Wed Apr 19 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตําบลหนองแวง เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ พ.ศ. 2563


ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตําบลหนองแวง เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ พ.ศ. 2563

ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงหรือปลอยสัตว พ.ศ. 2563 โดยที่เป็นการสมควรตราขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง วาด้วยการควบคุมการเลี้ยง หรือปลอยสัตว อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 71 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหาร สวนตําบล พ.ศ. 2537 ซึ่งแกไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 ประกอบมาตรา 29 แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 องคการบริหารสวนตําบลหนองแวง โดยความเห็นชอบของสภาองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง และนายอําเภอเกษตรวิสัย จึงตราขอบัญญัติไว ดังต่อไปนี้ ขอ 1 ขอบัญญัตินี้เรียกวา “ ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง เรื่อง การควบคุม การเลี้ยงหรือปลอยสัตว พ.ศ. 2563 ” ขอ 2 ขอบัญญัตินี้ให้ใชบังคับในเขตองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง ตั้งแต่เมื่อได้ประกาศไว โดยเปดเผย ณ สํานักงานองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงแล้วเจ็ดวัน ขอ 3 บรรดาขอบัญญัติ ประกาศ ระเบียบ หรือคําสั่งอื่นใดในสวนที่ได้ตราไวแล้วซึ่งขัดแยง กับขอบัญญัตินี้ ให้ใชขอบัญญัตินี้แทน ขอ 4 ขอบัญญัตินี้ มิให้ใชบังคับแก ( 1) การเลี้ยงและปลอยสัตวของทางราชการ ( 2) การเลี้ยงสัตวของผู้ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ขอ 5 ในขอบัญญัตินี้ “ การเลี้ยงสัตว ” หมายความวา การเลี้ยงสัตวในสถานที่เลี้ยงสัตว “ การปลอยสัตว ” หมายความวา การเลี้ยงสัตวในลักษณะที่มีการปลอยให้อยู่นอก สถานที่เลี้ยงสัตว รวมทั้งการสละการครอบครองสัตว “ สถานที่เลี้ยงสัตว ” หมายความวา คอกสัตว กรงสัตว ที่ขังสัตว หรือสถานที่ในลักษณะอื่น ที่มีการควบคุมสัตวที่เลี้ยง ้ หนา 224 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 89 ง ราชกิจจานุเบกษา 19 เมษายน 2566

“ เจ้าของสัตว ” หมายความรวมถึงผู้ครอบครองสัตวด้วย “ สัตวควบคุมพิเศษ ” หมายถึง ( 1) สุนัขสายพันธุที่ดุราย เชน ร็อตไวเลอร (Rottweiller) อเมริกันพิทบูล เทอรเรีย ( American Pit Bull Terrier) เยอรมันเชพเพิรด ( German Sh epherd) บ็อกเซอร (Boxer) ไซบีเรียน ฮัสกี้ ( Siberian husky) อลาสกา มาลามิว (Alaskan Malamutes) โดเบอรแมน พินเชอร (Doberman Pinschers) เชา เชา (Chow chow) บางแกว หรือสายพันธุที่ใกลเคียงกันกับที่กลาวมาทั้งหมด หรือลูกผสมสายพันธุ ดังกลาว ( 2) สัตวที่มีประวัติทํารายคนหรือพยายามทํารายคน โดยมีหลักฐานการแจงความ ต่อเจ้าหน้าที่ตํารวจ ( 3) สัตวที่มีพฤติกรรมไลลาทํารายคนหรือสัตว โดยปราศจากการยั่วยุ ( 4) สัตวที่เจ้าพนักงานทองถิ่นประกาศกําหนด “ การขึ้นทะเบียน ” หมายถึง การนําเสนอเอกสารเกี่ยวกับสุนัขหรือแมวที่จดทะเบียนไวแล้ว แจงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อบันทึกรายละเอียดรูปพรรณสัณฐาน “ ที่หรือทางสาธารณะ ” หมายความวา สถานที่หรือทางซึ่งมิใชเป็นของเอกชนและประชาชน สามารถใชประโยชนหรือใชสัญจรได้ “ เจ้าพนักงานทองถิ่น ” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง “ เจ้าพนักงานสาธารณสุข ” หมายความวา เจ้าพนักงานซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ขอ 6 หามมิให้มีการเลี้ยงสัตวชนิดหรือประเภทเหลานี้ในเขตองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง โดยเด็ดขาด ได้แก ( 1) งูพิษและงูที่อาจกอให้เกิดอันตรายแกคนและสัตวเลี้ยง ( 2) ปลาปรันยา ( 3) คางคกไฟ ( 4) สัตวดุรายตาง ๆ ( 5) สัตวมีพิษรายอื่น ๆ ( 6) สัตวต้องหามตามกฎหมายอื่น ๆ ้ หนา 225 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 89 ง ราชกิจจานุเบกษา 19 เมษายน 2566

ขอ 7 หามเลี้ยงสัตวหรือปลอยสัตวประเภทชาง ม้า โค กระบือ แพะ แกะ ลอ ลา สุกร สุนัข แมว สุกร ไก หาน และนก ในเขตพื้นที่ถนนสาธารณะทุกสายซึ่งองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง รับผิดชอบดูแล การเลี้ยงหรือปลอยตามวรรคหนึ่งนั้น คือกรณีกระทําการเป็นประจําเป็นอาจิณ หรือไม่สนใจ ควบคุมดูแลสัตวจนเขาใจได้วามีการใชพื้นที่ถนนสาธารณะเป็นที่เลี้ยงหรือปลอยสัตว ขอ 8 ให้เขตองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงเป็นเขตควบคุมการเลี้ยงหรือปลอยสัตว ดังต่อไปนี้ ( 1) ชาง ( 2) ม้า ( 3) โค ( 4) กระบือ ( 5) แพะ ( 6) แกะ ( 7) ลอ ( 8) ลา ( 9) สุกร ( 10) สุนัข ( 11) แมว ( 12) ไก ( 13) หาน ( 14) นก ( 15) สัตวปาตามกฎหมายวาด้วยการสงวนและคุมครองสัตวปาซึ่งได้รับอนุญาตจากกรมปาไม ให้เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจกําหนดประเภท และชนิดสัตวที่ต้องควบคุมการเลี้ยงเพิ่มเติม ทั้งนี้ โดยอาจควบคุมการเลี้ยงสัตวเฉพาะในเขตทองที่ใดทองที่หนึ่ง หรือเต็มพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลหนองแวง ้ หนา 226 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 89 ง ราชกิจจานุเบกษา 19 เมษายน 2566

ขอ 9 เพื่อประโยชนในการควบคุมการเลี้ยงหรือปลอยสัตวในเขตองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง ให้เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจออกประกาศกําหนดเขตพื้นที่เลี้ยงสัตวหรือปลอยสัตวที่ต้องควบคุม ตามขอ 7 โดยให้มีมาตรการอยางหนึ่งอยางใด ดังต่อไปนี้ ( 1) กําหนดจํานวน ประเภท และชนิดของสัตวที่เลี้ยง ( 2) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการทําทะเบียนตามประเภทและชนิดของสัตว ( 3) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการปลอยสัตว ขอ 10 นอกจากการเลี้ยงสัตวตามปกติวิสัยแล้ว เจ้าของสัตวจะต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ ( 