Mon Apr 10 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2570


ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2570

ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2570 โดยที่พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 กาหนดให้มีแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเพื่อกาหนดกรอบและทิศทางการบริหารงานภาครัฐและการจัดทา บริการสาธารณะในรูปแบบของเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการพัฒนาประเทศ มีการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกัน ระหว่างหน่วยงานของรัฐ และมีกรอบการพัฒนาและแผนการดำเนินงานของประเทศ โดยให้ คณะกรรมกำรพัฒนารัฐบาลดิจิทัลจัดทำแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติการบริหารงาน และการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566 คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล จึงออกประกาศ เรื่อง แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ของประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2570 ไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง แผนพัฒนา รัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2570 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2570 มีรายละเอียด ตามที่แนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 4 ให้หน่วยงานของรัฐดาเนินการให้เป็นไปตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ . 2566 - 2570 และต้องจัดทาหรือปรับปรุงแผนปฏิบัติการหรือแผนงานของหน่วยงานของรัฐ ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2570 พร้อมทั้งส่งแผนปฏิบัติการ หรือแผนงานดังกล่าวให้สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) ทราบด้วย ข้อ 5 ให้สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) ดาเนินการประสานงาน แนะนำ และให้ความช่วยเหลือแก่หน่วยงานของรัฐในการดาเนินการให้เป็นไปตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ของประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2570 ประกาศ ณ วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 25 6 6 ดอน ปรมัตถ์วินัย รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ้ หนา 14 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 84 ง ราชกิจจานุเบกษา 10 เมษายน 2566

พ.ศ. 2566 - 2570 เเผนพัฒนา รัฐบาลดิจิทัลของ ประเทศไทย สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องคการมหาชน) (สพร.)

ดาวนโหลดแผนฯ และขอมูลสําคัญ แผนพััฒนารััฐบาลดิิจิิทััลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2570 จััดพิิมพและเผยแพรโดย สํานักงานพััฒนารััฐบาลดิิจิิทััล (องคการมหาชน) (สพร.) ชั้น 17 อาคารบางกอกไทยทาวเวอร เลขที่ 108 ถนนรางน้ํา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวีี กรุุงเทพฯ 10400 โทรศััพท: 0 2612 6000 โทรสาร: 0 2612 6011, 0 2612 6012 อีีเมล: contact@dga.or.th

บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ในยุคเศรษฐกิจและสังคมที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล มีความจําเป็นต้อง ปรับเปลี่ยนรูปแบบการดําเนินงานของรัฐให้ตอบสนองต่อความต้องการของภาคประชาชนและภาคธุรกิจที่เปลี่ยนไป โดยรัฐบาล ตระหนักถึงความสําคัญของการปรับเปลี่ยนหนวยงานภาครัฐสูการเป็นรัฐบาลดิจิทัล จึงได้มีการตราพระราชบัญญัติ การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 ขึ้น เพื่อเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนการบริหารงาน ของภาครัฐไปสูระบบดิจิทัลและสามารถยกระดับการให้บริการประชาชนให้มีความสะดวกและเปดเผยมากขึ้น โดยพระราชบัญญัติดังกลาวกําหนดให้มีการจัดทําแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเพื่อกําหนดทิศทางการบริหารงาน ภาครัฐและการจัดทําบริการดิจิทัลสาธารณะ และเพื่อเป็นกรอบการพัฒนาของประเทศสําหรับการเปลี่ยนผานภาครัฐเขาสู การเป็นรัฐบาลดิจิทัลในทิศทางเดียวกัน สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หรือ สพร. ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการพัฒนา รัฐบาลดิจิทัล จึงจัดทําแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 – 2570 ขึ้นตามเจตนารมณของพระราชบัญญัติฯ และให้สอดคลองกับนโยบายและแผนระดับชาติ อันจะทําให้การพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเป็นไปตามเปาหมายของประเทศ ที่วางไว โดยแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 – 2570 มีวัตถุประสงคหลัก 3 ประการ ได้แก 1. เพื่อพัฒนาบริการดิจิทัลสาธารณะของรัฐที่มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ สามารถอํานวยความสะดวกในการ ให้บริการและเป็นที่ยอมรับของประชาชน 2. เพื่อเป็นแนวทางสนับสนุนให้หนวยงานภาครัฐนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกตใชในการ ยกระดับการบริหารจัดการและการดําเนินงานภาครัฐให้มีความยืดหยุนคลองตัว มีการบูรณาการแบบ ไรรอยต่อ เปดเผย โปรงใส ตรวจสอบได้ และสรางการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน 3. เพื่อเป็นกรอบทิศทางให้หนวยงานภาครัฐจัดทําแผนการดําเนินงานที่สอดคลองกับพระราชบัญญัติ การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 และสรางความต่อเนื่องในการพัฒนา รัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย จากการศึกษาและรวบรวมขอมูลจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ประกอบกับการวิเคราะหบทเรียนการพัฒนา ในตางประเทศ สถานการณการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของไทย ประเด็นปญหาและความทาทาย รวมถึงการเปดเวทีรับฟง ความคิดเห็นจากทุกภาคสวน นํามาสูการกําหนดวิสัยทัศนการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2570 คือ “บริการภาครัฐสะดวก โปรงใส ทันสมัย ตอบโจทยประชาชน” เพื่อให้ภาครัฐให้บริการประชาชนด้วยระบบดิจิทัล ที่มีประสิทธิภาพ ผานการให้บริการที่โปรงใส ทันสมัย และเปดโอกาสให้ประชาชนเขาถึงขอมูลของรัฐ และมีสวนรวม ในการบริหารงานและการให้บริการของภาครัฐ อันจะเป็นประโยชนต่อการสรางสรรคบริการให้ตรงกับความต้องการของ ประชาชนอยางแทจริง

แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฉบับนี้มุงยกระดับภาครัฐไทยสูเปาหมายการให้บริการที่ตอบสนองประชาชน และ ลดความเหลื่อมล้ํา การเพิ่มความสามารถและศักยภาพในการแขงขันของภาคธุรกิจ การสรางความโปรงใส ที่เนนการเปดเผย ขอมูลแกประชาชนโดยไม่ต้องรองขอและการสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชน และการเป็นภาครัฐที่ปรับตัวทันการณ อันจะเป็นพื้นฐานสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศต่อไป แผนพััฒนารััฐบาลดิิจิิทััลของ ประเทศไทย พ.ศ. 2566 -2570 กําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาเพื่อให้สอดรับกับวิสัยทัศนขางตนไว 4 ยุทธศาสตร ประกอบด้วย ยุทธศาสตรที่ 1: ยกระดับการเปลี่ยนผานดิจิทัลภาครัฐ เพื่อการบริหารงานที่ยืดหยุน คลองตัว และขยายสูหนวยงานภาครัฐระดับทองถิ่น ยุทธศาสตรที่ 2: พัฒนาบริการที่สะดวกและเขาถึงงาย ยุทธศาสตรที่ 3: สรางมูลคาเพิ่มและอํานวยความสะดวกแกภาคธุรกิจ ยุทธศาสตรที่ 4: สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐ นอกจากนี้ เพื่อให้การดําเนินการขับเคลื่อนรัฐบาลดิจิทัลมีทิศทางที่ชัดเจนและเกิดขึ้นได้จริงในเชิงปฏิบัติ จึงได้ กําหนดแนวทางการพัฒนาในดานที่มุงเนนสําคัญ ไวทั้งหมด 10 ดาน ได้แก การศึกษา สุขภาพและการแพทย ความเหลื่อมล้ํา ทางสิทธิสวัสดิการประชาชน สิ่งแวดลอม การเกษตร การทองเที่ยว การสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) แรงงาน การยุติธรรม และการมีสวนรวม โปรงใส และตรวจสอบได้ของประชาชน อีกทั้ง มุงสงเสริมให้หนวยงานภาครัฐ นําเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาประยุกตใชในการเพิ่มประสิทธิภาพและมูลคาของสินคาและบริการ พรอมยกระดับ ขีดความสามารถในการแขงขันบนเวทีโลก ด้วยการนําความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรมของประเทศไทย มาพัฒนาเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดลอมและการพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และ เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy: BCG Economy) โดยเฉพาะดานการเกษตร สุขภาพและการแพทย และการทองเที่ยวและบริการ เพื่อนําพาประเทศสูการพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน (Sustainable Development) ที่สามารถตอบสนองความต้องการของสังคมในปจจุบัน พรอมสงต่อทรัพยากรที่ สามารถตอบสนองความต้องการของคนรุนต่อไป โดยไม่ทิ้งใครไวขางหลัง ทั้งนี้ แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลมีความเกี่ยวของและจําเป็นต้องอาศัยการบูรณาการจากทุกหนวยงานภาครัฐ ที่จําเป็นต้องเรงพัฒนาและยกระดับหนวยงานให้สอดคลองกับทิศทางการขับเคลื่อนของประเทศ จึงไม่ใชเป็นเพียงการพัฒนา หนวยงานใดหนวยงานหนึ่ง หากแต่จําเป็นต้องอาศัยความรวมมือจากทุกหนวยงานภาครัฐในการพัฒนาและขับเคลื่อนไป สูการเป็นรัฐบาลดิจิทัลในทิศทางเดียวกันอยางเป็นรูปธรรม ให้ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน และมีมาตรฐาน ทัดเทียมกับนานาประเทศ

สารบัญ 01 02 ที่มาและความสําคัญ 6 7 30 30 39 59 62 65 69 71 73 79 83 86 ความสอดคลองกับกฎหมายที่เกี่ยวของ แผน 3 ระดับ และเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนแห่งสหประชาชาติ (SDGs) 03 สถานการณการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 62 04 สาระสําคัญของแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 – 2570 90 05 กลไกการขับเคลื่อนสําคัญด้วยความรวมมือกับหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรระหวางประเทศ และหนวยงานสวนทองถิ่น 94 06 แผนการเตรียมความพรอม 96 07 ปจจัยสูความสําเร็จ 98 08 ภาคผนวก สถานการณการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในตางประเทศ สถานการณการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ปญหาและประเด็นความทาทายในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลที่ผานมา หลักคิดนําทาง กรอบการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล วิสัยทัศนการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย เปาหมาย และตัวชี้วัด ยุทธศาสตรที่ 1: ยกระดับการเปลี่ยนผานดิจิทัลภาครัฐ เพื่อการบริหารงานที่ยืดหยุน คลองตัว และขยายสูหนวยงานภาครัฐระดับทองถิ่น ยุทธศาสตรที่ 2: พัฒนาบริการที่สะดวกและเขาถึงงาย ยุทธศาสตรที่ 3: สรางมูลคาเพิ่มและอํานวยความสะดวกแกภาคธุรกิจ ยุทธศาสตรที่ 4: สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐ

01 ที่มาและความสําคัญ ด้วยรัฐบาลตระหนักถึงความสําคัญของการปรับเปลี่ยนหนวยงานภาครัฐสูการเป็นรัฐบาลดิจิทัล จึงได้มี การตราพระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 ที่มีผลใชบังคับตั้งแต่ วันที่ 23 พฤษภาคม 2562 เพื่อขับเคลื่อนประเทศให้เกิดการปฏิรูปการบริหารราชการแผนดินและการบริการ ประชาชนตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ และยกระดับการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐให้อยู่ในระบบดิจิทัล อันจะนําไปสูการเป็นรัฐบาลดิจิทัลที่มีระบบการทํางานและขอมูลเชื่อมโยงกันระหวางหนวยงานอยางมั่นคงปลอดภัย มีประสิทธิภาพรวดเร็ว เปดเผยและโปรงใส รวมทั้ง ประชาชนได้รับความสะดวกในการรับบริการและสามารถตรวจสอบ การดําเนินงานของหนวยงานของภาครัฐได้ พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 กําหนดให้มีการจัดทํา แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เพื่อกําหนดกรอบและทิศทางการบริหารงานภาครัฐ และการจัดทําบริการสาธารณะ ในรูปแบบของเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการพัฒนาประเทศ มีการปฏิบัติงานที่สอดคลองกันระหวางหนวยงานภาครัฐ และ มีกรอบการพัฒนาและแผนการดําเนินงานของประเทศ โดยสอดคลองกับวัตถุประสงคตามมาตราที่ 4 แห่งพระราชบัญญัติ ฉบับดังกลาว ยุทธศาสตรชาติและแผนระดับชาติที่เกี่ยวของ ในการนี้ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หรือ สพร. ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล จึงได้จัดทําแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 – 2570 ขึ้น โดยแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฉบับนี้ จะเป็นการทบทวนผลการดําเนินงานที่ผานมาตามแผนพัฒนา รัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ป (พ.ศ. 2559 – 2561) (ราง) แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2560 - 2564 และแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2563 – 2565 รวมถึงพิจารณาความสอดคลอง กับยุทธศาสตรชาติ 20 ป แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และแผน ระดับชาติอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ตลอดจนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององคการสหประชาชาติ อีกทั้งศึกษาความเป็นมาของ การพัฒนารัฐบาลดิจิทัลทั้งในประเทศไทยและระดับสากลด้วย แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2570 จัดทําขึ้นตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 ที่มุงเนนการบริหารงาน และการจัดทําบริการสาธารณะในรูปแบบและชองทางดิจิทัล ด้วยการบริหารจัดการและการบูรณาการขอมูลภาครัฐ เพื่อให้การทํางานที่มีความสอดคลองเชื่อมโยงกันอยางมั่นคงปลอดภัยและมีธรรมาภิบาล อันจะกอให้เกิดการบริหารงาน ที่มีประสิทธิภาพและความสะดวกในการเขาถึงบริการของประชาชนและภาคเอกชน พรอมทั้งเปดเผยขอมูลภาครัฐต่อ สาธารณชนเพื่อสงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวน 6

พระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2565 กําหนดหลักการรองรับการแปลง เอกสารในความครอบครองของรัฐ เป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส เพื่อประโยชนในการจัดเก็บ การสืบคนขอมูล กําหนดให้ในกรณีที่ประชาชนได้ยื่นคําขอ หรือติดต่อกับหนวยงานของรัฐ โดยใชวิธีการ ทางอิเล็กทรอนิกส การติดต่อหรือออกเอกสาร หลักฐานใด ๆ ที่เกี่ยวของกับผู้นั้น ให้ทําโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส ในกรณีที่ประชาชนยื่นคําขออนุญาต ณ หนวยงานของรัฐ และมีความจําเป็นที่หนวยงานของรัฐผู้อนุญาต ต้องใชสําเนาเอกสารหลักฐานที่หนวยงาน ของรัฐใดออกให้แกผู้ขออนุญาต ถาผู้ขออนุญาต ได้นําเอกสารตนฉบับมาแสดงแล้ว หนวยงานของรัฐ ผู้อนุญาตมีหน้าที่จัดทําสําเนา และรับรองความถูกต้อง ของสําเนาเอกสารนั้นเองโดยไม่เรียกเก็บ คาใชจายใด ๆ จากผู้ขออนุญาต การอนุมัติ กําหนดให้สามารถยืนยันตัวตน ด้วยวิธีอื่นนอกจากการแสดง บัตรประจําตัวประชาชนหรือหนังสือ เดินทางได้ ถาวิธีอื่นดังกลาวนั้น จะเป็นการสะดวกแกประชาชนยิ่งขึ้น การพิสูจนและยืนยันตัวตน กําหนดให้ประชาชนสามารถยื่นคําขอ โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสได้ โดยให้ถือวาเป็นการชอบด้วยกฎหมาย การจัดทําคําขอและยื่นคําขอ การตรวจสอบและพิจารณาคําขอ กําหนดให้สําเนาเอกสารหลักฐานประกอบ คําขอที่สงโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส ผู้สงไม่ต้องลงนามรับรอง และให้ถือวา ได้ยื่นหรือสงเอกสารครบจํานวน กําหนดให้เป็นหน้าที่ของหนวยงานผู้อนุญาต ที่จะติดต่อกับสํานักทะเบียนกลาง เพื่อตรวจสอบความถูกต้องแทจริง ของบัตรประชาชน และให้เป็นหน้าที่ ของสํานักทะเบียนกลางที่จะตรวจสอบ และแจงผล ทั้งนี้ ให้สามารถกระทําผานทาง วิธีการอิเล็กทรอนิกสได้ โดยไม่ถือวาเป็นการเปดเผยขอมูลลับ ตามกฎหมายวาด้วยการทะเบียนราษฎร การดําเนินการทางอิเล็กทรอนิกส ตามรางมาตรา 7 วรรคหนึ่ง ใชบังคับถึงการจายเงิน คาคําขออนุญาต คาธรรมเนียม ภาษีอากร คาปรับ กําหนดให้ในกรณีที่ประชาชนได้ยื่นคําขอหรือติดต่อ กับหนวยงานของรัฐ โดยใชวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส การติดต่อหรือออกเอกสารหลักฐานใด ๆ ที่เกี่ยวของกับผู้นั้น ให้ทําโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส การชําระคาธรรมเนียม การออกใบอนุญาตและเอกสารอื่น ๆ และการจัดสงใบอนุญาตและเอกสารอื่น ๆ กําหนดให้ผู้รับอนุญาตต้องแสดงใบอนุญาตไวในที่เปดเผย ผู้รับอนุญาตจะแสดงใบอนุญาตนั้น โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสตามที่ผู้อนุญาตประกาศ กําหนดก็ได้ และผู้อนุญาตต้องเปดเผยขอมูลการอนุญาต ที่เป็นปจจุบันให้ประชาชนทั่วไปสามารถตรวจสอบผาน ชองทางอิเล็กทรอนิกสได้โดยสะดวก โดยไม่เสียคาใชจาย พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 การดําเนินการตามแผนฯ หามเรียกสําเนาเอกสาร การเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐ จัดทําบริการในรูปแบบดิจิทัล ความมั่นคงปลอดภัย ในการใชระบบดิจิทัล และมาตรการ ปกปองคุมครองขอมูล การเชื่อมโยงและ แลกเปลี่ยนขอมูล ธรรมาภิบาลและ การดําเนินการตามมาตรฐาน ชองทางชําระเงินทางดิจิทัล ดําเนินการตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล และ ต้องจัดทําหรือปรับปรุงแผนปฏิบัติการให้ สอดคลอง รวมทั้งทบทวนแผนปฏิบัติการ ทั้งนี้ ต้องจัดให้มีการประเมินผลการดําเนินงาน ตามแผนปฎิบัติการ อยางนอยปละหนึ่งครั้ง จัดทําขอมูลที่ต้องเปดเผยตามกฎหมาย วาด้วยขอมูลขาวสารของราชการในรูปแบบ ขอมูลดิจิทัลต่อสาธารณะมาเปดเผย ที่ศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ จัดให้มีมาตรการ หรือระบบรักษา ความมั่นคงปลอดภัยในการเขาสูบริการ ดิจิทัล และระบบปองกันภัย การคุกคามทางไซเบอร และมีการคุมครองขอมูลให้มี ความมั่นคงปลอดภัย และมิให้ขอมูล สวนบุคคลถูกละเมิด หามเรียกสําเนาเอกสารราชการ จากประชาชน ระบบพิสูจนยืนยันตัวตน ทางดิจิทัล จัดให้มีระบบพิสูจนยืนยันตัวตน ทางดิจิทัล นําระบบดิจิทัลเขามาปรับปรุงบริการ ของหนวยงานภาครัฐ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ให้เกิด การบูรณาการขอมูลระหวาง หนวยงาน ให้ประชาชนสามารถ เขาถึงได้สะดวกยิ่งขึ้น จัดให้มีระบบการชําระเงินทางดิจิทัล ทักษะบุคลากรภาครัฐ จัดให้มีการพัฒนาทักษะ บุคลากรภาครัฐ ดําเนินการให้เป็นไปตามมาตรฐาน ขอกําหนด และหลักเกณฑและวิธีการ ที่คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล กําหนด จัดให้มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยน ขอมูลระหวางกันตามที่หนวยงานรัฐ แห่งอื่นรองขอ และให้มีศูนยแลกเปลี่ยน ขอมูลกลางทําหน้าที่เป็นศูนยกลาง ในการแลกเปลี่ยนขอมูลดิจิทัลและ ทะเบียนดิจิทัลระหวางหนวยงาน ของรัฐ จัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ ในระดับหนวยงาน 02 ความสอดคลองกับกฎหมายที่เกี่ยวของ แผน 3 ระดับ และเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนแห่งสหประชาชาติ (SDGs) แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลมีความเกี่ยวของกับกฎหมายหลัก ได้แก (1) พระราชบัญญัติการบริหารงานและ การให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 และ (2) พระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2565 โดยมีสาระสําคัญดังต่อไปนี้ 7

การพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ในป พ.ศ. 2566 - 2570 จําเป็นต้องพิจารณาการดําเนินงานดานรัฐบาลดิจิทัลใน ปจจุบัน เพื่อวิเคราะหหาชองวางการพัฒนา ปญหา อุปสรรคและโอกาส เพื่อยกระดับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลให้สอดรับ กับบริบทที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว และสอดคลองตามเจตนารมยของพระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการ ภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ.2562 โดยมีประเด็นสําคัญของการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลที่ต้องดําเนินการตามมาตราตางๆ ที่ระบุไวใน พ.ร.บ. ดังนี้ มาตรา 4 มุงเนนการบริหารงานภาครัฐและการจัดทําบริการสาธารณะในรูปแบบและชองทางดิจิทัลที่มีความสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และตอบสนองต่อการให้บริการและการอํานวยความสะดวกแกประชาชน เป็นประเด็นสําคัญ ที่ภาครัฐต้องเรงดําเนินการเพื่อการเปลี่ยนผานสูการเป็นรัฐบาลดิจิทัล บนพื้นฐานความมั่นคงปลอดภัยและมีธรรมาภิบาล มาตรา 4 (1) การนําระบบดิจิทัลมาใชในการบริหารและการให้บริการของหนวยงานของรัฐ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ อยางคุมคาและเต็มศักยภาพ การดําเนินงานที่ผานมา จากการสํารวจระดับความพรอมรัฐบาลดิจิทัลหนวยงานภาครัฐของประเทศไทยที่ผานมา พบวา ภาพรวม ระดับความพรอมการพัฒนาดานดิจิทัลของหนวยงานภาครัฐมีการพัฒนาในทิศทางที่ดีขึ้น โดยหนวยงานของรัฐมี การพัฒนาบริการดิจิทัลเพิ่มมากขึ้น และมีสัดสวนบริการสําคัญของรัฐที่สามารถให้บริการแบบออนไลน ในป 2565 คิดเป็นรอยละ 72.71 เพิ่มสูงขึ้นจาก ป 2564 กวารอยละ 10 ปญหาจากการดําเนินงาน ถึงแมวาการพัฒนาบริการดิจิทัลมีการดําเนินการมาอยางต่อเนื่อง แต่ยังคงมีความทาทายที่สําคัญ ได้แก การบูรณาการของหนวยงานภาครัฐ การตอบสนองความต้องการและคาดหวังของประชาชน การลดทอนกระบวนการ หรือขั้นตอนที่ไม่จําเป็น การประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลกับกระบวนงานที่ใชระยะเวลาและเอกสารจํานวนมาก รวมถึง การกําหนดมาตรฐานการให้บริการของรัฐ ที่สามารถสงเสริมและผลักดันให้เกิดบริการของรัฐที่สะดวกสบาย และ ตอบโจทยแกผู้ใชบริการ แนวทางแกไข 1. การจัดทําชุดขอมูลหลัก (Master Data) ของหนวยงานตามมาตรฐานธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ เพื่อให้ หนวยงานของรัฐแห่งอื่นสามารถเชื่อมโยงขอมูลได้ผาน API ที่ได้มาตรฐาน และมีขอมูลที่ถูกต้อง ทันสมัย สามารถนําไปใชงานโดยไม่ต้องจัดทําหรือเก็บขอมูลนั้นขึ้นใหม ซึ่งจะชวยลดความซ้ําซอนในการรองขอขอมูล จากประชาชนและลดปญหาการจัดเก็บขอมูลของหนวยงานที่มีความซ้ําซอนกัน เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการดําเนินงานและการให้บริการดิจิทัล 2. การบูรณาการในการบริหารงานและการให้บริการระหวางหนวยงานของรัฐให้สามารถทํางานรวมกันได้ (Interoperability) โดยการปรับเปลี่ยนระบบงานให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัลที่มีการเชื่อมโยงระบบงานและ การแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงานรัฐ ผานแพลตฟอรมกลางหรือโครงสรางพื้นฐานของการใชขอมูล รวมกัน โดยต้องมีการกําหนดนโยบายกลางที่สําคัญ อาทิ มาตรฐานขอมูล (Data Standard) ขอตกลง การใชเทมเพลตขอมูลรวมกัน (Template Data Sharing Agreement) และแนวทางการสราง API 8

(API Guidance) เพื่อกําหนดรูปแบบการจัดเก็บและคุณภาพของขอมูลภายใตหลักการของธรรมาภิบาล ขอมูลภาครัฐ รวมถึง ลดอุปสรรคทางเทคนิคดานความแตกตางของระบบ ให้หนวยงานสามารถทํางาน รวมกันบนแพลตฟอรมกลางเดียวกันได้ 3. การจัดให้มีโครงสรางพื้นฐาน/แพลตฟอรมกลาง (Infrastructure / Common Platform) หรือระบบ บริการกลาง (Common / Shared Service) ในรูปแบบ Microservice ที่หนวยงานของรัฐสามารถใชงาน รวมกัน และนําไปพัฒนาต่อยอดเป็นบริการสาธารณะตามภารกิจของหนวยงานได้ โดยหนวยงานกลาง เป็นผู้จัดหาหรือพัฒนาเพื่อให้บริการหนวยงานของรัฐในลักษณะบริการกลาง ซึ่งเป็นการบริหารงบประมาณ อยางคุมคาและกอให้เกิดมาตรฐานของระบบบริการ หนวยงานผู้รับผิดชอบ ▪ หนวยงานสวนกลาง ▪ หนวยงานของรัฐทุกหนวยงาน มาตรา 4 (2) มุงเนนให้มีการกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการเกี่ยวกับระบบดิจิทัล โดยกําหนดให้หนวยงานภาครัฐมีการพัฒนามาตรฐาน หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับระบบดิจิทัล ที่จะเป็น การกําหนดแนวทางพื้นฐานสําหรับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของหนวยงานภาครัฐให้มีความสอดคลองกันและสามารถ เชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน มีความมั่นคงปลอดภัยและนาเชื่อถือ โดยมีการบูรณาการและสามารถทํางาน รวมกันอยางเป็นเอกภาพ เกิดการพัฒนาการบริการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ และนําไปสูการบริหารราชการและการบริการ ประชาชนแบบบูรณาการ รวมทั้งให้ประชาชนเขาถึงได้โดยสะดวก ทั้งนี้ มาตรฐานสําคัญในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ประกอบด้วย 1. มาตรฐานธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดการขอมูลให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถวน และเป็นปจจุบัน มีความมั่นคงปลอดภัยของขอมูล การรักษาความลับ การเขาถึงขอมูล และการรักษาความเป็น สวนบุคคล ตลอดจนสามารถแลกเปลี่ยนขอมูลกับหนวยงานของรัฐแห่งอื่นและนําไปประมวลผลต่อไปได้ เพื่อ ลดความซ้ําซอนของการจัดเก็บขอมูล รวมถึงสามารถเปดเผยต่อสาธารณะและนําขอมูลไปใชให้เกิดประโยชนได้ 2. มาตรฐานการเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐ เพื่อกําหนดแนวทางในการจัดทําบัญชีขอมูล ระบุชุดขอมูล จัดระดับความสําคัญ จําแนกหมวดหมู่ จัดระดับชั้นขอมูลและกําหนดรูปแบบของชุดขอมูล รวมถึงการเชื่อมโยงชุดขอมูลเปดภาครัฐผาน ศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ 3. มาตรฐานกระบวนการหรือการดําเนินงานทางดิจิทัล เพื่อกําหนดขั้นตอนการพัฒนาระบบบริการและบริหารจัดการ ภาครัฐ ให้มีความสอดคลองและสามารถเชื่อมโยงกันระหวางหนวยงานของรัฐแห่งอื่น เชน แนวปฏิบัติดานเอกสาร อิเล็กทรอนิกส (e-Document) และดานไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (e-Mail) สําหรับการติดต่อราชการ เป็นตน รวมถึงแนวปฏิบัติในการพัฒนาจัดให้มีหรือนําระบบบริการกลาง (Common Services) ไปใชอํานวยความสะดวก ในการบริการประชาชน เชน ระบบการพิสูจนและยืนยันตัวตนทางดิจิทัล (มาตรา 12 (4)) 4. มาตรฐานการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลดิจิทัล เป็นกรอบการพัฒนาการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูล ภาครัฐ ที่กําหนดรูปแบบขอมูล โปรโตคอล แนวทางการยืนยันตัวตน (Authentication) การให้ความยินยอมใช ขอมูล (Consent) การจัดเก็บบันทึกหลักฐานของการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูล รวมถึงขอกําหนดดานความเป็น สวนตัว (Privacy) และความมั่นคงปลอดภัย (Security) 9

  1. มาตรฐานความมั่นคงปลอดภัยและความนาเชื่อถือ เพื่อกําหนดแนวทางการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและบริการดิจิทัล ให้มีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร (Cybersecurity) และการคุมครองขอมูลสวนบุคคล (Privacy) การดําเนินงานที่ผานมา คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลประกาศมาตรฐานในราชกิจจานุเบกษา จํานวน 4 ฉบับ ได้แก 1. ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง ธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ 2. ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง มาตรฐานและหลักเกณฑการเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐ ในรูปแบบขอมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ 3. ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง มาตรฐานและหลักเกณฑการจัดทํากระบวนการและ การดําเนินงานทางดิจิทัลวาด้วยเรื่องการใชดิจิทัลไอดีสําหรับบริการภาครัฐ สําหรับบุคคลธรรมดาที่มี สัญชาติไทย (Digital ID) 4. ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง มาตรฐานและหลักเกณฑการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยน ขอมูลดิจิทัล วาด้วยเรื่อง กรอบแนวทางการพัฒนามาตรฐานการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ โดยมีรายชื่อมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการเกี่ยวกับระบบดิจิทัลที่สําคัญปรากฏตามภาคผนวก 1 อยางไรก็ดี ถึงแมคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลได้ประกาศมาตรฐาน จํานวน 4 ฉบับขางตน แต่มาตรฐานดังกลาวยังมิได้ถูกนําไปใชในหนวยงานภาครัฐอยางกวางขวางมากนัก ปญหาจากการดําเนินงาน 1. หนวยงานที่สนใจเป็นหนวยงานนํารองในการใชมาตรฐานมีไม่มากนัก จึงขาดกรณีตัวอยางการนํามาตรฐาน ไปประยุกตใชในการดําเนินงานที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม ทําให้ไม่สามารถขยายผลการใชมาตรฐานไปสู หนวยงานภาครัฐในวงกวางได้ 2. เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงเร็วขึ้น สงผลให้มาตรฐานมีขอมูลบางสวนที่ไม่ทันต่อเทคโนโลยีและบริบทที่ เปลี่ยนแปลงไป 3. เจ้าหน้าที่ภาครัฐขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับมาตรฐาน จึงไม่สามารถนําแนวปฏิบัติตามมาตรฐาน ไปใชดําเนินการในหนวยงานให้เป็นรูปธรรมได้ 4. ขาดมาตรฐานที่สําคัญตาม พ.ร.บ. กําหนด อาทิเชน มาตรฐานกระบวนการหรือการดําเนินงานทางดิจิทัล มาตรฐานความมั่นคงปลอดภัยและความนาเชื่อถือ แนวทางแกไข 1. สพร. ขอความรวมมือจากหนวยงานเครือขายหรือหนวยงานคู่ความรวมมือให้เป็นหนวยงานนํารอง 2. สพร. สงเสริมให้มีการจัดทํา Sandbox เพื่อทดสอบการใชมาตรฐานกอนการประกาศใชจริง เพื่อลดระยะ เวลา และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น อีกทั้งยังสามารถปรับเปลี่ยนมาตรฐานให้สอดคลองกับบริบทได้อยาง ทันทวงที 3. สถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐดานดิจิทัลของ สพร. รวมกับหนวยงานสวนกลางที่เกี่ยวของพัฒนาหลักสูตร เพื่อยกระดับทักษะบุคลากรภาครัฐให้มีความรูความเขาใจดานมาตรฐานตาง ๆ ของรัฐบาลดิจิทัล 4. สพร. เรงกําหนดมาตรฐานกระบวนการหรือการดําเนินงานทางดิจิทัล และมาตรฐานความมั่นคงปลอดภัย และความนาเชื่อถือ เพื่อให้เป็นไปตามที่ พ.ร.บ. กําหนด 10

  2. สพร. สรางเครื่องมือ เชน เครื่องมือประมวลผลอัตโนมัติสําหรับการประเมินความเสี่ยงเพื่อใชในการพิสูจน และยืนยันตัวตน สําหรับบริการภาครัฐ เพื่ออํานวยความสะดวกให้หนวยงานภาครัฐสามารถปฏิบัติตาม มาตรฐานตางๆ ได้งายมากยิ่งขึ้น มาตรฐานถือเป็นเพียงจุดเริ่มตนในการขับเคลื่อนรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ให้หนวยงานภาครัฐสามารถ ทํางานรวมกันได้ ดังนั้น การพัฒนามาตรฐานและหลักเกณฑตางๆ ยังคงจําเป็นต้องพัฒนา ปรับปรุงและดําเนินการ อยางต่อเนื่อง ให้สอดคลองกับสภาพแวดลอมเชิงดิจิทัลที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว อีกทั้ง เพื่อการสรางสมดุลของ การทํางานเชิงดิจิทัลของหนวยงานภาครัฐ ให้สามารถทํางานได้อยางคลองตัว ปลอดภัย และให้บริการประชาชน ได้อยางมีประสิทธิภาพบนการทํางานในมาตรฐานเดียวกัน หนวยงานผู้รับผิดชอบ ▪ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ▪ หนวยงานสวนกลางที่เกี่ยวของกับการพัฒนามาตรฐานดานดิจิทัล ▪ หนวนงานสวนกลางที่เกี่ยวของกับการพัฒนาหลักสูตรเพื่อยกระดับบุคลากรภาครัฐ มาตรา 4 (2) โครงสรางพื้นฐานดานดิจิทัล โดยกําหนดให้มีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานดิจิทัลที่จําเป็น ให้เป็นมาตรฐานสากล เพื่อสรางและพัฒนา กระบวนการทํางานของหนวยงานของรัฐให้มีความสอดคลองและมีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน รวมทั้ง มีความมั่นคงปลอดภัยและนาเชื่อถือ การดําเนินงานที่ผานมา หนวยงานของรัฐได้พัฒนาหรือจัดหาแพลตฟอรม/บริการหรือโครงสรางพื้นฐานดานอุปกรณ คอมพิวเตอรและ เครือขายขึ้นใชเองภายในแต่ละหนวยงาน ซึ่งต้องใชงบประมาณสูง ในขณะที่การจัดสรรงบประมาณดานดิจิทัลต่อ หนวยงานมีแนวโนมลดลง นอกจากนี้ ยังกอให้เกิดความแตกตางหลากหลายและไม่มีมาตรฐานกลางของระบบดิจิทัล ระหวางหนวยงานของรัฐ สงผลกระทบต่อการบูรณาการดานดิจิทัลภาครัฐที่ไม่สามารถดําเนินการหรือใชงานรวมกันได้ ปญหาจากการดําเนินงาน 1. ขาดการศึกษา วิเคราะหและพัฒนาแพลตฟอรม/บริการกลางหรือโครงสรางพื้นฐานกลางที่หนวยงานของรัฐ สวนใหญมีความจําเป็นต้องใชงาน สงผลให้หนวยงานจําเป็นต้องพัฒนาหรือจัดหาขึ้นใชเอง กอให้เกิด ขอแตกตางทางเทคนิคของแพลตฟอรมที่มีความหลากหลาย ไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และไม่สามารถเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนขอมูลหรือทํางานรวมกันระหวางหนวยงานได้ 2. ขาดการกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑหรือวิธีปฏิบัติการใชแพลตฟอรม/บริการกลางและโครงสรางพื้นฐานกลาง เพื่อใชเป็นแนวทางให้หนวยงานของรัฐนําไปปฏิบัติให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน แนวทางแกไข 1. วิเคราะหหาแพลตฟอรมและโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญที่หนวยงานของรัฐสวนใหญมีความต้องการใช และกําหนดเป็นแพลตฟอรมและโครงสรางพื้นฐานกลางซึ่งจะเป็นองคประกอบสําคัญในกรอบการพัฒนา รัฐบาลดิจิทัล ซึ่งหนวยงานของรัฐสามารถใชงานรวมกันได้ภายใตมาตรฐานเดียวกันบนพื้นฐานความมั่นคง ปลอดภัยและนาเชื่อถือ โดยแพลตฟอรมกลางและโครงสรางพื้นฐานดานดิจิทัลที่สําคัญ ประกอบด้วย 11

• ศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ (Data.go.th) • ศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางภาครัฐ (Government Data Exchange Center หรือ GDX) • แพลตฟอรมกลางที่อํานวยความสะดวกแกประชาชน ภาคธุรกิจ และชาวตางชาติ ในการเขาถึง และรับบริการจากหนวยงานภาครัฐ ได้แก ระบบพอรทัลกลางเพื่อประชาชน (Citizen Portal) ระบบศูนยกลางบริการภาครัฐเพื่อภาคธุรกิจ (Business Portal หรือ Biz Portal) ระบบพอรทัลบริการ เพื่อชาวตางชาติ (Foreigner Portal) • ระบบเครือขายสื่อสารขอมูลเชื่อมโยงหนวยงานภาครัฐ (Government Information Network : GIN) • การพัฒนาดานความมั่นคงของโครงสรางพื้นฐานดิจิทัลภาครัฐ (DG-LINK) • ระบบคลาวดกลางภาครัฐ (GDCC) 2. วิเคราะหความต้องการระบบบริการที่หนวยงานของรัฐสวนใหญมีความต้องการใช โดยหนวยงานกลางที่ เกี่ยวของดําเนินการพัฒนาระบบบริการดังกลาวและกําหนดเป็นบริการกลาง (Common / Shared Service) ในรูปแบบ Microservice เชน ระบบการชําระเงินทางดิจิทัล (มาตรา 12 (3)) และระบบการพิสูจนและ ยืนยันตัวตนทางดิจิทัล (มาตรา 12 (4)) เป็นตน ซึ่งจะเป็นองคประกอบสําคัญในกรอบการพัฒนารัฐบาล ดิจิทัล เพื่อให้หนวยงานของรัฐสามารถนําไปใชหรือต่อยอดเป็นบริการภาครัฐตามภารกิจของหนวยงาน โดยระบบบริการกลางดิจิทัลที่สําคัญ ประกอบด้วย • ระบบพิสูจนยืนยันตัวตนดานดิจิทัล (Digital ID) • ระบบลงทะเบียนอิเล็กทรอนิกสกลางเพื่อรับสิทธิสวัสดิการตางๆ • ระบบการแจงเตือนขาวสารหรือสิทธิสวัสดิการของประชาชน • ระบบการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส (e-Signature) • ระบบชําระเงินอิเล็กทรอนิกส (e-Payment) • ระบบการรับรองสิทธิ์ทางอิเล็กทรอนิกส (e-Certificate) • ระบบการติดตามและแจงเตือน (Tracking and Notification) • ระบบสนับสนุนการให้บริการผานระบบดิจิทัล (Digital Service Microservices) • ระบบสารบรรณกลางอิเล็กทรอนิกสสําหรับหนวยงานภาครัฐ (Saraban as a Service) • ระบบสื่อสารแบบรวมศูนย (Unified Communication) 3. สพร. และหนวยงานกลางที่เกี่ยวของกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑหรือวิธีปฏิบัติการใชแพลตฟอรม /บริการกลาง และโครงสรางพื้นฐานกลาง และเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลพิจารณาประกาศ เป็นแนวทางให้หนวยงานของรัฐดําเนินการปฏิบัติให้สอดคลองกัน 4. หนวยงานกลางผู้พัฒนาแพลตฟอรม/บริการกลางและโครงสรางพื้นฐานเผยแพรและผลักดัน ให้หนวยงานของรัฐใชงานแพลตฟอรม/บริการกลางและโครงสรางพื้นฐานกลางที่ได้มีการพัฒนาขึ้นแล้ว เชน ศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ ศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางภาครัฐ หรือระบบคลาวดกลางภาครัฐ เพื่อนํา ไปใชงานให้บริการประชาชนตามภารกิจของหนวยงาน 12

หนวยงานผู้รับผิดชอบ ▪ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ▪ กรมบัญชีกลาง ▪ สํานักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแห่งชาติ ▪ สํานักงานคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล ▪ สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ▪ สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ▪ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล มาตรา 4 (3) และ มาตรา 12 (5) มุงเนนการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในการใชระบบดิจิทัล โดยกําหนดให้มีการดําเนินการดังนี้ 1. การสรางและพัฒนามาตรการหรือระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยในการเขาสูบริการดิจิทัลของหนวยงานของรัฐ โดยอยางนอยต้องจัดให้มีระบบปองกันหรือรับมือภัยคุกคามหรือความเสี่ยงทางไซเบอรตามกฎหมายวาด้วยการรักษา ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร 2. การสรางและพัฒนามาตรการปกปองคุมครองขอมูลที่อาจกระทบถึงความมั่นคงหรือความเป็นสวนตัวของประชาชน ที่มีความพรอมใชและนาเชื่อถือ การดําเนินงานที่ผานมา หนวยงานของรัฐมีการดําเนินการตามกรอบมาตรฐานดานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร (Cybersecurity) เพิ่มสูงขึ้น แต่ยังไม่สมบูรณหรือไม่ครอบคลุมทุกระบบ จากผลสํารวจระดับความพรอมการพัฒนา รัฐบาลดิจิทัลที่ผานมา พบวา หนวยงานสวนใหญได้มีการดําเนินการดานการรักษาความปลอดภัยของเว็บไซต์ และ การควบคุมการเขาถึงขอมูลแล้ว แต่ในดานการเขารหัสขอมูลเพื่อปองกันขอมูลรั่วไหลนั้น (Encryption) ยังมี การดําเนินการที่คอนขางนอย นอกจากนี้ หนวยงานของรัฐสวนใหญยังขาดการดําเนินการดานการคุมครองขอมูล สวนบุคคล หรือมีการดําเนินการแล้วแต่ยังไม่เสร็จสมบูรณ ปญหาจากการดําเนินงาน 1. การขาดแคลนอุปกรณหรือโปรแกรมรักษาความปลอดภัยไซเบอร ที่จําเป็นต้องปรับปรุงหรือทดแทนตาม อายุการใชงาน รวมถึงการปรับระดับหนวยงานสูความเป็นดิจิทัลมากขึ้น ที่ทําให้เกิดความต้องการอุปกรณ โครงสรางพื้นฐานที่เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย 2. บุคลากรภาครัฐขาดความรู ความเขาใจและทักษะดานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร และดานการ คุมครองขอมูลสวนบุคคล แนวทางแกไข 1. หนวยงานกลางพัฒนาหรือจัดให้มีโครงสรางพื้นฐานกลางภาครัฐที่มีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร และกําหนดเป็นองคประกอบสําคัญในกรอบการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เพื่อให้หนวยงานของรัฐทั่วไป สามารถใชงาน โดยจะชวยลดภาระความต้องการอุปกรณและบุคลากรในการดูแลรักษาความมั่นคง ปลอดภัยของระบบดิจิทัลจากหนวยงานของรัฐ 2. สงเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรภาครัฐได้รับการพัฒนาทักษะควบคู่ไปกับการให้ความรูดานกฎหมาย การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร (Cybersecurity) และกฎหมายการคุมครองขอมูลสวนบุคคล (PDPA) 13

