ระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ว่าด้วยการแบ่งปันคาร์บอนเครดิตที่ได้จากการปลูกและบำรุงป่าชายเลนสำหรับชุมชน พ.ศ. 2565
ระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ว่าด้วยการแบ่งปันคาร์บอนเครดิตที่ได้จากการปลูกและบำรุงป่าชายเลนสำหรับชุมชน พ.ศ. 2565
ระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ว่าด้วยการแบ่งปันคาร์บอนเครดิตที่ได้จากการปลูกและบำรุงป่าชายเลนสำหรับชุมชน พ.ศ. 2565 โดยเป็นการสมควรส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู บริหารจัดการทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่ง ให้เกิดความมั่งคั่ง สมดุล ยั่งยืน และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เสริมสร้าง ความมั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ ตลอดจนสนับสนุนการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ซึ่งเป็นไปตาม มาตรา 57 (2) แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจั กรไทย พุทธศักราช 2560 และสอดคล้อง ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. 2558 เพื่อให้ เกิดการจัดสรรแบ่งปันคาร์บอนเครดิตที่ได้จากการปลูก บำรุง ดูแล รักษา จัดการพื้นที่ป่าชายเลนที่ชุมชนร่วมดูแล รวมทั้งเร่งฟื้นฟูพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม และส่งเสริมการเพิ่มพื้นที่ป่าชายเลนเพื่อเป็นแหล่งกักเก็บก๊าซเรือนกระจก อาศัยอานาจตามความในมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 253 4 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง จึงวางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ ระเบียบกรมทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่ง ว่าด้วยการแบ่งปัน คาร์บอนเครดิตที่ได้จากการปลูกและบารุงป่าชายเลนสำหรับชุมชน พ.ศ. 2565” ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ และคำสั่งอื่นใดที่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน ข้อ 4 ในระเบียบนี้ “ กรม ” หมายความว่า กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง “ อธิบดี ” หมายความว่า อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง “ โครงการ ” หมายความว่า โครงการปลูก บำรุง ดูแล รักษา และจัดการป่าชายเลนโดยชุมชน ที่ยื่นคาขอเข้าร่วมโครงการกับกรม และยื่นขอจดทะเบียนโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจ ตามมาตรฐานของประเทศไทย ( Thailand Voluntary Emission Reduction Program : T - VER ) กับองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) “ ชุมชนผู้พัฒนาโครงการ ” หมายความว่า ชุมชนท้องถิ่นหรือชุมชนชายฝั่ง ที่ขึ้นทะเบียนกับกรม ตามระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ว่าด้วยหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนชุมชนชายฝั่ง พ.ศ. 2560 ที่ยื่นคำขอร่วมโครงการปลูกป่าชายเลน เพื่อประโยชน์จากคาร์บอนเครดิตกับกรม ้ หนา 16 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 9 ง ราชกิจจานุเบกษา 13 มกราคม 2566