1) จัดให้มีสถานที่เลี้ยงสัตวที่มั่นคงแข็งแรงตามความเหมาะสมแกประเภทและชนิดของสัตว โดยมีขนาดเพียงพอแกการดํารงชีวิตของสัตว มีแสงสวาง และการระบายอากาศที่เพียงพอ มีระบบการระบายน้ํา และกําจัดสิ่งปฏิกูลให้ถูกสุขลักษณะ ( 2) รักษาสถานที่เลี้ยงสัตวให้สะอาดอยู่เสมอ จัดเก็บสิ่งปฏิกูลให้ถูกสุขลักษณะเป็นประจํา ไม่ปลอยให้เป็นที่สะสมหมักหมมจนเกิดกลิ่นเหม็นรบกวนผู้ที่อยู่บริเวณใกลเคียง ( 3) เมื่อสัตวตายลงเจ้าของสัตวจะต้องกําจัดซากสัตว และมูลสัตวให้ถูกสุขลักษณะ เพื่อปองกันมิให้เป็นแหลงเพาะพันธุแมลง หรือสัตวนําโรค ทั้งนี้ โดยวิธีที่ไม่กอเหตุรําคาญจากกลิ่น ควัน และไม่เป็นเหตุให้เกิดการปนเปอนของแหลงน้ํา ( 4) จัดให้มีการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในสัตว เพื่อปองกันอันตรายจากเชื้อโรคที่เกิดจากสัตว ( 5) ให้เลี้ยงสัตวภายในสถานที่เลี้ยงสัตวของตนไม่ปลอยให้สัตวอยู่นอกสถานที่เลี้ยงสัตว โดยปราศจากการควบคุม กรณีเป็นสัตวดุรายจะต้องเลี้ยงในสถานที่ หรือกรงที่บุคคลภายนอกเขาไปไม่ถึงตัวสัตว และมีปายเตือนให้ระมัดระวังโดยสังเกตได้อยางชัดเจน ( 6) ไม่นําสัตวเลี้ยงออกมานอกสถานที่เลี้ยงสัตวของตน เวนแต่เฉพาะเพื่อการเคลื่อนยายสัตว และได้ปฏิบัติตามคําสั่งของเจ้าพนักงานทองถิ่น ( 7) ควบคุมดูแลสัตวของตนมิให้กออันตรายหรือเหตุรําคาญแกผู้อื่นไม่กอให้เกิด มลพิษต่อสิ่งแวดลอม ( 8) ปฏิบัติการอื่นใดตามคําแนะนําของเจ้าพนักงานสาธารณสุข คําสั่งเจ้าพนักงานทองถิ่น รวมทั้งขอบังคับ ระเบียบ และคําสั่งขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวง ้ หนา 227 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 89 ง ราชกิจจานุเบกษา 19 เมษายน 2566

ขอ 11 กรณีการเลี้ยงสัตว ซึ่งดําเนินกิจการในลักษณะของฟารมเลี้ยงสัตว หรือเลี้ยงสัตว เป็นจํานวนมาก เจ้าของสัตวต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑและเงื่อนไขตามขอ 10 อยางเครงครัด เพื่อการดูแล สภาพหรือสุขลักษณะของสถานที่ที่ใชเลี้ยงสัตว และต้องปฏิบัติตามมาตรการเพื่อปองกันอันตรายจากเชื้อโรค หรือเหตุรําคาญอันเกิดจากการเลี้ยงสัตว ดังนี้ ( 1) การดูแลสภาพ และสุขลักษณะของสถานที่เลี้ยงสัตวต้องทํารางระบายน้ํารับน้ําโสโครก ไปให้พนจากที่นั้นโดยสะดวกและเหมาะสม ( 2) การระบายน้ําเสียต้องไม่ให้เป็นที่เดือดรอนแกผู้ใชน้ําแหลงสาธารณะ ( 3) ต้องจัดให้มีระบบกักเก็บหรือบําบัดน้ําเสียให้เหมาะสม ทั้งนี้ ต้องไม่ทําให้เกิด กลิ่นเหม็นจนสรางความเดือดรอนรําคาญแกผู้อยู่อาศัยขางเคียง ( 4) ต้องทําความสะอาดกวาดลางสถานที่เลี้ยงสัตวให้อยู่ในภาวะอันดีเสมอ ( 5) ต้องรักษาสถานที่อยาให้เป็นที่เพาะพันธุแมลงวัน แมลงสาบ ยุง หรือสัตวนําโรคอื่น ๆ และต้องเก็บวัสดุอุปกรณเครื่องใชในการเลี้ยงสัตวให้เป็นระเบียบเรียบรอยเสมอ ( 6) ต้องมีที่รองรับมูลฝอย และสิ่งปฏิกูลให้ถูกสุขลักษณะจํานวนเพียงพอ ขอ 12 หลังจากที่ขอบัญญัตินี้มีผลบังคับใชผู้ใดประสงคจะเลี้ยงสัตวตามขอ 8 ต้องได้รับความยินยอม จากการประชุมประชาคมหมู่บ้านและได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่น