มาตรา 7 (2) และ มาตรา 8 มุงให้เกิดธรรมาภิบาลขอมูลและการจัดทําขอมูลให้อยู่ในรูปแบบขอมูลดิจิทัล โดยกําหนดให้หนวยงานภาครัฐจัดทําขอมูลให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัลและเป็นมาตรฐานเดียวกันตามหลักธรรมาภิบาล ขอมูล เพื่อให้การบริหารจัดการและการบูรณาการขอมูลภาครัฐมีความสอดคลอง และสามารถเชื่อมโยงเขาด้วยกัน อยางมั่นคงปลอดภัย อันจะนําไปสูการพัฒนาระบบขอมูลที่สําคัญของภาครัฐ และเพิ่มประสิทธิภาพบริการดิจิทัลใน การอํานวยความสะดวกให้แกประชาชน รวมถึงการพัฒนาศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐเพื่อให้ประชาชนสามารถเขาถึง และใชประโยชนได้อยางมีประสิทธิภาพ และสรางการมีสวนรวมของทุกภาคสวน โดยไม่ละเมิดขอมูลสวนบุคคล ซึ่งได้ กําหนดหลักเกณฑขั้นต่ําในการจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ ไวดังนี้ 1. การกําหนดสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการขอมูลของหนวยงาน 2. การวางแผนการดําเนินงาน การปฏิบัติตามแผนการดําเนินงาน การตรวจสอบและการรายงานผลการดําเนินงาน และการปรับปรุงแผนการดําเนินงานอยางต่อเนื่อง เพื่อให้ระบบบริหารและกระบวนการจัดการขอมูลมีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยง แลกเปลี่ยน และบูรณาการขอมูลระหวางกันทั้งภายในและภายนอกหนวยงาน และคุมครองขอมูล ให้มีประสิทธิภาพ 3. การกําหนดมาตรการควบคุมและพัฒนาคุณภาพขอมูล เพื่อให้ขอมูลมีความถูกต้อง ครบถวน เป็นปจจุบัน มั่นคง ปลอดภัย และไม่ถูกละเมิดความเป็นสวนบุคคล รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงแลกเปลี่ยน บูรณาการ และใชประโยชน ได้อยางมีประสิทธิภาพ 4. การวัดผลการบริหารจัดการขอมูล โดยอยางนอยประกอบด้วย การประเมินความพรอมของธรรมาภิบาลขอมูล ภาครัฐในระดับหนวยงาน การประเมินคุณภาพขอมูล และการประเมินความมั่นคงปลอดภัยของขอมูล 5. การจําแนกหมวดหมู่ของขอมูล เพื่อกําหนดนโยบายขอมูลหรือกฎเกณฑเกี่ยวกับผู้มีสิทธิเขาถึงและใชประโยชน จากขอมูลตางๆ ภายในหนวยงาน สําหรับผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวของให้ปฏิบัติตามนโยบายหรือกฎเกณฑได้อยางถูกต้อง และสอดคลองตามกฎหมายที่เกี่ยวของ อันจะนําไปสูการบริหารจัดการขอมูลภาครัฐอยางเป็นระบบ 6. การจัดทําคําอธิบายชุดขอมูลดิจิทัลของภาครัฐและบัญชีขอมูลให้มีความถูกต้อง ครบถวน และเป็นปจจุบัน สําหรับหนวยงานของรัฐต้องจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐในระดับหนวยงานตามธรรมาภิบาลขอมูล ภาครัฐ พรอมดําเนินการลําดับแรก คือ การจัดทําขอมูลตามภารกิจให้อยู่ในรูปแบบขอมูลดิจิทัล โดยเป็นขอมูลที่มี ความสมบูรณ เชื่อถือได้ และสามารถใชได้อยางมีประสิทธิภาพ มีความถูกต้องและเป็นปจจุบัน พรอมให้หนวยงานของ รัฐเชื่อมโยงขอมูลและใชประโยชนรวมกันได้ ในกรณีที่หนวยงานได้มาซึ่งขอมูลสวนบุคคลหรือมีขอมูลสวนบุคคลอยู่ใน ครอบครอง หากหนวยงานรัฐแห่งอื่นจะใชขอมูลดังกลาวเพื่อประโยชนในการบริหารราชการแผนดิน ให้หนวยงาน สามารถขอเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลสวนบุคคลจากหนวยงานของรัฐที่ครอบครองเพื่อนํามาวิเคราะหหรือ ประมวลผลได้ และลําดับถัดมา คือ การจัดทํากระบวนการหรือการดําเนินงานทางดิจิทัลเพื่อการบริหารราชการแผนดิน และการให้บริการประชาชน โดยกระบวนการหรือการดําเนินงานทางดิจิทัลนั้นต้องทํางานรวมกันได้ตามมาตรฐาน ขอกําหนด และหลักเกณฑที่คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกําหนด เพื่อให้มีความสอดคลองและเชื่อมโยงระหวาง หนวยงานของรัฐแห่งอื่นได้ โดยมุงเนนถึงการอํานวยความสะดวกและการเขาถึงของประชาชนที่เป็นไปตามมาตรฐาน และมีการบูรณาการขอมูลระหวางหนวยงานของรัฐเป็นสําคัญ หนวยงานผู้รับผิดชอบ ▪ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ▪ สํานักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแห่งชาติ ▪ สํานักงานคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล ▪ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 14

การดําเนินงานที่ผานมา 1. คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลได้ออกประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง ธรรมาภิบาล ขอมูลภาครัฐ ลงราชกิจจานุเบกษา 2. หนวยงานของรัฐบางหนวยงานมีการจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐเสร็จเรียบรอยแล้ว 3. สถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐดานดิจิทัลของ สพร. จัดอบรมหลักสูตรดานธรรมาภิบาลขอมูลเพื่อยกระดับ ทักษะบุคลากรภาครัฐ 4. สพร. จัดตั้งทีมที่ปรึกษาเพื่อเป็นพี่เลี้ยงในการสรางความเขาใจในการจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐให้กับ หนวยงานของรัฐ ทั้งนี้ หนวยงานสวนใหญรับทราบถึงเรื่องธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ แต่ในแงของการตระหนักถึงความสําคัญ และการนําไปปฏิบัติยังมีไม่มากนัก โดยผลสํารวจระดับความพรอมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พบวา หนวยงานสวนใหญ มีการรับรูเกี่ยวกับธรรมาภิบาลขอมูลสูงขึ้นอยางต่อเนื่อง แต่จํานวนหนวยงานที่ได้ดําเนินการแล้วเสร็จ และประกาศ ใชมีสัดสวนที่คอนขางนอย โดยเฉพาะในเรื่องของการกําหนดรายชื่อชุดขอมูลและปรับปรุงขอมูล เพื่อนําไปใชในการ แลกเปลี่ยนขอมูล การจัดทําบัญชีรายชื่อขอมูล และการกําหนดมาตรการหรือกระบวนการตรวจสอบขอมูล ปญหาจากการดําเนินงาน 1. กรอบธรรมาภิบาลขอมูลมีเนื้อหาที่เขาใจได้ยาก ทําให้หนวยงานภาครัฐไม่สามารถนําไปปฏิบัติให้เกิดผล อยางเป็นรูปธรรมได้ 2. บุคลากรขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับกรอบธรรมาภิบาลขอมูล ทําให้เจ้าหน้าที่ไม่สามารถดําเนินการ ตามแนวปฏิบัติของกรอบธรรมาภิบาลขอมูลได้ 3. นโยบายเกี่ยวกับการจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลและการจัดทําขอมูลให้อยู่ในรูปแบบขอมูลดิจิทัลในระดับ หนวยงานไม่ชัดเจน สงผลให้ผู้ปฏิบัติไม่สามารถดําเนินการตามกรอบธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐได้อยางเต็มที่ แนวทางแกไข 1. สพร. ดําเนินการพัฒนา/ปรับปรุงมาตรฐานธรรมาภิบาลขอมูลอยางต่อเนื่อง และเสนอต่อคณะกรรมการ พัฒนารัฐบาลดิจิทัลเพื่อพิจารณาประกาศธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐให้เป็นหลักการและแนวทางในการดําเนิน การให้หนวยงานภาครัฐ พรอมทั้งกําหนดนโยบายในกรณีหนวยงานของรัฐจะจัดทําขอมูลดิจิทัล และหากมี หนวยงานของรัฐแห่งอื่นซึ่งมีหน้าที่และอํานาจจัดทําหรือรวบรวมขอมูลดิจิทัลแล้วไม่วาทั้งหมดหรือบางสวน ให้หนวยงานของรัฐดังกลาวจัดให้มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลดิจิทัล โดยไม่จําเป็นต้องจัดทําขอมูล ขึ้นใหม 2. สพร. จัดทําคู่มือประกอบการดําเนินงานดานธรรมาภิบาลขอมูลที่หนวยงานของรัฐสามารถนําไปปฏิบัติได้จริง พรอมทั้งจัดให้มีเครื่องมือหรือมาตรการอํานวยความสะดวกให้กับหนวยงานเพื่อสงเสริมให้เกิด การจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐในระดับหนวยงานมากยิ่งขึ้น 3. สพร. ปรับปรุงเนื้อหามาตรฐานให้เขาใจได้งายมากขึ้น เชน เพิ่มตัวอยาง ปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย ปรับเปลี่ยนรูปแบบการนําเสนอให้มีความชัดเจนและจัดทําขั้นตอนสําหรับหนวยงานที่เริ่มตนจัดทําธรรมาภิบาล ขอมูลในหนวยงาน รวมถึงจัดทําแนวทางโดยใชขั้นตอนที่สังเคราะหขึ้นเป็นกรณีตัวอยาง เป็นตน 15

  1. สถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐดานดิจิทัลของ สพร. รวมกับหนวยงานสวนกลางที่เกี่ยวของพัฒนาหลักสูตร เพื่อยกระดับทักษะบุคลากรภาครัฐให้มีความรูความเขาในดานธรรมาภิบาลขอมูล ตั้งแต่ในเรื่องของ การจัดตั้งทีมบริกรขอมูล การกําหนดรายชื่อชุดขอมูลและปรับปรุงขอมูล การกําหนดนโยบายการเขาถึง การจัดทําบัญชีรายชื่อขอมูล การประกาศบัญชีรายชื่อขอมูลกลาง ไปจนถึงการกําหนดมาตรการหรือ กระบวนการตรวจสอบขอมูล 5. สพร. รวมกับหนวยงานสวนกลางที่เกี่ยวของกําหนดรายชื่อชุดขอมูลสําคัญที่ต้องเรงดําเนินการจัดทําให้ เป็นไปตามธรรมาภิบาลขอมูล และเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เพื่อใชในการเปดเผยขอมูล และรองรับการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงานและการพัฒนาระบบบริหารจัดการและ การบริการดิจิทัลสาธารณะได้ ดังนั้น การขับเคลื่อนดานธรรมาภิบาลขอมูลของหนวยงานภาครัฐยังคงต้องขับเคลื่อนอยางต่อเนื่อง เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพการทํางานสูงสุด สงผลให้เกิดการให้บริการที่มีประสิทธิภาพแกประชาชน ทั้งจากการทบทวนแผนงาน ดําเนินการ การขับเคลื่อนสรางความรูความเขาใจ และเตรียมแนวปฏิบัติที่งายต่อการดําเนินการให้กับหนวยงานภาครัฐ นําไปประยุกตใช พรอมการประเมินผลอยางต่อเนื่องอยางนอยปละ 1 ครั้ง โดยใชกลไกของคณะกรรมการพัฒนารัฐบาล ดิจิทัลในการกําหนดทิศทางการขับเคลื่อน และการกําหนดรูปแบบกฎระเบียบตางๆ เพื่อให้ธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ สามารถเกิดขึ้นได้จริงและมีประสิทธิภาพสูง ทําให้หนวยงานสามารถเชื่อมโยงขอมูลรวมกันได้ โดยไม่จําเป็นต้องจัดทํา หรือรองขอขอมูลที่มีอยู่เดิม หนวยงานผู้รับผิดชอบ ▪ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล และหนวยงานของรัฐทุกหนวยงาน มาตรา 7 (5) การจัดให้มีหรือปรับปรุงกฎหมาย โดยกําหนดให้มีการศึกษาปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของ เพื่อให้เป็นไปตามแนวทางของการพัฒนารัฐบาล ดิจิทัล และเสนอต่อผู้รักษากฎหมายเพื่อพิจารณายกเวนหรือลดคาธรรมเนียม และคาบริการ ฯลฯ การดําเนินงานที่ผานมา 1. บัญญัติพระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 ถือเป็นกลไก สําคัญในการแกไขประเด็นที่ติดขัดในดานขอกฎหมายของหนวยงานภาครัฐ 2. บัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวของกับสภาพแวดลอมเชิงดิจิทัลทั้งหมด เชน พระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการ ทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2565 และพระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. 2562 เป็นตน 3. เผยแพรประชาสัมพันธ พ.ร.บ. ดานการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลให้กับหนวยงานภาครัฐ เพื่อสรางความตระหนักรู และกระตุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ปญหาจากการดําเนินงาน ขอติดขัดดานกฎหมายและกฎระเบียบถือเป็นปญหาสําคัญที่ทําให้ไม่สามารถพัฒนารัฐบาลดิจิทัลได้ อยางกาวกระโดด ซึ่งเกิดจากการไม่ปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบของหนวยงานให้เอื้อต่อการดําเนินงานดานดิจิทัล โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. กฎหมายและกฎระเบียบของหนวยงานไม่สอดคลองกับกฎหมายระดับชาติ ที่เอื้อให้เกิดการทํางานภายใต สภาพแวดลอมเชิงดิจิทัล 2. กฎหมายหลักของประเทศยังไม่สอดรับกับสถานการณการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัลได้อยางมีประสิทธิภาพ 16

  2. การขาดความรวมมือของหนวยงานภาครัฐในการรวมกันแกไขกฎหมาย กฎระเบียบ พรอมทั้งขาด การสรางความเขาใจในขอกฎหมายเชิงบูรณาการ 4. บุคลากรภาครัฐ ยังคงปฏิบัติงานในรูปแบบเดิม ซึ่งไม่สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงทั้งดานการบริหารงาน และการให้บริการดิจิทัล แนวทางแกไข 1. หนวยงานภาครัฐจําเป็นต้องตระหนักถึงความสําคัญของเทคโนโลยี และศึกษาทําความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมาย กฎระเบียบของตนเองที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนางานดานการบริหารและการให้บริการตามหลักของรัฐบาล ดิจิทัล 2. หนวยงานภาครัฐศึกษาทําความเขาใจกฎหมายระดับชาติที่เกี่ยวของกับดิจิทัล เชน พระราชบัญญัติการ บริหารงานและการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ.2562 พระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการทาง อิเล็กทรอนิกส พ.ศ.2565 เป็นตน 3. คนหาชองโหวของการดําเนินงานดานกฎหมายในปจจุบันของหนวยงานตนเอง โดยอางอิงการทํางานให้ สอดรับกับกฎหมายและกฎระเบียบระดับชาติ 4. หนวยงานภาครัฐดําเนินการปรับปรุง ปรับเปลี่ยน กฎระเบียบของหนวยงานให้สอดคลองกับกฎหมาย ระดับชาติ 5. หนวยงานภาครัฐมุงสรางความรวมมือกับหนวยงานภาคีในการปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบที่ใชรวมกัน ให้เป็นปจจุบันและสอดรับบริบทดิจิทัล เพื่อสรางการทํางานเชิงบูรณาการขามหนวยงาน 6. สรางความตระหนักรูให้กับบุคลากรในหนวยงาน ในการทํางานภายใตสภาพแวดลอมของกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เปลี่ยนแปลง 7. หนวยงานกลางดําเนินการศึกษาและปรับเปลี่ยนกฎหมายที่เกี่ยวของกับรัฐบาลดิจิทัลให้เป็นปจจุบัน ดังนั้น การปรับปรุงแกไขกฎหมายจึงเป็นอีกสวนสําคัญในการขับเคลื่อนการเป็นรัฐบาลดิจิทัล โดยทุกหนวย งานภาครัฐมีความจําเป็นต้องเรงทบทวน ปรับปรุงกระบวนการ กฎระเบียบ รวมถึงการแกไขกฎหมายที่เป็นอุปสรรค ต่อการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หรืออาจจําเป็นต้องบัญญัติกฎหมายใหมเพื่อชวยอํานวยความสะดวกในการพัฒนารัฐบาล ดิจิทัล ควบคู่ไปกับการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ภาครัฐให้สามารถตีความและใชกฎหมายได้อยางถูกต้อง เพื่อให้ การพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเป็นไปได้อยางต่อเนื่องและคงไวซึ่งการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ หนวยงานผู้รับผิดชอบ ▪ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ▪ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ▪ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 17

มาตรา 12 มุงเนนการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงคของ พ.ร.บ. โดยให้หนวยงานของรัฐจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐในระดับหนวยงาน และกําหนดให้มีการดําเนินการดังนี้ มาตรา 12 (1) จัดทําขอมูลตามภารกิจให้อยู่ในรูปแบบขอมูลดิจิทัล ที่มีความสมบูรณ มีคุณภาพ เชื่อถือได้ มีความถูกต้อง และเป็นปจจุบัน สามารถแลกเปลี่ยนกับหนวยงานของรัฐแห่งอื่นและนําไปประมวลผลต่อได้ การดําเนินงานที่ผานมา คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลได้มีประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง ธรรมาภิบาลขอมูล ภาครัฐ เพื่อเป็นแนวทางให้หนวยงานรัฐจัดทําขอมูลให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัลและเป็นมาตรฐานเดียวกัน จากผลสํารวจระดับ ความพรอมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พบวา หนวยงานสวนใหญมีการรับรูเกี่ยวกับธรรมาภิบาลขอมูล แต่ยังขาดการนําไป ปฏิบัติให้เกิดผลเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะในเรื่องของการกําหนดรายชื่อชุดขอมูลหลักที่สําคัญและการปรับปรุงขอมูล เพื่อนําไปใชในการแลกเปลี่ยนขอมูล การจัดทําบัญชีรายชื่อขอมูล และการกําหนดมาตรการหรือกระบวนการ ตรวจสอบขอมูล ปญหาจากการดําเนินงาน 1. ขอมูลหลัก (Master Data) ของหนวยงานยังไม่ถูกจัดทําให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัลตามหลักธรรมาภิบาลขอมูล หรือเป็นขอมูลอิเล็กทรอนิกสแต่ไม่สามารถอานได้ด้วยเครื่อง (Machine Readable) และไม่สามารถนําไป ประมวลผลหรือเชื่อมโยงให้หนวยงานอื่นนําไปใชต่อได้ ตลอดจนการขาดการดูแลปรับปรุงขอมูลให้มี ความถูกต้องและเป็นปจจุบัน 2. บุคลากรภาครัฐขาดความรูความเขาใจดานธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐและการจัดทําขอมูลให้อยู่ในรูปแบบ ขอมูลดิจิทัล แนวทางแกไข 1. สพร. ดําเนินการศึกษา และกําหนดรายชื่อชุดขอหลักที่สําคัญ (Master Data) และชื่อหนวยงานเจ้าของขอมูล เพืิ่อให้มีการเปดเผยเชื่อมโยงผานศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางภาครัฐ และให้หนวยงานอื่นนําไปใชต่อได้ 2. หนวยงานของรัฐจัดทําขอมูลหลักของหนวยงานให้เป็นตามธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ พรอมทั้งปรับปรุง ขอมูลให้มีความถูกต้องและเป็นปจจุบัน ตามแนวทางการดําเนินการที่อธิบายไวในมาตรา 8 ธรรมาภิบาลขอมูล ภาครัฐ 3. สพร. พัฒนา/ปรับปรุงมาตรฐาน หลักเกณฑและแนวทางการปฏิบัติงานดานธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ ตามที่คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกําหนด 4. การฝกอบรมทักษะบุคลากรภาครัฐให้มีความรูความเขาใจดานธรรมาภิบาลขอมูล ตั้งแต่ในเรื่องของการจัดตั้ง ทีมบริกรขอมูล การกําหนดรายชื่อชุดขอมูลและปรับปรุงขอมูล การกําหนดนนโยบายการเขาถึง การจัดทํา บัญชีรายชื่อขอมูล การประกาศบัญชีรายชื่อขอมูลกลาง ไปจนถึงการกําหนดมาตรการหรือกระบวนการ ตรวจสอบขอมูล หนวยงานผู้รับผิดชอบ ▪ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล และหนวยงานของรัฐทุกหนวยงาน 18

มาตรา 12 (2) จัดทํากระบวนการหรือการดําเนินงานทางดิจิทัล โดย กําหนดให้มีการดําเนินการ ดังนี้ 1. คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกําหนดมาตรฐานและหลักเกณฑกระบวนการหรือการดําเนินการทางดิจิทัล 2. หนวยงานของรัฐจัดทํากระบวนการหรือการดําเนินงานทางดิจิทัลเพื่อการบริหารราชการแผนดินและการให้บริการ ประชาชน ที่สามารถทํางานรวมกันได้ โดยมุงเนนการอํานวยความสะดวกและการเขาถึงบริการของประชาชน การดําเนินงานที่ผานมา หนวยงานของรัฐมีการพัฒนาบริการดิจิทัลสําหรับประชาชนและภาคธุรกิจเพิ่มมากขึ้น แต่การยกระดับ กระบวนการทํางานหรือบริการให้เป็นดิจิทัลแบบเบ็ดเสร็จครบบวงจรยังไม่ครบถวนสมบูรณ มีขั้นตอนการดําเนินงาน ที่ซับซอน และยังมีการรองขอเอกสารหลักฐานในรูปแบบกระดาษ นอกจากนี้ ยังขาดการบูรณาการระบบงานระหวาง หนวยงาน สงผลให้ประชาชนและภาคธุรกิจไม่ได้รับความสะดวก รวมทั้งเสียเวลาและคาใชจายโดยไม่จําเป็น ปญหาจากการดําเนินงาน 1. กระบวนการทํางานและให้บริการของหนวยงานรัฐมีความซับซอน และไม่สอดคลองกับการดําเนินชีวิต ของประชาชนและการประกอบธุรกิจในปจจุบันที่พึ่งพาเทคโนโลยีดิจิทัลมากขึ้น รวมถึงมีการใชเอกสารหรือ สําเนาเอกสารในรูปแบบกระดาษจํานวนมาก 2. หนวยงานที่จัดทําขอมูลหลักไม่มีการเปดให้หนวยงานของรัฐอื่นเชื่อมโยงขอมูล และการขาดการบูรณาการ ขอมูลระหวางหนวยงาน สงผลให้เกิดการขอขอมูลหรือเอกสารที่ซ้ําซอนจากประชาชน และมีการจัดเก็บ ขอมูลเดียวกันไวในหลายหนวยงาน 3. หนวยงานของรัฐไม่มีแนวทางปฏิบัติกลางในการพัฒนากระบวนการทํางานหรือบริการสาธารณะให้อยู่ในแบบ ดิจิทัลที่ครบวงจรตั้งแต่ตนจนจบกระบวนงาน แนวทางแกไข 1. หนวยงานรัฐสํารวจกระบวนการทํางานและการให้บริการในปจจุบัน เพื่อระบุปญหาหรือกระบวนงานที่ ไม่จําเป็น พรอมทั้งจัดลําดับความสําคัญของกระบวนงาน และประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อแกไขปญหา หรือลดกระบวนงานที่ทําซ้ํา ตลอดจน การลดกระบวนงานดานเอกสารตางๆ โดยการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยน และใชขอมูลดิจิทัลแทน 2. หนวยงานผู้พัฒนาบริการสาธารณะที่มีความเกี่ยวของกันหรือมีการบูรณาการระหวางหนวยงานต้องออกแบบ ให้สามารถทํางานรวมกันได้อยางราบรื่น (Interoperability) และยึดหลักการการขอขอมูลจากประชาชน เพียงครั้งเดียว (Once Only Principle) โดยจัดให้มีการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลหลัก (Master Data) หรือขอมูลเอกสาร/หลักฐานราชการที่หนวยงานรัฐอื่นออกให้และประกาศไวที่ศูนยแลกเปลี่ยน ขอมูลกลางภาครัฐ สําหรับประกอบการพิจารณาอนุมัติ อนุญาต ออกใบอนุญาต รับจดทะเบียน รับจดแจง หรือรับแจง (มาตรา 11) ทั้งนี้ ให้หนวยงานของรัฐดําเนินการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลผานศูนย แลกเปลี่ยนขอมูลกลางภาครัฐ ตามมาตรฐานที่คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกําหนด ตามแนวทาง การดําเนินการที่อธิบายไวในมาตรา 12 วรรคทาย เรื่องการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูล 19

  1. การจัดทํากระบวนการดิจิทัลจําเป็นต้องดําเนินการตามเจตนารมยของพระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการ ทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2565 จึงควรเรงกําหนดแนวทางการปฏิบัติวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสให้กับ กระบวนการที่พบโดยทั่วไปในบริการดิจิทัลภาครัฐ (Common Process) 8 กระบวนการ ประกอบด้วย การสืบคนขอมูล การพิสูจนและยืนยันตัวตน การจัดทําแบบคําขอและยื่นคําขอ การตรวจสอบและพิจารณา คําขอ การอนุมัติ การชําระคาธรรมเนียม การออกใบอนุญาตหรือเอกสารอื่นๆ และการจัดสงใบอนุญาต หรือเอกสารอื่นๆ เพื่อนําเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลพิจารณาประกาศใชให้สอดคลองกัน หนวยงานผู้รับผิดชอบ ▪ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ▪ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ▪ สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ▪ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ▪ หนวยงานของรัฐทุกหนวยงาน มาตรา 12 (3) จัดให้มีระบบการชําระเงินทางดิจิทัล โดยกําหนดให้มีระบบการชําระเงินทางดิจิทัลอีกชองทางหนึ่ง กรณีที่กฎหมายกําหนดให้หนวยงานของรัฐ สามารถเรียกเก็บเงินคาธรรมเนียม คาบริการ คาปรับ หรือคาใชจายอื่นใดจากประชาชน จากการให้บริการของหนวยงาน ของรัฐนั้น และอาจตกลงกับหนวยงานของรัฐแห่งอื่นให้จัดเก็บเงินดังกลาวแทนได้ การดําเนินงานที่ผานมา หนวยงานของรัฐพัฒนาบริการให้อยู่ในรูปแบบออนไลน และมีการพัฒนาชองทางการชําระเงินทางดิจิทัล แต่บางบริการอาจยังไม่สามารถให้บริการได้ตลอดทั้งกระบวนการตั้งแต่ตนจนจบ (End-to-End Process) สงผลให้ ประชาชนไม่ได้รับความสะดวก เสียเวลาและคาใชจายในการต้องไปชําระเงิน ณ จุดบริการรับชําระเงินอื่น ปญหาจากการดําเนินงาน การพัฒนาบริการดิจิทัลที่มีขั้นตอนการชําระเงินยังไม่มีการเชื่อมต่อกับระบบชําระเงินของธนาคารหรือตัวแทน จัดเก็บเงิน แนวทางแกไข สงเสริมและสนับสนุนให้หนวยงานรัฐดําเนินการเชื่อมต่อกับระบบรับชําระเงินของธนาคาร หรือเชื่อมโยงกับ ระบบการชําระเงินแบบอิเล็กทรอนิกสแห่งชาติ (National e-Payment) หนวยงานผู้รับผิดชอบ ▪ กรมบัญชีกลาง ▪ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ▪ หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ 20

มาตรา 12 (4) ระบบการพิสูจนและยืนยันตัวตนทางดิจิทัล โดย กําหนดให้มีการดําเนินการดังนี้ 1. จัดให้มีระบบการพิสูจนและยืนยันตัวตนทางดิจิทัล 2. คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกําหนดมาตรฐานและแนวทางการพิสูจนและยืนยันตัวตนทางดิจิทัล การดําเนินงานที่ผานมา คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลได้มีประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง มาตรฐานและ หลักเกณฑการจัดทํากระบวนการและการดําเนินงานทางดิจิทัลวาด้วยเรื่องการใชดิจิทัลไอดีสําหรับบริการภาครัฐ สําหรับ บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทย (Digital ID) แล้ว โดยมีการอธิบายวิธีการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ ตั้งแต่ แบบจําลอง ดิจิทัลไอดี (Digital Identity Model) การลงทะเบียนและพิสูจนตัวตน (Enrolment and Identity Proofing) การยืนยันตัวตน (Authentication) การจําแนกกลุ่มการให้บริการภาครัฐในรูปแบบดิจิทัล (Government Digital Service Classification) การบริหารความเสี่ยงของดิจิทัลไอดี (Digital Identity Risk Management) การกําหนด ระดับความนาเชื่อถือของไอเดนทิตี (Selecting Identity Assurance Levels) และการกําหนดระดับความนาเชื่อถือ ของสิ่งที่ใชยืนยันตัวตน (Selecting Authenticator Assurance Levels) ทั้งนี้ การพัฒนาระบบงานยังอยู่ในขั้นตอน การพัฒนาตนแบบและทดลองใชงาน ปญหาจากการดําเนินงาน หนวยงานของรัฐไม่มีงบประมาณและขาดแคลนบุคลากรที่มีความรูและทักษะในการพัฒนาระบบการพิสูจน และยืนยันตัวตนทางดิจิทัล แนวทางแกไข 1. หนวยงานกลางเรงพัฒนาระบบการพิสูจนและยืนยันตัวตนทางดิจิทัล ในรูปแบบ Microservice ให้หนวยงาน ของรัฐสามารถนําไปใช 2. สพร. พัฒนา/ปรับปรุงมาตรฐานและแนวทางการพิสูจนและยืนยันตัวตนทางดิจิทัลอยางต่อเนื่อง และ นําเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลพิจารณาประกาศให้หนวยงานของรัฐปฏิบัติให้สอดคลองกัน หนวยงานผู้รับผิดชอบ ▪ กรมการปกครอง ▪ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ▪ หนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ 21

มาตรา 12 (6) และมาตรา 7 (4) การพัฒนาทักษะดานดิจิทัลบุคลากรภาครัฐ โดยกําหนดให้มีการพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีความรูความสามารถในการบริหารงานและการให้บริการ ภาครัฐผานระบบดิจิทัล โดยการใชกลไกของคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในการกําหนดแนวทางการพัฒนา ศักยภาพบุคลากรภาครัฐ การดําเนินงานที่ผานมา 1. จัดตั้งสถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐดานดิจิทัล (Thailand Digital Government Academy หรือ TDGA) ภายใตการดําเนินการของ สพร. เพื่อเป็นแกนหลักในการพัฒนาทักษะดิจิทัลแกบุคลากรภาครัฐทุกระดับ 2. จัดทําหลักสูตรกลางเพื่อให้หนวยงานตางๆ ใชในการพัฒนาทักษะดิจิทัลแกบุคลากรภาครัฐให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน โดยเป็นหลักสูตรกลางที่ครอบคลุมทักษะดิจิทัลที่จําเป็นต่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัลตั้งแต่ผู้บริหาร ระดับสูงถึงระดับปฏิบัติการ ประกอบด้วย 26 หลักสูตร และหลักสูตรเฉพาะสําหรับผู้บริหารระดับสูงของ หนวยงานภาครัฐ 1 หลักสูตร โดยสามารถแบงกลุ่มหลักสูตรตามหัวขอสําคัญ ได้ดังนี้ Digital Literacy, Digital Laws and Regulations, Cyber Security, Open Data & Data Governance, Data Analytics, Enterprise Architecture, Strategy & Project Management, Process and Service Design, Digital Leadership และ Information Technology ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 26 กันยายน 2560 เรื่องแนวทางการพัฒนาทักษะดานดิจิทัลของขาราชการและบุคลากรภาครัฐเพื่อการปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาล ดิจิทัลที่เสนอโดยสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน 3. สรางความรวมมือกับหนวยงานภาครัฐเอกชนและสถาบันการศึกษาในการสรางมาตรฐานการพัฒนาบุคลากร ให้มีประสิทธิภาพ 4. สรางชองทางที่หลากหลายทั้งออนไลนและออฟไลน เพื่อให้เกิดความเหมาะสมและสะดวกต่อการเขาอบรม สําหรับผู้เขาอบรมในแต่ละระดับ ปญหาจากการดําเนินงาน 1. หลักสูตรมีเนื้อหาไม่เทาทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของบริบทเชิงดิจิทัล จึงจําเป็นต้องเตรียมความพรอม ในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรอยู่ตลอดเวลา 2. การปรับเปลี่ยนผู้บริหารระดับสูงของหนวยงานที่มีหน้าที่กํากับดูแลและบริหารงานดานดิจิทัล อาจไม่ได้ มาจากสายงานเทคโนโลยี จึงสงผลให้ขาดความต่อเนื่องในการบริหารและพัฒนางานดานดิจิทัลของหนวยงาน 3. บุคลากรภาครัฐขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทํางานภายใตสภาพแวดลอมเชิงดิจิทัลที่เปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว 4. หนวยงานภาครัฐขาดงบประมาณในการอบรมและยกระดับศักยภาพบุคลากรให้มีทักษะดานดิจิทัล แนวทางแกไข 1. สถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐดานดิจิทัล ของ สพร. และหนวยงานกลางที่เกี่ยวของรวมกันพัฒนาหลักสูตร ให้มีมาตรฐานระดับสากล พรอมทั้ง จัดหาชองทางที่เหมาะสมในการอบรมให้กับผู้รับบริการ 2. สรางความรวมมือกับภาคเอกชนผู้เชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีทั้งในและตางประเทศเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ และถายทอดเทคโนโลยีที่ทันสมัยแกบุคลากรภาครัฐ 3. สนับสนุนการบริการวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากรดานดิจิทัลให้บุคลากรทุกระดับสามารถเขาถึงบริการ วิชาการได้อยางทั่วถึงและเทาเทียม 22

  1. หนวยงานภาครัฐสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ของหนวยงานเขารับการอบรม และการพัฒนาตนเองดานรัฐบาล ดิจิทัล ผานสถาบันจัดอบรมที่มีมาตรฐาน 5. ประเมินผล ตรวจสอบความเป็นมาตรฐาน และความเป็นปจจุบันของหลักสูตร หนวยงานผู้รับผิดชอบ ▪ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ▪ สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ▪ สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มาตรา 12 วรรคทาย มาตรา 13 มาตรา 14 มาตรา 15 และมาตรา 16 มุงเนนการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูล โดยกําหนดให้มีการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงานภาครัฐ ซึ่งเป็นการดําเนินงานสําคัญของ การพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เพื่อให้หนวยงานรัฐสามารถเขาถึงขอมูลที่จําเป็นในการดําเนินงานบริหารจัดการและให้บริการ ประชาชน รวมถึงการใชประโยชนจากขอมูลที่ถูกต้อง ทันสมัย และลดการขอขอมูลที่ซ้ําซอนจากประชาชน เป็นการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการบริหารงานภาครัฐและการให้บริการประชาชน โดยให้มีการดําเนินการ ดังนี้ 1. จัดให้มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลดิจิทัลที่มีความจําเป็นตามที่หนวยงานของรัฐแห่งอื่นรองขอ เพื่อให้เกิด การบูรณาการรวมกัน 2. พัฒนาศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลาง เชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลผานศูนยฯ อันจะสงผลให้เกิดประโยชนจาก การนําขอมูลไปใช อีกทั้งสนับสนุนการนําขอมูลมาวิเคราะหและประมวลผลให้เกิดผลสําเร็จสูงสุด โดยการดําเนิน การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกําหนด การดําเนินงานที่ผานมา 1. สพร. พัฒนาศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางภาครัฐ โดยเชื่อมโยงขอมูลที่สําคัญกับหนวยงานของรัฐ อาทิเชน กรมการปกครอง กรมพัฒนาธุรกิจการคา กรมการจัดหางาน เป็นตน 2. คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลได้มีประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเรื่อง มาตรฐานและ หลักเกณฑการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลดิจิทัลวาด้วยเรื่อง กรอบแนวทางการพัฒนามาตรฐานการเชื่อม โยงและแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว จากความพยายามในการพัฒนาฐานขอมูลและเชื่อมโยงขอมูลระหวางหนวยงาน เพื่อให้สามารถแบงปนขอมูล และบริการรวมกันได้อยางมีประสิทธิภาพ แต่การดําเนินการดังกลาวยังไม่ประสบความสําเร็จมากนัก ปญหาจากการดําเนินงาน 1. ขอมูลสําคัญของบางหนวยงานยังไม่อยู่ในรูปแบบดิจิทัล หรือมีคุณภาพไม่เพียงพอที่จะนําไปใชประโยชนได้ 2. รูปแบบการจัดเก็บขอมูลที่แตกตางกันระหวางหนวยงานทําให้หนวยงานไม่สามารถเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูล กันได้ 3. ขาดแนวทางการบูรณาการขอมูลที่เป็นมาตรฐานกลางที่มีการบังคับใชอยางเครงครัด 23

  2. มีศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางที่มีการเชื่อมโยงขอมูลจากหนวยงานเจ้าของขอมูลตามที่ได้รับอนุญาตแล้ว แต่หนวยงานภาครัฐผู้ใชขอมูลต้องการเชื่อมโยงขอมูลผานศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลาง จะต้องขออนุญาต เชื่อมโยงขอมูลกับหนวยงานเจ้าของขอมูลอีกครั้ง ซึ่งมีกระบวนการขั้นตอนที่ยุงยากใชระยะเวลานานกวา จะได้รับอนุญาตให้เชื่อมโยงขอมูลผานศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางได้ 5. การผลักดันให้เกิดการเชื่อมโยงขอมูลและบริการผานแพลตฟอรมกลางเป็นไปโดยความสมัครใจของ หนวยงานมากกวาการคํานึงถึงประโยชนที่จะเกิดขึ้น แนวทางการแกไข 1. สพร. สงเสริมให้หนวยงานภาครัฐจัดทําขอมูลในรูปแบบดิจิทัลตามหลักธรรมาภิบาลขอมูล 2. สพร. จัดทํากระบวนการแปลงขอมูลไปสูรูปแบบดิจิทัล (Digitization) ที่ไม่ซับซอน 3. สพร. จัดให้มีเครื่องมือสนับสนุนหนวยงานให้สามารถนําไปใชงานได้ พรอมทั้งกําหนดคู่มือหรือแนวทาง (Guideline) ในการจัดเก็บขอมูลตามมาตรฐานธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ 4. สพร. สงเสริมให้หนวยงานภาครัฐดําเนินการตามมาตรฐานและหลักเกณฑการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยน ขอมูลดิจิทัล 5. สพร. กําหนดระเบียบในการจัดเก็บขอมูลใหม โดยให้มีการจัดเก็บในรูปแบบดิจิทัล ลดการใชเอกสาร (Paperless) ควบคู่ไปกับการปรับปรุงขอมูลเดิมที่สําคัญที่อยู่ในรูปแบบกระดาษไปสูฐานขอมูลดิจิทัล 6. คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกําหนดแนวปฏิบัติ มาตรฐานและขอตกลงกลางสําหรับหนวยงานผู้ให้ บริการและผู้ใชบริการผานศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางภาครัฐ เพื่อดําเนินการแลกเปลี่ยนขอมูลได้โดยไม่ จําเป็นต้องจัดทําบันทึกขอตกลง (MOU) หรือขออนุญาตจากหนวยงานเจ้าของขอมูลทีละหนวยงานอีก ดังนี้ 6.1 หนวยงานของรัฐที่ให้บริการประชาชนและจําเป็นต้องใชขอมูลที่หนวยงานของรัฐแห่งอื่น จัดทําหรือเป็นเจ้าของขอมูลและประกาศไวที่ศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางภาครัฐ (Government Data Exchange Center หรือ GDX) ของ สพร. หากประชาชนหรือผู้ขอใชบริการได้ให้ความยินยอมในการใช ขอมูลดังกลาว ให้หนวยงานดําเนินการเชื่อมต่อและแลกเปลี่ยนขอมูลผานศูนยกลางแลกเปลี่ยนขอมูล ภาครัฐ 6.2 การเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลให้เป็นไปตามรูปแบบขอมูล ขอกําหนดหรือขอตกลง (Protocol) ที่ สพร. กําหนดไว และต้องมีการดําเนินการทางดิจิทัลที่สําคัญ ได้แก การยืนยันตัวตน (Authentication) การให้ ความยินยอมใชขอมูล (Consent) การจัดเก็บบันทึกหลักฐานของการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูล (Log File/Timestamp) รวมถึงการดําเนินการตามขอกําหนดดานความเป็นสวนตัว (Privacy) และ ความมั่นคงปลอดภัย (Security) ด้วย 6.3 เมื่อหนวยงานผู้ให้บริการขอมูลได้รับคํารองขอขอมูลและตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณของคําขอแล้ว ให้จัดสงขอมูลที่มีการเขารหัส (Encrypted Data) ให้แกหนวยงานผู้ใชบริการขอมูลผานศูนยแลกเปลี่ยน ขอมูลกลางภาครัฐ โดยหนวยงานของผู้ใชขอมูลดิจิทัลต้องใชขอมูลตามวัตถุประสงคในหน้าที่และ อํานาจของตนเทานั้น และต้องดูแลรักษาขอมูลให้มีความมั่นคงปลอดภัย ไม่มีการเปดเผยหรือโอน ขอมูลไปยังบุคคลที่ไม่มีสิทธิเขาถึงขอมูล 24

  3. คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกําหนดรายชื่อหนวยงานภาครัฐและชุดขอมูลหลักที่เป็นประโยชน ต่อสาธารณะ สําหรับการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐผานศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางภาครัฐ 8. คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลประกาศให้ศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางภาครัฐเป็นแพลตฟอรมกลาง หนวยงานผู้รับผิดชอบ ▪ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัลและหนวยงานของรัฐที่ให้บริการประชาชนและจําเป็นต้องใชขอมูลที่หนวยงาน ของรัฐแห่งอื่นจัดทําหรือเป็นเจ้าของขอมูลและประกาศไวที่ศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางภาครัฐ มาตรา 17 และ มาตรา 18 การเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐ (Open Data) โดยกําหนดให้หนวยงานภาครัฐเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการในรูปแบบดิจิทัลต่อสาธารณะ โดยให้มี ศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ เพื่อทําหน้าที่ประสานงานให้หนวยงานของรัฐจัดสงหรือเชื่อมโยงขอมูลดังกลาว เพื่อเปดเผย แกประชาชนและกําหนดให้มีมาตรฐานหลักเกณฑการเปดเผยขอมูลเป็นไปตามหลักการและแนวทางของคณะกรรมการ พัฒนารัฐบาลดิจิทัล การดําเนินงานที่ผานมา 1. จัดตั้งศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ (Data.go.th) 2. สงเสริมและสนับสนุนหนวยงานให้เปดเผยขอมูล และให้อยู่ในรูปแบบที่อานได้ด้วยเครื่อง (Machine Readable) เพื่อให้งายต่อการนําไปใชในการวิเคราะหต่อยอดในอนาคต 3. ประชาสัมพันธถึงความสําคัญและจําเป็นของการเปดเผยขอมูลภาครัฐต่อสาธารณะ อันเป็นประโยชนต่อ การสรางความโปรงใสและการสงเสริมการมีสวนรวมของสาธารณะ ปญหาจากการดําเนินงาน 1. หนวยงานของรัฐสวนใหญมีการเปดเผยขอมูลผานทางเว็บไซต์ของหนวยงาน หรือเป็นเอกสารประกาศที่ ศูนยขอมูลขาวสารของหนวยราชการนั้นๆ สงผลให้ขอมูลกระจัดกระจาย ยากต่อการใชบริการ 2. การเปดเผยขอมูลภาครัฐผานศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ (Data.go.th) ยังมีขอมูลไม่มากเทาที่ควร 3. ขอมูลที่เปดเผยสวนใหญอยู่ในรูปแบบไฟลขั้นพื้นฐานที่ไม่สามารถนําไปใชในการวิเคราะหเชิงลึกได้ ทําให้ เกิดขอจํากัดในการนําขอมูลไปใชเพื่อวิเคราะหหรือสรางนวัตกรรม 4. บุคลากรภาครัฐยังไม่ตระหนักถึงความสําคัญของการเปดเผยขอมูล รวมถึงขาดการพัฒนาและเตรียม ความพรอมบุคลากรให้มีความรูความเขาใจในการเปดเผยขอมูล ตลอดจน ความสับสนในการตีความตาม กฎหมายวาด้วยขอมูลขาวสารของราชการในรูปแบบขอมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ 5. การขาดการสงเสริม ประชาสัมพันธ และสนับสนุนให้หนวยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนนําขอมูลที่เปดเผย บนศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐไปใชวิเคราะหหรือพัฒนาบริการดิจิทัลที่เป็นประโยชน 6. หนวยงานภาครัฐขาดการนําขอมูลเปดภาครัฐไปปรับใชในเชิงการบริหาร การจัดทํานโยบาย และนําไปพัฒนา บริการอยางเป็นรูปธรรม แนวทางแกไข 1. สพร. จัดทํามาตรฐาน/คู่มือที่อธิบายวิธีการและขั้นตอนในการสงเสริมและสนับสนุนให้หนวยงานของรัฐ จัดทําขอมูลเปดในรูปแบบที่อานได้ด้วยเครื่อง (Machine Readable) อยางนอยระดับ 3 ดาวขึ้นไป เชน CSV/TSV, JSON, XML, ODS เป็นตน เพื่อให้สามารถนําขอมูลดังกลาวไปวิเคราะหหรือประมวลผลต่อได้ 25

  4. สพร. สํารวจและจัดลําดับความสําคัญชุดขอมูลภาครัฐที่ประชาชนต้องการให้มีการเปดเผย และกําหนด รายชื่อชุดขอมูลหลักและหนวยงานของรัฐที่จําเป็นต้องเปดเผยขอมูลที่ศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ (ภาคผนวก 2) เพื่อนําเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลให้ประกาศเผยแพรต่อไป 3. หนวยงานรัฐดําเนินการเปดเผยขอมูลตามประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเรื่อง มาตรฐานและ หลักเกณฑการเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐในรูปแบบขอมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ ผานศูนยกลางขอมูลเปด ภาครัฐ (Data.go.th) โดยมีขั้นตอนที่ต้องดําเนินการ สรุปได้ดังนี้ 3.1 จัดทําบัญชีขอมูลภายในหนวยงาน ระบุชุดขอมูล และจัดระดับความสําคัญของขอมูลเปดภาครัฐที่จะ นําไปเปดเผยตามหน้าที่หรือภารกิจของหนวยงานของรัฐ 3.2 จําแนกหมวดหมู่ กําหนดและจัดระดับชั้นขอมูล โดยพิจารณาถึงการคุมครองขอมูลสวนบุคคลเป็นสําคัญ 3.3 กําหนดรูปแบบของชุดขอมูลของขอมูลเปดภาครัฐ อยางนอยให้อยู่ในรูปแบบคุณลักษณะแบบเปด (Open Format) ที่ไม่ขึ้นกับแพลตฟอรม หรือไม่จํากัดสิทธิโดยบุคคลใด (Non-proprietary) สามารถอานได้ด้วยเครื่อง (Machine Readable) โดยควรมีระดับการเปดเผยชุดขอมูลอยางนอย ระดับ 3 ดาวขึ้นไป และจัดทําคําอธิบายชุดขอมูลดิจิทัลเพื่อให้ทราบรายละเอียดของชุดขอมูล 3.4 จัดสงหรือเชื่อมโยงชุดขอมูลเปดภาครัฐผานศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ (Data.go.th) ตามประเภท รูปแบบ และมาตรฐานของขอมูลที่เปดเผยแกประชาชน ตามที่สํานักงานพัฒนา รัฐบาลดิจิทัลกําหนด ทั้งนี้ กอนการเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐ ต้องได้รับอนุมัติจากหัวหน้าหนวยงานของรัฐ 3.5 ให้หนวยงานของรัฐและผู้ใชขอมูลต้องปฏิบัติตามขอกําหนด ขอตกลง หรือเงื่อนไขการให้บริการและ การใชขอมูลของศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐตามที่สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกําหนด 4. สถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐดานดิจิทัลของ สพร. รวมกับหนวยงานสวนกลางที่เกี่ยวของพัฒนาหลักสูตร ที่มุงสงเสริมบุคลากรภาครัฐตั้งแต่ระดับผู้บริหารและพนักงานระดับปฏิบัติการให้มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับหลักการธรรมาภิบาลขอมูล แนวทางการเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐ (การจําแนกหมวดหมู่ขอมูล ขอมูลหลัก และขอมูลที่สมควรเปดเผยเป็นสาธารณะ เป็นตน) และวิธีการเชื่อมโยงชุดขอมูลผาน ศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐเพื่อการเปดเผยขอมูลและนําขอมูลไปใชประโยชน รวมถึง ความจําเป็นใน การเปดเผยขอมูลภาครัฐตามกฎหมายวาด้วยขอมูลขาวสารของราชการในรูปแบบขอมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ 5. เผยแพร/ประชาสัมพันธให้หนวยงานของรัฐทราบถึงชุดขอมูลที่ได้เปดเผยผานศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ รวมถึงสงเสริมและผลักดันให้มีการเปดเผยขอมูลภาครัฐผานศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐมากขึ้น 6. สนับสนุนและสรางการมีสวนรวมของประชาชนและทุกภาคสวนในการใชประโยชนของขอมูลจาก ศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ เพื่อต่อยอดหรือพัฒนาบริการและนวัตกรรม ผานกิจกรรมการสราง นวัตกรรมใหม (Hackathon) ให้ประชาชนและภาคธุรกิจสามารถพัฒนาหรือยกระดับบริการดิจิทัล ที่มีมูลคาทางธุรกิจ หนวยงานผู้รับผิดชอบ ▪ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ▪ หนวยงานของรัฐทุกหนวยงาน 26

และสอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ที่ได้กําหนดแนวทาง ให้แต่ละประเทศดําเนินการเพื่อรวมกันบรรลุ “การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน โดยไม่ทิ้งใคร ไวขางหลัง” ภายในป ค.ศ. 2030 โดยความเชื่อมโยงกับแผนตาง ๆ และเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) สรุปได้ดังตารางต่อไปนี้ ตารางสรุปความสอดคลองกับเเผน 3 ระดับและเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) แผน/นโยบาย แผนยุทธศาสตร ชาติ 20 ป • ดานการปรับสมดุลและ พัฒนาระบบการบริหาร จัดการภาครัฐ* • ดานความมั่นคง • ดานการสราง ขีดความสามารถ ในการแขงขัน • ดานการพัฒนาและ เสริมสรางศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย • ดานการสรางโอกาส และความเสมอภาค ทางสังคม • ดานการสรางการเติบโต บนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม • ประเด็นการบริการประชาชน และประสิทธิภาพภาครัฐ* • ประเด็นกฎหมายและกระบวน การยุติธรรม • ประเด็นความมั่นคง • ประเด็นเกษตร • ประเด็นอุตสาหกรรม และบริการแห่งอนาคต • ประเด็นการทองเที่ยว • ประเด็นผู้ประกอบการ และวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอมยุคใหม • ประเด็นการพัฒนา ศักยภาพคนตลอด ชวงชีวิต • ประเด็นการพัฒนา การเรียนรู • ประเด็นการเสริมสราง ให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี • ประเด็นความเสมอภาค และหลักประกันทางสังคม • ประเด็นพื้นที่และเมือง นาอยู่อัจฉริยะ • ประเด็นการเติบโต อยางยั่งยืน • ดานการบริหารราชการ แผนดิน* • ดานการเมือง • ดานการปองกันและ ปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ • ดานสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ • ดานกฎหมาย • ดานกระบวนการยุติธรรม • ดานเศรษฐกิจ • ดานวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย • ดานการสาธารณสุข • ดานสังคม • ดานการศึกษา • ดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม แผนแมบท ภายใต ยุทธศาสตรชาติ แผนการปฏิรูป ประเทศ (ฉบับปรับปรุง) การปรับสมดุลและพัฒนา ระบบการบริหาร จัดการภาครัฐ ความมั่นคง การสรางความสามารถ ในการแขงขัน การพัฒนาและ เสริมสรางศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย การสรางโอกาสและ ความเสมอภาค ทางสังคม การสรางการเติบโตบน คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดลอม นโยบายและแผนระดับชาติ ระดับที่ 1 นโยบายและแผนระดับชาติ ระดับที่ 2 นอกจากนี้ การปฏิรูประบบการบริหารราชการแผนดินของประเทศไทยให้สามารถดําเนินงานในการขับเคลื่อน การพัฒนาไปสูเปาหมายอนาคตของประเทศที่พึงประสงคได้ในระยะยาวนั้น รัฐบาลได้กําหนดแผนยุทธศาสตรชาติ 20 ป ให้เป็นกรอบและแนวทางในการพัฒนาประเทศเพื่อให้บรรลุเปาหมายในระยะยาว พรอมทั้งได้กําหนดแผนแมบทภายใต ยุุทธศาสตรชาติ 20 ป แผนปฏิรููปประเทศ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาในระยะ กลางและระยะสั้น นอกจากนี้ รัฐบาลได้มีการจัดทําแผนดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เพื่อรองรับการพัฒนาและเติบโต ของเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล โดยที่การพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเป็นสวนหนึ่งของเปาหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ดิจิทัล ดังนั้น แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลจึงมีความสอดคลองกับแผน 3 ระดับ ตามนัยยะของมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2560 ได้แก • แผนยุทธศาสตรชาติ 20 ป พ.ศ. 2561 - 2580 • แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 • แผนปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) • (ราง) นโยบายและแผนระดับชาติวาด้วยความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. 2566 - 2570 • นโยบายและแผนระดับชาติวาด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ. 2561 - 2580) 27

หมายเหตุ : ยุทธศาสตร/ประเด็น/แผน/หมุดหมายที่ระบุ * คือมีความสอดคลองทางตรง (หลัก) กับแผนฯ ยุทธศาสตร/ประเด็น/แผน/หมุดหมายที่ไม่ระบุ * คือมีความสอดคลองทางออม (รอง) กับแผนฯ แผน/นโยบาย การปรับสมดุลและ พัฒนาระบบการบริหาร จัดการภาครัฐ ความมั่นคง การสรางความสามารถ ในการแขงขัน การพัฒนาและ เสริมสรางศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย การสรางโอกาสและ ความเสมอภาคทางสังคม การสรางการเติบโต บนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม นโยบายและแผนระดับชาติ ระดับที่ 3 เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนแห่งสหประชาชาติ (SDGs) • หมุดหมายที่ 13 ไทยมี ภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพและ ตอบโจทยประชาชน* • นโยบายและแผน ความมั่นคงที่ 10 การปองกันและแกไข ปญหาความมั่นคง ทางไซเบอร* • หมุดหมายที่ 1 ไทยเป็น ประเทศชั้นนําดานสินคา เกษตรและเกษตรแปรรูป มูลคาสูง • หมุดหมายที่ 2 ไทยเป็น จุดหมายของการทองเที่ยว ที่เนนคุณภาพและความ ยั่งยืน • หมุดหมายที่ 6 ไทยเป็น ศูนยกลางอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะและ อุตสาหกรรมดิจิทัลของ อาเซียน • หมุดหมายที่ 7 ไทยมี วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอมที่เขมแข็ง มีศักยภาพสูง และ สามารถแขงขันได้ • หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกําลังคน สมรรถนะสูงมุงเรียนรู อยางต่อเนื่องตอบโจทย การพัฒนาแห่งอนาคต • หมุดหมายที่ 9 ไทยมี ความยากจนขามรุน ลดลง และคนไทยทุกคนมี ความคุมครองทางสังคม ที่เพียงพอ เหมาะสม แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 13 (ราง) นโยบายและ แผนระดับชาติ วาด้วยความมั่นคง แห่งชาติ • ยุทธศาสตรที่ 6 สรางความเชื่อมั่นใน การใชเทคโนโลยีดิจิทัล • ยุทธศาสตรที่ 2 ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล • ยุทธศาสตรที่ 5 พัฒนากําลังคน ให้พรอมเขาสูยุค เศรษฐกิจและ สังคมดิจิทัล • ยุทธศาสตรที่ 3 สรางสังคมคุณภาพ ที่ทั่วถึงเทาเทียม ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล • ยุทธศาสตรที่ 4 ปรับเปลี่ยนภาครัฐ สูการเป็นรัฐบาลดิจิทัล* • เปาหมายที่ 16 ความสงบสุขยุติธรรม และสถาบันเขมแข็ง • เปาหมายที่ 17 ความรวมมือเพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน • เปาหมายที่ 8 งาน ที่มีคุณคาและการเติบโต ทางเศรษฐกิจ • เปาหมายที่ 9 โครงสราง พื้นฐานนวัตกรรมและ อุตสาหกรรม • เปาหมาย 4 การศึกษา ที่มีคุณภาพ • เปาหมายที่ 1 ขจัดความ ยากจน • เปาหมายที่ 2 ขจัด ความหิวโหย บรรลุ ความมั่นคงทางอาหาร และยกระดับโภชนาการ และสงเสริมเกษตรกรรม ที่ยั่งยืน • เปาหมายที่ 3 สุขภาพและ ความเป็นอยู่ที่ดี • เปาหมาย 4 การศึกษา ที่มีคุณภาพ • เปาหมายที่ 10 ลด ความเหลื่อมล้ํา • เปาหมายที่ 12 การผลิตและ การบริโภคที่ยั่งยืน (การจัดการที่ยั่งยืน และการใชทรัพยากร ธรรมชาติอยางมี ประสิทธิภาพ) • เปาหมายที่ 13 การรับมือกับ การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ นโยบายและแผน ระดับชาติวาด้วย การพัฒนาดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจ และสังคม เปาหมาย การพัฒนา ที่ยั่งยืนแห่ง สหประชาชาติ (SDGs) 28

29

03 สถานการณการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 3.1 สถานการณการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในตางประเทศ การศึกษาแนวโนมสําคัญเกี่ยวกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล การศึกษาบทเรียนจากความสําเร็จและอุปสรรคของ การพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในตางประเทศ เพื่อนําวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best Practice) มาระบุปจจัยการสงเสริมสภาพแวดลอม การพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในประเทศไทย และเป็นแนวทางในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของไทยที่เหมาะสมต่อไป โดยได้ทําการศึกษาวิเคราะหเชิงเปรียบเทียบแผน นโยบาย และแนวทางการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศชั้นนํา เชน เอสโตเนีย 1 สหราชอาณาจักร 2 สิงคโปร 3 เป็นตน ซึ่งสามารถสรุปการพัฒนาที่สําคัญได้ดังต่อไปนี้ 1 Enterprise Estonia (2020). E-estonia Guide. Available from: https://e-estonia.com/wp-content/uploads/eestonia-guide-2018.pdf และ Ministry of Economic Affairs and Communications of Estonia (2018). Digital Agenda 2020 for Estonia. Available from: https://wp.itl.ee/ files/DigitalAgenda2020_Estonia_ENG.pdf 2 Government Digital Service (2021). Government Digital Service: Our strategy for 2021-2024. Available from: https://gds.blog.gov.uk/ 2021/05/20/government-digital-service-our-strategy-for-2021-2024/ 3 Government Technology Agency (2020). Digital Government Blueprint. Available from: https://www.tech.gov.sg/digital-government-blueprint/ ในกรณีของประเทศไทย การให้บริการของภาครัฐแกประชาชนสวนใหญยังเป็นเพียงการพัฒนาบริการ ออนไลนผานชองทางตางๆ เชน เว็บไซต์ หรือแอปพลิเคชันของหนวยงานเจ้าของบริการ แต่ขาดการบูรณาการ รวมกันผานการพัฒนาแพลตฟอรมกลางที่ให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว และเป็นกระบวนการตั้งแต่ ตนจนจบ ทั้งนี้ ได้มีความพยายามในการพัฒนาแพลตฟอรมกลางที่เชื่อมต่องานบริการภาครัฐออนไลนไว ที่เดียว เชน ระบบพอรทัลกลางเพื่อประชาชน (Citizen Portal) และระบบศูนยกลางบริการภาครัฐเพื่อ ภาคธุรกิจ (Biz Portal) หากแต่ยังจําเป็นต้องมีการพัฒนาต่อยอดอยางต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถให้บริการ ที่ครบจบด้วยระบบดิจิทัล ดังนั้น เพื่อให้ภาครัฐสามารถมอบบริการที่ประชาชนสามารถเขาถึงได้งาย สะดวก รวดเร็ว ณ จุดเดียว จึงจําเป็นอยางยิ่งที่ต้องสงเสริมให้มีการพัฒนาบริการออนไลนและสรางแพลตฟอรม ดิจิทัลกลาง สําหรับการเชื่อมโยงบริการดิจิทัลภาครัฐตางๆ ให้ตรงกับความต้องการของผู้ใชอยางครบวงจร 1) การพัฒนาบริการหรือแพลตฟอรมดิจิทัลภาครัฐที่ยึดหลักประชาชนเป็นศูนยกลาง (Citizen Centric) โดยประชาชนสามารถเขาถึงบริการตางๆ ได้อยางครบถวน ณ จุดเดียว (One-Stop Service) หรือได้รับการเสนอบริการจากภาครัฐโดยอัตโนมัติ โดยเป็นกระบวนการที่ครบถวนตั้งแต่ตนจนจบ (End - to - End Process) ทั้งนี้ การให้บริการดิจิทัลภาครัฐจะต้องงาย สะดวก รวดเร็ว มีคุณภาพสูง มีความนาเชื่อถือ ยืดหยุน และมีความมั่นคงปลอดภัยจากการคุุกคามทางไซเบอร ตัวอยางการพัฒนาที่สําคัญ ได้แก แพลตฟอรม LifeSG ของสิงคโปร ซึ่งรวบรวมบริการตางๆ ของหนวยงานทั่วทั้งรัฐบาลมาไวในที่เดียว โดยจัด กลุ่มบริการ ตามความต้องการในแต่ละชวงชีวิต มีระบบแนะนําเนื้อหาและบริการตามโปรไฟลและลักษณะ ของผู้ใช เชน ขอมูลประจําตัวที่อยู่อาศัย และรายละเอียดการศึกษา บนแดชบอรดสวนบุคคล (Personalized Dashboard) เป็นตน 30

  1. การเชื่อมโยงและการบูรณาการขอมูลระหวางภาครัฐ อาทิ การสํารวจและพัฒนาระบบตัวกลาง ที่ทําให้หนวยงานภาครัฐสามารถแบงปนขอมูลพื้นฐานที่เป็นประโยชนให้หนวยงานอื่น การสรางสถาปตยกรรม ขอมูลกลางเพื่อให้หนวยงานตางๆ ใชอางอิงเป็นแนวทางในการจัดเก็บขอมูล เป็นตน นอกจากนี้ การจัดทํา ขอมูลดิจิทัลจากการรวบรวมและปรับเปลี่ยนขอมูลให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล โดยการสรางเครื่องมือให้กับ หนวยงานภาครัฐเพื่ออํานวยความสะดวกในการปรับปรุงบริการสูระบบดิจิทัล เชน การแปลงแบบฟอรมที่มี อยู่ในปจจุบันให้เป็นดิจิทัลโดยอัตโนมัติ และการสรางแบบฟอรมดิจิทัลเพื่อให้สามารถนําขอมูลไปใช ต่อยอดให้เกิดประโยชน และพัฒนาบริการประชาชนและภาคธุรกิจได้ ตัวอยางการพัฒนาที่สําคัญ ได้แก Digital X-Road ของเอสโตเนีย ซึ่งเป็นโครงขายกลางที่ทําหน้าที่เป็นถนนในการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยน ฐานขอมูลสําหรับการให้บริการ อาทิ ฐานขอมูลการทะเบียนประชากร การทะเบียนประกันสุขภาพ การจดทะเบียนธุรกิจ ฯลฯ ที่มีระบบมาตรการรักษาความปลอดภัยของขอมูลเพื่อปกปองความเป็นสวนตัว ของขอมูลประชาชน ในกรณีของประเทศไทย หนวยงานภาครัฐได้มีความพยายามที่จะพัฒนาฐานขอมูลและเชื่อมโยงขอมูลระหวาง หนวยงาน เพื่อให้สามารถแบงปนขอมูลและบริการรวมกันระหวางหนวยงานภาครัฐได้อยางมีประสิทธิภาพ ผานการใชเทคโนโลยี เชน API เป็นตน อยางไรก็ตาม การดําเนินการดังกลาวต้องใชเวลานานหลายป เพราะ การเก็บขอมูลของแต่ละหนวยงานอยู่ในรูปแบบตางกัน กฎระเบียบที่จํากัดการแบงปนขอมูลของหนวยงาน ขอจํากัดดานกฎหมายในการแบงปนขอมูลสวนบุคคล รวมถึงการขาดแนวทางการบูรณาการที่เป็นมาตรฐาน กลางที่มีการบังคับใชอยางเครงครัด และการขาดงบประมาณในการดําเนินการ ดังนั้น เพื่อให้การเชื่อมโยง และการบูรณาการขอมูลระหวางภาครัฐเป็นไปอยางมีประสิทธิภาพ จึงจําเป็นอยางยิ่งที่ต้องสงเสริมให้มี การบูรณาการขอมูลระหวางภาครัฐอยางต่อเนื่อง 3) การพัฒนาระบบยืนยันตัวตนกลาง (Digital ID) สําหรับการลงชื่อเขาใชและยืนยันตัวตนเพื่อ รับบริการจากภาครัฐที่มีความงายและสะดวกสบายสําหรับผู้ใชงานมากยิ่งขึ้น และทําให้ขอมูลของผู้ใชงานที่ให้ไว ที่หนวยงานหนึ่งสามารถต่อยอดไปใชในการขอรับบริการของหนวยงานอื่นๆ ได้ เป็นการอํานวยความสะดวก แกประชาชนและผู้ประกอบการในการดําเนินการดานธุรกรรม ตัวอยางการพัฒนาที่สําคัญ ได้แก Singapore Personal Access หรือ Singpass ซึ่งเป็นบริการเขาสูระบบกลางของรัฐบาลสิงคโปรที่รวบรวมบริการ ออนไลนภาครัฐ สวนใหญเขาไวด้วยกันและเขาถึงได้ผานการเขาระบบเดียว และในปจจุบัน ประชาชนยัง สามารถใชบัตรประชาชนจากหน้าจอแอปพลิเคชัน SingPass แทนบัตรประชาชนตัวจริงในการเขารับ บริการจากภาครัฐได้อีกด้วย ในกรณีของประเทศไทย ได้มีการวางโครงสรางพื้นฐานสําคัญในเรื่อง National Digital ID Platform เชน การจัดทําหลักเกณฑและมาตรฐานตาง ๆ รวมถึงมีการนําระบบ Digital ID ไปใชกับการให้บริการของ หนวยงานภาครัฐบางสวน อยางไรก็ตาม ผู้ใชงานยังคงประสบปญหาในการใชงานจริง เชน การเรียกขอสําเนา เอกสารยืนยันตัวตน โดยหนวยงานภาครัฐ รวมถึงประชาชนบางสวนยังไม่มีอุปกรณที่รองรับการลงทะเบียน ผานระบบดิจิทัล ดังนั้นภาครัฐจึงต้องดําเนินการต่อเนื่องเพื่อให้ประชาชนมีบัญชีผู้ใชงาน Digital ID ที่มีความนาเชื่อถือสูงได้โดยสะดวก และสงเสริมการใชระบบ Digital ID ในการให้บริการของหนวยงานภาครัฐ 31

  2. การพัฒนาแพลตฟอรมกลางสําหรับบริการรวมระหวางหนวยงานภาครัฐ เพื่ออํานวย ความสะดวกให้แกกลุ่มผู้ใชงานที่ต้องทําธุรกรรมกับภาครัฐเป็นจํานวนมาก เชน การพัฒนาระบบบัญชี อิเล็กทรอนิกสกลางเพื่อนําขอมูลผู้ใชมาต่อยอดการให้บริการแบบเจาะจง การพัฒนาระบบ Single Sign-On สําหรับบริการภาครัฐออนไลน และการพัฒนาระบบนําทาง “Step-by-Step Navigation” เพื่ออํานวย ความสะดวกในการขอรับบริการตลอดทุกขั้นตอนอยางเป็นระบบ เป็นตน ตัวอยางการพัฒนาที่สําคัญ ได้แก ระบบบัญชีอิเล็กทรอนิกสกลางของสหราชอาณาจักร หรือ GOV.UK Account ซึ่งชวยอํานวยความสะดวก ให้ประชาชนสามารถเขาถึงบริการทั้งหมดของภาครัฐอยางไรรอยต่อ อีกทั้งยังได้รับการเสนอขอมูล และบริการที่ตรงกับความต้องการและมีระบบนําทางบนเว็บไซต์ GOV.UK ที่ได้รับการออกแบบเพื่อให้ ความชวยเหลือหรือคําแนะนําแกผู้รับบริการในทุกขั้นตอน ในกรณีของประเทศไทย ได้มีการพัฒนาแพลตฟอรมกลางเพื่อให้บริการรวมกันระหวางหนวยงานภาครัฐ เชน ระบบสารบรรณกลางอิเล็กทรอนิกส (e-Saraban) และระบบไปรษณียอิเล็กทรอนิกสกลาง (MailGo Thai) แต่ยังจําเป็นต้องมีการพัฒนาปรับปรุงให้ระบบงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น และต่อยอดพัฒนาระบบ Single Sign-On เพื่ออํานวยความสะดวกให้แกผู้รับบริการ ลดการกรอกขอมูลซ้ํา และลดการสงเอกสาร ในรูปแบบกระดาษหรือโทรสาร รวมถึงประชาสัมพันธให้หนวยงานและบุคลากรของรัฐใชงานในวงกวาง 5) การสรางชุดเทคโนโลยีสําหรับหนวยงานภาครัฐ หรือ ชุดบริการและโครงสรางพื้นฐานดาน ดิจิทัลทั่วไป เชน การพัฒนาแพลตฟอรมพื้นฐานที่หนวยงานภาครัฐสามารถใชงานรวมกันได้ การพัฒนา มาตรฐานรวม การพัฒนาแอปพลิเคชัน การใชเทคโนโลยีและซอฟตแวรโอเพนซอรส (Open Source) เป็นตน ตัวอยางการพัฒนาที่สําคัญได้แก Singapore Government Tech Stack (SGTS) ของรัฐบาล สิงคโปร ซึ่งให้บริการซอฟตแวรและโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญตาง ๆ สําหรับหนวยงานภาครัฐนําไปใช ในการพัฒนาแอปพลิเคชันและบริการดิจิทัล ในกรณีของประเทศไทย ได้มีการพัฒนาระบบคลาวดกลางภาครัฐ (Government Data Center and Cloud service: GDCC) ที่นอกจากจะให้บริการโครงสรางพื้นฐานคลาวด ยังมีบริการเสริมอื่นๆ เชน AI IoT และ ขอมูลเปด (Open Data) สําหรับหนวยงานภาครัฐนําไปประยุกตใชต่อยอดพัฒนาบริการให้แก ประชาชน เป็นตน อยางไรก็ตาม ภาครัฐต้องดําเนินการจัดสรรบริการให้เพียงพอกับความต้องการของ หนวยงาน และเพิ่มเติมบริการพื้นฐานกลางประเภทอื่นๆ ที่หนวยงานภาครัฐสามารถใชรวมกันได้ เชน การจัดทําแบบคําขอและยื่นคําขอ (Register) การแจงเตือน (Notify) การพิสูจนและยืนยันตัวตน (Verify) และการชําระคาธรรมเนียม (Payment) เป็นตน 32

  3. การเปดเผยขอมูลและการมีสวนรวมของประชาชน โดยให้ประชาชนมีชองทางที่หลากหลาย และมีประสิทธิภาพในการเขาถึงขอมูลและตรวจสอบประสิทธิภาพในการทํางานของภาครัฐ รวมถึงรวมตัดสินใจ ในกิจการตางๆ เพื่อสรางความโปรงใส และการสรางสภาพแวดลอม (Ecosystem) ใหมที่ภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาชนสามารถรวมมือกันได้และมีการรับฟงความเห็นจากประชาชน เพื่อสรางและพัฒนา นวัตกรรมบริการที่ดีขึ้นรวมกับภาคประชาชน (Co-creating) ตัวอยางการพัฒนาที่สําคัญ ได้แก ระบบ e-People ของสาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งเป็นระบบจัดการเรื่องรองเรียนของประชาชนต่อหนวยงานรัฐ ที่มี การจัดหมวดหมู่อัตโนมัติทําให้ขอรองเรียนถูกสงต่อไปยังหนวยงานที่เหมาะสม และสามารถจัดการขอรองเรียน ได้อยางมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นชองทางรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากประชาชนเกี่ยวกับ การบริหารจัดการและการกําหนดนโยบายของภาครัฐ ในกรณีของประเทศไทย ได้มีการพัฒนาชองทางให้ประชาชนเขาถึงขอมูลภาครัฐ และเริ่มมีการพัฒนาชองทาง ให้ประชาชนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นในดานกฎหมาย ได้แก ระบบกลางดานกฎหมาย (Law Portal) ที่รวบรวมขอมูลทางดานกฎหมายของประเทศ และเป็นชองทางสําหรับรับฟงความคิดเห็นจาก ประชาชนและภาคสวนตางๆ อยางไรก็ตาม การเขาถึงขอมูลสําหรับแสดงความคิดเห็นและตรวจสอบ ประสิทธิภาพในการทํางานของภาครัฐ เชน กระบวนการจัดทํางบประมาณ และการจัดซื้อจัดจางยังมีจํากัด ดังนั้น เพื่อสรางความเชื่อมั่นในรัฐบาลผานธรรมาภิบาลขอมูลและการมีสวนรวมของประชาชน จึงจําเป็น อยางยิ่งที่ต้องสงเสริมให้มีการเปดเผยขอมูลภาครัฐและสงเสริมให้ประชาชนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น และตรวจสอบการดําเนินงานภาครัฐในขอบเขตที่กวางขึ้น 7) การเสริมสรางความแข็งแรงดานความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร  และการเตรียมความพรอม ภาครัฐและภาค เอกชนในการรับมือกับภัยคุกคามทางไซเบอร โดยการปรับปรุงมาตรฐานดานความปลอดภัย ให้ทันสมัย การพัฒนาขีดความสามารถของภาครัฐ การสรางความตระหนักในหมู่ประชาชนทั่วไป และ การตรวจสอบความต้องการดานความปลอดภัยแต่แรกเริ่ม รวมทั้งกระตุนการพัฒนานวัตกรรมดาน การบริหารจัดการภาครัฐผานสื่ออิเล็กทรอนิกส และดานความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร โดยให้ภาค เอกชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาผลผลิตและการสนับสนุนดานการวิจัยและพัฒนาที่เพิ่มขึ้น ตัวอยาง แนวทางการพัฒนาที่สําคัญของประเทศผู้นําดานความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอรอยางเอสโตเนียให้ ความสําคัญกับการรักษาความปลอดภัยโดยการออกแบบ (Secure by Design) เชน การออกแบบ สถาปตยกรรม X-Road บนแนวคิดระบบกระจายศูนย (Decentralization) เพื่อกระจายความเสี่ยงจาก ภัยคุกคามไซเบอร ควบคู่ไปกับการสรางความตระหนักให้แกผู้ใชงานและการบังคับใชกฎระเบียบดาน ความมั่นคงปลอดภัยอยางเครงครัดภายใตการกํากับดูแลของหนวยงาน Information System Authority (RIA) เป็นตน ในกรณีของประเทศไทย ภัยคุกคามไซเบอรรูปแบบตางๆ มีการพัฒนา และเปลี่ยนแปลงรูปแบบอยางต่อเนื่อง หนวยงานภาครัฐจึงต้องเตรียมความพรอมในการรับมือ เพื่อลดความเสี่ยงจากการถูกโจมตี และ ลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น โดยการสรางแพลตฟอรมให้บริการภาครัฐที่มีความมั่นคงปลอดภัย มีกลไก ปกปองและคุมครองขอมูล รวมถึงเสริมสรางขีดความสามารถของบุคลากรภาครัฐในการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยของระบบ 33

  4. การใชเทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนาทักษะทางดิจิทัล ให้กับเจ้าหน้าที่รัฐให้ทันต่อเทคโนโลยีดิจิทัลที่เปลี่ยนแปลง รวมทั้งการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญดานดิจิทัล และการสงเสริมทักษะดิจิทัลขั้นสูง เพื่อรองรับนวัตกรรมใหม และสนับสนุนให้ผู้เชี่ยวชาญที่ไม่ใชสายงาน ดิจิทัลเขาใจถึงความเป็นไปได้ในการทํางานในรููปแบบใหม หรือในรูปแบบที่แตกตางจากเดิม ในกรณีของประเทศไทย ได้มีการจัดตั้งสถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐดานดิจิทัล หรือ Thailand Digital Government Academy (TDGA) ภายใตการดําเนินงานของสํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เพื่อดําเนินการ สงเสริม สนับสนุน ให้บริการวิชาการ และจัดอบรมเพื่อยกระดับทักษะความรูความสามารถของเจ้าหน้าที่ ของรัฐ เพื่อรองรับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล รวมทั้งมีการสงเสริมการใชนวัตกรรมดิจิทัลสูหนวยงานทองถิ่น อยางไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอยางรวดเร็ว ทําให้เจ้าหน้าที่รัฐมีความจําเป็นต้องพัฒนาทักษะ และความรูดานดิจิทัลอยางต่อเนื่อง ดังนั้น เพื่อให้เจ้าหน้าที่รัฐสามารถใชและเขาใจเทคโนโลยีดิจิทัล จึงมีความจําเป็นอยางยิ่งที่ต้องสงเสริมศักยภาพและวัฒนธรรมการใชเทคโนโลยีดิจิทัลแกบุคลากรภาครัฐ 9) การเป็น Agile Government หรือภาครัฐที่มีการปรับตัวและมีความยืดหยุนมากขึ้น ซึ่งรวมถึง การกําหนดนโยบาย กฎระเบียบการจัดซื้อจัดจางและบุคลากร ทั้งนี้การปรับปรุงกระบวนการภาครัฐ จะมีการกําหนดรูปแบบการทํางานระหวางหนวยงาน และบทบาทการสนับสนุนของหนวยงานกลาง โดย การนําระบบดิจิทัลมาลดขั้นตอน ลดกระบวนการทํางาน ลดงานเอกสาร และมีการจัดลําดับการปรับปรุง ตามความสําคัญของกระบวนงานและจัดกลุ่มความสําคัญของหนวยงานที่ให้บริการ ตัวอยางแนวทางการพัฒนา ที่สําคัญ ได้แก ยุทธศาสตรการปรับปรุงกระบวนงานภาครัฐของแผน Digital Government Blueprint 2023 ที่เนนการใชประโยชนจากเทคโนโลยีใหมๆ และการปฏิรูปการจัดซื้อจัดจางภาครัฐที่เกี่ยวกับดิจิทัล (Digital Procurement Reform) ของรัฐบาลสหราชอาณาจักร เพื่อให้เอื้อต่อการทํางานรวมกับภาคเอกชน ในกรณีของประเทศไทย ได้มีการดําเนินการพัฒนาระบบนิเวศดานกฎหมายให้เอื้อต่อการพัฒนารัฐบาล ดิจิทัลทั้งการปรับปรุง แกไข และเพิ่มเติมกฎหมาย กฎระเบียบ และขอบังคับตาง ๆ หากแต่เป็นการดําเนิน การที่ต้องใชระยะเวลา จึงต้องอาศัยการดําเนินการที่ต่อเนื่อง นอกจากนั้น ภาครัฐไทยยังจําเป็นต้องเรง ปรับปรุงกฎระเบียบการจัดซื้อจัดจางภาครัฐและการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ให้มีความยืดหยุน และคลองตัวมากยิ่งขึ้น เพื่อให้สามารถรับมือกับความทาทายใหมๆ และการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของ เทคโนโลยีสมัยใหมได้อยางทันทวงที 34

  5. การพัฒนาดานเทคโนโลยี องคกร และกฎหมายที่เกี่ยวของในดานขอมูล เพื่อให้ประชาชน สามารถทราบได้วาขอมูลสวนตัวที่จัดเก็บโดยภาครัฐถูกนําไปใชโดยหนวยงานใด เมื่อใด และเพื่อ วัตถุประสงคใด โดยภาครัฐต้องสรางความไววางใจและปรับปรุงกลยุทธในการนําเอาเทคโนโลยีดิจิทัล มาใชในการระบุอัตลักษณบุคคล รวมถึงวางแผนในการใชงานในกรณีเรงดวน ดังตัวอยางในกรณีีของสหภาพ ยุโรปที่มีการออกกฎหมายคุมครองขอมูลสวนบุคคล หรือ General Data Protection Regulation (GDPR) สงผลให้ทุกภาคสวนไม่เวนแมแต่ภาครัฐ ต้องเรงให้ความสําคัญกับการปรับปรุงแนวปฎิบัติดานขอมูล สวนบุคคล ในกรณีของประเทศไทย ได้มีการตราพระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. 2562 ขึ้น เพื่อคุมครอง และให้สิทธิกับเจ้าของขอมูลสวนบุคคล รวมถึงได้สรางมาตรฐานให้กับบุคคลหรือนิติบุคคลในการเก็บรวบรวม ขอมูลสวนบุคคล รวมถึงการใชขอมูล หรือการเปดเผยขอมูลสวนบุคคล อยางไรก็ตาม ภาครัฐยังต้องเรง สรางความรูความเขาใจให้แกเจ้าหน้าที่ภาครัฐเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ถูกต้องตามกฎหมายคุมครองขอมูล สวนบุคคล รวมถึงสรางความตระหนักรูถึงสิทธิในขอมูลสวนบุคคลให้แกประชาชน เพื่อเปดโอกาสให้ สามารถพัฒนานวัตกรรมการใชขอมูลในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมได้อยางถูกต้อง 35

4 Gartner, Inc. (2021). Top Technology Trends in Government for 2021. Available from: https://www.gartner.com/en/doc/ 742950-top-technology-trends-in-government-for-2021 ความทาทายที่หนวยงานภาครัฐต้องเผชิญ ทั้งจากความต้องการรูปแบบการดําเนินงานที่ยืดหยุนมากขึ้น เพื่อรับมือ กับการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ และสถานการณฉุกเฉินที่เกิดขึ้น เชน การแพรระบาดของโควิด-19 นํามาซึ่งแนวโนมการใชขอมูล และเทคโนโลยีเพื่อสรางความไววางใจ เสริมความคลองตัว และเพิ่มความยืดหยุนดานการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ โดยบริษัทวิจัย Gartner ได้สรุป 10 แนวโนมเทคโนโลยีสําคัญสําหรับภาครัฐ 4 ไวดังนี้ แนวโนมเทคโนโลยีในภาครัฐ (Top Technology Trends in Government) 1 2 3 4 การเรงปรับปรุงระบบให้มีความทันสมัย (Accelerated Legacy Modernization) ภาครัฐควรเรงปรับปรุงพัฒนาแอปพลิเคชันหลักที่สําคัญให้ทันสมัย โดยเรงผลักดันการเปลี่ยนผานไปสูสถาปตยกรรม โมดูลาร (Modular Architecture) และประยุกตใชเทคโนโลยีตางๆ อาทิ คลาวดสาธารณะ การบริหารจัดการ API และ Software-defined Networking เพื่อสรางความยืดหยุนและความคลองตัวให้กับระบบ เทคโนโลยีเพื่อความปลอดภัยที่สามารถปรับเปลี่ยนได้ (Adaptive Security) แนวทางการรักษาความปลอดภัยแบบปรับตัวได้มองวาความเสี่ยง ความไววางใจ และความปลอดภัยเป็น กระบวนการที่ต่อเนื่องและปรับได้ ภาครัฐจึงต้องคาดการณ ปองกัน ตรวจจับ และตอบสนองต่อภัยคุกคาม ทางไซเบอรอยางไม่หยุดนิ่ง การให้บริการแบบ Anything as a Service (XaaS) การจัดหาบริการตางๆ บนคลาวด ซึ่งรวบรวมบริการทางธุรกิจและไอทีแบบครบวงจรในรูปแบบของการสมัคร สมาชิก (Subscription Basis) เป็นทางเลือกสําหรับภาครัฐ ในการเรงปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานเดิมให้ ทันสมัย ขยายขีดความสามารถเชิงดิจิทัลของภาครัฐ และลดระยะเวลาในการสงมอบบริการ บริการสําหรับจัดการในรายกรณี (Case Management as a Service) การจัดการรายกรณีเป็นรูปแบบการทํางานใหมที่สงเสริมบูรณาการภาครัฐ โดยใชหลักการออกแบบผสมสาน เพื่อแทนที่ระบบการจัดการเคสแบบเดิมด้วยแนวทางแบบ Building Blocks ที่มีการออกแบบบริการให้สามารถ แยกสวนและประกอบกันได้อยางรวดเร็ว ซึ่งสามารถแบงปนให้หนวยงานรัฐนําไปใชและทํางานรวมกันได้ 36

6 5 7 8 9 10 การระบุตัวตนทางดิจิทัล (Citizen Digital Identity) การระบุอัตลักษณบุคคลผานชองทางดิจิทัลมีความสําคัญอยางยิ่งในการเขาถึงและได้รับบริการตางๆ ในปจจุบัน ภาครัฐจึงต้องเรงสรางความไววางใจ และเชื่อมโยงขอมูลประจําตัวดิจิทัลของประชาชนมาใชเพื่อจัดการกับ กรณีสําคัญเรงดวนตางๆ มากขึ้น การผสานรวมองคกรภาครัฐ (Composable Government Enterprise) การใชหลักการออกแบบผสมผสาน ซึ่งชวยให้เพิ่มความสามารถดานการทํางานและปรับตัวให้เขากับความต้องการ ที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของสังคมดิจิทัลที่กําลังเกิดขึ้น การแบงปนขอมูลทางโปรแกรม (Data Sharing as a Program) ภาครัฐมีการแบงปนขอมูลในรูปแบบเฉพาะกิจ หากแต่ในทางกลับกัน การสรางโปรแกรมแบงปนขอมูลเป็นแนวทาง ที่มีความเป็นระบบ และชวยให้สามารถปรับขนาดและนํากลับมาใชใหมได้ตามความเหมาะสม การบริการสาธารณะแบบไฮเปอรคอนเนค (Hyperconnected Public Service) การนําเทคโนโลยี เครื่องมือ และแพลตฟอรมที่หลากหลาย อาทิ ปญญาประดิษฐ (AI) การเรียนรูของเครื่องจักร (Machine Learning) และ Robotic Process Automation (RPA) มาใชพัฒนากระบวนการและบริการ สาธารณะให้อยู่ในรูปแบบอัตโนมัติมากที่สุด โดยลดการใชแรงงานคนให้นอยที่สุด เพื่อเพิ่มความยืดหยุน และ ลดตนทุนในการดําเนินการ การวิเคราะหเชิงปฏิบัติการ (Operationalized Analytics) การนําเทคโนโลยีที่ขับเคลื่อนด้วยขอมูลมาใชอยางมีกลยุทธและเป็นระบบ เชน ปญญาประดิษฐ (AI) การเรียนรู ของเครื่องจักร (Machine Learning) และการวิเคราะหขั้นสูง (Advanced Analytics) เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และชวยการตัดสินใจให้ดีขึ้น การมีสวนรวมของประชาชนหลายชองทาง (Multichannel Citizen Engagement) การนําเทคโนโลยีมาใชอํานวยความสะดวกในการเขาถึงประชาชน โดยสรางชองทางที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพ เพื่อสงเสริมปฏิสัมพันธสองทางระหวางภาครัฐและประชาชน และชวยให้สื่อสารกับกลุ่มเปาหมายได้อยางตรงจุด 37

38

3.2 สถานการณการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย 5 United Nations (2020). E-Government Survey 2020: Digital Government in the Decade of Action for Sustainable Development. Available from: https://publicadministration.un.org/egovkb/en-us/Reports/UN-E-Government-Survey-2020 อันดับและคาคะแนนดัชนีรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส ของประเทศไทยในการจัดลําดับขององคการสหประชาชาติ E-Government Development Index (EGDI) คาคะแนนดัชนียอยของประเทศไทย 2559 2557 2561 2563 2565 0.56 0.46 0.65 0.75 0.77 อันดับ 77 อันดับ 102 อันดับ 73 อันดับ 57 อันดับ 55 ที่มา : องคการสหประชาชาติ ป แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็นการบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ (พ.ศ. 2561 - 2580) ระบุเปาหมาย ป 2566 - 2570 ประเทศไทยต้องอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนา ดานรัฐบาลดิจิทัลสูงสุด 50 อันดับแรกในการจัดลําดับดัชนีรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสขององคการสหประชาชาติ (E-Government Development Index: EGDI) โดยจากการศึกษาผลการสํารวจในป 2565 พบวา ประเทศไทยมีคะแนนและอันดับสูงขึ้นเมื่อเทียบกับผลการสํารวจ ในป 2563 โดยได้รับการปรับอันดับขึ้น จากอันดับที่ 57 เป็นอันดับที่ 55 จาก 193 ประเทศ ซึ่งเป็นการยกระดับขึ้นจากประเทศในกลุ่มที่มีการพัฒนา รัฐบาลดิจิทัลในระดับสูง มาอยู่ในกลุ่มที่มีการพัฒนาในระดับสูงมาก รวมกับอีก 60 ประเทศ และยังถือได้ วาเป็นอันดับที่ 3 ของอาเซียน รองจากสิงคโปร ซึ่งอยู่ในอันดับที่ 12 ของโลก และมาเลเซีย อันดับที่ 53 และเมื่อพิจารณาคะแนนในแต่ละดาน พบวา ดานที่มีคะแนนเพิ่มขึ้น จากปกอน ได้แก โครงสรางพื้นฐาน โทรคมนาคม (Telecommunication Infrastructure Index: TII) และทุนมนุษย (Human Capital Index: HII) การให้บริการออนไลน (Online Service Index: OSI) มีคะแนนปรับลดเพียงเล็กนอย แสดง ให้เห็นวา การเปลี่ยนแปลงดังกลาวเป็นผลมาจากการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่รองรับเขาถึงขอมูลและบริการภาครัฐผานชองทางออนไลนของประชาชน 5 และการพัฒนาทุนมนุษย ดานดิจิทัลที่จําเป็นต่อการใชประโยชนจากเทคโนโลยี และความสามารถในการใชบริการภาครัฐผาน ระบบดิจิทัล 2563 2561 2559 2557 2565 HCI OSI 0.4409 0.5507 0.6389 0.7941 0.6640 0.6942 0.7903 0.7751 0.7879 0.7338 0.7763 TII 0.2843 0.4117 0.5338 0.7004 39

เเผนภาพระดับความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการของภาครัฐ ที่มา : สํานักงาน ก.พ.ร. 6 สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2564). รายงานสรุปผลการดําเนินการตามแผนปฏิรูปประเทศ ประจําป 2564. สืบคนขอมูลจาก: http://nscr.nesdc.go.th/wp-content/uploads/2022/02/รายงานสรุปผลการดําเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ-ประจําป-2564.pdf ระดับความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการของภาครัฐ ระดับความพึงพอใจดานบริการชองทางออนไลน 2559 2560 2562 2564 ป 72.80% 75.42% 84.75% 84.81% 79.76% ในขณะเดียวกัน ผลการจัดอันดับดัชนีการมีสวนรวมทางอิเล็กทรอนิกส หรือ E-Participation Index (EPI) ในรายงานผลการสํารวจฉบับเดียวกันพบวา ประเทศไทยถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 18 ในป 2565 ปรับตัวดีขึ้น จากอันดับที่ 51 ในป 2563 พัฒนาขึ้นมา 33 อันดับ สะทอนระดับการมีสวนรวมของประชาชนทางอิเล็กทรอนิกส ที่พัฒนาขึ้นอยางต่อเนื่อง ทั้งนี้ หากพิจารณาในประเด็นความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริการภาครัฐ พบวา มีระดับ ความพึงพอใจต่อบริการภาครัฐในภาพรวมสูงขึ้นทุกป โดยลาสุดในป 2564 มีระดับความพึงพอใจอยู่ที่รอยละ 84.81 เพิ่มขึ้นจากปกอนหน้าที่อยู่ที่รอยละ 84.75 โดยมีความพึงพอใจดานเจ้าหน้าที่ให้บริการมากที่สุด รองลงมา ได้แก ดานสถานที่และสิ่งอํานวยความสะดวก และดานขั้นตอนและระยะเวลาตามลําดับ ทั้งนี้ หากพิจารณา เฉพาะระดับความพึงพอใจดานบริการชองทางออนไลนพบวา ในป 2564 อยู่ที่รอยละ 79.76 6 หมายเหตุ : จากผลการสํารวจป 2565 พบวา ประเทศไทยมีอันดับ EPI สูงขึ้น เป็นอันดับที่ 18 พัฒนาขึ้นมา 33 อันดับ 40

แผนภาพจํานวนบริการและบริการดิจิทัลของหนวยงาน 2562 ป 59.2% 56.6% 59.6% 1,503 1,999 1,101 2563 2564 7 สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องคการมหาชน). รายงานบทวิเคราะหระดับความพรอมรัฐบาลดิจิทัลหนวยงานภาครัฐของประเทศไทยป 2561 - 2564 โดยเป็นการเปรียบเทียบขอมูลเฉพาะหนวยงานที่มีการตอบแบบสํารวจระดับความพรอมรัฐบาลดิจิทัลทุกป จึงทําให้สามารถนําผลการสํารวจมาเปรียบเทียบกันได้ บริการที่อยู่ในรูปแบบดิจิทัล (บริการ) สัดสวนบริการที่อยู่ในรูปแบบดิจิทัล (%) นอกจากนี้ จากการสํารวจระดับความพรอมรัฐบาลดิจิทัลหนวยงานภาครัฐของประเทศไทยป 2561 - 2564 7 ซึ่งทําการสํารวจหนวยงานระดับกรมทั้งหมด 315 หนวยงาน ผลการสํารวจระบุได้วา ในภาพรวม หนวยงานภาครัฐมีแนวโนมปรับตัวดานดิจิทัลมากขึ้น และมีความแตกตางของคะแนนระหวางหนวยงานที่นอยลง โดยผลการสํารวจจําแนกตามตัวชี้วัด 6 เสาหลัก และเรียงลําดับตามความพรอมรัฐบาลดิจิทัลจากอันดับสูงสุด ไปต่ําสุดมีประเด็นที่นาสนใจสรุปได้ ดังนี้ ตัวชี้วัดอันดับที่ 1 ดานบริการภาครัฐ (Public Services) หนวยงานระดับกรมโดยรวมทําคะแนน อยู่ในระดับ High และ Very high สูงที่สุด และมีความโดดเดนในตัวชี้วัดดานนี้มากที่สุด จากผลการสํารวจพบวา จํานวนบริการที่อยู่ในรูปแบบดิจิทัลมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น จาก 1,503 บริการ ในป 2562 เป็น 1,999 บริการ ในป 2564 แต่สัดสวนการยกระดับบริการเป็นดิจิทัลมีอัตราคงที่อยู่ที่ราวรอยละ 60 โดยในป 2564 มีสัดสวนบริการที่ อยู่ในรูปแบบดิจิทัล คิดเป็นรอยละ 56.6 41

18.26% งานบริหาร จัดการพัสดุ 27.80% งานติดตามและ ประเมินผล 25.31% งานติดต่อ สื่อสาร 6.22% งานตรวจสอบ 6.64% งานจัดการ ประชุม 27.60% งานสารบรรณ 4.98% งานเลขานุการ 3.73% งานสถานที่ และยานพาหนะ งานทรัพยากร บุคคล 51.04% 52.70% 49.38% งานบริหาร งบประมาณ งานการเงิน การบัญชี 77.18% งานจัดซื้อจัดจาง 2562 2563 2564 แผนภาพสัดสวนหนวยงานที่มีอุปกรณโครงสรางพื้นฐาน ในดานตาง ๆ ที่เพียงพอ และเหมาะสมกับการใชงานจริง โครงสรางพื้นฐาน ทางดานฮารดแวร Hardware โครงสรางพื้นฐาน ทางดานซอฟตแวร Software โครงสรางพื้นฐาน ทางดานเซิรฟเวอร และเน็ตเวิรค Server และ Network 2563 ป 52.28% 53.53% 47.30% 56.85% 59.34% 61.83% 2564 2563 2564 2563 2564 ตัวชี้วัดอันดับที่ 2 ดานโครงสรางพื้นฐาน ความมั่นคงปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ (Secure and Efficient Infrastructure) เป็นดานที่หนวยงาน ระดับกรมทําคะแนนได้โดดเดนรองลงมา โดยจาก ผลการสํารวจพบวา สัดสวนหนวยงานที่มีอุปกรณ โครงสรางพื้นฐานเพียงพอ และเหมาะสมกับการใชงาน จริงนั้นมีแนวโนมเพิ่มขึ้นในทุกดาน โดยโครงสราง พื้นฐานดานซอฟตแวรมีแนวโนมความพรอมเพิ่มขึ้น มากที่สุด (9.55%) รองลงมา ได้แก ดานเซิรฟเวอร ดานเน็ตเวิรค และดานฮารดแวร ซึ่งยังคงมีแนวโนม ความพรอมเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอยเทานั้น (2.49% และ 1.25% ตามลําดับ) เเผนภาพสัดสวนหนวยงานที่มีระบบบริหารจัดการภายใน ที่เป็นดิจิทัล โดยมีการใชระบบกลางของภาครัฐ ตัวชี้วัดอันดับที่ 3 ดานการบริหาร จัดการรูปแบบดิจิทัล (Smart Back Office) จาก ผลการสํารวจพบวา หนวยงานสวนมากมีการปรับใช ระบบบริหารจัดการภายในที่เป็นดิจิทัลแล้ว โดยจะ เป็นการดําเนินงานเองภายในเป็นสวนใหญ ทวายัง มีแนวโนมในการปรับใชระบบกลางภาครัฐเพิ่มมาก ขึ้นอยางมีนัยสําคัญในบางประเภทงาน เชน งาน ทรัพยากรบุคคล งานบริหารงบประมาณ งานการเงิน และการบัญชีี และงานจัดซื้อจัดจาง เป็นหลัก 42

แผนภาพการพัฒนาของทักษะดิจิทัลของบุคลากร ชองทางการเปดเผยขอมูล 86.7% 67.2% 67.2% 92.9% 95.0% 65.6% สัดสวนการเปดเผยขอมูลของหนวยงานในแต่ละป 88.4% 66.8% 69.7% การเปดเผยขอมูลผานเว็บไซต์หนวยงาน การเปดเผยขอมูลผานชองทางอื่นๆ แผนภาพสัดสวนการเปดเผยขอมูลและชองทางการเปดเผยขอมูลของหนวยงานภาครัฐ 2562 ป 2563 2564 ตัวชี้วัดอันดับที่ 4 ดานแนวนโยบายและหลักปฏิบัติ (Policies/ Practices) หนวยงานระดับกรมทําคะแนน ได้ในระดับปานกลาง โดยจากผลการสํารวจพบวา สัดสวนการจัดทําแผนดานดิจิทัลของหนวยงานมีแนวโนมที่สูงขึ้น และ ในสวนของการดําเนินการเปดเผยขอมูล พบวา สัดสวนของหนวยงานที่มีการเปดเผยขอมูลบนชองทางตาง ๆ มีแนวโนมที่ สูงขึ้นทั้งชองทางเว็บไซต์ของหนวยงาน และชองทางอื่น ๆ ในขณะที่สัดสวนของหนวยงานที่มีการเปดเผยขอมูลในแต่ละปนั้น ยังมีจํานวนที่ไม่แนนอน ตัวชี้วัดอันดับที่ 5 ดานศักยภาพเจ้าหน้าที่ภาครัฐดานดิจิทัล (Digital Capabilities) เป็นตัวชี้วัดที่โดดเดนนอย เมื่อเทียบกับตัวชี้วัดอื่น โดยจากผลการสํารวจพบวา คาเฉลี่ยบุคลากรทุกหนวยงานในทุก ๆ ทักษะเพิ่มสูงขึ้น อยางไรก็ตาม ทักษะตาง ๆ ยังคงถูกจัดอยู่ที่ระดับคะแนน 3 จากระดับคะแนนสูงสุด 5 ซึ่งตามนิยามของแบบสํารวจ ถือเป็นระดับที่สามารถปฏิบัติงาน ได้เพียงขั้นพื้นฐานเทานั้น 1. ทักษะดาน Digital Literacy 2. ทักษะดาน Digital Governance, Standard, and Compliance 3. ทักษะดาน Digital Technology 4. ทักษะดาน Internal Integration and Service Design 5. ทักษะดาน Strategic and Project Management 6. ทักษะดาน Digital Leadership 7. ทักษะดาน Digital Transformation 8. ทักษะดาน Cyber security 3.45 2561 2562 2563 2564 %การเพิ่มขึ้นต่อปยอนหลัง 3.57 3.64 3.75 2.77% 3.41 3.57 3.54 3.56 1.43% 3.40 3.53 3.57 3.66 2.52% 3.27 3.40 3.42 3.54 2.69% 3.51 3.60 3.55 3.60 0.84% 3.44 3.49 3.53 3.56 1.18% 3.38 3.53 3.53 3.57 1.83% 3.40 3.65 - - 7.20% 43

นอกจากนี้ จากผลการสํารวจดังกลาว มีประเด็นดานขอมูลที่จําเป็นต่อการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลที่ได้รับการวิเคราะห ความพรอมเพิ่มเติม ดังนี้ ดานการได้มาของขอมูล มีการจัดเก็บขอมูล เชื่อมโยงขอมูล และใชเทคโนโลยีเพื่อให้ได้มาซึ่งขอมูลมากขึ้น ดานการจัดการขอมูล มีการอัพเดทขอมูลแบบเรียลไทม และรายวัน มีการทํา Data Cleansing กอนจัดเก็บ ขอมูลมีการปรับใช Data Warehouse และ Data Lake เพิ่มขึ้น แต่ในอัตราสวนที่ลดลง ดานการวิเคราะหขอมูล ยังเนนการวิเคราะหแบบ Descriptive Analysis เป็นหลัก ซึ่งถือวาเป็นเพียงขั้นพื้นฐาน ดานการเชื่อมต่อขอมูล การจัดทําแพลตฟอรมเพื่อให้หนวยงานอื่นสามารถเขาใชมากขึ้น ดานการใชประโยชนจากขอมูล มีการใชประโยชนจากขอมูลขอเสนอแนะมาใชปรับปรุงบริการ แต่สัดสวน การนําขอมูลเปดไปใชประโยชนโดยหนวยงานภายนอก และการพัฒนาต่อยอดบริการยังไม่มีนัยสําคัญ ดานธรรมาภิบาลในการกํากับดูแลขอมูล มีหนวยงานที่มีแนวโนมพัฒนาทั้ง 6 ดานในเรื่องธรรมาภิบาลขอมูล เมื่อเทียบกับป 2563 เพิ่มสูงขึ้น แต่สัดสวนโดยรวมยังถือวานอย เนื่องจากมีสัดสวนหนวยงานจัดทําแล้วเสร็จ ในแต่ละดานอยู่ระหวาง 10-30% เทานั้น โดยมีหนวยงานรัฐที่จัดทําขอมูลตามกรอบธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ แล้วเสร็จเพียงรอยละ 0.3 ในป 2563 และรอยละ 4 ในป 2564 การปองกันขั้นพื้นฐาน เชน การใส password เพื่อปกปองไฟล การใช Security Control เพื่อนํามา จัดการขอมูล และการทํางานภายใน 25.31% 45.23% 46.89% 44.81% 2564 2563 ป 2563 2564 แผนภาพสัดสวนการปรับใช เทคโนโลยีพื้นฐาน เพื่อสรางความปลอดภัย และความนาเชื่อถือในการทํางาน 1 2 3 4 5 6 ตัวชี้วัดอันดับที่ 6 ดานเทคโนโลยีดิจิทัลและการนําไปใช (Digital Technological Practices) เป็นตัวชี้วัดที่ หนวยงานระดับกรมทําได้โดดเดนนอยที่สุดเมื่อเทียบกับตัวชี้วัดอื่น โดยเฉพาะในดานการปรับใชเทคโนโลยีเพื่อสรางความปลอดภัย และความนาเชื่อถือในการทํางานตางๆ (Trusted Protocol) ซึ่งจากผลการสํารวจพบวา มีการปรับใชเทคโนโลยีโดยรวมคอนขางนอย แมเป็นการใชเทคโนโลยีขั้นพื้นฐาน เชน การใส Password เพื่อปกปองไฟล และมีการใช Security Control เพื่อนํามาจัดขอมูล การทํางานภายใน 44

ความกาวหน้าในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล วิวัฒนาการการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย IT2000 การพัฒนาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส  คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฯ ฉบับที่ 8 (2540-2544) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฯ ฉบับที่ 9 (2545-2549) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฯ ฉบับที่ 10 (2550-2554) • พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของ ราชการ พ.ศ. 2540 แผน ICT ฉบับที่ 1 (2545-2549) แผน ICT ฉบับที่ 2 (2552-2556) • เครือขายไทยสาร • GINet • ซื้อ-ขายหลักทรัพย์ออนไลน • ระบบฝาก-ถอนเงินแบบตางสาขา • บริการสืบคนทะเบียนพาณิชย และงบดุลออนไลน • Smart Card • ระบบชําระภาษีออนไลน • GFMIS • e-Passport • e-Procurement • ริเริ่มโครงการ GDX • โครงการพัฒนาและจัดทํามาตรฐาน ซอฟตแวรกลางเพื่อบริหารของภาครัฐ • National Spatial Data Infrastructure • โครงการจัดตั้งสถาบัน e-Government • ระบบ ITMX • ระบบ NSW • ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส • ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส • G-Cloud • GIN • GIN Conference ที่มา: สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (2565) • พ.ร.บ. ว่าด้วยธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 • พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทําผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 • พ.ร.บ. ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 • พ.ร.ฎ. ว่าด้วยวิธีการแบบปลอดภัยในการทํา ธุรกรรมทางอิเล็กส์ทรอนิกส์ พ.ศ. 2553 2540 2545 2550 • พ.ร.ฎ. กําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทํา ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. 2549 45

e-Government Digital Government Transformation สํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส สํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฯ ฉบับที่ 11 (2555-2559) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฯ ฉบับที่ 12 (2560-2564) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฯ ฉบับที่ 13 (2566-2570) สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล • Law Portal • Digital ID และ e-Signature • Data Governance • Health Link • ThailandPlus • Digital Transcript • E-Workforce Ecosystem • One Identification : ID One SMEs (ร่าง) แผน ICT ฉบับที่ 3 (2557-2561) แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ชวงที่ 1 (2559-2561) (ราง) แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ชวงที่ 2 (2560-2564) • การออกสําเนาทะเบียนการคา เป็นสิ่งพิมพผานธนาคาร • G-Cert • e-Payment • ระบบภาษีไปไหน • มาตรฐานเว็บไซต์เวอรชัน 2.0 • ระบบ PromptPay • GDX • Biz Portal • Data.go.th • พ.ร.บ. การอํานวยความสะดวก ในการพิจารณาขออนุญาตของ ทางราชการ พ.ศ. 2558 • พ.ร.บ การปฏิบัติราชการ ทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2565 • พ.ร.บ. การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม พ.ศ. 2560 • พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทําผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 • พ.ร.บ. การบริหารงานและการให้บริการ ภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 • พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • พ.ร.บ. การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562 แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ของประเทศไทย (2563-2565) แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ของประเทศไทย (2566-2570) 2555 2560 2565 46

จากการดําเนินงานตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ของประเทศไทย พ.ศ. 2563–2565 พบวา ในป 2565 ภาพรวมการดําเนินงานของโครงการตามแผนฯ จาก จํานวน 41 โครงการ มีโครงการที่มีการดําเนินงานทั้งสิ้น 37 โครงการ คิดเป็นรอยละ 90.24 และมีโครงการที่ไม่มี การดําเนินงาน 4 โครงการ คิดเป็นรอยละ 9.76 โดยผลการดําเนินงานตามแผนฯ ในแต่ละยุทธศาสตร เป็นดังนี้ • ยุทธศาสตรที่ 1 ยกระดับคุณภาพการให้บริการแกประชาชนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล จํานวน 17 โครงการ มีการดําเนินการ 16 โครงการ ไม่มีผู้ดําเนินงาน 1 โครงการ คิดเป็นรอยละ 94.11 • ยุทธศาสตรที่ 2 อํานวยความสะดวกภาคธุรกิจไทยด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล จํานวน 8 โครงการ มีการดําเนินการ 8 โครงการ คิดเป็นรอยละ 100 • ยุทธศาสตรที่ 3 ผลักดันให้เกิดธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐในทุกกระบวนการทํางานของรัฐ จํานวน 11 โครงการ มีการดําเนินการ 8 โครงการ ไม่มีการดําเนินการ 3 โครงการ คิดเป็นรอยละ 72.72 • ยุทธศาสตรที่ 4 พัฒนากลไกการมีสวนรวมของทุกภาคสวนรวมขับเคลื่อนรัฐบาลดิจิทัล จํานวน 5 โครงการ มีการดําเนินการ 5 โครงการ คิดเป็นรอยละ 100 โครงการที่ไม่มีผู้ดําเนินการ จํานวน 4 โครงการ ได้แก (1) โครงการแพลตฟอรมบริการเพื่อบริหารจัดการ แรงงานขามชาติ (2) การจัดทําขอมูลประวัติการศึกษาและการทํางานของบุคลากรภาครัฐและประชาชน (3) การพัฒนา แพลตฟอรมสนับสนุนการบริหารจัดการหนวยงานภาครัฐ (ERP) และ (4) การสงเสริมสนับสนุนให้เกิดการประยุกตใช Digital Twin ในภาครัฐสําหรับการสรางแบบจําลองเมืองเพื่อการบริหารจัดการทองถิ่น มีการดําเนินการ ไม่มีการดําเนินการ 90.24 โครงการที่ไม่มีผู้ดําเนินการ จํานวน 4 โครงการ 9.76 แผนภาพภาพรวมการดําเนินงานตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2563-2565 (ปงบประมาณ พ.ศ. 2565) 47

การประเมินผลการดําเนินงานตามเปาหมายและตัวชี้วัดความสําเร็จของแผนฯ ที่ได้กําหนดไว 4 เปาหมาย โดยยึดถือหลักการสําคัญ 3 ประการ ได้แก (1) ความสอดคลองกับทิศทางและเปาหมายของแผนระดับชาติตางๆ ที่เกี่ยวของ รวมถึงแผนที่เกี่ยวกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (2) การยึดหลักแนวทางและวิธีการตามเจตนารมณของ พ.ร.บ. การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 และ (3) การตอบโจทยเพื่อแกไขปญหาหรือลด อุปสรรคของภาครัฐในการบริหารงานและให้บริการประชาชนด้วยดิจิทัล ผานการขับเคลื่อนในกลุ่มเปาหมายที่สําคัญ 6 กลุ่มเปาหมาย (Focus Areas) ได้แก (1) การศึกษา (2) สุขภาพและการแพทย (3) การเกษตร (4) ความเหลื่อมล้ํา ทางสิทธิสวัสดิการประชาชน (5) การมีสวนรวม โปรงใส และตรวจสอบได้ของประชาชน และ (6) การสงเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) พบผลความสําเร็จของการดําเนินงาน ดังนี้ ในการดําเนินโครงการตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล มีตัวอยางโครงการที่ประสบความสําเร็จและมีการดําเนิน งานที่ตรงตามพระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 ดังนี้ โครงการ เปาหมายตามแผนฯ ผลการดําเนินงาน สอดคลอง/ตรงตาม พ.ร.บ. การบริหารงานฯ การพัฒนาแพลตฟอรมการให้ บริการประชาชนแบบเบ็ดเสร็จ (Citizen Platform) 60 บริการ 60 บริการ มาตรา 12 (1) (2) 50,000 คน/ป 524,989 คน/ป มาตรา 12 (6) ประโยชนจากการใชบริการ • จํานวนผู้ใชงานเพิ่มขึ้น รอยละ 33.70 (เทียบจากป 2564) • 40 บริการ • ธุรกรรม 1,135 ครั้ง/ป • ชุดขอมูลจํานวน 1 ชุด มาตรา 11 ประโยชนจากการใชบริการ • สํานักงานพาณิชยจังหวัด ทั่วประเทศ มีการใช Digital Signature 76 แห่ง มาตรา 12 (4) ประเด็นมุงเนนที่สําคัญ • รายงานความกาวหน้าการ ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวของกับ การเป็นรัฐบาลดิจิทัล 1 ฉบับ • รายงานเบื้องตนการพัฒนา หนวยงานในการใชกฎหมาย สงเสริมการเป็นรัฐบาลดิจิทัล อยางสมบูรณแบบ 1 ฉบับ สอดคลองตาม วัตถุประสงค พ.ร.บ. การบริหารงานฯ 1 การพัฒนาทักษะ ทัศนคติและ ความสามารถบุคลากรภาครัฐ ทางดานดิจิทัล 2 ระบบรับคําขออนุญาต เพื่ออํานวยความสะดวกให้ ภาคธุรกิจ การพัฒนาชองทาง การให้บริการภาคธุรกิจ แบบเบ็ดเสร็จ (Business Portal) 3 การพัฒนาระบบการยืนยัน และพิสูจนตัวตนทางดิจิทัล (Digital ID & Signature) สําหรับนิติบุคคล 4 การปรับปรุงหรือแกไขกฎหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับ เพื่อเพิ่ม การมีสวนรวมในการตัดสินใจ นโยบายรัฐ 5 48

เปาหมาย ตัวชี้วัด ผลการดําเนินงาน ลดความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงบริการ และสวัสดิการของประชาชนด้วยขอมูล และบริการผานชองทางดิจิทัลสําหรับ ประชาชนทุกกลุ่มเพื่อยกระดับคุณภาพ ชีวิตที่ดี เพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันให้ กับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอมของไทยด้วยการบูรณาการ กลไกภาครัฐในการสนับสนุนให้เกิดการ อํานวยความสะดวกแกการประกอบธุรกิจ ผานชองทางดิจิทัล การทํางานของภาครัฐมีความโปรงใส ตรวจสอบได้ด้วยการปรับปรุงขอมูลตาม กรอบธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ และเปด เผยแกประชาชนผานชองทางดิจิทัล สรางการมีสวนรวมของประชาชนในการ พัฒนาบริการของภาครัฐ และกําหนด นโยบายสําคัญของประเทศ ด้วยการเสนอ ความคิดเห็นดานนโยบายหรือประเด็น การพัฒนาประเทศผานชองทางดิจิทัล อันดับดัชนีรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (e-Government Development Index : EGDI) ดีขึ้น 10 อันดับ ป 2565 ประเทศไทยอยู่อันดับที่ 55 ดีขึ้น 2 อันดับ จากป 2563 ที่อยู่ในอันดับที่ 57 ยกเลิกการจัดอันดับ และรอประกาศ แนวทางการจัดอันดับจาก สํานักงาน ก.พ.ร. (ป 2563 ประเทศไทยอยู่อันดับ ที่ 21 ดีขึ้น 6 อันดับ จากป 2562 ที่อยู่ในอันดับที่ 27) อันดับที่ 110 (ลดลง 6 อันดับ) ป 2564 ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 110 ลดลง 6 อันดับ จากป 2563 ที่อยู่อันดับ ที่ 104 ป 2562 อยู่ในอันดับที่ 101 และ ป 2561 อยู่ในอันดับที่ 99 ป 2565 ประเทศไทยอยู่อันดับที่ 18 ดีขึ้น 33 อันดับ จากป 2563 ที่อยู่ใน อันดับที่ 51 อันดับความยากงายในการดําเนิน ธุรกิจ (Ease of Doing Business : EoDB) ดีขึ้น 10 อันดับ อันดับดัชนีภาพลักษณคอรัปชัน (Corruption Perception Index : CPI) ดีขึ้น 3 อันดับ อันดับดัชนีชี้วัดการมีสวนรวมทาง อิเล็กทรอนิกส (e-Participation Index : EPI) ดีขึ้น 10 อันดับ 1 2 3 4 จากขอมูลผลสํารวจดังกลาว หนวยงานได้นําเสนอประเด็นปญหาอุปสรรคที่พบในระหวางการดําเนินงาน โดยสามารถแบงออกได้เป็น 5 ประเด็นที่สําคัญ สรุปได้ดังนี้ 1. การบริหารจัดการโครงการ ▪ กระบวนการจัดซื้อจัดจางภาครัฐ ▪ การบูรณาการระหวางหนวยงานความรวมมือยังไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ▪ ทักษะบุคลากรภายในหนวยงานยังต้องได้รับการพัฒนาเพื่อให้สามารถดําเนินโครงการได้อยางมีประสิทธิภาพ ▪ มีการเปลี่ยนผู้รับผิดชอบโครงการระหวางการดําเนินงาน ทําให้ขาดความต่อเนื่องในการดําเนินงานและขาด การสนับสนุนขอมูลที่จําเป็นจากหนวยงานอื่น 2. ดานงบประมาณ ▪ งบประมาณไม่ได้รับการจัดสรร ▪ งบประมาณได้รับการจัดสรรแต่ไม่เพียงพอ 49

นอกจากนี้ หนวยงานได้มีการเสนอแนะประเด็นที่ต้องการให้ สพร. สนับสนุนหรือดําเนินการเพิ่มเติม เพื่อให้การดําเนินโครงการภายใตแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเป็นไปด้วยความราบรื่น โดยแบงออกเป็น 3 ประเด็น โดยมี รายละเอียด ดังนี้ 1. การบริหารจัดการโครงการ • ควรมีการพัฒนาระบบกลางในดานตาง ๆ นอกเหนือจากระบบการยืนยันตัวตน เชน ระบบ e-Form ระบบ e-Payment ระบบการออกเอกสารอิเล็กทรอนิกส • ให้การสนับสนุนผู้เชี่ยวชาญดานการวิเคราะหประมวลผลขอมูลและดานภูมิสารสนเทศ • ชวยเหลือในดานการติดต่อประสานงานกับหนวยงานภาครัฐในการเชื่อมโยงขอมูลที่หนวยงานต้องการใชงาน • ดําเนินการพัฒนาระบบบัญชีขอมูลรวมกับหนวยงานภาครัฐ • สนับสนุนการดําเนินงานในดานตางๆ เชน ดานการประชาสัมพันธ และดานการผลักดันและสงเสริมให้เกิด การบูรณาการใชงานดานนวัตกรรม 2. ดานงบประมาณ • สนับสนุนงบประมาณเพื่อพัฒนานวัตกรรม เครื่องมือ แนวทาง และวิธีการที่จะนําไปสูการดําเนินงานอยางเต็มศักยภาพ ทั้งในระดับนโยบายไปจนถึงระดับพื้นที่ เพื่อให้เกิดประโยชนสูงสุดต่อประชาชนทุกคนในประเทศ 3. ดานการใชประโยชน • จัดฝกอบรมให้ความรู ทั้งในดานนโยบายและแนวทางการขับเคลื่อนการดําเนินงานให้ประสบความสําเร็จตาม เปาหมายของโครงการที่ได้รับ เชน แนวทางสงเสริมขับเคลื่อนหนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ ประชาชน ให้ตอบรับการปรับเปลี่ยนเป็นบริการในรูปแบบดิจิทัลแบบเบ็ดเสร็จ เป็นตน 3. กฎหมายที่เกี่ยวของกับโครงการ ▪ พ.ร.บ. คุมครองขอมูลสวนบุคคล ▪ ระเบียบของหนวยงานไม่มีการปรับปรุงให้สอดคลองกับแผนฯ หรือกฎระเบียบอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 4. ดานนโยบาย ▪ หนวยงานมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายในระหวางการดําเนินงาน ▪ มีการเปลี่ยนผู้บริหารระดับสูง ทําให้ทิศทางการดําเนินงานและเปาหมายเปลี่ยนแปลงไป ▪ ขาดแคลนบุคลากรในการดําเนินงาน เนื่องจากสิ้นสุดนโยบายการยืมตัวบุคลากรเขามาทํางานในหนวยงาน 5. ดานการนําไปใชประโยชน ▪ บุคลากรในหนวยงานขาดทักษะที่จําเป็นในการนําองคความรูไปใชประโยชน ▪ การสรางการรับรูบริการจากหนวยงานภาครัฐต้องมุงเนนให้ถึงกลุ่มเปาหมายมากยิ่งขึ้น 50

ทั้งนี้ ในการขับเคลื่อนหนวยงานภาครัฐให้เกิดการนําเทคโนโลยีมาใชเป็นเครื่องมือในการบริหารงานภาครัฐ และบริการสาธารณะ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและอํานวยความสะดวกให้แกประชาชน จึงจําเป็นต้องมีการบูรณาการ การทํางานแบบขามสายงาน ที่จะชวยให้เกิดเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่จะขับเคลื่อนให้เกิดรัฐบาลดิจิทัลได้อยางแทจริง สพร. จึงได้จัดตั้งศูนยเทคโนโลยีดิจิทัลภาครัฐ (Digital Government Technology and Innovation Center: DGTi) เพื่อให้เป็นศูนยกลางนวัตกรรมภาครัฐไทยแบบครบวงจร นอกจากนี้ ภายใตการดําเนินการตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฉบับที่ผานมา ได้มีการดําเนินโครงการตางๆ ที่เป็นรูปธรรม ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้ 1) Citizen Portal การพัฒนาพอรทัลกลางสําหรับประชาชน เป็นที่รวบรวมขอมูลและงานบริการตางๆ เพื่ออํานวยความสะดวก ให้แกประชาชน โดยบูรณาการระหวางหนวยงานภาครัฐ สามารถ หาขอมูลสําหรับการดําเนินชีวิต รวมถึงทําธุรกรรมออนไลนไวใน ที่เดียวกันเพื่อให้สะดวกต่อการเขาถึงขอมูลและบริการของภาครัฐ และได้พัฒนาแอปพลิเคชันที่เป็นพอรทัลกลางสําหรับประชาชน ชื่อ “ทางรัฐ” เพื่อการให้บริการแกประชาชน เชน บริการที่เกี่ยวของ กับการจัดสรรสวัสดิการจากภาครัฐของหนวยงานตางๆ เชน กระทรวงแรงงาน กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย เป็นตน 3) โครงการหนึ่งรหัส หนึ่งผู้ประกอบการ (One Identification: ID One SMEs) เป็นโครงการนํารองพัฒนาระบบให้บริการแก ผู้ประกอบการผานหมายเลข ID เพียงรหัสเดียว เพื่ออํานวย ความสะดวกให้แก ผู้ประกอบการ SMEs ในการขอรับบริการและ การสงเสริมจากภาครัฐและลดความซ้ําซอนจากการกรอกขอมูล ของหนวยงานตางๆ ซึ่งจะชวยให้สามารถติดตามผลการให้บริการ ได้อยางมีประสิทธิภาพ และยังสามารถเชื่อมโยงขอมูลระหวาง หนวยงานกลายเป็นฐานขอมูลขนาดใหญ (Big Data) ของการสงเสริม SMEs ในภาพรวมทั้งประเทศ 2) Biz Portal ศูนยกลางบริการภาครัฐเพื่อภาคธุรกิจ เป็นศูนยกลาง ขอมูลให้ธุรกิจติดต่อราชการแบบเบ็ดเสร็จ ครบวงจร ณ จุดเดียว ผานเว็บไซต์ bizportal.go.th สําหรับให้บริการในการยื่นคําขอใหม เปลี่ยนแปลง/แกไข ต่ออายุ และยกเลิกใบอนุญาตแบบออนไลน โดยมี การเชื่อมโยงขอมูล เอกสาร หลักฐานระหวางหนวยงาน ทําให้ ผู้ประกอบการไม่ต้องยื่นเอกสารตางๆ ที่ทางราชการออกให้ผานระบบ เชน หนังสือรับรองนิติบุคคล บัญชีรายชื่อผู้ถือหุน เป็นตน โดยมี การนํารองการให้บริการ 78 ใบอนุญาต ใน 25 ประเภทธุรกิจ และขยายผล การให้บริการแบบดิจิทัลเต็มรูปแบบจํานวน 10 บริการ 51

  1. E-Workforce Ecosystem แพลตฟอรมอัจฉริยะที่เชื่อมโยงขอมูล ระหวางหนวยงานดานการพัฒนากําลังคน ทั้งการเชื่อมโยงขอมูล จากภาคการศึกษา และแรงงาน ให้เป็นฐานขอมูลขนาดใหญ (Big Data) ดานแรงงานอยู่บนโครงสรางพื้นฐานเดียวกัน โดยการจัดเก็บขอมูล อยางเป็นระบบด้วย E-Portfolio ซึ่งจะรวบรวมขอมูล ประวัติการศึกษา การอบรม ประสบการณทํางานไวในที่เดียว และเชื่อมต่อไปเสนทาง การพัฒนาตัวเองอยางต่อเนื่องสูการเรียนรูตลอดชีวิต (Lifelong Learning) 6) ThailandPlus แอปพลิเคชันสําหรับนักทองเที่ยวหรือชาวตางชาติ ที่เดินทางเขาประเทศไทยใชงานระหวางพํานักอยู่ในประเทศไทย เพื่อ ติดตามประวัติการเดินทางและระดับความเสี่ยงที่จะติดเชื้อไวรัสโควิด-19 โดยระบบสามารถสืบยอนกลับประวัติการเดินทางหรือการใกลชิดกับ ผู้ปวยกลุ่มเสี่ยงได้ ทําให้ผู้ใชงานสามารถรูความเสี่ยงของตัวเองและ รูวิธีปฏิบัติตนเพื่อรับการตรวจคัดกรองได้ทันทวงที 5) Digital Transcript โครงการจัดทําเอกสารสําคัญทางการศึกษาในรูปแบบ ดิจิทัล ที่มีความปลอดภัยและนาเชื่อถือ มีการลงนามด้วยลายมือชื่อดิจิทัล (Digital Signature) เพื่อปองกันการแกไขเปลี่ยนแปลงโดยผู้ที่ไม่เกี่ยวของ และผู้รับเอกสารสามารถตรวจสอบได้ด้วยตนเอง โดยในปการศึกษา 2563 มีผู้สําเร็จการศึกษาทั้งสิ้นกวา 350,000 คน มีสถาบันอุดมศึกษาจํานวน 39 แห่ง สามารถออกเอกสาร Digital Transcript แกผู้สําเร็จการศึกษา ได้แล้วกวา 100,000 คน 7) ระบบ Health Link ระบบแลกเปลี่ยนประวัติการรักษาผู้ปวยประวัติ ขามโรงพยาบาล เพื่อให้แพทยเขาถึงประวัติคนไขได้ เพิ่มประสิทธิภาพ การรักษาโดยมีความรวมมือทั้งจาก บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จํากัด ในการดูแลระบบคลาวดกลาง ธนาคารกรุงไทย ในการให้บริการแอปพลิเคชัน เปาตัง แพทยสภาในการเชื่อมต่อฐานขอมูลของแพทย และกระทรวงสาธารณสุข ในการเชื่อมต่อขอมูลของกลุ่มโรงพยาบาลในเครือ 52

9 ) Law Portal การพัฒนาระบบกลางดานกฎหมาย เป็นแหลงรวบรวม ขอมูลดานกฎหมายของประเทศ เป็นชองทางสําหรับรับฟงความคิดเห็น และประชาสัมพันธเกี่ยวกับการดําเนินการจัดทํากฎหมายหรือรางกฎหมาย รวมถึงการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย จึงเป็นอีกชองทางหนึ่งของ ประชาชนและภาคสวนตางๆ ในการมีสวนรวมและติดตามตรวจสอบ การดําเนินการของหนวยงานภาครัฐในกระบวนการที่เกี่ยวของกับกฎหมาย ของประเทศได้ 11) Government Data Exchange (GDX) แพลตฟอรมดิจิทัล เพื่อการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูล เป็นศูนยกลางในการแลกเปลี่ยน ขอมูล และเอกสารทะเบียนดิจิทัลระหวางหนวยงานภาครัฐ เพื่ออํานวย ความสะดวกแกประชาชนและภาคเอกชนเมื่อต้องการใชบริการจาก หนวยงานภาครัฐ ชวยให้หนวยงานภาครัฐสามารถแลกเปลี่ยนเชื่อมโยง ขอมูลในรูปแบบดิจิทัลซึ่งระบบ GDX ได้รองรับการเชื่อมโยงขอมูลกับ แพลตฟอรมอื่นๆ โดย สพร. ได้เริ่มพัฒนาและใชกับบริการภายในมา ตั้งแต่ปงบประมาณ พ.ศ. 2557 8) ระบบฐานขอมูลการเกษตร ซึ่งเป็นฐานขอมูลที่เชื่อมโยงทะเบียน เกษตรกรของหนวยงานรับขึ้นทะเบียนตาง ๆ เขาไวด้วยกัน อาทิ กรมสงเสริมการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว กรมหมอนไหม การยาง แห่งประเทศไทย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมและบริหารจัดการ ลดความซ้ําซอนการจัดเก็บขอมูลและใชเป็นขอมูลประกอบการวางแผน การผลิต และให้ความชวยเหลือเกษตรกร 10) ศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ (Data.go.th) ศูนยกลางในการเขาถึง ขอมูลเปดของภาครัฐของประเทศ ที่ให้ประชาชนสามารถเขาถึงขอมูล ภาครัฐได้อยางสะดวกรวดเร็ว ขอมูลที่เผยแพรอยู่ในรูปแบบไฟลที่ สามารถแสดงตัวอยางขอมูล (preview) การแสดงขอมูลด้วยภาพ (visualization) และ API แบบอัตโนมัติ รวมทั้งสามารถจัดการชุดขอมูล และ Metadata ของขอมูลได้ ทําให้หนวยงานภาครัฐมีระบบบริหาร จัดการขอมูลสําหรับขอมูลเปด พรอมทั้งมีแพลตฟอรมสําหรับการให้ บริการและรองรับปริมาณขอมูลขนาดใหญของภาครัฐในรูปแบบขอมูล ที่มีความหลากหลาย 53

  1. ธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ สนับสนุนสงเสริมให้หนวยงานของรัฐ จัดทําธรรมภิบาลขอมูลภาครัฐตามพระราชบัญญัติการบริหารงานและ การให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 และมาตรการตางๆ ที่เกี่ยวของทําให้หนวยงานมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับธรรมาภิบาล ขอมูลภาครัฐและทราบแนวทางการจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ โดยมีวัตถุประสงคสําคัญ เพื่อให้ขอมูลที่หนวยงานของรัฐครอบครองมี ความมั่นคงปลอดภัย มีมาตรการคุมครองขอมูลสวนบุคคลที่สอดคลอง กับกฎหมายและมาตรฐานสากล มีคุณภาพ และหนวยงานสามารถนํา ไปใชประโยชนต่อไปได้หลากหลายมิติ 14) ดานการยืนยันและพิสูจนตัวตนทางดิจิทัล (Digital ID) และ การลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส (e-Signature) ทั้งการเรงจัดทํา กฎหมาย มาตรฐาน กลไกรับรอง รวมถึงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน อื่น ๆ เพื่อรองรับการทําธุรกรรมออนไลน อาทิ Digital Sandbox และ Thailand National Root Certification Authority (Thailand NRCA) 13) มาตรฐาน ขอกําหนด หลักเกณฑ แนวปฏิบัติ หรือคู่มือ การจัดทํา แนวทางมาตรฐาน และขอเสนอแนะการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเป็นการ กําหนดมาตรฐานในการให้บริการดิจิทัลภาครัฐที่เหมาะสมและสอดคลอง กับความต้องการของ ประชาชน เพื่อให้หนวยงานภาครัฐ ใชเป็นแนวทางใน การพัฒนากระบวนการให้บริการ และ/หรือการดําเนินงาน ทางดิจิทัล แกประชาชนที่เป็นมาตรฐาน และคํานึงถึงความต้องการ และความคาดหวัง ของประชาชนต่อการรับบริการภาครัฐซึ่งมีการประกาศใชมาตรฐาน ได้แก ดานการทําบัญชีขอมูลภาครัฐ ดานการเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐ ดาน Digital ID ดานธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ ดานมาตรฐานการเชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ ฯลฯ ผานทางเว็บไซต์ DGA Standard 54

8 ธนาคารแห่งประเทศไทย (2563). PromptPay the Game Changer for Payments. BOT Magazine ฉบับที่ 3 ป 2563 9 ธนาคารแห่งประเทศไทย. ธุรกรรมการโอนและชําระเงินผานบริการพรอมเพย. สืบคนจาก https://www.bot.or.th/App/BTWS_STAT/statistics/ReportPage.aspx?reportID=921&language=th 10 เสาวลักษณ อินภุชงค และดารณี พิมพชางทอง (2561). ปจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับระบบการชําระเงินแบบพรอมเพย, วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี ปที่ 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 11 นฤมล จิตรเอื้อ (2562). พฤติกรรมการใชบริการธุรกรรมทางการเงินผานระบบพรอมเพยในเขตกรุงเทพมหานคร, Veridian E-Journal, Silpakorn University, Volume 12 Number 2 March – April 2019 นอกจากความสําเร็จของโครงการตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ.2563 - 2565 ที่เป็น หมุดหมายหลักในการขับเคลื่อนรัฐบาลดิจิทัลในชวงเวลาที่ผานมาแล้วนั้น หนวยงานภาครัฐทั่วไปยังได้มีการนําเทคโนโลยี ดิจิทัลเขามาประยุกตใชเพื่อการบริหารจัดการและการบริการประชาชนในวงกวาง โดยมีโครงการที่ประสบความสําเร็จและ สรางผลประโยชนให้กับภาคเศรษฐกิจและสังคมที่โดดเดน ได้แก พรอมเพย ระบบภาษีออนไลน และคนละครึ่ง ซึ่งมีราย ละเอียดการดําเนินโครงการดังต่อไปนี้ ในป 2558 กระทรวงการคลัง ธนาคารแห่งประเทศไทย สมาคมธนาคารไทย สถาบันการเงิน และหนวยงานเอกชน รวมกัน ขับเคลื่อนโครงการ National e-Payment มีวัตถุประสงค ในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส และโอนเงินแบบทันที (real-time) จึงได้มีการพัฒนาระบบ พรอมเพย สําหรับให้บริการโอนเงินและรับเงิน โดยใชหมายเลข อางอิงอื่นแทนเลขที่บัญชีธนาคารที่จดจํายาก เชน หมายเลข โทรศัพทมือถือ เลขประจําตัวประชาชน หรือเลขทะเบียน นิติบุคคล และพัฒนา e-Wallet ID ทําหน้าที่เป็นแพลตฟอรม กลางเชื่อมโยงระหวางผู้ให้บริการชําระเงิน สงผลให้การโอนเงิน และชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ทําได้ถูก งาย สะดวก และ ปลอดภัย และมีมาตรฐานสอดรับกับเทคโนโลยีสมัยใหม พรอมเพยจึงเปรียบเสมือนตัวแปรสําคัญใน การเปลี่ยนโฉมรูปแบบการชําระเงินของไทยให้ทันสมัย สอดรับ กับสภาพแวดลอมที่ขับเคลื่อนด้วยดิจิทัลของประชาชนและ ผู้ประกอบการที่พึ่งพาเทคโนโลยีในชีวิตประจําวันหรือ การดําเนินธุรกิจมากขึ้น ไม่วาจะเป็นการซื้อขายสินคาออนไลน การใช mobile banking หรือแอปพลิเคชัน e-Wallet ใน การทําธุรกรรมทางการเงินแทนการไปธนาคาร 8 จากการเก็บ ขอมูลของธนาคารแห่งประเทศไทยตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ 2560 ถึงเดือนมิถุนายน 2565 พบวา มีการใชธุรกรรมการโอน และชําระเงินผานบริการพรอมเพยเพิ่มมากขึ้นอยางต่อเนื่อง โดยมีปริมาณธุรกรรมรวมทั้งสิ้น 25,671 ลานรายการ คิดเป็น มูลคาธุรกรรม 92 ลานลานบาท (ขอมูล ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2565) 9 ความสําเร็จของระบบพรอมเพย เริ่มตนจากการ ถูกกําหนดเป็นวาระแห่งชาติ ซึ่งถือเป็นโครงการสําคัญระดับ ประเทศที่ต้องอาศัยความรวมมือของผู้มีสวนเกี่ยวของจากหลาย หนวยงานในการผลักดันโครงการให้เกิดขึ้นจริง จนถึงการออกแบบ โครงสรางพื้นฐานของระบบที่เปดกวางพรอมต่อการเชื่อมโยง การทํางานระหวางกัน ที่นํามาสูการต่อยอดทางนวัตกรรมการ ออกแบบที่เอื้อต่อการใชบริการของประชาชน และตรงต่อ ความต้องการของประชาชนในฐานะผู้ใชบริการเป็นหลักสําคัญ พรอมทั้งมีการกําหนดโครงสรางคาธรรมเนียมที่เหมาะสม จนทําให้เกิดความรวมมือจากประชาชนในการใชบริการกัน อยางแพรหลาย รวมถึงการบริหารความเสี่ยงที่สามารถสราง ความเชื่อมั่นให้กับประชาชน ทําให้พรอมเพยกลายเป็นหนึ่ง บริการภาครัฐที่ประสบความสําคัญในการเปลี่ยนผานการชําระเงิน เขาสูระบบดิจิทัลได้อยางแทจริง นอกจากนี้ ความทาทายที่สําคัญอีกประการหนึ่ง คือ การสรางความเชื่อมั่นในการให้บริการของระบบ โดยในระยะ แรกผู้ใชงานมีความไม่มั่นใจและวิตกกังวลเกี่ยวกับความมั่นคง ปลอดภัยในการใชบริการ โดยเฉพาะอยางยิ่งผู้ที่ไม่เชี่ยวชาญ ในการใชเทคโนโลยีเป็นสาเหตุสําคัญของการไม่ยอมรับการใชงาน ระบบ แต่เมื่อระยะเวลาผานไป จากการขับเคลื่อนของหนวยงาน หลักที่ได้พยายามพัฒนาและปรับปรุงบริการให้มีประสิทธิภาพ เป็นประโยชน และมีความมั่นคงปลอดภัย ได้สรางความเชื่อมั่น ในการใชงานระบบพรอมเพย จนกลายเป็นระบบที่ประชาชน ให้การยอมรับและใชบริการกันอยางแพรหลาย จากการศึกษา พบวาการยอมรับคุณประโยชนของระบบพรอมเพยมีความสําคัญ อยู่ในระดับมาก แสดงให้เห็นวาผู้ใชงานตระหนักถึงความเป็น ประโยชนของระบบ และสงผลในการยอมรับระบบการชําระ เงินแบบพรอมเพยมากขึ้น 10 นอกจากนี้ การออกแบบบริการดิจิทัล ที่สะดวก งายต่อการใชงาน เชน การสมัครลงทะเบียน และ การทําธุรกรรมตางๆ ผานบริการพรอมเพย เป็นอีกสวนสําคัญ ที่ทําให้ประชาชนให้การยอมรับและใชบริการอยางต่อเนื่อง 11 พรอมเพย 55

กรมสรรพากรในฐานะหนวยงานจัดเก็บภาษีหลัก ของประเทศได้นํากลยุทธ D 2 RIVE มาปรับเปลี่ยนการทํางานของ กรมสรรพากรในป 2565 เพื่อตอบสนองความต้องการของทุก ภาคสวนอยางเทาเทียม ทั่วถึง เป็นธรรมตามแนวคิด D 2 RIVE for All โดยกลยุทธ D 2 RIVE ประกอบด้วย Digital Transformation เป็นการปรับเปลี่ยนกระบวนงานเพื่อนําไปสูการเป็นองคกร ดิจิทัล Data Analytics สงเสริมการจัดการและการวิเคราะห ขอมูลขนาดใหญ (Big Data) Revenue Collection เป็น กลยุทธในการบริหารจัดเก็บภาษีอยางมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง และเป็นธรรม Innovation มุงเปาหมายในการเป็นองคกรที่ ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม โดยใชเทคนิค Design Thinking ใน การจัดทํานวัตกรรม Value เป็นการพัฒนากรมสรรพากรให้เป็น องคกรคุณธรรม และ Efficiency เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพคน (Smart People) และประสิทธิภาพงาน (Smart Office) ซึ่งมุงเนนการปรับใชเทคโนโลยีในการทํางาน เพื่อสรางบริการ ที่มีประสิทธิภาพให้กับประชาชน สําหรับการให้บริการดิจิทัล กรมสรรพากรได้ นํากลยุทธ Digital Transformation มาใชในการปรับเปลี่ยน กระบวนการทํางานให้เขาสูระบบดิจิทัล ลดการพึ่งพาเอกสาร และมีการเชื่อมโยงขอมูลกับหนวยงานเจ้าของขอมูลผานระบบ Open API 12 และกลยุทธ Data Analytics ที่มีการนําขอมูล ภาษีมาวิเคราะห เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในการจัดเก็บภาษี และความเทาเทียมต่อประชาชนทุกกลุ่ม เชน ในกรณีกระบวน การคืนภาษี มีการวิเคราะหกลุ่มผู้เสียภาษีที่ให้ขอมูลครบถวน ถูกต้องตามหลักเกณฑ โดยระบบสามารถแยกคนกลุ่มนี้ออกมา ได้ในทันที และดําเนินการคืนภาษีผานระบบพรอมเพย สงผล ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานได้งายและรวดเร็ว โดยปราศจากขั้นตอน ที่ยุงยากซับซอนจากเอกสารในรูปแบบกระดาษ นอกจากนี้ กรมสรรพากรยังได้พัฒนาบริการดิจิทัล อื่นๆ เพื่อปรับกระบวนการทางภาษีให้เป็นดิจิทัลอยางเต็ม รูปแบบ เชน My Tax Account เป็นระบบที่ประชาชนสามารถ ตรวจสอบประวัติการยื่นแบบ ภ.ง.ด. 90 / 91 และขอมูลคาลดหยอน เชน ระบบบริจาคอิเล็กทรอนิกส หรือ e-Donation ซึ่งเป็น ตัวอยางความสําเร็จในการเชื่อมโยงขอมูลระหวางหนวยงาน ผู้รับบริจาคและกรมสรรพากร โดยประชาชนไม่จําเป็นต้องเก็บ หลักฐานการบริจาคมาแสดงต่อเจ้าหน้าที่ อีกทั้ง ยังมีระบบภาษี หัก ณ ที่จาย อิเล็กทรอนิกส หรือ e-Withholding Tax ที่ชวย ลดขั้นตอนและคาใชจายในการจัดทําและยื่นแบบรายการ หัก ณ ที่จาย โดยไม่จําเป็นต้องจัดทําและเก็บเอกสารหนังสือ รับรองการหักภาษี ณ ที่จายในรูปแบบกระดาษอีกต่อไป นอกจากนี้ ยังมีระบบการเก็บภาษีจากผู้ประกอบการตางประเทศ ซึ่งสามารถ ออกหมายเรียกและหนังสือแจงให้ชําระภาษีอากรเป็นจดหมาย อิเล็กทรอนิกสได้แล้ว จากความพยายามในการยกระดับบริการทางภาษี ให้เป็นระบบดิจิทัลแบบครบวงจรดังกลาว สงผลให้ประชาชน มีการใชงานระบบเพิ่มสูงขึ้น โดยจากผลการศึกษาและจัดทํา ตัวชี้วัดการพัฒนาดานดิจิทัลของประเทศไทยประจําป 2565 พบวา คนไทยทําธุรกรรมยื่นภาษีผานชองทางออนไลนเพิ่มขึ้น เป็นรอยละ 44.98 ในป 2564 จากรอยละ 42.44 ในป 2563 โดยเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับภาคธุรกิจเอกชนที่ใชบริการ ยื่นภาษีผานชองทางออนไลนเพิ่มขึ้นเป็นรอยละ 12.39 ในป 2564 จากรอยละ 10.62 ในป 2563 13 นับเป็นความสําเร็จ ในการพัฒนาบริการที่อํานวยความสะดวกให้แกประชาชนและ ผู้ประกอบการในวงกวาง อีกทั้งยังชวยลดตนทุนและประหยัด เวลาในการดําเนินการดานกระบวนการทางภาษีอีกด้วย นอกจากนี้ อีกหนึ่งการพัฒนาดานดิจิทัลที่สําคัญ ของระบบภาษีประเทศไทย คือ ใบกํากับภาษีอิเล็กทรอนิกส (e-Tax Invoice) และใบรับอิเล็กทรอนิกส (e-Receipt) ที่ ปรับเปลี่ยนใบกํากับภาษี รวมถึงใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ และใบรับ จากรูปแบบจากกระดาษเป็นขอมูลอิเล็กทรอนิกสมีการลงลายมือ ชื่อดิจิทัล (Digital Signature) หรือประทับรับรองเวลา (Time Stamp) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสํานักงานพัฒนาธุรกรรม การยื่นภาษีออนไลน 12 Data ภาษี Agile ไปด้วยกันได้จริงไหม เอกนิติ กรมสรรพากรรับคําทามุงหน้าเขายุคดิจิทัล THE ALPHA EP.13 - YouTube 13 สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2565). ผลการศึกษาและจัดทําตัวชี้วัดการพัฒนาดานดิจิทัลของประเทศไทยประจําป พ.ศ. 2565 56

ทางอิเล็กทรอนิกสในการจัดทํามาตรฐานขอความอิเล็กทรอนิกส สําหรับการซื้อขายสินคาและบริการ ซึ่งเป็นสวนหนึ่งของการขับ เคลื่อนส งเสริมการทําธุรกรรมพาณิชย อิเล็กทรอนิกส (e-Commerce) และดําเนินการภายใต พ.ร.บ. วาด้วยธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2544 เพื่อชวยลดภาระตนทุนและ เพิ่มศักยภาพของผู้ ประกอบการไทย อันเป นการเพิ่ม ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศในเวทีโลก โดยระบบ e-Tax Invoice เป็นทางเลือกใหมที่ชวยให้ผู้ประกอบการ ไม่จําเป็นต้องจัดทําเอกสาร แต่สามารถสงขอมูลใบกํากับภาษี อิเล็กทรอนิกสถึงลูกคาและกรมสรรพากรผานอีเมล เว็บไซต์ กรมสรรพากร หรือสงขอมูลถึงเซิรฟเวอรของกรมสรรพากร ได้โดยตรง ชวยให้ผู้รับบริการหรือเจ้าของธุรกิจลดภาระใน การจัดเตรียมเอกสารสําหรับการเสียภาษีมูลคาเพิ่ม อีกทั้งยัง สามารถจัดทํารายงานภาษีซื้อ-ภาษีขายได้โดยอัตโนมัติ (Electronic VAT Report) ทําให้ผู้ประกอบการมีชองทาง ที่ยืดหยุนในการสงขอมูลให้สรรพากร ทั้งจากการจัดทําด้วย ระบบงานของผู้ประกอบการเอง และผานระบบ RD Portal หรือ e-Tax Invoice by Email สงผลให้ภาครัฐในฐานะหนวยงาน ผู้ให้บริการสามารถลดตนทุนในการจัดทํางานเอกสาร และ ให้บริการได้อยางมีประสิทธิภาพผานระบบดิจิทัล 14 ปจจัยแห่งความสําเร็จในการดําเนินงานที่ผานมา ของกรมสรรพากร คือ ความเป็นผู้นําของผู้บริหารระดับสูงที่ เล็งเห็นความจําเป็นและความสําคัญของการปรับเปลี่ยน กระบวนการดําเนินการไปสูการเป็นองคกรดิจิทัลและกําหนดเป็น ยุทธศาสตรองคกรที่สื่อสารให้บุคลากรทราบอยางทั่วถึงและ มีเปาหมายรวมกัน รวมถึง ความมุงมั่นตั้งใจของผู้บริหารใน การปรับเปลี่ยนทิศทางและรูปแบบการทํางาน จากวัฒนธรรม องคกรแบบเดิม ไปสูการสรางกระบวนการทํางานแบบใหม ที่ลด การสั่งงานแบบบนลงลาง เนนความรวมมือจากทุกระดับ เพื่อรวมพัฒนาบริการออนไลนให้ตอบโจทยต่อประชาชนมาก ที่สุด สรางวัฒนธรรมการลองผิดลองถูก และสงเสริมความเขาใจ เพื่อความยั่งยืน รวมถึงการพัฒนาบุคลากรให้พรอมรับต่อ การเปลี่ยนแปลง โดยจะเห็นได้จากการดําเนินโครงการ Idea I do เป็นการนําเสนอโครงการพัฒนาภายในของกรมสรรพากร เชน โครงการการยึดอายัด ที่สามารถลดระยะเวลาการดําเนินงาน จากกระบวนการปกติที่ใชระยะเวลา 2-3 เดือน เหลือเพียง 3 วัน โดยใชหลักการของ Design Thinking เขามาสนับสนุน และอาศัย ความรวมมือและความสามารถของบุคคลที่หลากหลาย ทั้งผู้มี ความรูและประสบการณดานภาษี กฎหมาย กฎระเบียบ รวมถึง ผู้เชี่ยวชาญดานธุรกิจจากเอกชน นอกจากนี้ ยังมีการจัดโครงการ Hackatax รวมกับสํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล เป็นการนํา เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลมาประยุกตใชดานภาษี โดยมี ผู้ประกอบการ Startup เขารวม และได้มีการต่อยอดเป็นโครงการ Tax Sandbox ที่เนนการบริการภาษีที่ถูกใจประชาชน 14 กรมสรรพากร. E-TAX Invoice & Receipt. สืบคนจาก https://etax.rd.go.th/etax_staticpage/app/index.html#/index/main#top 57

15 เอกภาคย คงมาลัย และชาญชัย จิวจินดา (2565). ความคาดหวังของผู้ใชบริการโครงการคนละครึ่งผานแอปพลิเคชันเปาตัง. วารสารบัณฑิตแสงโคมคํา ปที่ 7 ฉบับที่ 1. มกราคม–เมษายน 2565 16 สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง. คนละครึ่ง. สืบคนจาก https://www.xn—42caj4e6bk1f5b1j.com/announcement โครงการ “คนละครึ่ง” เป็นโครงการหนึ่งภายใตแผนงานฟนฟูเศรษฐกิจและสังคมจากผลกระทบของไวรัสโควิด-19 ของพระราชกําหนดให้อํานาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อแกไขปญหา เยียวยา และฟนฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ได้รับผลกระทบจาก การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจจนถึงระดับฐานราก โดยการลดภาระคาใชจาย ของประชาชนในสวนของคาสินคาในชีวิตประจําวัน และชวยเหลือดูแลพอคาแมคาขนาดเล็กที่ประกอบกิจการขายสินคาหาบเร แผงลอยที่เป็นบุคคลธรรมดา ผานการสนับสนุนคาอาหาร เครื่องดื่ม หรือสินคาทั่วไป โดยโครงการคนละครึ่ง เป็นการสรางอุปสงค ที่แทจริงและเป็นการกระตุนการจับจายใชสอยในประเทศบรรเทาภาระคาใชจายให้ประชาชน สงผลให้ผู้ประกอบการรายยอย รวมถึงผู้ผลิตตลอดหวงโซอุปทานมีรายได้เพิ่มขึ้นและชวยเพิ่มสภาพคลองทางการเงิน เป็นการสนับสนุนเศรษฐกิจฐานรากและ ฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศ 15 โดยมีสํานักงานเศรษฐกิจการคลังรับหน้าที่เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการดําเนินงานวางแผนการหลัก ของโครงการ และสรางความรวมมือกับธนาคารกรุงไทย ที่มุงสรางโครงสรางพื้นฐานการทํางานดานดิจิทัล ผลักดันให้เกิดระบบ การทํางานและชําระเงินออนไลนที่ตอบโจทยต่อโครงการ อีกทั้ง ความรวมมือกับกระทรวงมหาดไทยในการเชื่อมขอมูล เพื่อตรวจสอบยืนยันสิทธิตางๆ ประกอบการให้บริการของโครงการ โครงการคนละครึ่งเป็นการรวมจายระหวางประชาชนที่เขารวมโครงการกับรัฐบาล ผู้ที่ได้รับสิทธิ์ตามโครงการต้องเป็น ประชาชนสัญชาติไทยที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปขึ้นไป จํานวนไม่เกิน 15 ลานคน โดยโครงการแบงเป็น 4 ระยะ 16 ได้แก โครงการคนละครึ่ง ระยะที่ 1 และระยะที่ 2 มีประชาชนใชจายรวม 102,065 ลานบาท ใชสิทธิสะสม 14.79 ลานคน และมีผู้ประกอบการเขารวม โครงการกวา 1.14 ลานรานคา ในระยะที่ 3 มียอดรวมคาใชจายรวม 223,921.8 ลานบาท มีประชาชนใชสิทธิเพิ่มขึ้น รวมสะสม เป็น 26.53 ลานคน และมีผู้ประกอบการรานคาลงทะเบียนเขารวม 1.31 ลานรานคา และในสวนโครงการระยะที่ 4 ยอดใชจาย รวมเป็น 61,835.1 ลานบาท ประชาชนใชสิทธิ 26.27 ลานคน และมีรานคาลงทะเบียนกวา 1.36 ลานรานคา ทั้งนี้ โครงการคนละ ครึ่งได้สรางการใชจายภายในประเทศให้สามารถกระจายตัวทั่วทุกภูมิภาค และทุกจังหวัด และสงผลให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ รอยละ 0.32 0.79 และ 0.19 สําหรับระยะที่ 1-2 ระยะที่ 3 และระยะที่ 4 ตามลําดับ ปจจัยแห่งความสําเร็จของโครงการคนละครึ่ง คือ นโยบายที่ชัดเจนของรัฐบาลในการชวยเหลือและพยุงเศรษฐกิจ จากการใชจายภายในประเทศ โดยยึดหลักการพัฒนาบริการที่ตรงกับความต้องการของประชาชนเป็นสําคัญ (Citizen Centric) รวมถึงความรวมมือและพรอมใจกันของหนวยงานภาครัฐในการปฏิบัติตามนโยบาย ถือเป็นสวนสําคัญของโครงการที่ผลักดันให้ เกิดได้ขึ้นจริง นอกจากนี้ การออกแบบและพัฒนาบริการดิจิทัลที่ใชงานงาย สะดวก คลองตัว สอดคลองกับยุคดิจิทัล ทําให้บริการ คนละครึ่งได้รับความนิยมอยางมากจากประชาชน นอกจากนี้ ยังมีหนวยงานภาครัฐที่ปรับเปลี่ยนกระบวนงานและการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัลจนประสบ ความสําเร็จและเป็นที่ยอมรับในวงกวาง อาทิเชน บริการออนไลนสําหรับนิติบุคคลแบบครบวงจรของกรมพัฒนาธุรกิจการคา การให้บริการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสและการชําระภาษีผานอินเทอรเน็ต (Excise Smart Service) ของกรมสรรพสามิต การสรางหลัก ประกันดานสุขภาพให้กับคนไทยของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และ Tech2Biz ของสํานักงานคณะกรรมการสงเสริม วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://dgawards.dga.or.th/web/awards/goverment คนละครึ่ง 58

ดานบุคลากร หนวยงานระดับกรมสวนใหญมีสัดสวน บุคลากรดานเทคโนโลยีที่นอย เมื่อเปรียบเทียบกับจํานวน บุคลากรทั้งหมด ในขณะที่บุคลากรในดานเทคโนโลยีของ หนวยงานระดับจังหวัดสวนใหญเป็นเจ้าหน้าที่จากสายงาน อื่นที่ได้รับมอบหมาย รวมถึงมีเพียงสวนนอยที่มีการวัดผล หลังจบหลักสูตรการอบรม ดังนั้น อาจสงผลให้การอบรม และการให้ความรูของหนวยงานไม่ประสบความสําเร็จเทา ที่ควร นอกจากนี้ CIO ยังให้ความสําคัญต่อการเขารับ การฝกอบรมหลักสูตรสําหรับ CIO นอยกวาภารกิจอื่นๆ รวมทั้งการขาดงบประมาณและมีบุคลากรไม่เพียงพอ ทําให้ผลักดันโครงการดิจิทัลไม่สําเร็จ ดังนั้น เพื่อให้เจ้าหน้าที่ ภาครัฐมีความพรอมดานดิจิทัล จึงมีความจําเป็นอยางยิ่ง ที่ต้องสงเสริมศักยภาพและวัฒนธรรมการใชเทคโนโลยี ดิจิทัลแกบุคลากรภาครัฐ ดานขอมูล ขอมูลสําคัญของบางหนวยงานยังไม่อยู่ใน รูปแบบดิจิทัล หรือมีคุณภาพไม่เพียงพอที่จะนําไปใช ประโยชนต่อยอดได้ และแมวาที่ผานมา จะมีความพยายาม ในการพัฒนาฐานขอมูลและเชื่อมโยงขอมูลระหวางหนวย งาน เพื่อให้สามารถแบงปนขอมูลและบริการรวมกันได้ อยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม การดําเนินการดังกลาว ยังคงประสบปญหาตางๆ อาทิ รูปแบบการจัดเก็บขอมูลที่ แตกตางกันระหวางหนวยงาน การขาดแนวทางการบูรณาการ ที่เป็นมาตรฐานกลางที่มีการบังคับใชอยางเครงครัด และ การขาดการผลักดันให้เกิดการเชื่อมโยงขอมูลและบริการ ผานแพลตฟอรมกลาง เป็นตน ดังนั้น ภาครัฐควรจัดทํา กระบวนการแปลงขอมูลไปสูรูปแบบดิจิทัล (Digitization) ที่ไม่ซับซอน มีเครื่องมือสนับสนุนที่หนวยงานสามารถนํา ไปใชงานได้ กําหนดแนวทาง (Guideline) ในการจัดเก็บ ขอมูลตามมาตรฐานธรรมาภิบาลขอมูลของรัฐ รวมถึง กําหนดระเบียบในการจัดเก็บขอมูลใหม โดยให้มีการจัดเก็บ ในรูปแบบดิจิทัล ลดการใชเอกสาร (Paperless) ควบคู่ ไปกับการปรับปรุงฐานขอมูลเดิมที่สําคัญที่อยู่ในรูปแบบ กระดาษไปสูฐานขอมูลดิจิทัล 3.3 ปญหาและประเด็นความทาทายในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลที่ผานมา จากการศึกษากรอบแนวทางการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในตางประเทศ และการทบทวนการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของ ประเทศไทยในฉบับที่ผานมา สามารถสรุปปญหาและประเด็นความทาทายในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลที่ผานมา โดยแบง ออกเป็นดานตางๆ ได้ดังนี้ ดานบริการ บริการภาครัฐจํานวนมากยังไม่อยู่ในรูปแบบ e-service โดยยังมีหนวยงานอีกกวารอยละ 40 ที่ไม่ สามารถพัฒนาบริการดิจิทัลได้ครบถวน อีกทั้งบริการดิจิทัล สวนใหญยังไม่สามารถเชื่อมต่อกับเว็บไซต์ที่เป็น One-Stop Service เพื่อให้บริการ ณ จุดเดียวได้ ดังนั้น ภาครัฐควร สงเสริมและผลักดันหนวยงานที่มีสัดสวนบริการดิจิทัลต่ํา ให้เรงพัฒนาบริการ รวมถึงกําหนดมาตรฐานการให้บริการ ของรัฐ ที่จะต้องมีกระบวนการพื้นฐานที่ได้มาตรฐานขั้นต่ํา ที่สามารถกอให้เกิดบริการของรัฐที่สะดวกสบายแกผู้ใช บริการได้ ดานการเปดเผยและมีสวนรวม การเปดเผยขอมูลภาครัฐ ผานแพลตฟอรมกลางยังไม่มากเทาที่ควร และขอมูลที่ เปดเผยสวนใหญอยู่ในรูปแบบไฟลขั้นพื้นฐานที่ไม่สามารถ นําไปใชในการวิเคราะหเชิงลึกได้ ในขณะที่การเปดโอกาส ให้ประชาชนแสดงความคิดเห็นและตรวจสอบประสิทธิภาพ ในการทํางานของภาครัฐในบางดานยังคงจํากัด เชน กระบวนการจัดทํางบประมาณของประเทศและสวนทองถิ่น และการติดตามการแกไขเรื่องราวรองทุกขจากประชาชน เป็นตน ดังนั้น ภาครัฐต้องดําเนินการเปดเผยขอมูลแก ประชาชนโดยไม่ต้องรองขอ โดยเป็นขอมูลที่ตรงกับ ความต้องการของประชาชน ในรูปแบบที่สามารถนําไป ใชประโยชนต่อยอดได้ และเปดให้มีชองทางติดตามการทํางาน อยางโปรงใส เพื่อให้บรรลุผลสําเร็จในการสงเสริมการมี สวนรวมของประชาชน และเพิ่มความโปรงใสในการบริหาร งานภาครัฐ 59

ดานอื่นๆ ประเทศไทยยังมีความทาทายอื่นๆ ที่เกี่ยวของ กับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลที่ผานมา เชน ความเหลื่อมล้ํา ทางดิจิทัล (Digital Divide) ของผู้ใชบริการทั้งในแง ทรัพยากรและทักษะ ความไววางใจ (Trust) ที่มีต่อการให้ บริการดิจิทัล และผลกระทบจากสถานการณโควิด-19 เป็นตน ดังนั้น ภาครัฐจึงต้องดําเนินการแกไขขอทาทาย ตางๆ อยางครอบคลุม เพื่อให้การพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เกิดประโยชนสูงสุดแกทุกภาคสวนอยางแทจริง ดานงบประมาณ ภาครัฐไทยมีการจัดทําแผนและกําหนด นโยบายตางๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของ ประเทศ อยางไรก็ตาม การขาดความต่อเนื่องของการบริหาร จัดการ รวมไปถึงการจัดสรรงบประมาณอยางต่อเนื่อง เพื่อดําเนินการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานหรือจัดทําโครงการ ตามแผนตางๆ ทําให้การดําเนินการหรือการพัฒนา โครงการที่เกี่ยวกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลไม่ต่อเนื่อง และอาจต้องยุติลง ดังนั้น ภาครัฐจึงต้องมีการวางแผน งบประมาณการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลอยางมีระบบ มีการจัด ลําดับความสําคัญของผลประโยชนของโครงการตางๆ ลดคาใชจายโดยเฉพาะการลงทุนในโครงการที่ซ้ําซอนกัน เพื่อให้มีงบประมาณเพียงพอในการพัฒนาโครงการตางๆ ให้สําเร็จลุลวงและต่อเนื่อง ดานกฎหมาย การปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบให้เอื้อ ต่อการขับเคลื่อนรัฐบาลดิจิทัล เชน การเปดเผยขอมูลและ การแบงปนขอมูลระหวางหนวยงานภาครัฐ นอกจากนี้ กฎหมายและกฎระเบียบหลายฉบับที่มีความเกี่ยวของกับ การพัฒนารัฐบาลดิจิทัลยังเป็นเพียงรางกฎหมายหรือราง พระราชบัญญัติ ที่ยังไม่สามารถนํามาบังคับใชได้จริง สงผลต่อ การพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในหลายเรื่องที่อาจเกิดขึ้นได้ไม่ รวดเร็วเทาที่ควร ซึ่งปญหาดานกฎหมายที่หนวยงานภาครัฐ เผชิญมีตั้งแต่ระดับกฎหมาย กฎ ระเบียบของหนวยงาน ไปจนถึงกฎหมายที่เกี่ยวของในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ดานตางๆ อาทิ กฎหมายธุรกิจดานการยื่นคําขอและเอกสาร ผานทางชองทางอิเล็กทรอนิกส กฎหมายดานการยืนยัน ตัวตนผานระบบอิเล็กทรอนิกส เป็นตน ซึ่งสวนใหญเป็น ปญหาการตีความกฎหมาย เชน พระราชบัญญัติคุมครอง ขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. 2562 ดังนั้น ภาครัฐไทยมีความจําเป็น ต้องเรงทบทวน ปรับปรุงกระบวนการ กฎระเบียบ รวมถึง การแกไขกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนารัฐบาล ดิจิทัล หรืออาจจําเป็นต้องบัญญัติกฎหมายใหมเพื่อชวย อํานวยความสะดวกในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ควบคู่ไปกับ การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ภาครัฐให้สามารถตีความใช กฎหมายได้อยางถูกต้อง เพื่อให้การพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เป็นไปได้อยางต่อเนื่องและไม่ติดอุปสรรคดานกฎหมาย ดานโครงสรางพื้นฐานภาครัฐ ผลการสํารวจความพรอม ดานโครงสรางพื้นฐานของหนวยงานภาครัฐ ยังคงสะทอน ให้เห็นวาหนวยงานจํานวนมากมีโครงสรางพื้นฐานทางดาน ฮารดแวรและซอฟทแวรไม่เพียงพอต่อการใชงาน ในขณะที่ การจัดสรรงบประมาณดานดิจิทัลเฉลี่ยต่อหนวยงานมี แนวโนมลดลง ดังนั้น เพื่อให้การพัฒนารัฐบาลดิจิทัลภาครัฐ เป็นไปได้อยางต่อเนื่องและบรรลุผล จึงจําเป็นอยางยิ่งที่ ต้องมีการสนับสนุนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานดิจิทัล ที่หนวยงานตาง ๆ สามารถใชงานรวมกันได้ รวมทั้งสงเสริม ขีดความสามารถดานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยใน การประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลในภาครัฐ 60

61

สาระสําคัญของแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ของประเทศไทย พ.ศ. 2566-2570 17 OECD (2020). The OECD Digital Government Policy Framework: Six dimensions of a Digital Government. Available from: https://doi.org/ 10.1787/f64fed2a-en 18 United Nations Development Programme, เปดประตูสูงานบริการดิจิทัลของรัฐบาลอังกฤษ และขอเสนอแนะดาน Digital Transformation ต่อประเทศไทย, พฤศจิกายน 2554 19 European Commission (2016). EU eGovernment Action Plan 20216-2020: Accelerating the digital transformation of government. Available from: https://eur-lex.europa.eu/legal-content/EN/TXT/?uri=CELEX%3A52016DC0179 04 วัตถุประสงค 1. เพื่อพัฒนาบริการดิจิทัลสาธารณะของรัฐที่มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ สามารถอํานวยความสะดวกในการให้บริการ และเป็นที่ยอมรับของประชาชน 2. เพื่อเป็นแนวทางสนับสนุนให้หนวยงานภาครัฐนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกตใชในการยกระดับ การบริหารจัดการและการดําเนินงานภาครัฐให้มีความยืดหยุนคลองตัว มีการบูรณาการแบบไรรอยต่อ เปดเผย โปรงใสตรวจสอบได้ และสรางการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน 3. เพื่อเป็นกรอบทิศทางให้หนวยงานภาครัฐจัดทําแผนการดําเนินงานที่สอดคลองกับพระราชบัญญัติการบริหารงาน และการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 และสรางความต่อเนื่องในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของ ประเทศไทย หลักคิดนําทาง (Guiding Principles) ของแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2570 หลักคิดนําทาง (Guiding Principles) คือ หลักคิดที่เป็นขอต่อระหวางเปาหมายหรือผลลัพธของแผนกับ การออกแบบมาตรการและกิจกรรม เพื่อกํากับให้มั่นใจวาการดําเนินการตามแผนจะเกิดผลได้จริงตามที่คาดหวัง และใช เป็นกรอบการพิจารณากลั่นกรองและจัดลําดับความสําคัญของมาตรการและกิจกรรมตางๆ รวมถึงใชกํากับการปรับปรุง มาตรการและกิจกรรมเมื่อบริบทที่เผชิญอยู่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม และใชกําหนดกรอบตัวชี้วัดให้สะทอนผลลัพธ หรือ ความสําเร็จของแผนในแต่ละเรื่องด้วย จากการศึกษาหลักคิดนําทางที่เกี่ยวของกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลจากองคกรระหวางประเทศและกรณีศึกษา การผลักดันรัฐบาลดิจิทัลในตางประเทศ อาทิ Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD) 17 , United Nations Development Programme (UNDP) 18 และสหภาพยุโรป 19 ประกอบกับ สถานการณการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย สา มารถสังเคราะหหลักคิดนําทางเพื่อเป็นแนวทางการพัฒนา ยุทธศาสตร และมาตรการตางๆ นอกจากนี้ หลักคิดนําทางยังชวยสนับสนุนการดําเนินงานให้เป็นตามเจตนารมยของ พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 สงผลให้ทิศทางของการขับเคลื่อน ของแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566-2570 ชัดเจนมากขึ้น โดยมีรายละเอียดดังนี้ 62

1 2 3 4 การใชขอมูลรวมกัน (Data Sharing) สนับสนุนให้เกิดการใชขอมูลรวมกันระหวางหนวยงานรัฐ ผานการมุงพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของการใชขอมูลรวมกัน เชน มาตรฐานขอมูล (Data Standard) แนวทางการสราง API (API Guidance) และขอตกลงการใชเทมเพลตขอมูลรวมกัน (Template Data Sharing Agreement) ซึ่งจะชวยลดอุปสรรคทางเทคนิคดานความแตกตางของระบบ รูปแบบการจัดเก็บ รวมถึงคุณภาพของขอมูล อีกทั้งต้องกําหนดแนวทางการใชขอมูลรวมกัน ระหวางหนวยงานให้ชัดเจนเพื่อลดความสับสนในการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. คุมครองขอมูล สวนบุคคล พ.ศ. 2562 โดยระบุให้ชัดเจนวาขอมูลใดถือเป็นขอมูลสวนบุคคลหรือขอมูล ที่สามารถเปดเผยใชรวมกันได้ภายใตหลักการของธรรมาภิบาลขอมูล ที่สนับสนุนการทํางาน ระหวางหนวยงานบนแพลตฟอรมกลางเดียวกัน สรางธรรมาภิบาลและการทํางานรวมกัน (Governance and Cooperation on Digital Transformation) จัดทําโครงการตนแบบ (Engagement Project) รวมกับหนวยงาน ที่เกี่ยวของ เพื่อสรางโอเพนซอรสเครื่องมือดิจิทัล (Digital Tools Open Source) หรือ โครงสรางพื้นฐานรวม ให้หนวยงานอื่น สามารถนําโอเพนซอรสเครื่องมือดิจิทัลไปใชพัฒนางาน บริการภาครัฐของหนวยงานตนเอง แล้วจึงนําระบบงานบริการของแต่ละหนวยงานมาเชื่อมต่อกัน ในภายหลังโดยไม่จําเป็นต้องสราง single website domain ขึ้นมากอน ซึ่งชวยประหยัด ตนทุนการพัฒนาบริการของรัฐและกอให้เกิดมาตรฐานของระบบบริการ อีกทั้งยังกระตุนให้ หนวยงานเกิดความรูสึกรวมในการเป็นเจ้าของ (Sense of Ownership) และรวมเป็น สวนหนึ่งของการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศ ให้บริการสาธารณะด้วยชองทางดิจิทัลอยางเต็มรูปแบบและมีประสิทธิภาพ (Digital by Default) พัฒนาบริการดิจิทัลตั้งแต่กระบวนการตนทางให้สะดวกและใชงานงายสําหรับประชาชน ทุกกลุ่ม โดยไม่ทอดทิ้งผู้ที่ยังไม่สามารถเขาถึงบริการ หรือผู้ที่ไม่สามารถใชงานได้ด้วยตนเอง เพื่อให้ชองทางดิจิทัลกลายเป็นชองทางหลักในการรับบริการและทําธุรกรรมกับภาครัฐ ผานการออกแบบบริการที่สามารถทํางานรวมกันได้ และสนับสนุนการให้บริการที่ครอบคลุม และหลากหลาย เชน การพิจารณาอนุมัติ อนุญาต ออกใบอนุญาต รับจดทะเบียน รับจดแจง หรือรับแจง รวมถึง จัดให้มีระบบการพิสูจนและยืนยันตัวตนทางดิจิทัล (Digital ID) ทั้งจาก ผู้ให้และรับบริการที่ได้มาตรฐานและความปลอดภัยสูง เป็นตน หลักการครั้งเดียว (Once Only Principle) ประชาชนและภาคธุรกิจต้องสามารถเขาถึง บริการดิจิทัลภาครัฐทั้งกระบวนการได้อยางครบวงจร โดยการให้ขอมูลกับภาครัฐเพียงครั้งเดียว ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ผานการบูรณาการเชื่อมโยงขอมูลระหวางหนวยงาน เพื่อลดการขอขอมูลที่ ซ้ําซอน และลดภาระที่เกิดขึ้นกับประชาชนในการให้ขอมูลกับภาครัฐเหลือเพียงครั้งเดียว โดยอาศัยพื้นฐานสําคัญคือการจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ (Data Governance) ตาม ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ที่เป็นจุดเริ่มตนให้หนวยงานจัดทําขอมูลขององคกร ให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัลที่สอดคลองกับการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน พรอมทั้ง สามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงานได้อยางถูกต้อง ครบถวน และทันกาล 63

5 6 7 8 สามารถทํางานรวมกันได้ (Interoperability) บริการดิจิทัลของรัฐที่มีความเกี่ยวของกัน ต้องได้รับการออกแบบให้สามารถทํางานรวมกันได้อยางราบรื่น ทั้งระหวางหนวยงาน และระหวางฝ่ายตางๆ ที่เกี่ยวของในองคกรเดียวกัน ผานแพลตฟอรม ระบบ โครงสราง พื้นฐานดิจิทัล หรือเครื่องมือกลางสําหรับใชในกระบวนการสําคัญ (Microservices) เชน การเชื่อมโยงขอมูลผานศูนยกลางแลกเปลี่ยนขอมูล (GDX) การตรวจสอบและ ยืนยันตัวตนด้วยระบบ Digital ID การชําระเงินผาน e-Payment การจัดเก็บขอมูลบน ระบบคลาวดกลางภาครัฐ หรือ Government Data Center and Cloud service (GDCC) เพื่อสงเสริมให้หนวยงานภาครัฐสามารถทํางานรวมกันได้อยางมีประสิทธิภาพ และการเปดโอกาสให้สามารถทํางานรวมกับภาคเอกชนได้ด้วย เปดกวางและโปรงใส (Open and Transparent) หนวยงานภาครัฐต้องมีการแบงปน ขอมูลระหวางกัน และเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐโดยไม่ต้องรองขอ และไม่มีคาใชจาย ซึ่งประชาชนและภาคธุรกิจสามารถเขาถึงได้โดยงาย และเป็นรูปแบบขอมูลเปดที่สามารถ นําไปใชได้สะดวกบนฐานของขอมูลเปดที่อานได้ด้วยเครื่อง (Machine Readable) ผานศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ (Data.go.th) ที่เป็นเสมือนศูนยกลางการให้บริการขอมูล ดิจิทัลของภาครัฐ รวมถึงหนวยงานภาครัฐควรรวมมือกับประชาชนและภาคธุรกิจ เพื่อสงเสริมให้เกิดการมีสวนรวมในการออกแบบบริการของรัฐที่จะชวยสรางความโปรงใส และตรวจสอบการดําเนินงานของรัฐ ตลอดจนสรางการมีสวนรวมของทุกภาคสวน ทักษะดิจิทัลของบุคลากรภาครัฐ (Digital Skill) มุงขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงสูดิจิทัล ของหนวยงาน โดยการปรับปรุงขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ (Role Description) สําหรับตําแหนงดานดิจิทัลให้ชัดเจน กําหนดเสนทางความกาวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) ของตําแหนงงานดานดิจิทัล และการพัฒนาทักษะดิจิทัลรวมกับภาคเอกชน โดยอาศัยการอบรมจากหลักสูตรและสถาบันของรัฐที่ได้มาตรฐาน ทั้งการจัดอบรมผาน ระบบออนไลนและออฟไลน ซึ่งจะชวยให้หนวยงานมีบุคลากรที่มีทักษะดิจิทัลในตําแหนง และวิชาชีพที่หลากหลายมากขึ้น แกปญหาการขาดแคลนบุคลากรดานดิจิทัล อีกทั้ง ควรพัฒนาทักษะดิจิทัลของเจ้าหน้าที่รัฐไปสูระดับพื้นที่อยางทั่วถึง เพื่อกระจายการให้ บริการดิจิทัลของรัฐได้อยางครอบคลุม ขยายขีดความสามารถการให้บริการดิจิทัลของรัฐให้สามารถใชงานได้ในระยะยาว (Scale-up Public Services) ในชวงสถานการณ โควิด-19 มีบริการดิจิทัลของรัฐ จํานวนมากเกิดขึ้น และมีปริมาณผู้ใชงานสูง จึงควรพัฒนาบริการดิจิทัลดังกลาวทั้งใน ดานการพัฒนาเสนทางการให้บริการ (Journey) และโครงสรางพื้นฐานสําหรับรองรับ การให้บริการที่จะขยายตัวต่อไป ทั้งในเชิงประสิทธิภาพและความมั่นคงปลอดภัย อีกทั้ง ประเด็นดานกฎหมายกฎระเบียบที่ต้องปรับปรุงให้สอดรับกับบริบทการทํางานเชิงดิจิทัล ผานการประเมินความเหมาะสมของกฎหมาย เพื่อเพิ่มความไววางใจและความคลองตัว ในการบริหารงานและการให้บริการในระยะยาว 64

องคประกอบพื้นฐาน (Foundation) กรอบการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ในการพัฒนาสูการเป็นรัฐบาลดิจิทัลโดยสมบูรณนั้น ต้องอาศัยการพัฒนาองคประกอบตาง ๆ อยางครอบคลุม แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 – 2570 จึงได้กําหนดกรอบการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เพื่อระบุ องคประกอบสําคัญที่ต้องได้รับการพัฒนา รวมถึงภาคีรวมดําเนินการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ กรอบการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (Digital Government Framework) Portal ประชาชน ธุรกิจ ชาวตางชาติ เจ้าหน้าที่รัฐ Specific Services / Area Based- Platform ของ Services ในดานสําคัญ Common Services การศึกษา สุขภาพและการแพทย การเกษตร ความเหลื่อมล้ําทางสิทธิสวัสดิการประชาชน การสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) การมีสวนรวม โปรงใสและตรวจสอบได้ของประชาชน แรงงาน สิ่งแวดลอม ทองเที่ยว ยุติธรรม PaaS Register Verify Notify Pay Digital ID Biological ID ขอมูลสวนบุคคล หรือขอมูลดานทะเบียนคน เพื่อยืนยันตัวตน Verifiable Credentials ฐานขอมูลผู้ใชงานและขอมูลที่เกี่ยวของเฉพาะดาน 20 กระทรวง GDX / Linkage Center / NSW / DXC Foundation Policy/Standard / Regulation Privacy & Cybersecurity Digital Capability Infrastructure Partners by Specific Area สนับสนุนการบูรณาการ ความรวมมือระหวางหนวยงานรัฐ ในแต่ละดานสําคัญ (Focus Area) Key Partners Government International & Private Agencies รัฐบาลดิจิทัลจะต้องมีองคประกอบพื้นฐาน ได้แก 1) กฎระเบียบและนโยบาย (Policy and Regulation) ที่เกี่ยวของกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล อาทิเชน พ.ร.บ. การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 ที่กําหนดกระบวนการบริหารงานและให้บริการของรัฐให้มีความสะดวก ทันสมัย เป็นดิจิทัลมากขึ้น รวมทั้ง มาตรฐาน (Standard) ที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานดานรัฐบาลดิจิทัล 2) ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร (Cybersecurity) รวมถึง ความเป็นสวนตัวของขอมูล (Privacy) ผานกฎระเบียบควบคุมดูแลขอมูลสวนบุคคล การเฝาระวังและเตือนภัยคุกคาม ไซเบอร 3) ทักษะและสมรรถนะดานดิจิทัล (Digital Capability) ของบุคลากรรัฐ ผานศูนยฝกอบรมทักษะดิจิทัลในทุกระดับ การรับรองคุณภาพหลักสูตรสมรรถนะดิจิทัลของรัฐ 4) โครงสรางพื้นฐานดานกายภาพ (Infrastructure) อาทิ ระบบคลาวด กลางที่มีความมั่นคง โครงขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูงที่ครอบคลุมและปลอดภัย 65

บริการพื้นฐาน (Common Services) ขอมูล (Data) ฐานขอมูลผู้ใชงานและขอมูลที่เกี่ยวของเฉพาะดาน มาจากฐานขอมูลของหนวยงานรัฐ ในแต่ละดานทั้ง 20 กระทรวง ที่จะต้องมีการปรับปรุงขอมูลสําคัญที่เกี่ยวของกับการให้บริการประชาชนให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล (Digitize Data) ที่มีมาตรฐานและธรรมาภิบาลขอมูลเพื่อให้สามารถเชื่อมโยงและเรียกใชงานระหวางกันได้อยางไรรอยต่อ ทั้งนี้ ยังมีขอมูล กลางที่สําคัญ ได้แก ขอมูลสวนบุคคล หรือขอมูลดานทะเบียนคนเพื่อยืนยันตัวตน จากกระทรวงมหาดไทย หรือหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อใชยืนยันตัวตนในการเขาถึงบริการเพียงครั้งเดียว (Once Only Principle) เชน ขอมูลประจําตัวที่ตรวจสอบได้ (ตัวอยางเชน บัตรประจําตัวประชาชน หนังสือเดินทาง ใบอนุญาตขับขี่ เป็นตน) ขอมูล Digital ID และBiological ID เป็นตน โดยขอมูลตางๆ ดังกลาวขางตน จะถูกเรียกดูหรือนําไปใชประโยชนเพื่อให้บริการประชาชน ผานศูนยกลาง แลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ (Government Data Exchange หรือ GDX) เพื่ออํานวยความสะดวกแกประชาชนและ ภาคเอกชนเมื่อใชบริการ ชวยให้หนวยงานภาครัฐไม่ต้องเรียกสําเนาเอกสารจากผู้รับบริการ และ Linkage Center เป็นระบบการเชื่อมโยงฐานขอมูลประชาชนของทุกสวนราชการกับฐานขอมูลทะเบียนราษฎรเพื่อให้เป็นระบบเดียวกัน สามารถใชตรวจสอบยืนยันตัวตนและคุณสมบัติของผู้รับบริการแทนการเรียกสําเนา รัฐบาลดิจิทัลจําเป็นต้องมีการให้บริการพื้นฐาน (Common Services) ในลักษณะที่เป็นแพลตฟอรม (Platform as a Service: PaaS) ให้บริการสําคัญที่เป็น แกนในการทํางานให้แกรัฐบาล และให้บริการอยางนอยเป็นขั้นพื้นฐานให้ประชาชน (Core Services for Government & Basic Services for Citizen) โดยบริการดิจิทัล พื้นฐานสําคัญที่หนวยงานรัฐสามารถใชงานรวมกันในรูปแบบบริการกลาง ได้แก • การจัดทําแบบคําขอและยื่นคําขอ (Register) ที่เป็นบริการตรวจสอบความถูกต้อง กับการกรอกแบบคําขอที่ครบถวนตามมาตรฐานที่สอดคลองกับแนวปฏิบัติของ หนวยงานรัฐ • การแจงเตือน (Notify) เพื่อแจงเตือนผู้รับบริการให้สามารถติดตามสถานะคําขอ การตรวจสอบการพิจารณาคําขอ การอนุมัติคําขอ และการออกใบอนุญาตตางๆ • การพิสูจนและยืนยันตัวตน (Verify) เชน ระบบ Digital ID เป็นระบบพิสูจนและ ยืนยันตัวตนทางดิจิทัล (Digital ID) ทําหน้าที่ในการตรวจสอบการเขาใชงานระบบ ตางๆ รวมถึงเทคโนโลยี OpenID ที่จะทําให้ผู้ใชงานสามารถเขาใชงานระบบตางๆ ได้ พรอมทั้งมีการเขาใชงานระบบตาง ๆ แบบ Single Sign-On ที่รองรับการลงชื่อ เขาใชงานระบบครั้งเดียว โดยสามารถเขาใชงานหลายระบบได้ แบบไม่ต้องลงชื่อ เขาใชงานซ้ําอีก • การชําระคาธรรมเนียม (Pay) เชน ระบบ National e-payment เป็นระบบ การชําระเงินของประเทศ ที่พัฒนามาตั้งแต่ป 2558 ซึ่งพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน การชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกสหรือระบบพรอมเพยที่เอื้อให้การโอนเงินและ ชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ทําได้ “ถูก งาย สะดวก ปลอดภัย และได้มาตรฐาน” 66

บริการแบบเฉพาะเจาะจง (Specific Services) การให้บริการแบบเฉพาะเจาะจง (Specific Services) มุงเนนที่การให้บริการที่ตอบสนองต่อบทบาทหน้าที่ (Functions) ของรัฐบาลดิจิทัล และดานที่เนนความสําคัญ (Focus Area) 10 ดาน ได้แก 1) การศึกษา 2) สุขภาพและ การแพทย 3) การเกษตร 4) ความเหลื่อมล้ําทางสิทธิสวัสดิการประชาชน 5) การมีสวนรวม โปรงใสและตรวจสอบได้ ของประชาชน 6) การสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) 7) สิ่งแวดลอม 8) แรงงาน 9) ทองเที่ยว และ 10) ยุติธรรม พอรทัลกลาง (Portal) การพัฒนาระบบกลางของประเทศที่รวบรวมงานบริการภาครัฐ โดยมีจุดประสงคเพื่อสนับสนุนการเชื่อมโยง บริการดิจิทัลของหนวยงานภาครัฐให้เกิดบริการแบบเบ็ดเสร็จ เพื่ออํานวยความสะดวกแกผู้รับบริการกลุ่มตางๆ โดย แบงออกเป็น 4 กลุ่มสําคัญ ได้แก ประชาชน ภาคธุรกิจ ชาวตางชาติ และภาครัฐ ซึ่งแต่ละกลุ่มมีความต้องการในการเขาถึง การบริการขอมูล และติดตามการทํางานของภาครัฐที่แตกตางกัน ภาคีรวมดําเนินการ (Partners/Owners) กลุ่มภาคีหลัก (Key Partners) กลุ่มหนวยงานที่มีบทบาทในการรวมพัฒนาการให้บริการรัฐบาลดิจิทัลในภาพ รวมของทั้งรัฐบาล ได้แก กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดศ.) สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ (สศช.) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สํานักงาน ก.พ.ร.) สํานักงานคณะกรรมการขาราชการ พลเรือน (สํานักงาน ก.พ.) กรมบัญชีกลาง (บก.) กรมการปกครอง (ปค.) สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ (สดช.) สํานักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแห่งชาติ (สกมช.) สํานักงบประมาณ (สงป.) และสํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (สพธอ.) กลุ่มภาคีรวมดําเนินการในรายประเด็นสําคัญ (Partners in Prioritized 10 Focus Areas) ประกอบด้วย หนวยงานหลักที่มีบทบาทผลักดันการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลดานที่เนนความสําคัญ (Focus Area) 10 ดาน 67

แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2570 แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 – 2570 “บริการภาครัฐสะดวก โปรงใส ทันสมัย ตอบโจทยประชาชน” เพิ่มความสามารถและศักยภาพ ในการแขงขันของภาคธุรกิจ (Enhance Competitiveness) โปรงใส เปดเผยขอมูล ประชาชนเชื่อถือและมีสวนรวม (Open Government & Trust) ภาครัฐที่ปรับตัวทันการณ (Agile Government) ให้บริการที่ตอบสนองประชาชน และลดความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงบริการ (Responsive Government) ความพึงพอใจของประชาชนต่อการใชบริการออนไลนภาครัฐไม่นอยกวารอยละ 85 อันดับดัชนี EGDI ของไทย ไม่ต่ํากวาอันดับที่ 40 พัฒนาบริการที่สะดวกและเขาถึงงาย สรางมูลคาเพิ่มและอํานวยความสะดวกแกภาคธุรกิจ สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐ 2 ยกระดับการเปลี่ยนผานดิจิทัลภาครัฐ เพื่อการบริหารงานที่ยืดหยุน คลองตัว และขยายสูหนวยงานภาครัฐระดับทองถิ่น 1 3 4 การเกษตร การสงเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) การมีสวนรวม โปรงใส และ ตรวจสอบได้ของประชาชน การยุติธรรม ความเหลื่อมล้ําทางสิทธิ สวัสดิการประชาชน สุขภาพ และการแพทย แรงงาน ทองเที่ยว สิ่งแวดลอม • พัฒนาและปรับปรุงบริการภาครัฐให Œ อยู่ในรูปแบบออนไลน (Online Service) โดยยึดหลักประชาชนเป š นศูนยกลาง (Citizen Centric) ที่ประชาชนทุกกลุ ‹ ม สามารถเขาถึงและใชได้งาย (Equality) • พัฒนาการให Œ บริการดิจิทัลครบวงจรแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (One-Stop Service) • สรางแพลตฟอรมการจัดบริการแบบบูรณาการและบริการดิจิทัลภาครัฐ • พัฒนาบริการที่เฉพาะเจาะจงรายบุคคล (Personalized Service Delivery) • วิจัยและพัฒนานวัตกรรมบริการดิจิทัลภาครัฐเพื่อยกระดับบริการดิจิทัล (Innovative Services/Platform) • สนับสนุนให้พัฒนาบริการออนไลนและแพลตฟอรมดิจิทัล หรือเชื่อมโยงแพลตฟอรม ดิจิทัลภาครัฐ ที่เอื้อต่อการดําเนินธุรกรรมดิจิทัลและครอบคลุมการพัฒนาธุรกิจ ตลอดหวงโซมูลคา (End-to-End Service Platform) • ทบทวน ปรับปรุง กระบวนการที่เป็นอุปสรรคต่อผู้ประกอบการในการดําเนินธุรกิจ • มีเครื่องมือดิจิทัลหรือระบบงานให้แกผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มโอกาสในการแขงขัน • พัฒนากลไกการตรวจสอบการดําเนินงานภาครัฐ เพื่อให้เกิดความโปรงใส • จัดให้มีชองทางรับฟงความคิดเห็นในการกําหนดนโยบาย กฎหมาย กฎระเบียบ และสงเสริมการนําความเห็นประชาชนไปสูการพัฒนาบริการจริงรายพื้นที่ • จัดให้มีการเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐในรูปแบบขอมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ ของหนวยงานภาครัฐ Common Services Foundation การศึกษา วิสัยทัศน เปาหมาย ตัวชี้วัดแผนฯ ยุทธศาสตร • กําหนดมาตรฐานและแนวทางการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล • พัฒนาขอมูลตามหลักธรรมาภิบาลขอมูล การบูรณาการขอมูลและสงเสริมการใชงานขอมูล Big Data เพื่อจัดทํานโยบาย • จัดให้มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลดิจิทัลระหวางหนวยงานของรัฐผานศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลาง • พัฒนาแพลตฟอรมกลางและโครงสรางพื้นฐานดานดิจิทัลสําหรับหนวยงานภาครัฐให้สามารถทํางาน ได้อยางต่อเนื่อง (Seamless) • การสรางชุดบริการดานดิจิทัลทั่วไปสําหรับหนวยงานภาครัฐ • ปรับปรุงขั้นตอนการดําเนินงาน ลด ละ เลิกการขอสําเนาเอกสารจากประชาชน (Re-Engineering Process และ Digitalize Process) • ทบทวน ปรับปรุง และพัฒนากฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการที่เอื้อต่อการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล • การยกระดับทักษะดานดิจิทัล และวัฒนธรรมการใชเทคโนโลยีดิจิทัลของบุคลากรภาครัฐ • สงเสริมความรวมมือระหวางรัฐและเอกชนในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 68

วิสัยทัศนการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย “บริการภาครัฐสะดวก โปรงใส ทันสมัย ตอบโจทยประชาชน” • บริการภาครัฐที่สะดวก รัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยจะต้องให้บริการที่สะดวกแกผู้ใชงาน ขั้นตอนเรียบงาย ครบถวน ไม่ซับซอน เสียคาใชจายนอย ไม่มีขอจํากัดของเวลา และสถานที่ • บริการภาครัฐที่โปรงใส รัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยจะต้องให้บริการที่โปรงใส ตรวจสอบขอมูลและการทํางาน ของรัฐได้ รวมทั้งรองรับความเห็นจากผู้มีสวนได้สวนเสีย • บริการภาครัฐที่ทันสมัย รัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยจะต้องบูรณาการขอมูลและบริการระหวางหนวยงาน ภาครัฐนํานวัตกรรม เทคโนโลยี ขอมูลขนาดใหญมาพัฒนาบริการดิจิทัลที่เทาทันต่อเหตุการณความต้องการของ ประชาชนและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไปอยางรวดเร็ว มีขีดสมรรถนะสูง สามารถปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ มีความคุมคา เทียบได้กับมาตรฐานสากล • บริการภาครัฐที่ตอบโจทยประชาชน รัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย จะต้องให้บริการที่เขาถึงประชาชนทุกกลุ่ม อยางทั่วถึงและสนองตอบความต้องการของประชาชนทุกกลุ่ม ในการยกระดับขีดความสามารถเชิงดิจิทัลของภาครัฐไทยสูการเป็นรัฐบาลดิจิทัล ดังวิสัยทัศนที่กําหนดไวนั้น ต้องอยู่บนพื้นฐานของการดําเนินการ 4 ประการ ได้แก โดยรายละเอียดของแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2570 มีรายละเอียด ดังนี้ 69

เพิ่มความสามารถและศักยภาพในการแขงขันของ ภาคธุรกิจ (Enhance Competitiveness) การยกระดับงานบริการภาครัฐให้ตรงกับความต้องการ ของผู้ประกอบการและภาคธุรกิจ ให้สามารถเขาถึง บริการและแพลตฟอรมดิจิทัลภาครัฐตลอดกระบวนการ ตั้งแต่ตนจนจบ (End-to-End Process) และเป็นแบบ ครบวงจร ณ จุดเดียว (One-Stop Service) รวมถึง การให้ขอมูลที่เอื้ออํานวยต่อ การเติบโตและการแขงขัน ของภาคธุรกิจของประเทศในดานสําคัญ เชน การเกษตร การสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) แรงงาน และการทองเที่ยว เป็นตน ให้บริการที่ตอบสนองประชาชน และลดความเหลื่อมล้ํา ในการเขาถึงบริการ (Responsive Government) การให้บริการและแพลตฟอรมดิจิทัลภาครัฐที่ประชาชน ทุกกลุ่มทั่วประเทศสามารถเขาถึงและใชประโยชนได้ อยางเทาเทียมกัน ลดความเหลื่อมล้ําในสังคมในการเขา ถึงบริการและสิทธิสวัสดิการ และไม่ทิ้งใครไวขางหลัง โดยเฉพาะประชาชนในกลุ่มเปราะบาง ทั้งนี้ การให้ บริการดิจิทัลภาครัฐจะต้องงาย สะดวก รวดเร็ว มีคุณภาพสูง มีความนาเชื่อถือ ยืดหยุน มีความมั่นคง ปลอดภัยจากการคุุกคามทางไซเบอร และยึดหลัก ประชาชนเป็นศูนยกลาง (Citizen Centric) ภาครัฐที่ปรับตัวทันการณ (Agile Government) การบูรณาการระหวางหนวยงานรัฐทั้งภายในกระทรวง และระหวางกระทรวง ที่มีการเชื่อมโยงขอมูลระหวาง หนวยงานบนมาตรฐานเดียวกัน การควบรวมบริการที่ คลายกัน ไปจนถึงการลดขั้นตอนการดําเนินงานที่ซ้ํา ซอน เพื่อให้ภาครัฐสามารถปรับตัวได้ไว ทันเวลา ผาน การบูรณาการขอมูลและบริการดิจิทัลระหวางหนวยงาน ภาครัฐ ทันต่อเหตุการณและความต้องการของผู้รับ บริการ และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไปอยางรวดเร็ว โปรงใส เปดเผยขอมูล ประชาชนเชื่อถือและมีสวนรวม (Open Government & Trust) การเปดเผยขอมูลแกสาธารณะโดยที่ประชาชนไม่ต้อง รองขอ (Open by Default) และจัดสรางชองทาง ที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพสําหรับให้ประชาชน เขาถึงขอมูลและมีสวนรวม ทั้งการแสดงความคิดเห็น เสนอแนะ ติดตาม และตรวจสอบภาครัฐในดานตางๆ อาทิ นโยบายสาธารณะ การบริหารราชการแผนดิน กระบวนการยุติธรรม การจัดซื้อจัดจาง กระบวนการ งบประมาณ เป็นตน เพื่อให้เกิดความโปรงใสใน การดําเนินงานของรัฐบาล และเสริมสรางชุมชนและ สังคมที่เขมแข็งผานการมีสวนรวมของประชาชน (Public Participation - Strong from the Bottom) 70

เปาหมาย และตัวชี้วัดความสําเร็จของ แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566-2570 เปาหมาย • ภาครัฐที่ปรับตัวทันการณ • ให้บริการที่ตอบสนองประชาชน และลดความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงบริการ • เพิ่มความสามารถและศักยภาพในการแขงขันของภาคธุรกิจ • โปรงใส เปดเผยขอมูล ประชาชนเชื่อถือและมีสวนรวม ตัวชี้วัดความสําเร็จ • ระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการใชบริการออนไลนภาครัฐ • อันดับดัชนีรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (EGDI) ของไทย คาเปาหมาย • ภายในป 2570 ระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการใชบริการออนไลนภาครัฐไม่นอยกวารอยละ 85 • ภายในป 2570 อันดับดัชนีรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (EGDI) ของไทย ไม่ต่ํากวาอันดับที่ 40 ของโลก ยุทธศาสตรการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ภายใตแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2570 ประกอบด้วยประเด็น ยุทธศาสตร 4 ยุทธศาสตร โดยในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร ประกอบด้วย เปาหมาย ตัวชี้วัด และคาเปาหมาย (รายละเอียดปรากฏตามภาคผนวก 3) มาตรการการพัฒนาขีดความสามารถเชิงดิจิทัล ดานที่เนนความสําคัญ และโครงการสําคัญ (รายละเอียดปรากฏตามภาคผนวก 4) และการติดตามและประเมินผล โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 71

72

ยุทธศาสตรที่ 1 : ยกระดับการเปลี่ยนผานดิจิทัลภาครัฐ เพื่อการบริหารงานที่ยืดหยุน คลองตัว และขยายสูหนวยงานภาครัฐระดับทองถิ่น เปาหมาย 1. ภาครัฐดําเนินการจัดทําขอมูลตามกรอบธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ 2. ภาครัฐดําเนินการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน ผานศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลาง 3. ภาครัฐมีกระบวนการทํางานที่เป็นดิจิทัลอยางเต็มรูปแบบ 4. มีชุดเทคโนโลยีและบริการกลางที่มีมาตรฐาน สําหรับการให้บริการของรัฐ 5. บุคลากรรัฐได้รับการอบรมและมีทักษะดานดิจิทัลอยางทั่วถึงและต่อเนื่อง ตัวชี้วัดและคาเปาหมาย 1. ภายในป 2570 รอยละของหนวยงานรัฐที่จัดทําขอมูลตามกรอบธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ คิดเป็นรอยละ 100 2. ภายในป 2570 รอยละความสําเร็จของการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลในดานสําคัญ คิดเป็นรอยละ 100 3. ภายในป 2570 รอยละของหนวยงานที่ดําเนินการตามวิธีปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส คิดเป็นรอยละ 100 4. ภายในป 2567 รอยละความสําเร็จของระบบกลางหรือแอปพลิเคชันสนับสนุนกลาง (Shared Application Enabling Services) คิดเป็นรอยละ 100 5. ภายในป 2570 รอยละของบุคลากรภาครัฐดานไอทีหรือปฏิบัติงานดานดิจิทัลของทุกหนวยงาน มีความรู และ ทักษะดิจิทัลรองรับการเปลี่ยนผานองคกรสูรัฐบาลดิจิทัล ไม่นอยกวารอยละ 90 มาตรการ 1) กําหนดมาตรฐานและแนวทางการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เพื่อเป็นหลักการและ แนวทางในการดําเนินงานรวมกัน ทั้งระหวางหนวยงานรัฐต่อรัฐ และรัฐต่อเอกชน และสรางความสามารถใน การทํางานรวมกันระหวางระบบ (Interoperability) ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลและสอดคลองกับการพัฒนารัฐบาล ดิจิทัลของประเทศ 1.1) สพร. พัฒนาหรือทบทวนมาตรฐาน หลักเกณฑและแนวทางการปฏิบัติงานดิจิทัลในดานตางๆ ได้แก ธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ การเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐ กระบวนการหรือการดําเนินงานทางดิจิทัล และ การเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลดิจิทัล รวมถึงความมั่นคงปลอดภัยและความนาเชื่อถือ ตามแนวทางการพัฒนา มาตรฐานที่คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกําหนด (รายชื่อมาตรฐานที่สําคัญปรากฏตามภาคผนวก 1) 1.2) สพร. นําเสนอมาตรฐานดานดิจิทัลต่อคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เพื่อพิจารณาให้ ความเห็นชอบและประกาศใชให้หนวยงานของรัฐดําเนินการตามมาตรฐานเป็นไปในทิศทางเดียวกันและสามารถ ทํางานรวมกันได้อยางเป็นระบบ 1.3) สถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐดานดิจิทัลของ สพร. รวมกับหนวยงานสวนกลางที่เกี่ยวของ พัฒนาหลักสูตรเพื่อยกระดับทักษะบุคลากรภาครัฐให้มีความรูความเขาใจในดานมาตรฐานตางๆ ของรัฐบาลดิจิทัล 73

  1. พัฒนาขอมูลตามหลักธรรมาภิบาลขอมูล การบูรณาการขอมูล และสงเสริมการใชงานขอมูล Big Data เพื่อจัดทํานโยบาย เรงพัฒนาขอมูลภาครัฐให้พรอมต่อการใชประโยชนอันจะชวยสนับสนุน การตัดสินใจเชิงนโยบาย การดําเนินงาน การกํากับ ติดตาม การบริหารจัดการ และการบริการภาครัฐให้เป็นไปบนพื้นฐานขอมูลที่เหมาะสมกับสถานการณของประเทศ 2.1) คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลพัฒนา/ปรับปรุงและประกาศธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐเพื่อเป็นหลักการ และแนวทางในการดําเนินการของหนวยงานภาครัฐ 2.2) คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลวางระเบียบในกรณีหนวยงานของรัฐจะจัดทําขอมูลดิจิทัล หากมีหนวยงานของ รัฐแห่งอื่นซึ่งมีหน้าที่และอํานาจจัดทําหรือรวบรวมขอมูลดิจิทัลแล้วไม่วาทั้งหมดหรือบางสวน ให้หนวยงานของรัฐดังกลาวจัดให้มี การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลดิจิทัล โดยไม่จําต้องจัดทําขอมูลขึ้นใหม 2.3) สพร. จัดทํานโยบายและมาตรฐานดานขอมูล อาทิ Data Management, Data Quality, Data Sharing, Data Exchange, Master Data เป็นตน 2.4) สพร. และหนวยงานกลางขับเคลื่อนและขยายผลการจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐให้เกิดการรับรู และปฏิบัติจริง ในวงกวาง 2.5) สพร. ปรับปรุงเนื้อหามาตรฐานให้เขาใจได้งายมากขึ้น พรอมจัดทําคู่มือประกอบการดําเนินงานดานธรรมาภิบาล ขอมูลที่หนวยงานของรัฐสามารถนําไปปฏิบัติได้จริง พรอมทั้งจัดให้มีเครื่องมือหรือมาตรการอํานวยความสะดวกให้กับหนวยงาน ภาครัฐ เพื่อสงเสริมให้เกิดการจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐในระดับหนวยงาน 2.6) สถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐดานดิจิทัลของ สพร. รวมกับหนวยงานสวนกลางที่เกี่ยวของพัฒนาหลักสูตร เพื่อยกระดับทักษะบุคลากรภาครัฐให้มีความรูความเขาในดานธรรมาภิบาลขอมูล 2.7) หนวยงานของรัฐจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐในระดับหนวยงาน ตามธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ ให้เป็นไปตาม มาตรฐานและหลักเกณฑที่คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกําหนด 2.8) สพร. ประเมินผลการดําเนินงานตามแผน นโยบาย และแนวปฏิบัติธรรมาภิบาลขอมูล อยางนอยปละหนึ่งครั้ง 3) จัดให้มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลดิจิทัลระหวางหนวยงานของรัฐผานศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลาง เพื่อให้เกิด การบูรณาการขอมูลภาครัฐ ลดการขอขอมูลซ้ําซอน และไม่ต้องใชเอกสารรูปแบบกระดาษ 3.1) คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกําหนดให้มีมาตรฐาน หลักเกณฑหรือและขอตกลงกลางในการเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนขอมูล และการดําเนินงานรวมกัน ทั้งระหวางหนวยงานรัฐต่อรัฐ และรัฐต่อเอกชน เพื่อสรางความสามารถในการทํางาน รวมกันระหวางระบบ (Interoperability) 3.2) หนวยงานของรัฐที่ให้บริการประชาชนและจําเป็นต้องใชขอมูลที่หนวยงานของรัฐแห่งอื่นจัดทําหรือเป็นเจ้าของ ขอมูลและประกาศไวที่ศูนยกลางแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ (Government Data Exchange Center หรือ GDX) ดําเนินการเชื่อมต่อ และแลกเปลี่ยนขอมูลผานศูนยกลางแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ ตามประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเรื่อง มาตรฐานและ หลักเกณฑการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลดิจิทัลวาด้วยเรื่อง กรอบแนวทางการพัฒนามาตรฐานการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยน ขอมูลภาครัฐ โดยไม่จําเป็นต้องจัดทําบันทึกขอตกลง (MOU) กับหนวยงานเจ้าของขอมูลอีกครั้ง 1.4) สพร. สรางเครื่องมือ อาทิเชน เครื่องมือประมวลผลอัตโนมัติสําหรับการประเมินความเสี่ยงเพื่อใชในการ พิสูจนและยืนยันตัวตน สําหรับบริการภาครัฐ เพื่ออํานวยความสะดวกให้หนวยงานภาครัฐสามารถปฏิบัติตามมาตรฐานตางๆ ได้งายมากยิ่งขึ้น 1.5) สพร. สงเสริมให้มีการจัดทํา Sandbox เพื่อทดสอบการใชมาตรฐานกอนการประกาศใชจริง พรอมขยาย ความรวมมือกับหนวยงานนํารอง 1.6) สพร. ประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานรัฐที่ดําเนินงานตามมาตรฐานหรือแนวทางการปฏิบัติงาน เพื่อนํามาปรับปรุงหลักการของมาตรฐานให้มีความเป็นปจจุบันและสามารถประยุกตใชได้จริง 74

47 4) พัฒนาแพลตฟอรมกลางและโครงสรางพื้นฐานดานดิจิทัลสําหรับหนวยงานภาครัฐให้สามารถทํางานได้อยางต่อเนื่อง (Seamless) โดยจัดให้มีแพลตฟอรมการจัดการบริการแบบบูรณาการและบริการดิจิทัลภาครัฐที่มีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานสากลมีความมั่นคง ปลอดภัยและนาเชื่อถือ ทํางานได้ราบรื่นและสอดคลองกับความจําเป็น ความต้องการพื้นฐานของประชาชน ชุมชน และภาคธุรกิจบน Government Cloud Service หรือ Public Cloud ในอนาคต โดยหนวยงานสวนกลาง ประกอบด้วย กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแห่งชาติ สํานักงานคณะกรรมการคุมครอง ขอมูลสวนบุคคล สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส และ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ดําเนินการดังนี้ 4.1) จัดหาหรือพัฒนาบริการและแพลตฟอรมกลาง และโครงสรางพื้นฐานดานดิจิทัลที่เหมาะสมกับหนวยงาน ผู้ใชงานให้สามารถดําเนินงานรวมกันได้ ได้แก แพลตฟอรมการเปดเผยขอมูลเปด แพลตฟอรมเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลกลาง แพลตฟอรมกลางที่อํานวยความสะดวกแกประชาชน ภาคธุรกิจ และชาวตางชาติ ในการเขาถึงและรับบริการจากหนวยงานภาครัฐ ระบบเครือขายสื่อสารขอมูลเชื่อมโยงหนวยงานภาครัฐ (Government Information Network : GIN) การพัฒนาดานความมั่นคง ของโครงสรางพื้นฐานดิจิทัลภาครัฐ (DG-LINK) ระบบคลาวดกลางภาครัฐ (GDCC) เป็นตน 4.2) จัดให้มีมาตรการและเครื่องมือในการปองกันหรือรับมือกับภัยคุกคามหรือความเสี่ยงทางไซเบอร เพื่อรักษา ความมั่นคงปลอดภัยบริการดิจิทัลหรือระบบคอมพิวเตอรภาครัฐ รวมถึงการปกปองคุมครองขอมูลความเป็นสวนตัวของประชาชน ที่มีความพรอมใชและนาเชื่อถือ 4.3) ประกาศ/เผยแพร/ประชาสัมพันธให้หนวยงานรัฐเพื่อนําไปใชงานและ/หรือพัฒนาบริการประชาชนตามภารกิจ ของหนวยงาน 4.4) ติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาแพลตฟอรมกลางและโครงสรางพื้นฐาน เพื่อนํามาปรับปรุง อยางต่อเนื่อง 5) การสรางชุดบริการดานดิจิทัลทั่วไปสําหรับหนวยงานภาครัฐ เรงพัฒนาชุดบริการหรือแอปพลิเคชันสนับสนุนกลางในรูปแบบ Microservice เพื่อหนวยงานตางๆ สามารถนําไปปรับใชต่อได้โดยงาย เชน ระบบพิสูจนยืนยันตัวตนดานดิจิทัล (Digital ID) ระบบลง ทะเบียนอิเล็กทรอนิกสกลาง เพื่อรับสิทธิสวัสดิการตางๆ ระบบการแจงเตือนขาวสารหรือสิทธิสวัสดิการของประชาชน ระบบชําระเงิน อิเล็กทรอนิกส (e-Payment) ระบบสนับสนุนการให้บริการผานระบบดิจิทัล (Digital Service Microservices) ระบบสารบรรณกลาง อิเล็กทรอนิกสสําหรับหนวยงานภาครัฐ (Saraban as a Service) ระบบสื่อสารแบบรวมศูนย (Unified Communication) เป็นตน รวมถึงพัฒนามาตรฐานที่เกี่ยวกับการพัฒนาระบบบริการและบริหารจัดการภาครัฐที่ใชงานได้จริง หนวยงานสวนกลาง ประกอบด้วย กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กรมการปกครอง กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ไซเบอรแห่งชาติ สํานักงานคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส และสํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ดําเนินการดังนี้ 3.3) คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกําหนดรายชื่อชุดขอมูลหลัก (Master Data) ที่สําคัญและชื่อหนวยงาน เจ้าของขอมูล ที่จําเป็นต้องประกาศไวที่ศูนยกลางแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ เพื่อให้หนวยงานของรัฐที่ให้บริการประชาชนและจําเป็น ต้องใชขอมูลดังกลาวสามารถเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลได้ตามระเบียบของคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (รายชื่อชุดขอมูลหลักที่สําคัญ (Master Data) ปรากฏตามภาคผนวก 2) 3.4) สพร. สนับสนุนให้หนวยงานรัฐมีการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลดิจิทัลผานศูนยกลางแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐที่เป็น ไปตามมาตรฐานที่คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกําหนด 3.5) สพร. ประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานรัฐ เพื่อนํามาปรับปรุงและพัฒนาการดําเนินงานต่อไป 75

6.1) หนวยงานรัฐศึกษาสถานะปจจุบัน อุปสรรค และขั้นตอนการดําเนินงานที่เกี่ยวของกับเอกสารประเภทตางๆ และขั้นตอนที่ไม่จําเป็น 6.2) หนวยงานรัฐจัดลําดับความสําคัญของกระบวนงานที่สําคัญ และต้องได้รับการปรับปรุงเป็นอันดับแรก 6.3) สพร. รวมกับหนวยงานกลางที่เกี่ยวของพัฒนากระบวนการดําเนินงานดิจิทัลที่สามารถทํางานรวมกัน มีความสอดคลอง และสามารถเชื่อมโยงและบูรณาการขอมูลระหวางหนวยงานของรัฐ บนพื้นฐานของธรรมาภิบาลขอมูล การเปดเผยขอมูล และ การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐตามมาตรฐานและแนวทางที่คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกําหนด 6.4) หนวยงานรัฐจัดให้มีการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลหลัก (Master Data) หรือขอมูลเอกสาร/หลักฐานราชการที่ หนวยงานรัฐอื่นออกให้และประกาศไวที่ศูนยกลางแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ สําหรับประกอบการพิจารณาอนุมัติ อนุญาต ออกใบอนุญาต รับจดทะเบียน รับจดแจง หรือรับแจง โดยไม่จําเป็นต้องขอขอมูลที่ซ้ําซอนจากประชาชน 6.5) หนวยงานรัฐพัฒนาต่อยอดบริการตามภารกิจของหนวยงานจากระบบบริการกลางหรือโครงสรางพื้นฐานที่หนวยงาน กลางพัฒนาขึ้น เชน การนําระบบการพิสูจนและยืนยันตัวตนทางดิจิทัล (Digital ID) 6.6) สพร.พัฒนามาตรฐาน คู่มือ กระบวนการหรือการดําเนินงานทางดิจิทัล เชน แนวทางการปฏิบัติวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกสให้กับกระบวนการที่พบโดยทั่วไปในบริการดิจิทัลภาครัฐ (Common Process) 8 กระบวนการ และนําเสนอต่อ คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลพิจารณาประกาศใชให้สอดคลองกัน 6.7) สพร. และ/หรือหนวยงานสวนกลางนํากรณีตัวอยางการปรับกระบวนการทํางานที่เป็นดิจิทัลในหนวยงานที่ ประสบความสําเร็จ เพื่อถอดบทเรียนสูการปรับกระบวนการให้หนวยงานอื่นๆ และทองถิ่น 6.8) สพร. ประเมินผลการดําเนินงานเพื่อนํามาปรับปรุงการดําเนินงานของหนวยงานรัฐในวงกวาง 7) ทบทวน ปรับปรุง และพัฒนากฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการที่เอื้อต่อการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล โดยการทบทวนกฎหมาย กฎระเบียบมาตรการที่ไม่สอดคลองกับแนวทางการดําเนินงานในอนาคต พัฒนากฎระเบียบใหมให้ทันต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป รวบรวม ประเด็นปญหาและอุปสรรคในปจจุบัน เพื่อพิจารณาความจําเป็นทางกฎหมายและความคุมคาทางเศรษฐกิจ รวมถึงศึกษาแนวทางการ ปฏิบัติที่ใชในตางประเทศ เชน การปรับปรุงโครงสรางสวนราชการให้สอดคลองกับบริบทปจจุบัน หรือการจัดการลายมือชื่อ อิเล็กทรอนิกส นอกจากนี้ ต้องหารือกับผู้มีสวนเกี่ยวของ เพื่อเขาใจกฎระเบียบ ประเด็นปญหาและผลกระทบ รวมถึงรับฟง ความคิดเห็นเพิ่มเติมจากหนวยงานที่เกี่ยวของ พรอมทําการประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยหนวยงานสวนกลาง ประกอบด้วย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล รวมกันดําเนินการดังนี้ 7.1) ศึกษากฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการตางๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เพื่อวิเคราะหแนวทางแกไข รวมทั้งกรณีศึกษาแนวทางการปรับปรุงกฎระเบียบตางประเทศ 5.1) พัฒนาชุดบริการหรือแอปพลิเคชันสนับสนุนกลาง เพื่อให้หนวยงานตางๆ สามารถนําไปปรับใชต่อได้โดยงาย 5.2) จัดให้มีมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการเกี่ยวกับระบบดิจิทัล เพื่อการพัฒนาระบบบริการและบริหารจัดการภาครัฐ ที่ใชงานได้จริง ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล 5.3) เผยแพร/ประชาสัมพันธให้หนวยงานรัฐเขาใชงาน หรือนําไปใชประโยชน 5.4) ประเมินผลการดําเนินงานและนํามาปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพอยางต่อเนื่อง 6) ปรับปรุงขั้นตอนการดําเนินงาน ลด ละ เลิกการขอสําเนาเอกสารจากประชาชน (Re-Engineering Process และ Digitalize Process) ใชการปรับปรุงขั้นตอนการดําเนินงานของรัฐบาล (Government Process Re-engineering) ที่ให้หนวยงานรัฐสํารวจ กระบวนการทํางานและให้บริการในปจจุบัน เพื่อระบุปญหาหรือกระบวนงานที่ไม่จําเป็น จากนั้นจึงพิจารณาลดทอนขั้นตอนที่ไม่จําเป็น ไม่วาจะเป็นการประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลกับกระบวนงานที่ทําซ้ํา และการลดกระบวนงานดานเอกสารตางๆ ที่สามารถใช ขอมูลดิจิทัลแทน หรือการปรับทัศนคติในการทํางานของบุคลากรทุกระดับ เพื่อให้มีการขอขอมูลจากประชาชนเพียงครั้งเดียว (Once Only Principle) 76

  1. การยกระดับทักษะดานดิจิทัล และวัฒนธรรมการใชเทคโนโลยีดิจิทัลของบุคลากรภาครัฐ โดยจัดให้มีหลักสูตรและแนวทางกลาง สําหรับการพัฒนาและยกระดับทักษะดิจิทัลขาราชการและบุคลากรภาครัฐของทุกหนวยงาน และหลักสูตรสําหรับพัฒนาทักษะดิจิทัล ใหมๆ ตามทิศทางความกาวหน้าทางเทคโนโลยีนวัตกรรมดานดิจิทัล รวมถึงจัดให้มีเครื่องมือสนับสนุนการยกระดับทักษะดิจิทัลขาราชการ และบุคลากรภาครัฐ และบริหารจัดการในดานตางๆ อยางเป็นระบบ นอกจากนี้ ยังจําเป็นต้องพัฒนาทักษะผู้นําดานดิจิทัลให้กับ ผู้บริหารหนวยงานภาครัฐและผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงให้มีวิสัยทัศนและความรูความเขาใจเกี่ยวกับการขับเคลื่อนการพัฒนา รัฐบาลดิจิทัล อีกด้วย 8.1) สถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐดานดิจิทัล ของ สพร. รวมกับ สํานักงาน ก.พ. และ สดช. จัดทําหลักสูตรกลางสําหรับ การพัฒนาทักษะดานดิจิทัล ให้บุคลากรภาครัฐมีความรูความเขาใจดานมาตรฐานขอมูลดิจิทัล (เชน ธรรมาภิบาลขอมูล ขอมูลสวนบุคคล เป็นตน) การทํางานเชื่อมโยงผานระบบกลางและแพลตฟอรมกลางดิจิทัลของหนวยงานภาครัฐ การเปดเผยขอมูลดิจิทัลที่เป็นมาตรฐาน เพื่อสรางความโปรงใส การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร ที่จะเป็นสวนสําคัญในการพัฒนาต่อยอดการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 8.2) หนวยงานรัฐพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีความรูทักษะดานดิจิทัลที่จําเป็นต่อการบริหารงานในการดําเนินงานภาครัฐ และให้บริการดิจิทัลภาครัฐแกประชาชน ผานสถาบันจัดอบรมที่มีมาตรฐาน 8.3) สถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐดานดิจิทัล ของ สพร. รวมกับหนวยงานกลางที่เกี่ยวของจัดให้มีเครื่องมือสนับสนุน การพัฒนาและยกระดับทักษะดิจิทัล ครอบคลุมทั้งรูปแบบออนไลนหรือออฟไลน 8.4) สถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐดานดิจิทัล ของ สพร. สงเสริมและสนับสนุนการบริการวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนา บุคลากรดานดิจิทัลให้บุคลากรทุกระดับสามารถเขาถึงบริการวิชาการได้อยางทั่วถึงและเทาเทียม 8.5) สพร. และหนวยงานกลางที่เกี่ยวของสรางความรวมมือกับภาคเอกชนผู้เชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีทั้งในประเทศและ ตางประเทศ เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณและถายทอดเทคโนโลยีที่ทันสมัยแกบุคลากรภาครัฐ 8.6) สพร. ประเมินผลการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรรัฐ และปรับปรุงหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ และทันสมัย อยางต่อเนื่อง 9) สงเสริมความรวมมือระหวางรัฐและเอกชนในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล จัดให้มีตนแบบการพัฒนา Digital Government Testbed Framework เพื่อให้ภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการแบงปนแนวคิดและพัฒนานวัตกรรมการบริการรัฐบาลดิจิทัล ให้ภาครัฐ ตามความเหมาะสมของโครงการที่เอกชนเสนอ 9.1) กําหนดหลักเกณฑ และรูปแบบที่เป็นไปได้ในการรวมพัฒนาบริการดิจิทัลของรัฐรวมกับเอกชน 9.2) พัฒนา Digital Government Testbed Framework เพื่อให้ภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการแบงปนแนวคิดและ พัฒนานวัตกรรมการบริการรัฐบาลดิจิทัลให้รัฐ ตามความเหมาะสมของโครงการที่เอกชนเสนอ 9.3) เผยแพร/ประชาสัมพันธให้ภาคเอกชนรับรู และรวมกิจกรรมในวงกวาง 9.4) ประเมินผลสัมฤทธิ์ของความรวมมือระหวางรัฐและเอกชน 7.2) ระบุรายชื่อกฎหมาย กฎระเบียบที่เป็นปญหาต่อการดําเนินงานดานรัฐบาลดิจิทัล ไม่วาจะเป็นดานขอมูล การแลกเปลี่ยน การเปดเผย เป็นตน 7.3) รับฟงความคิดเห็นเพิ่มเติมจากหนวยงานที่เกี่ยวของ พรอมทําการประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นในการปรับปรุงกฎหมาย 7.4) ผลักดันให้เกิดการปรับเปลี่ยนกฎหมายให้สอดรับกับการทํางานดิจิทัล และผลักดันให้ประกาศเพื่อมีผลบังคับใชอยาง เป็นรูปธรรม ผานกลไกของคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 7.5) สรางความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อยกระดับและพัฒนากฎหมาย กฎระเบียบให้สอดรับกับทิศทางของ รัฐบาลดิจิทัลบนมาตรฐานเดียวกัน 7.6) สรางความตระหนักรูให้กับบุคลากรของหนวยงานภาครัฐ ในการทําความเขาใจบริบทของกฎหมาย เพื่อให้เกิด การบริหารงานและการให้บริการทางดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพ 7.7) ติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของการปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบเพื่อตรวจสอบผลการดําเนินงาน และกําหนด แนวทางปรับปรุงในอนาคต 77

การพัฒนา บริการพื้นฐานของรัฐ (Common Services) Focus Area 2566 2567 2568 2569 2570 หนวยงานผู้รับผิดชอบ โครงสรางพื้นฐาน (Foundation) ᆞ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ᆞ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ᆞ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ᆞ สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ᆞ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ᆞ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ ᆞ สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ᆞ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล โดยสถาบันพัฒนาบุคลากร ภาครัฐดานดิจิทัล (สถาบัน TDGA) ᆞ หนวยงานภาครัฐที่รับผิดชอบดูแลขาราชการประเภทตางๆ ทั้ง 16 ประเภท ᆞ สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ᆞ หนวยงานที่จัดการฝกอบรม เชน สถาบันพัฒนาบุคลากร ของภาครัฐ และสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน รวมถึง บริษัทเทคโนโลยีที่เป็นเครือขายพันธมิตรของสถาบัน TDGA ᆞ สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ᆞ สํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย ᆞ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ᆞ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ᆞ สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ᆞ สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ᆞ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ᆞ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ᆞ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ᆞ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ᆞ สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ᆞ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ᆞ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ᆞ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ᆞ กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 1. โครงการพัฒนาบริการและเครื่องมือกลางดิจิทัลภาครัฐ 2. โครงการพัฒนาศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางภาครัฐ (Government Data Exchange) 3. โครงการพัฒนาบริการดิจิทัลสาธารณะตนแบบ (Digital Service) 9. โครงการแนวทางปรับปรุงกระบวนการให้บริการประชาชนของภาครัฐผานระบบดิจิทัล (Government-Digitalization Process Guideline) 10. โครงการสงเสริมการจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐในระดับหนวยงาน เพื่อการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูล 11. โครงการระบบคลาวดกลางภาครัฐ (Government Data Center and Cloud Service: GDCC) 13. โครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดิจิทัลภาครัฐที่มีความมั่นคงปลอดภัย 14. โครงการศูนยประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอรภาครัฐ (Government Computer Security Incident Co-ordination Center) 12. โครงการศึกษา แนวทางการปรับปรุง โครงสรางสวนราชการ ภายในกรมและศึกษา ระบบการจางงาน รูปแบบใหมในภาครัฐ 6. โครงการการพัฒนาเครือขายอาสาสมัครดิจิทัล (อสด.) 7. โครงการศูนยเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลกาครัฐ (DGTi) เพื่อสนับสนุน บริการดิจิทัล สําหรับหนวยงานระดับทองถิ่น และสรางนวัตกรรมภาครัฐ 8. โครงการพัฒนามาตรฐานเชื่อมโยงแพลตฟอรมกาครัฐ เพื่อเสริมสรางบริการ ที่สะดวกสําหรับประชาชน (Interoperable Services thru Digital Standard) 4. โครงการพัฒนากรอบขีดความสามารถเชิงดิจิทัล ดานการใชดิจิทัลของบุคลากร ภาครัฐ (Digital Capabilities) 5. โครงการยกระดับความสามารถและสรางความพรอมของบุคลากร เพื่อสงเสริม รัฐบาลดิจิทัล (Government Digital Skills) แผนภาพโครงการสําคัญภายใตยุทธศาสตรที่ 1 ᆞ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล โดยยุทธศาสตรที่ 1 มีการพัฒนาใน 2 ดานสําคัญ ได้แก บริการพื้นฐาน (Common Services) และโครงสรางพื้นฐาน (Foundation) ที่สงเสริมการเขาถึงขอมูลพื้นฐานที่จําเป็นในการทํางานของแต่ละหนวยงานอยางไรรอยต่อ ยกระดับบุคลากรภาครัฐ ให้มีทักษะการทํางานดิจิทัลที่สอดคลองกับบริบทโลกในการปฏิบัติงาน และให้บริการประชาชนที่สะดวกรวดเร็ว และแมนยํา ทั้งนี้ ยุทธศาสตรที่ 1 มีโครงการสําคัญ จํานวน 14 โครงการ ดังแผนภาพโครงการสําคัญภายใตยุทธศาสตรที่ 1 (รายละเอียดโครงการสําคัญ ภายใตยุทธศาสตรที่ 1 ปรากฏในภาคผนวก 4) 78

ยุทธศาสตรที่ 2: พัฒนาบริการที่สะดวกและเขาถึงงาย เปาหมาย 1. ประชาชนได้รับความสะดวกรวดเร็วในการใชบริการตางๆ ของหนวยงานภาครัฐ ได้อยางครบถวน ณ จุดเดียว (One-Stop Service) 2. ประชาชนทุกกลุ่มทั่วประเทศสามารถเขาถึงและใชบริการดิจิทัลภาครัฐได้ ตัวชี้วัดและคาเปาหมาย 1. ภายในป 2570 ระดับความสําเร็จในการพัฒนาแพลตฟอรมบริการประชาชนแบบเบ็ดเสร็จ ในดานสําคัญ 20 คิดเป็นรอยละ 100 2. ภายในป 2570 สัดสวนบริการของรัฐสําหรับประชาชนสามารถให้บริการแบบออนไลน คิดเป็นรอยละ 90 3. ภายในป 2570 ระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการใชบริการออนไลนภาครัฐในดานที่สําคัญ ไม่นอยกวารอยละ 85 มาตรการ 1) พัฒนาและปรับปรุงบริการภาครัฐให้อยู่ในรูปแบบออนไลน (Online Service) โดยยึดหลักประชาชนเป็น ศูนยกลาง (Citizen Centric) ที่ประชาชนทุกกลุ่มสามารถเขาถึงและใชได้งาย (Equality) เนนการพัฒนาบริการ /แพลตฟอรมภาครัฐที่ให้ความสําคัญกับประชาชนทุกกลุ่มให้ได้รับบริการหรือสิทธิที่พึงได้อยางเทาเทียมและยุติธรรม โดยเริ่มตนจากการรวบรวมขอมูลและความต้องการของผู้ใชบริการให้ครบถวน จัดลําดับความสําคัญของบริการ และ พัฒนา/ปรับปรุงหรือจัดให้มีบริการ (ตามลําดับความสําคัญ) ที่ประชาชนสามารถใชงานได้งาย สะดวก และสรางความ เชื่อมั่นแกผู้ใชบริการวาจะได้รับคุณภาพการบริการที่เทากันในทุกชองทางที่รับบริการ โดยอยางนอยต้องปรับเปลี่ยน บริการให้อยู่ในรูปแบบออนไลน (Online Service) ผานชองทางที่เขาถึงและใชงานงาย เหมาะกับผู้ใชงานในกลุ่ม เปาหมาย มีความสะดวกในการรับบริการทุกที่ทุกเวลา และไม่ต้องใชเอกสารรูปแบบกระดาษ (Paperless) 1.1) พัฒนา/ปรับปรุงการบริการตามลําดับความสําคัญ ให้อยู่ในรูปแบบออนไลนผานชองทางให้บริการที่ ประชาชนเขาถึงได้โดยสะดวก เชน แอปพลิเคชันมือถือ เว็บไซต์ หรือ ณ สํานักงานของหนวยงานรัฐ เป็นตน 1.2) เผยแพร/ประชาสัมพันธบริการให้ประชาชนทราบอยางทั่วถึง 1.3) ติดตามและประเมินผลความพึงพอใจต่อคุณภาพบริการจากประชาชนผู้รับบริการ และนํามา ปรับปรุงการให้บริการอยางต่อเนื่อง 2) พัฒนาการให้บริการดิจิทัลครบวงจรแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (One-Stop Service) หนวยงานภาครัฐพัฒนา /ปรับปรุงหรือยกระดับบริการออนไลนให้สามารถให้บริการได้ตลอดทั้งกระบวนการตั้งแต่ตนจนจบกระบวนการ (End-to-End Process) ที่ประชาชนสามารถใชบริการได้อยางสะดวก รวดเร็ว โปรงใส เสียคาใชจายนอย ไม่มีขอจํากัด ทางกายภาพ เวลา พื้นที่ และสามารถตรวจสอบติดตามสถานะการดําเนินงานในแต่ละกระบวนการได้ โดยมีการเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อให้บริการประชาชนได้อยางราบรื่นแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว 20 ดานสําคัญ ได้แก ความเหลื่อมล้ําทางสิทธิสวัสดิการประชาชน การศึกษา สุขภาพและการแพทย และสิ่งแวดลอม 79

2.1) พัฒนา/ปรับปรุงบริการรูปแบบดิจิทัลที่ให้บริการได้ตลอดทั้งกระบวนการตั้งแต่ตนจนจบ (End-to-End Process) ตามมาตรฐานกระบวนการทางดิจิทัล และวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส โดยมีการยืนยันตัวตนผู้ใชกอนเขารับบริการ และสามารถ ตรวจสอบติดตามสถานะการดําเนินงานตางๆ ได้อยางราบรื่น 2.2) เชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงานหรือผานแพลตฟอรมแลกเปลี่ยนขอมูลกลางแบบอัตโนมัติ ตามมาตรฐานการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ 2.3) เผยแพร/ประชาสัมพันธบริการให้ประชาชนทราบอยางทั่วถึง 2.4) ติดตามและประเมินผลความพึงพอใจต่อคุณภาพบริการจากประชาชนผู้รับบริการ และนํามาปรับปรุงการให้ บริการอยางต่อเนื่อง 3) สรางแพลตฟอรมการจัดบริการแบบบูรณาการและบริการดิจิทัลภาครัฐ จัดให้มีแพลตฟอรมบริการดิจิทัลภาครัฐที่ตรง ความต้องการของผู้ใช (User-Driven) และมีคุณภาพ แบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (One-Stop Service) ในดานสําคัญ ทําให้ประชาชน สามารถเขาถึงและรับบริการที่สอดคลองกับความต้องการของประชาชนได้ตลอดเวลา โดยเปดให้หนวยงานและภาคสวน ที่เกี่ยวของเขารวมพัฒนา จัดบริการที่มีความมั่นคงปลอดภัย มีการรักษาความเป็นสวนบุคคลและเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล 3.1) พัฒนาแพลตฟอรมการบริการประชาชนแบบเบ็ดเสร็จ โดยเชื่อมโยงชุดขอมูลที่จําเป็น ในการให้บริการ เพื่อบูรณาการการทํางานในแต่ละบริการ และนําบริการที่สามารถให้บริการได้แบบเบ็ดเสร็จขึ้นบนแพลตฟอรมในดานสําคัญนั้นๆ ทั้งนี้ ให้มีการนําบริการพื้นฐาน (Common Services) ซึ่งได้รับการกํากับดูแลมาตรฐานความปลอดภัยและความเป็นสวนบุคคล ที่จําเป็นมาใชด้วย 3.2) เชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลแบบอัตโนมัติผานศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางหรือระหวางหนวยงานทั้งภายในสังกัด และหนวยงานภายนอกที่เกี่ยวของ และจัดให้มีการพิสูจนยืนยันตัวตนของผู้ใชบริการ 3.3) เผยแพร/ประชาสัมพันธบริการให้ประชาชนทราบอยางทั่วถึง 3.4) ติดตามและประเมินผลความพึงพอใจของผู้ใชบริการ และนํามาปรับปรุงประสิทธิภาพแพลตฟอรมให้ดีขึ้นอยาง ต่อเนื่อง 4) พัฒนาบริการที่เฉพาะเจาะจงรายบุคคล (Personalized Service Delivery) โดยไม่ต้องรองขอ ภาครัฐยกระดับการพัฒนา บริการที่ให้ความสําคัญกับการสรางประสบการณให้กับผู้ใชบริการ (user experience) ซึ่งมุงเนนการพัฒนาบริการที่ตอบสนอง ต่อผู้ใชงานอยางแมนยํา สอดคลองกับสิทธิของประชาชนที่มีอยู่ โดยผู้ใชบริการไม่ต้องรองขอหรือยื่นเรื่องต่อหนวยงาน ที่เกี่ยวของเพิ่มเติม 4.1) รวบรวมชุดขอมูลที่เกี่ยวของกับการให้บริการประชาชนในแต่ละบริการ โดยเฉพาะขอมูลรายบุคคลที่ได้รับ การยินยอมในการเขาถึงขอมูลสวนบุคคล เชน อายุ เพศ สถานะ สิทธิสวัสดิการ อาชีพ รายได้ เป็นตน 4.2) จัดกลุ่มบริการประชาชนกับชุดขอมูลที่จําเป็นกับสิทธิของประชาชน เพื่อกรองสิทธิสวัสดิการ และรายงานสิทธิ ตางๆ ที่ประชาชนรายนั้นๆ พึงได้รับ ในแต่ละชวงเวลา รวมถึงสิทธิสวัสดิการพิเศษของรัฐบาลที่อาจมีขึ้นในแต่ละป 4.3) จัดให้มีระบบแจงเตือนสิทธิในแต่ละชวงเวลา ผานชองทางการติดต่อที่ประชาชนสามารถเขาถึงได้โดยงาย โดยไม่ต้องรองขอ เชน ไปรษณีย ขอความ SMS เป็นตน 4.4) เผยแพร/ประชาสัมพันธบริการให้ประชาชนทราบอยางทั่วถึง 4.5) ติดตามและประเมินผลความพึงพอใจของผู้ใชบริการ และนํามาปรับปรุงบริการอยางต่อเนื่อง 80

  1. วิจัยและพัฒนานวัตกรรมบริการดิจิทัลภาครัฐเพื่อยกระดับบริการดิจิทัล (Innovative Services/Platform) พัฒนาการให้ บริการรัฐโดยการนําเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมมาประยุกตใชตั้งแต่เริ่มตนจนจบกระบวนการทําให้เกิดการให้บริการดิจิทัลที่มีมาตรฐาน รวดเร็ว โปรงใส ปลอดภัย มีธรรมาภิบาล และเกิดประโยชนสูงสุด รวมถึง การสนับสนุนให้มีการวิจัยเฉพาะทางหรือพัฒนานวัตกรรม ที่ชวยยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนผานบริการสาธารณะดิจิทัลที่มีความครอบคลุม(inclusiveness)และเทาเทียมโดยเฉพาะใน กลุ่มเปราะบางและผู้สูงอายุ 5.1) หนวยงานภาครัฐนําชุดขอมูลที่ได้จากการบันทึกขอมูลการใชบริการ และขอมูลขั้นพื้นฐานที่ได้รับความยินยอมจาก ผู้รับบริการไปวิเคราะหรูปแบบการใชบริการ รวมถึงความต้องการของผู้รับบริการในแต่ละกระบวนการให้บริการ 5.2) ปรับปรุงกระบวนการให้บริการประชาชนด้วยการนําผลวิเคราะหไปพัฒนาการบริการรวมกับ นวัตกรรมบริการดิจิทัลของหนวยงานรัฐ หรือภาคีภาคเอกชนที่รวมดําเนินการพัฒนา โดยยุทธศาสตรที่ 2 มีดานที่เนนความสําคัญ (Focus Area) 4 ดาน ได้แก 1) ความเหลื่อมล้ําทางสิทธิสวัสดิการประชาชน มุงเนนให้ประชาชนเขาถึงสิทธิสวัสดิการที่ บูรณาการบนแพลตฟอรม เดียวและแบบเฉพาะเจาะจง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้ ความชวยเหลือและติดตามผล 2) การศึกษา มุงเนนการเพิ่มโอกาสการเขาถึงการศึกษาผานแพลตฟอรม และการยกระดับ การบริการดานการศึกษาผานบูรณาการขอมูลผู้เรียนและผู้สอน 3) สุขภาพและการแพทย มุงเนนการเพิ่มโอกาสการเขาถึงการบริการ และเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน ของผู้ให้บริการดานสาธารณสุขผานการเชื่อมโยงขอมูลที่มีมาตรฐานที่แลกเปลี่ยนกันได้ 4) สิ่งแวดลอม มุงเนนให้ประชาชนเขาถึงขอมูล รวมถึงการเตือนภัยดานสิ่งแวดลอม ได้สะดวก และรวดเร็วผานแพลตฟอรมศูนยกลางบริการแบบครบวงจร และมีโครงการสําคัญ จํานวน 8 โครงการ ดังแผนภาพโครงการสําคัญภายใตยุทธศาสตรที่ 2 (รายละเอียดโครงการสําคัญภายใตยุทธศาสตรที่ 2 ปรากฏในภาคผนวก 4) 5) วิจัยและพัฒนานวัตกรรมบริการดิจิทัลภาครัฐเพื่อยกระดับบริการดิจิทัล (Innovative Services/Platform) พัฒนาการให้ บริการรัฐโดยการนําเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมมาประยุกตใชตั้งแต่เริ่มตนจนจบกระบวนการ ทําให้เกิดการให้บริการดิจิทัลที่มีมาตรฐาน รวดเร็ว โปรงใส ปลอดภัย มีธรรมาภิบาล และเกิดประโยชนสูงสุด รวมถึง การสนับสนุนให้มีการวิจัยเฉพาะทางหรือพัฒนานวัตกรรมที่ ชวยยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนผานบริการสาธารณะดิจิทัลที่มีความครอบคลุม (Inclusiveness) และเทาเทียม โดยเฉพาะใน กลุ่มเปราะบางและผู้สูงอายุ 5.1) หนวยงานภาครัฐนําชุดขอมูลที่ได้จากการบันทึกขอมูลการใชบริการ และขอมูลขั้นพื้นฐานที่ได้รับความยินยอมจาก ผู้รับบริการไปวิเคราะหรูปแบบการใชบริการ รวมถึงความต้องการของผู้รับบริการในแต่ละกระบวนการให้บริการ 5.2) ปรับปรุงกระบวนการให้บริการประชาชนด้วยการนําผลวิเคราะหไปพัฒนาการบริการรวมกับนวัตกรรมบริการดิจิทัล ของหนวยงานรัฐ หรือภาคีภาคเอกชนที่รวมดําเนินการพัฒนา โดยยุทธศาสตรที่ 2 มีดานที่เนนความสําคัญ (Focus Area) 4 ดาน ได้แก 1. ความเหลื่อมล้ําทางสิทธิสวัสดิการประชาชน มุงเนนให้ประชาชนเขาถึงสิทธิสวัสดิการที่บูรณาการบนแพลตฟอรมเดียวและ แบบเฉพาะเจาะจง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้ความชวยเหลือและติดตามผล 2. การศึกษา มุงเนนการเพิ่มโอกาสการเขาถึงการศึกษาผานแพลตฟอรม และการยกระดับการบริการดานการศึกษาผานบูรณาการ ขอมูลผู้เรียนและผู้สอน 3. สุขภาพและการแพทย มุงเนนการเพิ่มโอกาสการเขาถึงบริการ และเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของผู้ให้บริการดานสาธารณสุข ผานการเชื่อมโยงขอมูลที่มีมาตรฐานที่แลกเปลี่ยนกันได้ 4. สิ่งแวดลอม มุงเนนให้ประชาชนเขาถึงขอมูล รวมถึงการเตือนภัยดานสิ่งแวดลอม ได้สะดวกและรวดเร็วผานแพลตฟอรมศูนยกลาง บริการแบบครบวงจร และมีโครงการสําคัญ จํานวน 8 โครงการ ดังแผนภาพโครงการสําคัญภายใตยุทธศาสตรที่ 2 (รายละเอียดโครงการสําคัญ ภายใตยุทธศาสตรที่ 2 ปรากฏในภาคผนวก 4) 81

• กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย • หนวยงานสนับสนุน ได้แก สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล, กระทรวงแรงงาน, กระทรวงการคลัง, กระทรวงมหาดไทย, กระทรวงคมนาคม, กระทรวงพาณิชย, กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, กระทรวงยุติธรรม, กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงเกษตรและสหกรณ Focus Area 2566 2567 2568 2569 2570 หนวยงานผู้รับผิดชอบ 1. โครงการพัฒนาระบบให้บริการดิจิทัลสําหรับสิทธิสวัสดิการ • กรมกิจการเด็กและเยาวชน • สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 2. โครงการพัฒนาระบบบูรณาการขอมูลสิทธิสวัสดิการ เพื่อการวิเคราะหและอํานวยความสะดวกในการให้บริการ • สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา • สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ • สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษา เอกชน • สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ • สํานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม • สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน • สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา • สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 4. โครงการระบบธนาคารสะสมผลการเรียนรู (Credit Bank) ที่มีมาตรฐาน กับกรอบคุณวุฒิของประเทศ • สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ • สํานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม 5. โครงการศูนยกลางการให้บริการและฐานองคความรู สื่อการเรียนรู และหลักสูตรการศึกษา (e-Education Hub) ความเหลื่อมล้ําทางสิทธิ สวัสดิการประชาชน • ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และเขตสุขภาพ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข • กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม • หนวยงานระดับกรม ในสังกัด กระทรวงสาธารณสุข และในกํากับ รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข • หนวยงานระดับกรมที่ดูแลเรื่อง งบประมาณ การเบิกจาย และกฎหมาย ของประเทศ เชน กรมบัญชีกลาง สํานักงานอัยการสูงสุด เป็นตน 6. โครงการแพลตฟอรมระบบสุขภาพดิจิทัลแห่งชาติ (National Digital Health Platform) สุขภาพและการแพทย • สํานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม • กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 8. โครงการแผนที่สิ่งแวดลอม (Environmental Map) • สํานักงานปลัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม • หนวยงานในสังกัดของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 7. โครงการจัดทําฐานขอมูลดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม เพื่อขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอม • สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ • กระทรวงตางๆ ที่เกี่ยวของ อาทิ กระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม 3. โครงการพัฒนาระบบแพลตฟอรมอัจฉริยะเพื่อการบริหารจัดการขอมูล ดานกําลังคนและการพัฒนาสมรรถนะด้วยการเรียนรูตลอดชีวิตของประเทศไทย (E-Workforce Ecosystem) การศึกษา แผนภาพโครงการสําคัญภายใตยุทธศาสตรที่ 2 82

21 ดานสําคัญ ได้แก ดาน SMEs, เกษตร, แรงงาน, ทองเที่ยว ยุทธศาสตรที่ 3 : สรางมูลคาเพิ่มและอํานวยความสะดวกแกภาคธุรกิจ เปาหมาย 1. ผู้ประกอบการได้รับความสะดวกรวดเร็วในการใชบริการดิจิทัลของภาครัฐ ตัวชี้วัดและคาเปาหมาย 1. ภายในป 2570 ระดับความสําเร็จในการพัฒนาแพลตฟอรมบริการภาคธุรกิจแบบเบ็ดเสร็จ ในดานสําคัญ 21 คิดเป็นรอยละ 100 2. ภายในป 2570 สัดสวนบริการของรัฐสําหรับภาคธุรกิจสามารถให้บริการแบบออนไลน ไม่นอยกวารอยละ 90 3. ภายในป 2570 ระดับความพึงพอใจของภาคธุรกิจต่อการใชบริการออนไลนภาครัฐ ในดานสําคัญ ไม่นอยกวา รอยละ 85 มาตรการ 1) สนับสนุนให้พัฒนาบริการออนไลนและแพลตฟอรมดิจิทัลภาครัฐที่เอื้อต่อการดําเนินธุรกรรมดิจิทัลและครอบคลุม การพัฒนาธุรกิจตลอดหวงโซมูลคา (End-to-End Service Platform) พัฒนาแพลตฟอรมบริการภาครัฐเพื่ออํานวย ความสะดวกทางการคา การลงทุน และการดําเนินธุรกิจ ให้แกผู้ประกอบการและภาคธุรกิจสามารถเขาถึงบริการ ได้อยางสะดวก รวดเร็ว ครอบคลุมตั้งแต่ตนจนจบกระบวนการตลอดหวงโซมูลคา และสามารถตรวจสอบติดตามสถานะ การดําเนินงานตางๆ ได้ โดยจะต้องปรับปรุงการบริหารจัดการบริการ โดยเฉพาะการเชื่อมโยงขอมูลและบูรณาการ การปฏิบัติงานของหนวยงานภาครัฐเขาด้วยกัน และลดขั้นตอนที่ไม่จําเป็น 1.1) พัฒนาบริการดิจิทัลที่ต่อเนื่องแบบเบ็ดเสร็จครบวงจร ให้ครอบคลุมการพัฒนาธุรกิจตลอดหวงโซ มูลคา ตามมาตรฐานกระบวนการทางดิจิทัลและวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส 1.2) เชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงานหรือผานแพลตฟอรมแลกเปลี่ยนขอมูลกลาง แบบอัตโนมัติ ตามมาตรฐานการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ 1.3) เผยแพร/ประชาสัมพันธบริการให้ภาคธุรกิจทราบอยางทั่วถึง 1.4) ติดตามและประเมินผลความพึงพอใจต่อคุณภาพบริการจากผู้รับบริการ และนํามาปรับปรุง การให้บริการอยางต่อเนื่อง 2) ทบทวน ปรับปรุง กระบวนการที่เป็นอุปสรรคต่อผู้ประกอบการในการดําเนินธุรกิจ จากเปาหมายสําคัญของแผน ปฏิรูปประเทศดานกฎหมายที่ระบุให้มีกลไกยกเลิกหรือแกไขปรับปรุงกฎหมายที่สรางภาระหรือเป็นอุปสรรคต่อการ ดํารงชีวิตหรือการประกอบอาชีพของประชาชน หนวยงานที่เกี่ยวของกับการให้บริการรัฐดานการดําเนินธุรกิจจะต้อง สํารวจและทบทวนกระบวนงานที่เกี่ยวของกับการอนุญาตตางๆ และกฎระเบียบที่กํากับกระบวนงานวามีสวนใดที่ สามารถยกเลิกหรือปรับปรุงให้เกิดความสะดวกต่อการดําเนินธุรกิจและการสรางมูลคาเพิ่ม จากนั้นจึงจัดทําเกณฑ ในการพิจารณาตรวจสอบความจําเป็นของกฎหมาย และเรงให้มีการพิจารณาปรับปรุงแกไขให้สอดคลองกับบริบทโลก ตามความเหมาะสม 83

2.1) ศึกษากฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการตางๆ ที่เป็นอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจในแต่ละกระบวนงาน เพื่อวิเคราะห แนวทางแกไข 2.2) ประสานความรวมมือระหวางหนวยงานเจ้าของกฎหมายและหนวยงานผู้ให้บริการเพื่อทบทวน ปรับปรุง นโยบาย และระเบียบ ที่เป็นอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจ 2.3) ผลักดันให้เกิดการประกาศและมีผลบังคับใชอยางเป็นรูปธรรม 2.4) ติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของการปรับปรุงกฎหมาย และนํามาพัฒนากฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการที่ เหมาะสมต่อไป 3) มีเครื่องมือดิจิทัลหรือระบบงานให้แกผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มโอกาสในการแขงขัน เพื่อพัฒนาระบบนิเวศของวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอม (SMEs) ให้มีผู้ประกอบการที่สามารถแขงขันได้ในระยะยาว ภาครัฐควรพิจารณาจัดทําขอมูลขนาดใหญ (Big Data) ดาน SMEs โดยให้สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) และภาคเอกชน เชน สภาหอการคาแห่งประเทศไทย หรือสมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย เป็นตน ผลักดันการเชื่อมโยงขอมูลดาน SMEs ของหนวยงานภาครัฐ เพื่อให้เกิด ฐานขอมูล SMEs กลาง โดยจัดการขอมูลที่รวบรวมได้จากผู้ประกอบการ SMEs โดยตรง และขอมูลที่หนวยงานตางๆ พรอมทั้งหนวย งานพันธมิตรจัดทําระบบวิเคราะหขอมูล เพื่อให้สามารถออกมาตรการสงเสริมเฉพาะสําหรับ SMEs แต่ละกลุ่มที่มีความแตกตางกัน ในเชิงประเภทอุตสาหกรรม ชวงอายุและขนาดของธุรกิจได้อยางแมนยํา 3.1) สรางกลไกสงเสริมให้เกิดการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในภาครัฐ และเปดเผยขอมูลที่จําเป็นให้แกภาคธุรกิจ เพื่ออํานวยความสะดวกแกผู้ประกอบการในการเลือกใชประโยชน 3.2) สํารวจ รวบรวมรายชื่อเทคโนโลยี นวัตกรรมพรอมใช และขอมูลเปดภาครัฐ และรายการผู้ประกอบการที่ให้บริการ ดิจิทัลที่นาเชื่อถือ เพื่อเป็นแหลงขอมูลให้ภาคธุรกิจ 3.3) ติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของการใชประโยชนจากเครื่องมือดิจิทัลและขอมูลสําหรับภาคธุรกิจ และนํามา ปรับปรุงเครื่องมือและขอมูลอยางต่อเนื่อง โดยยุทธศาสตรที่ 3 มีดานที่เนนความสําคัญ (Focus Area) 4 ดาน ได้แก 1. การสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) มุงเนนให้ภาคธุรกิจเขาถึงการทําธุรกรรมกับภาครัฐและเขาถึงขอมูล การสงเสริมศักยภาพการแขงขัน ผานแพลตฟอรมได้อยางครบถวนทั้งหวงโซมูลคา 2. การเกษตร มุงเนนให้เกษตรกรสามารถเขาถึงขอมูลทุกมิติผานแพลตฟอรมกลางขอมูลเกษตรกรรมของประเทศ เพื่อใชประกอบ การตัดสินใจในการผลิตให้เหมาะสมกับศักยภาพพื้นที่ 3. แรงงาน มุงเนนให้ภาคแรงงานได้รับการพัฒนาทักษะ และยกระดับการคุมครองสวัสดิภาพ รวมถึงปรับสมดุลตลาดแรงงานไทย สูความยั่งยืนด้วยระบบบริการดานแรงงานแบบครบวงจร และระบบวิเคราะหขอมูลอัจฉริยะ 4. การทองเที่ยว มุงเนนให้ธุรกิจทองเที่ยวเขาถึงขอมูลทุกมิติผานระบบวิเคราะหขอมูลทองเที่ยวแบบครบวงจร และใชประโยชน จากบริการดิจิทัล เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมทองเที่ยว และมีโครงการสําคัญ จํานวน 7 โครงการ ดังแผนภาพโครงการสําคัญภายใตยุทธศาสตรที่ 3 (รายละเอียดโครงการ สําคัญภายใตยุทธศาสตรที่ 3 ปรากฏในภาคผนวก 4) 84

แผนภาพโครงการสําคัญภายใตยุทธศาสตรที่ 3 Focus Area 2566 2567 2568 2569 2570 หนวยงานผู้รับผิดชอบ 1. โครงการหนึ่งรหัส หนึ่งผู้ประกอบการ (One Identification : ID One SMEs) 2. โครงการพัฒนาระบบฐานขอมูลการเกษตร 5. โครงการพัฒนาระบบวิเคราะหขอมูล ทองเที่ยวอัจฉริยะด้วย AI บน Tourism Intelligence Center 6. โครงการพัฒนา ระบบโปรแกรม สําหรับ การบริหารจัดการ เกี่ยวกับแหลงทองเที่ยว และผู้ประกอบการ ทองเที่ยว (Tourism Supply Management) 3. โครงการแพลตฟอรมเพื่อสนับสนุน การวิเคราะหและการใชประโยชนขอมูล ขนาดใหญในกาคการเกษตร (Thailand Agricultural Data Collaboration Platform: THAGRI) 4. โครงการแพลตฟอรมวิเคราะห แนวโนมตลาดแรงงานของประเทศ (Labour Big Data Analytics) • สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอม • สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล • สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส และคอมพิวเตอรแห่งชาติ • หนวยงานที่เกี่ยวของดานฐานขอมูล • สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร • กรมพัฒนาที่ดิน • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส และคอมพิวเตอรแห่งชาติ • สถาบันสงเสริมการวิเคราะหและบริหารขอมูล ขนาดใหญภาครัฐ (GBDI by DEPA) • สํานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน • สํานักงานปลัดกระทรวงการทองเที่ยว และกีฬา • การทองเที่ยวแห่งประเทศไทย • กรมการทองเที่ยว • ภาคธุรกิจเอกชนที่ให้บริการสนับสนุน 7. โครงการ Amazing Thailand Metaverse • การทองเที่ยวแห่งประเทศไทย • สมาคมการทองเที่ยวตางๆ ที่เกี่ยวของ การสงเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม • การเกษตร แรงงาน ทองเที่ยว 85

22 ดานสําคัญ ได้แก ดานงบประมาณ ดานกฎหมาย ดานการจัดซื้อจัดจาง ยุทธศาสตรที่ 4 : สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐ เปาหมาย 1. ทุกภาคสวนมีสวนรวมในการดําเนินงานภาครัฐ ที่มีความโปรงใส ตรวจสอบได้ผานชองทาง ที่หลากหลาย 2. การเปดเผยขอมูลแกสาธารณะโดยประชาชนไม่ต้องรองขอ และประชาชนสามารถนําไปใชประโยชนและ มีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น ตัวชี้วัดและคาเปาหมาย 1. ภายในป 2568 รอยละความสําเร็จของการเชื่อมโยงขอมูลในระบบหลักดานการบริหารจัดการงบประมาณ คิดเป็นรอยละ 100 2. ภายในป 2568 รอยละความสําเร็จของการจัดให้มีชองทางการมีสวนรวมของประชาชนในดานสําคัญ 22 คิดเป็นรอยละ 100 3. ภายในป 2569 รอยละความสําเร็จในการพัฒนาแพลตฟอรมกลางที่บูรณาการขอรองเรียน รองทุกขของ ประชาชน เพื่อการบริหารจัดการ ติดตาม และแจงผลอยางเป็นระบบ คิดเป็นรอยละ 100 4. ภายในป 2570 รอยละของหนวยงานรัฐที่มีการให้บริการขอมูลเปดภาครัฐบนศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ ในรูปแบบที่ถูกต้องตามมาตรฐานขอมูลเปดภาครัฐ คิดเป็นรอยละ 100 5. ภายในป 2570 จํานวนโครงการ/กิจกรรมที่มีการนําขอมูลเปดภาครัฐที่ได้รับการเปดเผย ผานศูนยกลางขอมูล เปดภาครัฐได้รับการนําไปวิเคราะหเพื่อพัฒนานวัตกรรมและบริการ โดยภาคเอกชน หรือประชาชน อยางนอย 10 กิจกรรม/โครงการ มาตรการ 1) พัฒนากลไกการตรวจสอบการดําเนินงานภาครัฐเพื่อให้เกิดความโปรงใส พัฒนา/ปรับปรุงระบบสนับสนุน การดําเนินงานภาครัฐดานการจัดซื้อจัดจาง งบประมาณ การบริหารการเงินการคลัง ทุกขั้นตอนให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล และกําหนดแนวทางปฏิบัติในการจัดซื้อจัดจางให้คลองตัวขึ้น โดยหนวยงานที่เกี่ยวของจําเป็นต้องเชื่อมโยงฐานขอมูล การจัดซื้อจัดจางเขากับหนวยงานตรวจสอบและหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ รวมถึงจัดทํา Smart Dashboard สําหรับ ตัดสินใจเชิงนโยบายและกํากับติดตามการดําเนินงานเกี่ยวกับขอมูลการเบิกจายงบประมาณและการใชภาษีของ หนวยงานทั้งในระดับกรม และระดับทองถิ่น ที่จะเปดเผยให้ทุกภาคสวนได้ติดตาม แสดงความเห็น เพื่อเพิ่มความโปรงใส ในการบริหารจัดการงบประมาณของรัฐ 1.1) จัดให้มีการบูรณาการระหวางหนวยงานภาครัฐ ในรูปบริการและแพลตฟอรมกลางภาครัฐที่เปดเผย ขอมูลแกสาธารณะ โดยประชาชนไม่ต้องรองขอ และสามารถเขาไปแสดงความเห็นได้ เชน การเชื่อมโยงขอมูลใน 3 ระบบหลักดานการบริหารและการใชงบประมาณของรัฐ 1.2) สงเสริมให้ภาครัฐเปดเผยขอมูลการจัดซื้อจัดจางภาครัฐ และการดําเนินงานดานงบประมาณของรัฐ ผานระบบดิจิทัล ที่สามารถนําไปวิเคราะหและประมวลผลต่อได้ 1.3) จัดทํามาตรการ ติดตาม ตรวจสอบขอมูลการจัดซื้อจัดจาง เพื่อให้เกิดความโปรงใสในการดําเนินการ 1.4) ติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของการเปดเผยขอมูลของภาครัฐ เพื่อพัฒนากลไกการตรวจสอบ การดําเนินงานภาครัฐอยางต่อเนื่อง 86

  1. จัดให้มีชองทางรับฟงความคิดเห็นในการกําหนดนโยบาย กฎหมาย กฎระเบียบ และสงเสริมการนําความเห็นประชาชนไปสู การพัฒนาบริการจริงรายพื้นที่ (Strong from the Bottom) พัฒนาระบบแพลตฟอรมกลางในการรับฟงความคิดเห็น ดานนโยบาย กฎหมาย กฎระเบียบของหนวยงานรัฐทั้งที่สงผลกระทบต่อการดําเนินชีวิต และการดําเนินธุรกิจ พรอมจัดทํา กลไกที่ชัดเจนในการติดตามและตอบสนองต่อความคิดเห็นของประชาชนในเรื่องที่มีความเห็นในแนวทางใกลเคียงกัน และมีปริมาณสูง เพื่อสงต่อไปสูการปรับปรุงแกไขกฎระเบียบ โดยหนวยงานที่เกี่ยวของให้เหมาะสมกับความต้องการของประชาชนและทิศทางการพัฒนา ประเทศในแต่ละพื้นที่ 2.1) กําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และรูปแบบวิธีการในการดําเนินการรับความคิดเห็น ไปสูกระบวนการกําหนด นโยบายที่ชัดเจน 2.2) จัดทําตนแบบและทดสอบระบบรับฟงความคิดเห็น และติดตามการตอบสนองต่อความคิดเห็นของประชาชน 2.3) ขับเคลื่อนการเชื่อมโยงฐานขอมูลความคิดเห็นในระดับพื้นที่กับหนวยงานเปาหมายระดับทองถิ่น 2.4) เผยแพร/ประชาสัมพันธให้ประชาชนรับรูและเขาใชระบบ 2.5) ประเมินผลการดําเนินงานเพื่อนํามาพัฒนา/ปรับปรุงชองทางรับฟงความคิดเห็นให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 3) จัดให้มีการเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐในรูปแบบขอมูลดิจิทัลต่อสาธารณะของหนวยงานภาครัฐ โดยประชาชนทั่วไปสามารถ เขาถึงได้อยางเสรีโดยไม่เสียคาใชจาย และสามารถนําไปเผยแพรใชประโยชน หรือพัฒนาบริการและนวัตกรรมในรูปแบบตาง ๆ ได้ โดยการสํารวจความต้องการของประชาชนต่อขอมูลเปดภาครัฐที่มีความสําคัญการเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐ เพื่อจัดลําดับการปรับปรุง ขอมูลเปดภาครัฐสูสาธารณะในรูปแบบที่เหมาะสมตามมาตรฐานและหลักเกณฑ ซึ่งจะสงผลให้ภาคประชาชนและเอกชนนําไปใช ประโยชนได้สะดวก (รายชื่อชุดขอมูลหลักที่สําคัญ (Master Data) ปรากฏตามภาคผนวก 2) 3.1) หนวยงานของรัฐจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐในระดับหนวยงาน ตามประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาล ดิจิทัล เรื่อง ธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ เพื่อให้การเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐ มีคุณภาพ เชื่อถือได้ และสามารถใชได้อยางมีประสิทธิภาพ 3.2) หนวยงานของรัฐเปดเผยขอมูลหรือขาวสารสาธารณะผานศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ (Data.go.th) ตามประกาศ คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเรื่อง มาตรฐานและหลักเกณฑการเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐในรูปแบบขอมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ และให้หนวยงานของรัฐและผู้ใชขอมูลต้องปฏิบัติตามขอกําหนด ขอตกลง หรือเงื่อนไขการให้บริการและการใชขอมูลของศูนยกลาง ขอมูลเปดภาครัฐตามที่สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกําหนด 3.3) สพร. เผยแพร/ประชาสัมพันธให้หนวยงานภาครัฐทราบถึงชุดขอมูลที่ได้เปดเผยผานศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ 3.4) สพร. และ/หรือหนวยงานกลางที่เกี่ยวของสนับสนุนและสรางการมีสวนรวมของประชาชนและทุกภาคสวนในการ ใชประโยชนของขอมูลจากศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ เพื่อต่อยอดหรือพัฒนาบริการและนวัตกรรม ผานกิจกรรมการสรางนวัตกรรม ใหม (Hackathon) ให้ประชาชนและภาคธุรกิจสามารถพัฒนาหรือยกระดับบริการดิจิทัลที่มีมูลคาทางธุรกิจ 3.5) สพร. ประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานรัฐเพื่อนํามาปรับปรุงมาตรฐานและคู่มือ รวมถึงปรับปรุงกลไก ดานนโยบายที่ชวยสงเสริมการเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐในวงกวาง โดยยุทธศาสตรที่ 4 มีดานที่เนนความสําคัญ (Focus Area) 2 ดาน ได้แก 1. การมีสวนรวม โปรงใส และตรวจสอบได้ของประชาชน มุงสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการดําเนินงานภาครัฐ ให้เกิดความโปรงใสและตรวจสอบได้ ด้วยระบบกลางที่ให้ประชาชนเขาถึงขอมูลและมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น 2. การยุติธรรม มุงเนนการยกระดับการเขาถึงกระบวนการยุติธรรมด้วยการบูรณาการขอมูลและชองทางการสื่อสาร เพื่ออํานวยความยุติธรรมที่มีความโปรงใส สะดวก รวดเร็ว และเทาเทียม และมีโครงการสําคัญ จํานวน 9 โครงการ ดังแผนภาพโครงการสําคัญภายใตยุทธศาสตรที่ 4 (รายละเอียดโครงการสําคัญ ภายใตยุทธศาสตรที่ 4 ปรากฏในภาคผนวก 4) 87

Focus Area 2566 2567 2568 2569 2570 หนวยงานผู้รับผิดชอบ 9. โครงการศูนยแลกเปลี่ยนขอมูล กระบวนการยุติธรรม Data Exchange Center (DXC) • สํานักงบประมาณ • สํานักงานปลัดกระทรวงการคลัง • กรมบัญชีกลาง • สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ • สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี • ศูนยดํารงธรรม สํานักงานปลัด กระทรวงมหาดไทย • ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย • สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล • สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล • กรมบัญชีกลาง • กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น • องคกรต่อตานคอรรัปชัน (ประเทศไทย) • สํานักงบประมาณ • สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา • สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล • สํานักงานคณะกรรมการปองกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ • สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล • สํานักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม • ศาลยุติธรรม • สํานักงานอัยการสูงสุด • สํานักงานตํารวจแห่งชาติ • สํานักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม • สํานักงานตํารวจแห่งชาติ • สํานักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม การยุติธรรม การมีสวนรวม โปรงใส และตรวจสอบได้ของ ประชาชน 2. โครงการพัฒนาระบบจัดการเรื่องราวรองทุกข แผนภาพโครงการสําคัญภายใตยุทธศาสตรที่ 4 8. โครงการ Big Data and AI Analytics for Crime Prevention 7. โครงการ e-Justice Case Management and Tracking System 6. โครงการพัฒนาศูนยกลางขอมูลเปดกาครัฐ สงเสริมการเปดเผย และใชประโยชนจากขอมูล (Open Data) 5. โครงการ ปกหมุดพื้นที่เสี่ยง ต่อการทุจริต (Anti Corruption Risk Mapping) 4. โครงการกาษีไปไหน 3. โครงการพัฒนาระบบกลางดานกฎหมาย (Law Portal) 1. โครงการพัฒนาระบบ การจัดการงบประมาณ อิเล็กทรอนิกส (New e-Budgeting) 88

การติดตามและประเมินผลระดับกิจกรรม • ติดตามสถานะการดําเนินงานที่สําคัญ โดย สพร. ติดตามสถานะการดําเนินงานรายไตรมาส • การติดตามตัวชี้วัด โดย สพร. ดําเนินการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดในเดือนที่ 6 ของแต่ละป นับจาก ประกาศแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลแกหนวยงาน เพื่อรวบรวมและรายงานต่อคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล • การประเมินผลการดําเนินงาน โดย สพร. จะรวบรวมและประเมินผลการดําเนินงานในเดือนที่ 12 ของแต่ละป นับจาก ประกาศแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลแกหนวยงาน เพื่อรวบรวมและรายงานต่อคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ทั้งนี้ การติดตามและรายงานสถานะจะขึ้นกับนโยบาย ผลการดําเนินงานสําคัญ ณ ขณะนั้น โดยรอบรายงาน ผลจะเป็นไปตามกําหนดเวลาการประชุมคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 89

แผนภาพต่อไปนี้แสดงระบบนิเวศรัฐบาลดิจิทัล (Digital Government Ecosystem) ที่อธิบายถึงกลไก การขับเคลื่อนรัฐบาลดิจิทัลที่สําคัญผานความรวมมือของภาคสวนตาง ๆ ดังนี้ กลไกการขับเคลื่อนสําคัญด้วยความรวมมือกับหนวยงานรัฐ ภาคเอกชน องคกรระหวางประเทศ และหนวยงานสวนทองถิ่น 05 คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล มีหน้าที่และอํานาจในการจัดทําแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลและเสนอแนะ นโยบายเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ และกําหนดมาตรฐาน ขอกําหนด และหลักเกณฑเกี่ยวกับระบบดิจิทัล รวมถึงให้ขอเสนอแนะ กํากับและติดตามการดําเนินงานของหนวยงานรัฐให้เป็นไปตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ โดยคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลได้มีคําสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการภายใตฯ เพื่อปฏิบัติการในดานตางๆ จํานวน 3 คณะ ได้แก • คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล มีหน้าที่จัดทํานโยบายและแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ศึกษาและ จัดทําแนวทางการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ แกไข ปรับปรุง ยกเลิก หรือเสนอให้มีกฎหมายและกฎระเบียบ ที่เกี่ยวของ รวมถึงกํากับ ติดตาม และประเมินผล • คณะอนุกรรมการสถาปตยกรรมและมาตรฐานการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล มีหน้าที่ดําเนินงานดานการจัดทํา สถาปตยกรรม กําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับระบบดิจิทัล • คณะอนุกรรมการผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงภาครัฐ มีหน้าที่พัฒนาภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจิทัล ประสาน บูรณาการและเชื่อมต่อการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลทั้งในระดับภาครัฐในภาพรวม สวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น อยางเป็นองคาพยพเดียวกัน องคกรระหวางประเทศและภาคีเอกชน หนวยงานรัฐตามดานที่เนนความสําคัญ (Focus Area) หนวยงานรัฐสวนกลาง แผนภาพระบบนิเวศรัฐบาลดิจิทัล (Digital Government Ecosystem) บูรณาการเชื่อมโยงขอมูลในแต่ละดานที่สําคัญ เพื่อเป็นฐานในการพัฒนาการให้บริการ บนแพลตฟอรมรวม แกผู้ใชงาน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน ปรับกระบวนการทํางาน และใชงานโครงสรางพื้นฐาน หรือบริการกลางรวมของทุกหนวยงานรัฐ โดยมีมาตรฐาน แนวทางที่ดําเนินการได้งายมีตัวชี้วัดที่ชัดเจน • ให้บริการโครงสรางพื้นฐานในการทํางานของรัฐทั้งดานเครื่องมือ และความมั่นคงปลอดภัย • กําหนดระเบียบ แนวทางการดําเนินงาน และมาตรฐานการทํางาน ทั้งดานขอมูล กระบวนการทํางานที่กระชับ ให้ทุกหนวยงานรัฐ • พัฒนาบริการกลางรวมเพื่อความคุมคา และการทํางานไรรอยต่อ • พัฒนาทักษะ และขีดความสามารถของบุคลากรรัฐ • บริหารจัดการดานงบประมาณและประเมินผลความสําเร็จของ โครงการภายใตแผนอยางต่อเนื่อง และโปรงใส พัฒนาการมีสวนรวมของเอกชนในการพัฒนาดานเทคโนโลยีและการให้บริการรัฐ ด้วยการรวมพัฒนาผาน PPP เชน Digital Sandbox, Gov Service Hackathon ประกอบด้วย 1. องคการบริหารสวนจังหวัด 2. เทศบาล (เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตําบล) 3. องคการบริหารสวนตําบล 4. องคกรปกครองสวนทองถิ่นรูปแบบพิเศษ (กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา) ยกระดับศูนยดิจิทัลชุมชนให้เป็นจุดเสริมสรางสมรรถนะและ พัฒนาบุคลากรทองถิ่น ในดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร รวมถึงอาจพัฒนาเป็นหนวยให้บริการดิจิทัล ของรัฐให้แกทองถิ่นที่ยังมีชองวางดานดิจิทัลต่อไป การสงเสริมให้รัฐบาลทองถิ่นมีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย หรือบริการที่เหมาะสมกับพื้นที่และบริบทพื้นที่ของตนเอง ผานการเปดชองทางความรวมมือในการนําเสนอโครงการ หรือ กระบวนการทํางานระหวางทองถิ่นสะทอนกลับสูสวนกลาง /กระทรวงที่เกี่ยวของกับประเด็นนั้นๆ จะทําให้เกิดการ พัฒนารัฐบาลดิจิทัลจากฐานรากมากขึ้น แผนปฏิบัติการหรือแผนงานของหนวยงานภาครัฐ คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล • คณะอนุกรรมการขับเคลื่อน การพัฒนารัฐบาลดิจิทัล • คณะอนุกรรมการสถาปตยกรรม และมาตรฐานการพัฒนารัฐบาล ดิจิทัล • คณะอนุกรรมการผู้บริหาร เทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ระบบติดตามประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) แผนงานบูรณาการ รัฐบาลดิจิทัล ปรับปรุงกระบวนการทํางานและ การให้บริการดิจิทัลแกประชาชน ตามภารกิจของหนวยงาน หนวยงานรัฐทั่วไป สนับสนุนความรวมมือกับทุกภาคสวนเพื่อสรางมูลคา นวัตกรรมให้กับบริการของรัฐ และสรางการมีสวนรวม จากภาคประชาชน นโยบาย มติ มาตรฐาน ที่เกี่ยวของ หนวยงานรัฐสวนทองถิ่น 90

ดังนั้น คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลสามารถกํากับติดตามการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐให้เป็นไป ตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ รวมถึงนโยบาย มติ มาตรฐานที่เกี่ยวของกับระบบดิจิทัล ที่ใชเป็นกรอบและทิศทางใน การบริหารงานและการพัฒนาบริการดิจิทัล เพื่อให้หนวยงานของรัฐมีการปฏิบัติงานที่สอดคลองเชื่อมโยงและเกิดการ บูรณาการในการดําเนินโครงการดานดิจิทัลตางๆ รวมกัน ทั้งนี้ โครงการภายใตแผนงานบูรณาการรัฐบาลดิจิทัล ถือเป็น สวนหนึ่งของโครงการภายใตแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ด้วย หนวยงานรัฐสวนกลาง ปรับกระบวนการทํางาน และใชงานโครงสรางพื้นฐานหรือบริการกลางรวมของ ทุกหนวยงานรัฐ โดยมีมาตรฐานแนวทางที่ดําเนินการได้งาย มีตัวชี้วัดที่ชัดเจน โดยมีหน้าที่ 1) ให้บริการโครงสรางพื้นฐาน ในการทํางานของรัฐ ทั้งดานเครื่องมือ และความมั่นคงปลอดภัย 2 ) กําหนดระเบียบ แนวทางการดําเนินงาน และ มาตรฐานการทํางาน ทั้งดานขอมูลและกระบวนการทํางานที่กระชับให้ทุกหนวยงานรัฐ 3) พัฒนาบริการกลางรวม เพื่อความคุมคา และการทํางานไรรอยต่อ 4) พัฒนาทักษะและขีดความสามารถของบุคลากรรัฐ และ 5) บริหารจัดการ ดานงบประมาณและประเมินผลความสําเร็จของโครงการภายใตแผนอยางต่อเนื่อง และโปรงใส โดยมีหนวยงานสําคัญ ดังนี้ • กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม • กรมบัญชีกลาง • สํานักงบประมาณ • สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน • สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา • สํานักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแห่งชาติ • สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน • สํานักงานคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล • สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ • สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส • สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล • สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หนวยงานรัฐตามดานที่เนนความสําคัญ (Focus Area) สําหรับผู้มีสวนได้สวนเสียดานการให้บริการแบบ เฉพาะเจาะจง (Specific Services) รัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยจะมุงเนนไปที่การให้บริการที่ตอบสนองต่อบทบาท หน้าที่ (Functions) ของรัฐบาลดิจิทัล และดานที่เนนความสําคัญ (Focus Area) 10 ดาน โดยหนวยงานมีบทบาทเป็น ผู้ให้บริการที่ต้องบูรณาการเชื่อมโยงขอมูลในแต่ละดานที่สําคัญ เพื่อเป็นฐานในการพัฒนาการให้บริการบนแพลตฟอรมรวม แกผู้ใชงาน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน 91

องคกรระหวางประเทศและภาคีเอกชน สนับสนุนความรวมมือกับทุกภาคสวนเพื่อสรางมูลคา นวัตกรรมให้ กับบริการของรัฐ และสรางการมีสวนรวมจากภาคประชาชน โดยพัฒนาการมีสวนรวมของเอกชนในการพัฒนา ดานเทคโนโลยี และการให้บริการรัฐด้วยการรวมพัฒนาผานการรวมทุนระหวางภาครัฐและเอกชน (Public Private Partnership หรือ PPP) Digital Sandbox และ Government Service Hackathon นอกจากนี้ ประเด็นดานขอมูลผู้ใชงานและขอมูลที่เกี่ยวของเฉพาะดานที่เนนความสําคัญ มีผู้มีสวนได้ สวนเสียหลักเป็นหนวยงานรัฐระดับกระทรวงทั้ง 20 กระทรวงที่รับบทบาทเป็นผู้ควบคุมขอมูล และประมวลขอมูลใน ดานที่เกี่ยวของ โดยดําเนินงานตามกฎหมายคุมครองขอมูลสวนบุคคลที่จะต้องมีการคํานึงถึงความเป็นสวนตัวของ เจ้าของขอมูลกอนนําไปใชงาน โดยขอมูลของแต่ละหนวยงานดังกลาวจะต้องมีมาตรฐานธรรมาภิบาลขอมูลตามที่ กฎหมายกําหนด ซึ่งจะนําไปเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลกันได้ผานศูนยกลางแลกเปลี่ยนขอมูลที่สําคัญของรัฐ ได้แก ศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางภาครัฐ (Government Data Exchange Center หรือ GDX) และระบบการเชื่อมโยงฐาน ขอมูลประชาชนของทุกสวนราชการกับฐานขอมูลทะเบียนราษฎร (Linkage Center) ทั้งนี้ ในสวนของบริการพื้นฐานกลางที่หนวยงานรัฐสามารถใชรวมกันได้ จะมีผู้ให้บริการในลักษณะที่เป็น แพลตฟอรม (Government as a Platform) ที่ประกอบไปด้วย สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล กรมการปกครอง บริษัท ผู้ให้บริการยืนยันตัวตน แอปพลิเคชันเปาตังและระบบพรอมเพยที่เชื่อมการจายสวัสดิการของรัฐสูประชาชนตางๆ โดยมีระบบบริการพื้นฐานกลางหลายประเภท เชน การจัดทําแบบคําขอและยื่นคําขอ (Register) การแจงเตือน (Notify) การพิสูจนและยืนยันตัวตน (Verify) และการชําระคาธรรมเนียม (Pay) เป็นตน 92

หนวยงานรัฐทั่วไป ปรับปรุงกระบวนการทํางานและการให้บริการดิจิทัลแกประชาชนตามภารกิจของ หนวยงาน โดยการนําแพลตฟอรมหรือระบบบริการกลาง (Common Services) และโครงสรางพื้นฐานที่พัฒนา โดยหนวยงานรัฐสวนกลาง มาใชยกระดับการให้บริการประชาชนผานระบบงานดิจิทัล รวมถึง การจัดทําธรรมาภิบาลขอมูล ของหนวยงาน การเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลผานศูนยกลางแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ การเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐ ผานศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ และการดําเนินงานดานกระบวนการและระบบงานดิจิทัลตามที่คณะกรรมการพัฒนา รัฐบาลดิจิทัลกําหนด พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 ระบุให้หนวยงานของ รัฐต้องจัดทําหรือปรับปรุงแผนปฏิบัติการหรือแผนงานให้สอดคลองกับแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ พรอมทั้งสง แผนปฏิบัติการหรือแผนงานดังกลาวให้สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (สพร.) ทราบ โดย สพร. จะติดตามสถานะ การดําเนินงานและประเมินผล เพื่อรายงานต่อคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในการให้ขอเสนอแนะและ/หรือแนวทาง การแกไขปรับปรุงให้การขับเคลื่อนการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลบรรลุเปาหมายตามที่กําหนดไว นอกจากนี้ หนวยงานของรัฐ ต้องรายงานผลการดําเนินงานผานระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) ของสํานักงานสภาพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติด้วย หนวยงานสวนทองถิ่น การสงเสริมให้รัฐบาล ทองถิ่นมีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย หรือบริการที่ เหมาะสมกับพื้นที่และบริบทของพื้นที่ตนเอง ผานการเปด ชองทางความรวมมือในการนําเสนอโครงการ หรือ กระบวนการทํางานของทองถิ่น สะทอนกลับสูสวนกลาง /กระทรวงที่เกี่ยวของกับประเด็นนั้น ๆ จะทําให้เกิด การพัฒนารัฐบาลดิจิทัลจากฐานรากมากขึ้น รวมทั้ง ยกระดับศูนยดิจิทัลชุมชนให้เป็นจุดเสริมสรางสมรรถนะ และพัฒนาบุคลากรทองถิ่นในดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร รวมถึง อาจพัฒนาเป็นหนวยให้บริการ ดิจิทัลของรัฐแกทองถิ่นที่ยังมีชองวางดานดิจิทัลต่อไป 93

แผนการเตรียมความพรอม 06 ในการขับเคลื่อนการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยให้เกิดการนําเทคโนโลยีมาใชงาน เกิดการปรับปรุง การบริหารจัดการ บูรณาการขอมูลและการทํางานของรัฐให้เกิดความยืดหยุน และมีความมั่นคงปลอดภัยและมีธรรมาภิบาล หนวยงานรัฐควรดําเนินการตามกลไกการขับเคลื่อนนโยบายไปสูการปฏิบัติในรูปแบบตางๆ เพื่อการเตรียมความพรอม ของหนวยงานรัฐสําหรับการแปลงยุทธศาสตร/กลยุทธ สูแผนปฏิบัติการ และเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องกับการดําเนินงาน ในแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2563 - 2565 ซึ่งจะต้องอาศัยกลไกการขับเคลื่อนสําคัญ ดังนี้ กลไกดานนโยบาย ตามที่พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล มีหน้าที่และอํานาจในการเสนอแนะนโยบายและจัดทําแผน พัฒนารัฐบาลดิจิทัลเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ การจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ การวาง ระเบียบหรือขอกําหนดกลางในการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลดิจิทัลผานศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลาง เพื่อ เป็นหลักการและแนวทางในการดําเนินการให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. การบริหารงานฯ รวมทั้งการกําหนดมาตรฐาน ขอกําหนด และหลักเกณฑเกี่ยวกับระบบดิจิทัล การกําหนดแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรภาครัฐ เพื่อประโยชนในการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล ตลอดจนให้คําแนะนําหรือขอเสนอแนะ แกหนวยงานของรัฐ พรอมทั้งการกํากับติดตามการดําเนินงานของศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลาง และศูนยกลาง ขอมูลเปดภาครัฐ รวมทั้งเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้มีการดําเนินงานตามยุทธศาสตร เปาหมายที่กําหนด อีกทั้ง คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลอาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือบุคคลใดเพื่อปฏิบัติการตามที่ คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลมอบหมาย ดังนั้น นโยบายในการไปสูการเป็นรัฐบาลดิจิทัล คณะกรรมการ พัฒนารัฐบาลดิจิทัลและอนุกรรมการที่ถูกจัดตั้ง จึงเป็นผู้ผลักดันให้เกิดนโยบายไปสูการเป็นรัฐบาลดิจิทัล โดย สพร. จะเป็นหนวยงานที่เชื่อมโยงระหวางผู้กําหนดนโยบายและผู้รับนโยบายไปปฏิบัติ หนวยงานรัฐซึ่งเป็น ผู้ที่รับนโยบายไปปฏิบัติจะดําเนินการจัดทําโครงการให้สอดคลองกับแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ตามขอกําหนด ที่คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลได้กําหนดแนวทางไว กลไกการทํางานรวมกัน เพื่อให้หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของสามารถดําเนินกิจกรรมหรือโครงการรวมกัน ภายใตแผนฯ ฉบับนี้ได้ จําเป็นต้องมีการจัดทําโครงการตนแบบที่ใชเครื่องมือดิจิทัลกลาง ที่สามารถใชรวมกัน ระหวางหนวยงานรัฐให้เกิดความสําเร็จ เพื่อเป็นตนแบบให้หนวยงานอื่นๆ ดําเนินการโดยงาย กําหนด framework ดานธรรมาภิบาลดิจิทัลกลางให้เห็นความสําคัญของธรรมาภิบาลรวมกัน กลไกดานงบประมาณ จากผลการรายงานการดําเนินงานตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2563 – 2565 พบวาหลายหนวยงานระบุวาไม่สามารถดําเนินงานได้ตามแผนเนื่องจากขาดงบประมาณ ที่ไม่ได้รับการสนับสนุนเพียงพอ จึงต้องมีการเพิ่มประเด็นเรื่อง การกําหนดเกณฑในการอนุมัติงบประมาณ เชน งบประมาณบูรณาการรัฐบาลดิจิทัลในระยะถัดไป ให้มีการตรวจสอบความเหมาะสมวาสอดคลองกับ ยุทธศาสตร ความซ้ําซอนกับหนวยงานรัฐอื่น เพื่อให้การจัดสรรงบประมาณเป็นไปอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด 94

กลไกการมีสวนรวมจากหนวยงานภาคีและเอกชน การมีสวนรวมจากภาคีและภาคเอกชนเป็นกลไกที่ชวย ผลักดันให้ความสําเร็จของรัฐบาลดิจิทัลชัดเจนยิ่งขึ้น อาทิ การมีสวนรวมในการคิด การกําหนดนโยบาย การวางแผน แบงปนขอมูล ตลอดจนการสนับสนุนดานงบประมาณ เป็นตน ซึ่งเป็นทิศทางที่เกิดขึ้นในการดําเนินงาน ดานรัฐบาลดิจิทัลของตางประเทศ ดังนั้นการสงเสริมพัฒนาการจัดซื้อจัดจางภาครัฐให้ใชงานงาย และให้ SMEs สามารถเขาถึงการให้บริการกับรัฐได้ ผานการลดขอจํากัดในการเขาถึงการแขงขัน และระบบจัดซื้อ จัดจางที่เป็นมิตรกับผู้ใชงาน โดยการสนับสนุนความรวมมือในลักษณะของการทํา Digital Testbed เปดขอมูลให้เอกชนพัฒนาบริการของรัฐ หรือ การทํา Digital Sandbox ในการละเวนระเบียบบางประการ เพื่อพัฒนาบริการนํารอง จะชวยให้เกิดการมีสวนรวมระหวางภาคีได้ กลไกการปรับปรุงโครงสรางระบบราชการดานบุคลากรภาครัฐ (Agile Unit) ยกระดับบุคลากรภาครัฐให้ ทํางานภายใตสภาพแวดลอมและบริบทที่เปลี่ยนแปลง โดยสงเสริมให้ภาคเอกชน หรือบุคลากรภายนอกเขามา มีสวนรวมในการยกระดับการทํางานของภาครัฐ เชน การนําเทคโนโลยีมาลดภาระงานประจํา และพัฒนาทักษะ ของบุคลากรรัฐ พรอมสรางเสนทางความกาวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) ที่ชัดเจนให้กับงานที่มี ความสําคัญตามบริบทของโลกดิจิทัล หรือ การจัดตั้งคณะทํางานดาน Digital Transformation ของ หนวยงานตามตําแหนงหน้าที่ที่สําคัญ เพื่อพัฒนางานบริการรัฐโดยเฉพาะ กลไกการติดตามและประเมินผลโครงการ การติดตามและประเมินผลโครงการ เป็นกลไกที่สะทอนวา แผนงาน/โครงการที่หนวยงานรัฐดําเนินการมีผลสัมฤทธิ์ (Efficiency) ประสิทธิผล (Effectiveness) ผาน การประเมินผลผลิต ผลลัพธ และผลกระทบเทียบกับเปาหมาย และตนทุนโครงการ จึงควรมีการพัฒนา ชุดขอมูลการดําเนินงานโครงการ ตั้งแต่การของบประมาณ ติดตามการดําเนินงาน การประเมินผล ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ไปจนถึงการเบิกจายงบประมาณโครงการ ต้องมีการเชื่อมโยงขอมูล เหลานี้รวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของในการรวบรวมขอมูลดังกลาว เพื่อตรวจสอบติดตามและประเมินผลโครงการ ของแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ได้อยางมีประสิทธิภาพ กลไกการรวมงานกับรัฐบาลทองถิ่น (Local Government) การสงเสริมให้รัฐบาลทองถิ่นมีสวนรวม ในการกําหนดนโยบาย หรือบริการที่เหมาะสมกับพื้นที่และบริบทของพื้นที่ตนเอง ผานการเปดชองทาง ความรวมมือในการนําเสนอโครงการ หรือกระบวนการทํางานระหวางของทองถิ่น สะทอนกลับสูสวนกลาง จะทําให้เกิดการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลจากฐานรากมากขึ้น 95

ปจจัยสูความสําเร็จ (Key Success Factor) 07 เพื่อให้การขับเคลื่อนการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยในระยะ พ.ศ. 2566 – 2570 เป็นไปได้อยางมี ประสิทธิภาพและพัฒนาการดําเนินงานของรัฐบาลดิจิทัลได้ครบถวนทั้งองคาพยพ ปจจัยสูความสําเร็จในการผลักดัน แผนฉบับนี้สูความสําเร็จจึงถูกแบงออกเป็น 3 ประเด็น ได้แก การพัฒนาดานบุคลากร (People) เนื่องจากบุคลากรผู้ปฏิบัติงานดานรัฐบาลดิจิทัลในทุกระดับ ตั้งแต่ผู้ให้ บริการกับประชาชนโดยตรง ไปจนถึงผู้บังคับบัญชาที่มีบทบาทในการกําหนดทิศทางการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในแต่ละ องคกร รวมถึงผู้รับบริการดานรัฐบาลดิจิทัล ทั้งประชาชนและภาคเอกชน ลวนเป็นปจจัยสําคัญที่ผลักดันให้เกิด การบริการหรือการดําเนินงานดานรัฐบาลดิจิทัล ดังนั้น การเพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากรและประชาชนให้มีทักษะ ความสามารถดานดิจิทัล รวมถึงทัศนคติในการปรับตัวและใชงานเทคโนโลยีดิจิทัลอยางเทาทันจึงเป็นประเด็นที่สําคัญ สูงสุด โดยการพัฒนาดานบุคลากร ประกอบด้วย • ปรับปรุงขอบเขตการดําเนินงาน ทัศนคติในการดําเนินงานและให้บริการของบุคลากรภาครัฐ • มุงพัฒนาทักษะดิจิทัลขั้นพื้นฐานให้ประชาชน • ปรับปรุงโครงสรางอัตรากําลังและแนวทางในการจัดจางบุคลากรดานดิจิทัลสําหรับหนวยงานภาครัฐให้ทันสมัย รองรับความต้องการทักษะดานดิจิทัลที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว การพัฒนากระบวนงาน (Process) ขั้นตอนการทํางานภายในของรัฐและกระบวนการดําเนินงานเพื่อให้ บริการแกผู้รับบริการเป็นอีกปจจัยสําคัญที่รัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยยังสามารถปรับปรุงให้มีความสะดวกและ รวดเร็วมากขึ้นได้ ดังนั้น การปรับปรุงกระบวนงานของรัฐให้มีความเรียบงาย สะดวกต่อผู้รับบริการ และคํานึงถึงผู้รับ บริการเป็นสําคัญ จะนําไปสูการให้บริการรัฐบาลดิจิทัลที่สะดวก ทันสมัย และตอบโจทยประชาชนตามเปาหมายของ แผนฯ ฉบับนี้ได้ โดยการพัฒนาดานกระบวนงาน ประกอบด้วย • ปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบที่ทําให้การให้บริการและการดําเนินงานด้วยระบบดิจิทัลขัดของ หรือเกิดความลาชา • พัฒนากระบวนการดําเนินงานของรัฐที่คํานึงถึงประชาชนเป็นศูนยกลาง • สนับสนุนให้เกิดกระบวนการคิดเชิงออกแบบในการพัฒนาบริการรัฐแต่ละขั้นตอน • สงเสริมให้เกิดบริการดิจิทัลของรัฐที่เบ็ดเสร็จครบวงจร • สงเสริมให้เกิดการพัฒนาบริการและปรับปรุงกระบวนงานของรัฐผานการรวมมือระหวางรัฐและเอกชน 96

“Lean and customer centric process” Process “Increase efficiency by digital workforce” People Technology “Effective investment and ease of use” การพัฒนาและปรับใชเทคโนโลยี (Technology) เทคโนโลยีและนวัตกรรมมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา อยู่ตลอด ดังนั้น การเลือกลงทุนในเทคโนโลยีที่คุมคา มีความงาย สะดวกในการใชงานสําหรับภาครัฐ และการเขาถึง บริการของประชาชนและภาคธุรกิจ จะนําไปสูการให้บริการรัฐบาลดิจิทัลที่สะดวก ทันสมัย มีมาตรฐาน โดยการพัฒนา ดานเทคโนโลยี ประกอบด้วย • พัฒนาเทคโนโลยีการให้บริการดิจิทัลของรัฐในรูปแบบแพลตฟอรมที่สามารถเชื่อมต่อแอปพลิเคชัน และขอมูลได้ สะดวก มีมาตรฐาน • สนับสนุนให้มีแนวทางการปฏิบัติงานดานรัฐบาลดิจิทัลที่สําคัญสําหรับหนวยงานรัฐ • กําหนดให้มีมาตรฐานขอมูล บริการ โครงสรางพื้นฐานรวมของรัฐ เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของรัฐที่ยืดหยุนและ ประหยัดงบประมาณ • สงเสริมการพัฒนานวัตกรรมของรัฐผานการรวมมือระหวางรัฐและเอกชน 97

ภาคผนวก 98

ภาคผนวก 1: รายชื่อมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการเกี่ยวกับระบบดิจิทัล ชื่อมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการเกี่ยวกับระบบดิจิทัล หนวยงานผู้รับผิดชอบ 1. ดานธรรมาภิบาลขอมูล (Data Governance) 1.1 ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง ธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ* 1.2 แนวทางการจัดทําบัญชีขอมูลภาครัฐและแนวทางการลงทะเบียนบัญชีขอมูลภาครัฐ 1.3 ขอเสนอแนะสําหรับการจัดทํานโยบายและแนวปฏิบัติการบริหารจัดการขอมูล 1.4 หลักเกณฑการประเมินคุณภาพขอมูลสําหรับหนวยงานภาครัฐ 1.5 มาตรฐานกรอบธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ DGF V 2.0 1) หลักเกณฑการจัดหมวดหมู่และระดับชั้นขอมูล 2) ขอเสนอแนะนโยบาย/แนวปฏิบัติการใชและแบงปนขอมูล สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 2. ดานการเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐ (Open Data) 2.1 ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง มาตรฐานและหลักเกณฑ การเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐในรูปแบบขอมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ* 2.2 สัญญาอนุญาตการใชขอมูลเปดในศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 3. ดานกระบวนการหรือการดําเนินงานทางดิจิทัล (Digitalization) 3.1 การพิสูจนและยืนยันตัวตนทางดิจิทัล (Digital Identity) 3.1.1 ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง มาตรฐานและหลักเกณฑ การจัดทํากระบวนการและการดําเนินงานทางดิจิทัลวาด้วยเรื่องการใชดิจิทัล ไอดีสําหรับบริการภาครัฐ สําหรับบุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทย (Digital ID)* 3.1.2 การพิสูจนและยืนยันตัวตนทางดิจิทัล (Digital ID) สําหรับนิติบุคคล 3.2 การลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส (e-Signature) 3.2.1 แนวปฏิบัติรัฐบาลดิจิทัลดานการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส (e-Signature) สําหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ 3.2.2 ขอเสนอแนะมาตรฐานฯ การลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส ขมธอ. 23-2563 3.3 มาตรฐานกระบวนการทางดิจิทัล 3.3.1 มาตรฐานกระบวนการทางดิจิทัลภาครัฐ (Digital Process Standard for Government) สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 99

ชื่อมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการเกี่ยวกับระบบดิจิทัล หนวยงานผู้รับผิดชอบ 4. ดานการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลดิจิทัล (Data Integration and Exchange) 4.1 มาตรฐานรัฐบาลดิจิทัล วาด้วยกรอบแนวทางการพัฒนามาตรฐาน การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ (Thailand Government Information eXchange : TGIX)* 5. ดานความมั่นคงปลอดภัยและความนาเชื่อถือ (Security and Trust) 5.1 ประมวลแนวทางปฏิบัติและกรอบมาตรฐานดานการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยไซเบอร 5.2 ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เรื่อง มาตรฐานการรักษา ความมั่นคงปลอดภัยของขอมูลสวนบุคคล 5.3 ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เรื่อง หลักเกณฑการเก็บ รักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรของผู้ให้บริการ 3.3.2 แนวปฏิบัติรัฐบาลดิจิทัล และเครื่องมือดานดิจิทัลไอดีสําหรับบริการภาครัฐ (Risk Assessment Tool) 3.3.3 ชุดแนวปฏิบัติรัฐบาลดิจิทัล - ดานการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส (e-Signature) - ดานเอกสารอิเล็กทรอนิกส (e-Document) 3.3.4 แนวทางการปฏิบัติวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสให้กับกระบวนการที่พบ โดยทั่วไปในบริการดิจิทัลภาครัฐ (Common Process) 8 กระบวนการ 3.4 มาตรฐานขอความการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส มธอ. 10-2559 3.5 มาตรฐานการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส (E-CMS) สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล • สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล • สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส • สํานักงานคณะกรรมการพัฒนา ระบบราชการ • สํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม หมายเหต ุ * หมายถึง มาตรฐานที่ออกโดยคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลและประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว 100

  1. ขอมูลผู้ลงทะเบียนในโครงการเงินอุดหนุนเพื่อ การเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 2. ขอมูลผู้ชวยคนพิการ 3. ขอมูลการให้ความชวยเหลือผู้ประสบปญหา ทางสังคม 4. ขอมูลใบอนุญาตอาหาร 5. ขอมูลการจดแจงเครื่องสําอาง 6. ขอมูลใบอนุญาตยา 7. ขอมูลสถานพยาบาลเอกชน 8. ขอมูลผู้ดําเนินการสถานพยาบาล 9. ขอมูลใบอนุญาตโรงเรียนเอกชน 10. ขอมูลผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา (ตรวจสอบเลขที่ใบอนุญาต) 11. ขอมูลวุฒิการศึกษา 12. ขอมูลอาชญาบัตร 13. ขอมูลประทานบัตร 14. ขอมูลแปลงเพาะปลูก (ขาว/ยางพารา) กรมกิจการเด็กและเยาวชน กรมสงเสริมและพัฒนา คุณภาพชีวิตคนพิการ สํานักงานปลัดกระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย สํานักงานคณะกรรมการ อาหารและยา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สํานักงานคณะกรรมการ สงเสริมการศึกษาเอกชน สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา สํานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและ การเหมืองแร กรมสงเสริมการเกษตร 1. ความเหลื่อมล้ําทางสิทธิ สวัสดิการประชาชน 2. สุขภาพและการแพทย 3. การศึกษา 4. สิ่งแวดลอม 5. การเกษตร ภาคผนวก 2 : รายชื่อชุดขอมูลหลักที่สําคัญ (Master Data) และหนวยงาน เจ้าของขอมูลสําหรับการเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐผานศูนยกลาง ข อมูลเปดภาครัฐและเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐผาน ศูนยกลางแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ ดานสําคัญ ชื่อชุดขอมูล หนวยงานเจ้าของขอมูล 101

กรมพัฒนาธุรกิจการคา กรมการคาตางประเทศ สํานักงานคณะกรรมการสง เสริมการลงทุน กรมการพัฒนาชุมชน กรมเจ้าทา สํานักงานตรวจคนเขาเมือง กรมสรรพากร กรมการจัดหางาน กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กรมสอบสวนคดีพิเศษ สํานักงานตํารวจแห่งชาติ กรมการขนสงทางบก กรมที่ดิน กรมการปกครอง 6. การสงเสริมวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดยอม (SMEs) 7. แรงงาน 8. การยุติธรรม ขอมูลทั่วไป ดานสําคัญ ชื่อชุดขอมูล หนวยงานเจ้าของขอมูล 15. หนังสือบริคณหสนธิ 16. ใบทะเบียนพาณิชย 17. ขอมูลทะเบียนสัญญาหลักประกันธุรกิจ (เลขบัตรประชาชน) 18. ขอมูลทะเบียนพาณิชย (เลขบัตรประชาชน) 19. ขอมูลทะเบียนผู้ประกอบการสงออก และนําเขาสินคา 20. ขอมูลผู้ขอรับการสงเสริมการลงทุน 21. ทะเบียนผู้ประกอบการ OTOP 22. ใบอนุญาตใชเรือ 23. ใบสําคัญประจําตัวคนตางดาว 24. ใบทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่ม ภ.พ. 20 25. ทะเบียนแรงงานตางดาว (ทุกกลุ่ม) 26. ขอมูลการพัฒนาฝมือแรงงาน/ฐานขอมูล ผู้เขารับการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน 27. ขอมูลผู้ต้องหาตามหมายจับคดีพิเศษ 28. ขอมูลประวัติผู้กระทําความผิด 29. ขอมูลหมายจับ 30. ขอมูลทะเบียนรถยนต 31. ขอมูลใบอนุญาตขับรถ 32. ขอมูลการครอบครองกรรมสิทธิ์ที่ดิน และหองชุด 33. ขอมูลบัตรประจําตัวประชาชน 34. ขอมูลทะเบียนบ้าน (รายละเอียดบ้าน) 35. ขอมูลทะเบียนบ้าน (รายการคนในบ้าน) 102

กรมการปกครอง กรมพลศึกษา กรมโยธาธิการและผังเมือง การไฟฟาสวนภูมิภาค การประปานครหลวง กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมประชาสัมพันธ กรมทรัพย์สินทางปญญา สํานักงานคณะกรรมการกํากับ และสงเสริมการประกอบ ธุรกิจประกันภัย ขอมูลอื่นๆ ดานสําคัญ ชื่อชุดขอมูล หนวยงานเจ้าของขอมูล 36. ขอมูลทะเบียนราษฎร 37. ขอมูลใบสูติบัตร 38. ขอมูลใบมรณบัตร 39. ขอมูลภาพใบหน้า 40. ขอมูลประวัติการจดทะเบียนสมรส 41. ขอมูลการจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อสกุล 42. ขอมูลหนังสือรับรองการเกิด 43. ขอมูลสนามกีฬาในประเทศไทย 44. ขอมูลทะเบียนเป็นผู้รับจางกอสราง 45. ขอมูลใบอนุญาตให้ใชอาคารเพื่อประกอบกิจการ โรงมหรสพ 46. ขอมูลผู้ใชไฟฟาและคาไฟฟายอนหลัง 6 เดือน 47. ขอมูลการใชน้ําประปาการประปานครหลวง 48. ขอมูลใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง. 4) 49. ฐานขอมูลทะเบียนอาสาสมัครประชาสัมพันธ ประจําหมู่บ้านและชุมชน 50. ