตัวอย่ํางอําจไม่ตรงกับรุ่นที่จัดโปรโมชั่น หรือข้อควํามอย่ ํางอื่นที่มีลักษณะในทํานองเดียวกัน ข้อ 8 ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระทํากํารโฆษณําไม่ควรใช้ข้อควํามโฆษณํา ที่อําศัยควํามเชื่อส่วนบุคคลหรือข้อควํามอื่นใดที่มีควํามหมํายในลักษณะ ท ํานองเดียวกันเป็นสิ่งเชิญชวนหรือชักจูงใจให้ผู้บริโภคที่กําลังมีควํามทุกข์ หรือต้องกํารที่พึ่งทํางใจซื้อสินค้ําหรือรับบริกําร - เมื่อใช้แล้ว จะเห็นผลทันที, เห็นผลภํายใน 7 วัน - รับท ําพิธีเรียกคนรักกลับคืนมํา - รับแก้เครําะห์ แก้กรรม - เสริมบํารมี เพิ่มยอดขําย เพิ่มเสน่ห์ - ใครเห็นใครรัก - นั่งสมําธิดูอดีตชําติ หรือข้อควํามอย่ํางอื่นที่มีลักษณะ ในท ํานองเดียวกั น
- 2 - ข้อความ ตาม ประกาศฯ ตัวอย่าง ข้อความโฆษณา ที่อาจเข้าข่ายเป็ นข้อความที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค ข้อ 9 ข้อควํามโฆษณําที่มีลักษณะเป็นกํารรับประกันสินค้ําหรือบริกําร ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้กระท ํากํารโฆษณํา ต้องระบุตัวผู้รับประกัน ระยะเวลํากํารรับประกัน ลักษณะ ขอบเขต ขั้นตอน วิธีกํารและ เงื่อนไขของกํารปฏิบัติตําม สัญญํา ของกํารรับประกันให้ชัดเจน และ ถูกต้องครบถ้วน … - ปลอดภัย หํายห่วง - SAFE VALVE แบตระเบิด จ่ํายทันที! 200 , 000 - ไม่ถูกใจยินดีคืนเงิน - ไม่เห็นผลยินดีคืนเงิน - รับประกันควํามพึงพอใจ - หํากสินค้ําเกิดควํามเสียหํายจํากกํารขนส่ง เปลี่ยนสินค้ําใหม่ทันที - ใช้ข้อควํามรับประกันสินค้ําโดยไม่ระบุเงื่อนไขให้ชัดเจน หรือข้อควํามอย่ํางอื่นที่มีลักษณะในท ํานองเดียวกัน ข้อ 10 ข้อควํามโฆษณําที่มีลักษณะเป็นกํารยืนยันข้อเท็จจริง เปรียบเทียบคุณสมบัติสินค้ําหรือบริกํารของตนกับสินค้ําหรือบริกํารอื่น ๆ ในประเภทเดียวกัน หรือข้อควํามอ้ํางอิงข้อเท็จจริงจํากรํายงําน ทํางวิชํากําร ผลกํารวิจัย สถิติ กํารรับรองของสถําบันหรือบุคคลอื่นใด หรือยืนยันข้อเท็จจริงอย่ํางหนึ่งอย่ํางใดในกํารโฆษณํา ตลอดจน รํางวัลต่ําง ๆ… - ที่สุด ดีที่สุด ดีเด็ด สูงสุด สุดยอด ยอด ยอดเยี่ยม ยอดไปเลย เยี่ยมยอด เยี่ยมไปเลย - ที่หนึ่ง หนึ่งเดียว รํายเดียว รํายแรก เจ้ําแรก แห่งเดียว ครั้งแรก มีเพียงที่เดียว ในประเทศ - ยอดขํายอันดับ 1, ยอดขํายอันดับต้นๆ จํากประเทศ… - ดีกว่ํา มํากกว่ํา - มีเพียงแค่ 2 แห่งในประเทศ - เห็นผล 100 % - ข้อควํามที่อ้ํางอิงผลกํารทดสอบ ผลกํารทดลองจํากห้องปฏิบัติ กําร หรือที่ได้รับ กํารรับรอง จําก… - ผ่ํานมําตรฐํานจํากสถําบันกํารกํารทดสอบจํากต่ํางประเทศ - ได้รับรํางวัล… หรือข้อควํามอย่ํางอื่นที่มีลักษณะในท ํานองเดียวกัน