“ โครงการ T - VER ” ห มายความว่า โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐาน ของประเทศไทย ( Thailand Voluntary Emission Reduction Program : T - VER ) ซึ่งเป็นกลไก ที่มีเป้าหมายในการส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในประเทศ “ คาร์บอนเครดิต ” หมายความว่า ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดหรือกักเก็บได้จากการดาเนิน โครงการ T - VER มีหน่วยเป็นตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า และสามารถนาคาร์บอนเครดิตไป แลกเปลี่ยนหรือซื้อ - ขาย เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ได้ “ ของป่า ” หมายความว่า สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นหรือมีอยู่ในพื้นที่โคร งการ เช่น (1) เศษไม้ เปลือกไม้ ใบไม้ เมล็ด ผลไม้ และพืชสมุนไพร (2) กก กระจูด กูด เห็ด กล้วยไม้ และพืชอื่น ๆ (3) ซากไข่ ไข่ รังนก อุงหรือชันโรง ครั่ง รังผึ้ง น้ำผึ้ง ขี้ผึ้ง และผลิตภัณฑ์จากชันโรง (4) สัตว์บก สัตว์น้ำ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์ปีก แมลง รวมทั้งไข่ของแมลง ที่ไม่ใช่สัตว์ป่าสงวน หรือสัตว์ป่าคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า ข้อ 5 พื้นที่ที่กาหนดเป็นแปลงปลูกและจัดการป่าชายเลนสาหรับชุมชน ต้องเป็นพื้นที่ ป่าชายเลนที่กรมกาหนดให้เป็นพื้นที่ ที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการดาเนินการปลูก บารุงรักษา อนุรักษ์ ฟื้นฟู และต้องมีการดาเนินการในรูปแบบคณะกรรมการชุมชน การจัดสรรและการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ดาเนินโครงการ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวทาง ที่กรมกำหนด ข้อ 6 ชุมชนผู้พัฒนาโครงการจะได้รับการอนุมัติให้เข้ำร่วมโครงการจากกรม คราวละ 10 , 20 หรือ 30 ปี ซึ่งกระทาการโดยพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 หรือพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 ในเขตพื้นที่ป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี หรือพื้นที่ ที่มีสภาพเป็นป่าชายเลน หรือได้รับอิทธิพลจากการขึ้นลงของน้าทะเลซึ่งเป็นป่าตามกฎหมายว่าด้วยป่าไม้ หรือกฎหมายว่าด้วยป่าสงวนแห่งชาติ พื้นที่ป่าชายเลนอนุรักษ์ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม การบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หรือพื้นที่ป่าชายเลนในความรับผิดชอบของกรมทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่ง ในกรณีชุมชนผู้พัฒนาโครงการมีความประสงค์จะขอต่ออายุโครงการ T - VER จะต้องได้รับอนุมัติ จากกรมให้ต่ออายุโครงการปลูกป่าชายเลน เพื่อประโยชน์จากคาร์บอนเครดิต ตามช่วงระยะเวลาที่ขอต่ออายุ โครงการ T - VER ข้อ 7 การยื่นคาขอเข้าร่วมโครงการให้ยื่นได้ที่ 1) สานักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 2) ศูนย์บริหารจัดการทรัพยากรป่าชายเลนจังหวัด 3) ศูนย์อนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน ในท้องที่ที่ป่านั้น ตั้งอยู่ 4) หน่วยงานอื่นที่กรมกาหนด หรือ 5) ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ pccms . dmcr@gmail . com ตามแบบ ปอ. 1 และแบบรายละเอียดโครงการ ท้ายระเบียบนี้ ้ หนา 17 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 9 ง ราชกิจจานุเบกษา 13 มกราคม 2566
ข้อ 8 ให้หน่วยงานตามข้อ 7 (1) - (4) จัดส่งเอกสารการขอเข้าร่วมโครงการที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ให้กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน ส่วนแผนงานและจัดการคาร์บอนเครดิต เมื่อได้รับเอกสารแล้ว ให้ตรวจสอบรายละเอียดความถูกต้อง/ครบถ้วนของคาขอ และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง ให้แล้วเสร็จ ภายใน 7 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำขอ กรณีที่พบว่าคาขอไม่ถูกต้องหรือเอกสารประกอบคาขอไม่ครบถ้วน ให้แจ้งผู้ยื่นคาขอทราบ เพื่อแก้ไขให้ถูกต้องหรือจั ดส่งเอกสารประกอบคาขอให้ครบถ้วนภายในระยะเวลาที่เจ้าหน้าที่กาหนด ทั้งนี้ หากผู้ที่ยื่นคาขอไม่แก้ไขหรือไม่จัดส่งเอกสารประกอบคาขอให้ครบถ้วนภายในระยะเวลาที่กำหนด ถือว่าผู้ยื่นคาขอไม่ประสงค์จะให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการต่อไป ให้เจ้าหน้าที่จาหน่ายเรื่องออกจากสารบบ และแจ้งให้ผู้ยื่นคำขอทราบเป็นหนังสือ ข้อ 9 เมื่อได้รับเอกสารครบถ้วนให้ผู้อำนวยการกองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน พิจารณา ให้ความเห็น และประมวลเรื่องเสนออธิบดีเพื่อพิจารณาอนุมัติ ภายใน 15 วัน เมื่อกรมอนุมัติให้ชุมชนเป็นผู้พัฒนาโครงการร่วมกับกรมแล้ว ให้ชุมชนผู้พัฒนาโครงการ จัดทาเอกสารและปฏิบัติตามแนวทางการพัฒนาโครงการ T - VER ตามหลักเกณฑ์ที่องค์การบริหารจัดการ ก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) กาหนด พร้อมส่งเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องไว้เป็นหลักฐาน การดาเนินงานแก่กรม ทั้งนี้ ให้ระบุกรมเป็นเจ้าของโคร งการ และชุมชนเป็นผู้พัฒนาโครงการ กรณีที่จะเพิ่ม รายชื่อผู้พัฒนาโครงการ ต้องเป็นไปตามที่กรมเห็นชอบ ข้อ 10 การดำเนินโครงการ ชุมชนผู้พัฒนาโครงการต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย การส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง โดยผู้ร่วมโครงการต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่าย ในการดาเนินการปลูก บารุง ดูแล รักษา จัดการพื้นที่ป่าชายเลน ที่ยื่นเข้าร่วมโครงการ โดยให้ถือ ปฏิบัติตามระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ว่าด้วยการปลูกและบำรุงป่าชายเลน พ.ศ. 2564 ตลอดระยะเวลาการเข้าร่วมโครง การ โดยการดาเนินการดังกล่าวอยู่ภายใต้การกากับดูแลของเจ้าหน้าที่ ของกรม สมาชิกในชุมชนสามารถเข้าไปใช้ประโยชน์เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การเก็บหาของป่าเพื่อการยังชีพ และกิจกรรมสาธารณประโยชน์ภายในชุมชน โดยต้องเป็นไปอย่างสมดุล และยั่งยืน ไม่ทำลายความหลากหลายทางชีวภาพ หรือส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ดำเนินโครงการ และให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กรมกำหนด ข้อ 1 1 ชุมชนผู้พัฒนาโครงการจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการดาเนินโครงการ T - VER ทั้งหมด ตามหลักเกณฑ์ที่องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) กำหนด ข้อ 12 ชุมชนผู้พัฒนาโครงการที่ได้รับอนุมัติ ตามข้อ 6 หากไม่สามารถขึ้นทะเบียนโครงการ T - VER กับองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ได้ ภายในระยะเวลา 1 ปี นับจากวั นที่ได้รับอนุมัติให้เข้าร่วมโครงการ กรมจะแจ้งยกเลิกการเป็นผู้พัฒนาโครงการร่วมกับกรม ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 9 ง ราชกิจจานุเบกษา 13 มกราคม 2566
ในกรณีชุมชนผู้พัฒนาโครงการไม่สามารถดาเนินการปลูก บารุง ดูแล รักษา และจัดการ ป่าชายเลนตามโครงการในระยะเวลาที่กาหนดไว้ในแผนการดาเนินงาน กรมจะแจ้งให้องค์การบริหาร จัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ทราบ เพื่อยกเลิกการเป็นผู้พัฒนาโครงการร่วมกับกรม กรณีชุมชนผู้พัฒนาโครงการไม่สามารถดาเนินโครงการได้และต้องการยกเลิกการเข้าร่วมโครงการ ให้ทำหนังสือแจ้งกรม เพื่อกรมจะได้แจ้งยกเลิกการเป็นผู้พั ฒนาโครงการ ทั้งนี้ เมื่อกรมแจ้งยกเลิกการเป็นผู้พัฒนาโครงการกับกรมแล้ว ผลประโยชน์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จากคาร์บอนเครดิตจากการดาเนินโครงการจะตกเป็นกรรมสิทธิ์ของกรม ข้อ 1 3 การดาเนินการใด ๆ นอกเหนือจากเอกสารข้อเสนอโครงการ T - VER ที่ขอขึ้นทะเบียน ต่อองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) การเปลี่ยนแปลงเอกสารข้อเสนอโครงการ T - VER การขอรับรองคาร์บอนเครดิตและการขอต่ออายุโครงการ T - VER ผู้พัฒนาโครงการต้องได้รับ ความเห็นชอบจากกรม ข้อ 1 4 กรณีการแบ่งปันคาร์บอนเครดิตจากการประเมินโครงการ T - VER ให้กาหนดในสัดส่วน ไม่เกินร้อยละ 90 สำหรับชุมชนผู้พัฒนาโครงการ และไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 สำหรับกรม หรือตามที่ตกลงกัน ข้อ 1 5 ให้อธิบดีเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอานาจตีความวินิจฉัยปัญหาหรือ ข้อโต้แย้งเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ คำวินิจฉัยของอธิบดีให้ถือเป็นที่สุด ประกาศ ณ วันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 256 5 โส ภ ณ ทองดี อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ้ หนา 19 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 9 ง ราชกิจจานุเบกษา 13 มกราคม 2566
คําข อเข้ําร่วมกิจกรรมปลูก และบํารุงป่ําชํายเลน เพื่อประโยชน์จํากคําร์บอนเครดิต ส ําหรับ ชุมชน เขียนที่ วันที่ เดือน พ.ศ. ข้าพเจ้า อายุ ปี สัญชาติ อาชีพ มีภูมิลาเนาอยู่บ้านเลขที่ ซอย ถนน หมู่ที่ ตำบล/แขวง อาเภอ/เขต จังหวัด โทร เป็นผู้มีอานาจลง นาม แทน ชุมชนท้องถิ่นหรือชุมชนชายฝั่ง ชื่อ ตั้งอยู่ที่ มีเอกสารแสดงฐานะการเป็น ชุมชนท้องถิ่นหรือชุมชนชายฝั่ง และเป็นผู้มีอานาจ ลงนาม แทน ชุมชนท้องถิ่นหรือ ชุมชนชายฝั่ง ตามที่แนบท้ายคำขอนี้ ดังมีข้อความต่อไปนี้ ข้อ 1 ข้าพเจ้ามีความประสงค์จะขอเข้าร่วมกิจกรรม ปลูกและบารุงป่าชายเลน เพื่อประโยชน์จาก คาร์บอนเครดิต กับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง จำนวน .. … .. …ไร่ จานวน … .. ..แปลง ราย ละเอียด พื้นที่ดำเนินโครงการปรากฏ ท้าย แบบ ปอ.1 ข้อ 2 ในการยื่นคาขอ ข้าพเจ้ารับรองจะเป็นผู้นาหรือมอบให้ผู้แทนเป็นผู้นาพนักงานเจ้าหน้าที่ ออกไปตรวจสภาพป่าใน พื้น ที่ขอนี้ ตามวัน เวลา ที่เจ้าหน้าที่นัดหมาย ข้อ 3 ในการเข้าร่วมกิจกรรม ปลูกและบำรุงป่าชายเลน ข้าพเจ้ายินยอมปฏิบัติตามระเบียบ กรม ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ว่าด้วยการปลูกและบารุงป่าชายเลน พ.ศ. 256 4 และ ระเบียบ กรม ทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ง ว่าด้วยการแบ่งปันคาร์บอนเครดิตที่ได้จากการปลูกและบำรุงป่าชายเลน สำหรับ ชุมชน พ.ศ. 2565 ข้อ 4 พร้อมกับคาขอนี้ ข้าพเจ้าได้แนบหลักฐานต่าง ๆ มาด้วย ดังนี้ 1 . รายละเอียดของโครงการที่ขออนุญาตเข้าร่วมกิจกรรม 2 . แผนที่สังเขปแสดงบริเวณพื้นที่ขออนุญาต 3. สำเนาหรือภาพถ่ายหนังสือรับรองการจดทะเบียน วัตถุประสงค์ และผู้มีอานาจลงนามแทน ชุมชนท้องถิ่นหรือชุมชนชายฝั่ง 4. สำเนาหรือภาพถ่ายทะเบียนบ้านหรือสำนักงานที่ทำการของ ชุมชนท้องถิ่นหรือชุมชน ชายฝั่ง 5 . อื่น ๆ ตามที่ทางราชการแจ้งให้นำส่ง … (ลงชื่อ) ผู้ยื่นคำขอ ( … ) ตำแหน่ง (ลงชื่อ) ผู้อนุมัติ ( … ) แบบ ปอ. 1
รํายละเอียด ท้ํายแบบ ปอ.1 พื้นที่ ด ําเนินกิจกรรม ปลูกและบํารุงป่ําชํายเลน เพื่อประโยชน์จํากคําร์บอนเครดิต แปลงที่ 1 พื้นที่ตั้งอยู่ ในเขตป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี / ป่าสงวนแห่งชาติแห่งชาติ /ป่าไม้ตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 / พื้นที่ที่มีสภาพเป็นป่าชายเลน ชื่อป่า ตาบล อาเภอ จังหวัด เนื้อที่ ไร่ งาน ตารางวา โดยมีอาณาเขต ดังนี้ ด้านทิศเหนือ จด วัดได้ เมตร ด้านทิศ ตะวันออก จด วัดได้ เมตร ด้านทิศ ใต้ จด วัดได้ เมตร ด้านทิศ ตะวันตก จด วัดได้ เมตร ***หมํายเหตุ หากมีพื้นที่เข้าร่วมโครงการมากกว่า 1 แปลงให้ระบุพื้นที่ทุกแปลง
รํายงํานกํารตรวจ สอบ สภําพป่ําที่ เข้ําร่วม กิจกรรม ปลูกและบํารุงป่ําชํายเลน เพื่อประโยชน์จํากคําร์บอนเครดิต ส ําหรับ ชุมชน 1 . ชื่อผู้ขอ อายุ ปี สัญชาติ อาชีพ มีภูมิลาเนาอยู่บ้านเลขที่ ซอย ถนน หมู่ที่ ตำบล/แขวง อาเภอ/เขต จังหวัด . 2. พื้นที่ดำเนินการ 3 . ขอบเขตและพื้นที่ 4 . ลักษณะภูมิประเทศ 5 . ลักษณะภูมิอากาศ 6 . ลักษณะทางชีวภาพ 7 . อันตรายที่จะเกิดกับพันธุ์ไม้ที่ปลูก และความเห็นในการป้องกันภัย 8. สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ 9 . วัน เดือน ปี ที่ทำการตรวจสภาพพื้นที่ 10 . ความเห็น ของ ผู้ตรวจสภาพป่า (ลงชื่อ) ผู้ นำตรวจสภาพป่า (… ) ตำแหน่ง . (ลงชื่อ) ผู้ตรวจสภาพป่า ( … ) ตำแหน่ง . แบบ ปอ. 2
รํายงําน ผลกํารปฏิบัติงําน กํารปลูกป่ําชํายเลน เพื่อประโยชน์จํากคําร์บอนเครดิต ส ําหรับ ชุมชน ชื่อแผนงําน/โครงกําร พื้นที่ด ําเนินกําร เนื้อที่ ไร่ แหล่งที่มํางบประมําณ จ ํานวนงบประมําณ หน่วยงํานผู้ด ําเนินโครงกําร รํายงํานผลกํารปลูกป่ําชํายเลน 1 . การคัดเลือกช นิดพันธุ์ไม้ ที่จะใช้ ปลูก 1 .1 จำนวน กล้า 1.2 จำนวน กล้า 1. 3 จำนวน กล้า 1. 4 จำนวน กล้า 1. 4 จำนวน กล้า 2 . อัตราการรอดตายของกล้าไม้ ร้อยละ … 3 . การเตรียมพื้นที่ พร้อมภาพถ่ายสี ไม่น้อยกว่า 2 ภาพ 4 . การปลูก พร้อมภาพถ่ายสีไม่น้อยกว่า 2 ภาพ 5 . การบำรุงรักษา พร้อมภาพถ่ายสีไม่น้อยกว่า 2 ภาพ รูปภาพ การเตรียมพื้นที่ รูปภาพ การเตรียมพื้นที่ รูปภาพ การปลูก รูปภาพ การปลูก รูปภาพ การ บำรุงรักษา รูปภาพ การ บำรุงรักษา แบบ ปอ. 3
แผนที่ มาตราส่วน (ตามความเหมาะสม) - 2 - 6 . การหมายแนวเขตแปลงปลูกป่าชายเลน พร้ อมป้าย และภาพถ่ายสี ไม่น้อยกว่า 3 ภาพ 7 . การรังวัดหมายแนวเขต และแผนที่แสดงแปลงปลูกป่าพร้อมพิกัด แผนที่ รังวัด แปลงปลูกป่ําชํายเลนพร้อมพิกัด ท้องที่ … … .. เครื่องหมายแผนที่ แนวเขตรังวัด ( ลงชื่อ ) ( ) ตำแหน่ง . รูปภาพ ป้าย รูปภาพ การหมายแนวเขตแปลงปลูก รูปภาพ การหมายแนวเขตแปลงปลูก
แผนที่ มาตราส่วน 1 : 50,000 แผนที่ มาตราส่วน 1 : 4 ,000 - 3 - แผนที่แปลงปลูกป่ําชํายเลน ท้องที่ … … … … เครื่องหมายแผนที่ แปลงปลูกป่าชายเลน ( ลงชื่อ ) ( ) ตำแหน่ง . แผนที่แปลงปลูกป่ําชํายเลน ท้องที่ … … … เครื่องหมายแผนที่ แปลงปลูกป่าชายเลน ( ลงชื่อ ) ( ) ตำแหน่ง .
- 4 - 8 . ภาพถ่ายสี แสดงสภาพแปลง ก่อนและหลังปลูกพร้อมพิกัด ณ จุดถ่ายภาพ ( สำหรับติดตามผล ในปีถัดไป ) ไม่น้อยกว่า 4 รูป พิกัดจุดถ่ายภาพ พิกัดจุดถ่ายภาพ พิกัดจุดถ่ายภาพ พิกัดจุดถ่ายภาพ พิกัดจุดถ่ายภาพ พิกัดจุดถ่ายภาพ พิกัดจุดถ่ายภาพ พิกัดจุดถ่ายภาพ ( ลงชื่อ ) ( ) ตำแหน่ง . ภาพถ่าย ก่อน ปลูกป่าชายเลน 1 ภาพถ่าย ก่อน ปลูกป่าชายเลน 2 ภาพถ่าย หลัง ปลูกป่าชายเลน 1 ภาพถ่าย หลัง ปลูกป่าชายเลน 2 ภาพถ่าย ก่อน ปลูกป่าชายเลน 3 ภาพถ่าย ก่อน ปลูกป่าชายเลน 4 ภาพถ่าย หลัง ปลูกป่าชายเลน 3 ภาพถ่าย หลัง ปลูกป่าชายเลน 4
รํายงําน ผลกํารปฏิบัติงําน กําร บ ํารุงแปลงปลูก ป่ําชํายเลน เพื่อประโยชน์จํากคําร์บอนเครดิต ปีที่ 2 ถึงปีที่ 10 ส ําหรับ ชุมชน ชื่อแผนงําน/โครงกําร พื้นที่ด ําเนินกําร เนื้อที่ ไร่ แหล่งที่มํางบประมําณ จ ํานวนงบประมําณ หน่วยงํานผู้ด ําเนินโครงกําร รํายงํานผลกํารบ ํารุงแปลงป่ําชํายเล น ปีที่ . 1 . การซ่อมแซมแนวเขตรอบแปลง พร้อมภาพถ่ายสี ไม่น้อยกว่า 2 ภาพ 2 . การแผ้วถางวัชพืช พร้อมภาพถ่ายสี ไม่น้อยกว่า 2 ภาพ 3 . การปลูกซ่อม พร้อมภาพถ่ายสี ไม่น้อยกว่า 2 ภาพ 4. ภาพถ่ายสี แสดงสภาพแปลงหลังการบำรุง พร้อมพิกัด ณ จุดเดิมที่มีการถ่ายภาพ ( สาหรับติดตามผล ในปีถัดไป ) ไม่น้อยกว่า 4 รูป พิกัดจุดถ่ายภาพ พิกัดจุดถ่ายภาพ พิกัดจุดถ่ายภาพ พิกัดจุดถ่ายภาพ ลงชื่อ ( ) ตำแหน่ง . ภาพถ่าย แสดง สภาพแปลง หลังการบำรุง ณ จุดถ่ายภาพเดิม 1 ภาพถ่าย แสดง สภาพแปลง หลังการบำรุง ณ จุดถ่ายภาพเดิม 2 ภาพถ่าย แสดง สภาพแปลง หลังการบำรุง ณ จุดถ่ายภาพเดิม 3 ภาพถ่าย แสดง สภาพแปลง หลังการบำรุง ณ จุดถ่ายภาพเดิม 4 แบบ ปอ. 4