การอนุญาตตามวรรคหนึ่งนั้นต้องปรากฏขอเท็จจริงวา สถานที่เลี้ยงสัตวนั้นเป็นบริเวณที่โปรง อากาศถายเทสะดวก มีตนไมให้รมเงาพอสมควร ตั้งอยู่หางจากแหลงชุมชน ศาสนสถาน โบราณสถาน สถาบันการศึกษา โรงพยาบาล หรือสถานที่ของราชการอื่น ๆ ในระยะที่ไม่สงผลกระทบต่อสุขภาพ และไม่กอเหตุรําคาญต่อชุมชน โดยต้องมีระยะหางจากสถานที่ดังกลาว และแหลงน้ําสาธารณะในระยะ ดังต่อไปนี้ ( 1) สําหรับสถานประกอบกิจการเลี้ยงสัตวนอยกวา 50 ตัว ต้องมีระยะหางในระยะ ที่ไม่กอให้เกิดความรําคาญต่อชุมชนใกลเคียง ( 2) สําหรับสถานประกอบกิจการเลี้ยงสัตว ตั้งแต่ 50 - 500 ตัว ต้องมีระยะหาง ไม่นอยกวา 500 เมตร ้ หนา 228 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 89 ง ราชกิจจานุเบกษา 19 เมษายน 2566

( 3) สําหรับสถานประกอบกิจการเลี้ยงสัตว ตั้งแต่ 501 - 1 , 000 ตัว ต้องมีระยะหาง ไม่นอยกวา 1 กิโลเมตร ( 4) สําหรับสถานประกอบกิจการเลี้ยงสัตว ตั้งแต่ 1 , 001 ตัวขึ้นไป ต้องมีระยะหาง ไม่นอยกวา 2 กิโลเมตร ผู้ขออนุญาตดังกลาวให้ยื่นคํารองต่อเจ้าพนักงานทองถิ่นตามแบบ และเงื่อนไขที่กําหนด พรอมด้วยหลักฐาน ดังต่อไปนี้ อยางละ 1 ชุด ( 1) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน ( 2) สําเนาทะเบียนบ้าน ( 3) หนังสือแสดงความเป็นเจ้าของที่ดิน ( 4) เอกสารหรือหลักฐานอื่นที่เจ้าพนักงานทองถิ่นเห็นสมควรเรียกเพิ่มเติมเพื่อประกอบ การพิจารณา ขอ 13 ในกรณีที่มีเหตุควรสงสัยวาสัตวที่เลี้ยงนั้นเป็นโรคอันอาจเป็นอันตรายแกสุขภาพ ของบุคคลทั่วไปให้เจ้าของสัตว แยก กักสัตวนั้นไวตางหากและแจงให้เจ้าพนักงานทองถิ่น หรือเจ้าพนักงาน สาธารณสุขทราบ รวมถึงต้องแจงให้สัตวแพทยของหนวยงานราชการทราบ และต้องปฏิบัติตามคําแนะนํา โดยเครงครัด ขอ 14 ให้เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจกําหนดการเลี้ยงหรือปลอยสัตวหรือหามเลี้ยง หรือปลอยสัตว เฉพาะเขตควบคุมการปลอยสัตว เฉพาะในเขตทองที่ใดทองที่หนึ่ง หรือเต็มพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลหนองแวง ความในวรรคหนึ่งไม่ใชบังคับแกการปลอยสัตวเพื่อการกุศลตามประเพณี ขอ 15 เจ้าของสัตวจะต้องควบคุมดูแลสัตวและสถานที่เลี้ยงสัตวของตนมิให้กอเหตุรําคาญแกผู้อื่น ขอ 16 ในกรณีที่เจ้าพนักงานทองถิ่น พนักงานเจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงานสาธารณสุข พบสัตว ในที่หรือทางสาธารณะ ซึ่งอยู่ภายในเขตองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง หรือเขตควบคุมการเลี้ยง หรือปลอยสัตวโดยไม่ปรากฏเจ้าของ ให้เจ้าพนักงานทองถิ่นหรือผู้ได้รับมอบหมายจากเจ้าพนักงานทองถิ่น มีอํานาจจับสัตวและนําสัตวไปกักไวในที่สําหรับสัตวที่เจ้าพนักงานทองถิ่นจัดไวเป็นเวลาอยางนอยสามสิบวัน หรือกรณีสัตวนั้นอาจเป็นอันตรายต่อประชาชนให้เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจทําลาย หรือจัดการตามที่ เห็นสมควร ้ หนา 229 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 89 ง ราชกิจจานุเบกษา 19 เมษายน 2566

ในระหวางการจับสัตวหากสัตววิ่งหนีเกิดอุบัติเหตุอื่นใดทําให้สัตวบาดเจ็บหากเป็นเหตุที่โดยพฤติการณ ต้องเกิดขึ้น และเจ้าพนักงานทองถิ่นได้ใชความระมัดระวังตามสมควรแล้ว ทางองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง จะไม่รับผิดชอบต่อความเสียหายใด ๆ ที่เกิดขึ้น กรณีตามวรรคสอง ถาความเสียหายเกิดขึ้นต่อบุคคลที่สามอันเนื่องมาจากการกระทําดังกลาว บุคคลที่สามยอมมีสิทธิเรียกรองคาเสียหายได้ โดยองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงจะพิจารณาไลเบี้ย ความผิดตามขอเท็จจริง ขอ 17 เมื่อได้จับสัตวมากักไวตามความในขอ 16 เจ้าพนักงานทองถิ่นจะปดประกาศแจง ให้เจ้าของทราบและให้มารับสัตวคืนไปภายในสามสิบวันนับตั้งแต่วันที่ได้จับสัตวมากักไวโดยประกาศไวที่ ที่ทําการองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง หรือที่เปดเผย เมื่อพนกําหนดสามสิบวันแล้ว ไม่มีผู้ใด มาแสดงตัวเป็นเจ้าของสัตวให้สัตวนั้นตกเป็นขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวง ขอ 18 กรณีที่กักสัตวไวอาจกอให้เกิดอันตรายแกสัตวนั้นหรือสัตวอื่น หรือต้องเสียคาใชจาย เกินสมควรเจ้าพนักงานทองถิ่นจะจัดการขาย หรือขายทอดตลาดนั้นตามสมควรแกกรณีกอนถึงกําหนด สามสิบวันก็ได้ เงินที่ได้จากการขายหรือขายทอดตลาด เมื่อได้หักคาใชจายในการขายหรือขายทอดตลาด และคาเลี้ยงดูสัตวแล้วให้เก็บรักษาเงินนั้นไวแทนตัวสัตว ซึ่งเงินแทนตัวสัตวนี้เมื่อพนกําหนดประกาศ ตามขอ 17 แล้วให้ตกเป็นขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวง กรณีสัตวนั้นตายหรือเจ็บปวยหรือไม่สมควรจําหนายต่อไป หรือเป็นโรคติดต่อที่อาจเป็นอันตราย แกสัตวอื่น ๆ หรือเมื่อสัตวแพทยได้ตรวจสอบ และให้ความเห็นเป็นลายลักษณอักษรแล้ว เจ้าพนักงานทองถิ่น มีอํานาจทําลายได้ ในกรณีมิได้มีการขายหรือขายทอดตลาดสัตว และเจ้าของสัตวมาขอรับสัตวคืนภายในกําหนด ตามขอ 17 หรือได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่นให้รับคืนสัตวนั้น เจ้าของสัตวต้องเสียคาใชจาย ในการเลี้ยงดูสัตวตามจํานวนที่ได้จายจริง และเสียคาปรับให้แกองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงตามอัตรา ดังต่อไปนี้ ( 1) ชาง เชือกละ 1 , 000 บาท ( 2) ม้า โค กระบือ ตัวละ 500 บาท ( 3) สุกร แพะ แกะ สุนัข ตัวละ 200 บาท ( 4) สัตวอื่น ๆ ตัวละ 100 บาท ้ หนา 230 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 89 ง ราชกิจจานุเบกษา 19 เมษายน 2566

ขอ 19 หากเจ้าของสัตวปฏิบัติไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 กฎกระทรวงหรือประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ. ศ. 2535 หรือขอบัญญัตินี้ หรือคําสั่งของเจ้าพนักงานทองถิ่นที่กําหนดไวเกี่ยวกับการเลี้ยงสัตวหรือปลอยสัตว ให้เจ้าพนักงานทองถิ่น มีอํานาจสั่งให้เจ้าของสัตวแกไขหรือปรับปรุงให้ถูกต้องได้ และถาเจ้าของสัตวไม่แกไขหรือถาการเลี้ยงสัตว หรือปลอยสัตวนั้นจะกอให้เกิดหรือมีเหตุอันควรสงสัยวาจะเกิดอันตรายอยางรายแรงต่อสุขภาพของประชาชน เจ้าพนักงานทองถิ่นจะสั่งให้ผู้นั้นหยุดเลี้ยงสัตวทันทีเป็นการชั่วคราว จนกวาจะเป็นที่พอใจแกเจ้าพนักงานทองถิ่นวา ปราศจากอันตรายแล้วก็ได้ คําสั่งของเจ้าพนักงานทองถิ่นตามวรรคหนึ่ง ให้กําหนดระยะเวลาที่จะต้องปฏิบัติตามคําสั่งไว ตามสมควรแต่ต้องไม่นอยกวาเจ็ดวันเวนแต่เป็นกรณีมีคําสั่งให้หยุดดําเนินการทันที ขอ 20 กรณีการเลี้ยงสัตวในสถานที่ของเอกชน หรือทางสาธารณะกอให้เกิดเหตุเดือดรอนรําคาญ ต่อผู้อื่นให้เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจออกคําสั่งเป็นหนังสือให้เจ้าของสัตว หรือผู้ครอบครองสถานที่เลี้ยงสัตว ระงับเหตุรําคาญภายในเวลาอันควร และถาเห็นสมควรจะให้กระทําโดยวิธีใดเพื่อระงับเหตุรําคาญนั้น หรือสมควรกําหนดวิธีการ เพื่อปองกันมิให้มีเหตุรําคาญเกิดขึ้นอีกในอนาคตให้ระบุไวในคําสั่งนั้น ขอ 21 เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามขอบัญญัตินี้ให้เจ้าพนักงานทองถิ่นและเจ้าพนักงานสาธารณสุข มีอํานาจ ดังต่อไปนี้ ( 1) มีหนังสือเรียกบุคคลใด ๆ มาให้ถอยคํา หรือแจงขอเท็จจริง หรือทําคําชี้แจง เป็นหนังสือ หรือให้สงเอกสารหลักฐานใดเพื่อตรวจสอบ หรือเพื่อประกอบการพิจารณา ( 2) เขาไปในสถานที่ใด ๆ ในระหวางพระอาทิตยขึ้น และพระอาทิตยตก หรือในเวลาทําการ เพื่อตรวจสอบ หรือควบคุม ( 3) ยึดหรืออายัดสิ่งของใด ๆ ที่อาจกอให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน เพื่อประโยชนในการดําเนินคดี หรือเพื่อนําไปทําลายในกรณีจําเป็น ( 4) เก็บหรือนําสินคาหรือสิ่งของใด ๆ ที่สงสัยวาไม่ถูกสุขลักษณะ หรืออาจกอให้เกิด เหตุรําคาญจากอาคาร หรือสถานที่ใด ๆ เป็นปริมาณพอสมควรเพื่อเป็นตัวอยางในการตรวจสอบได้ โดยไม่ต้องใชราคาให้เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจแต่งตั้งขาราชการ พนักงานสวนทองถิ่น เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ ตามวรรคหนึ่งในเขตอํานาจขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวง ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือทุกเรื่องก็ได้ ้ หนา 231 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 89 ง ราชกิจจานุเบกษา 19 เมษายน 2566

ขอ 22 ผู้ใดฝาฝนขอบัญญัตินี้ขอหนึ่งขอใดต้องระวางโทษตามมาตรา 71 แห่งพระราชบัญญัติ สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 และที่แกไขเพิ่มเติม ขอ 23 ให้นายกองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงเป็นผู้รักษาการตามขอบัญญัตินี้ และให้มี อํานาจออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ หรือคําสั่งเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามขอบัญญัตินี้ ประกาศ ณ วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 สิบตํารวจตรี ปรีชา ปามา ปลัดองคการบริหารสวนตําบล ปฏิบัติหน้าที่ นายกองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง ้ หนา 232 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 89 ง ราชกิจจานุเบกษา 19 เมษายน 2566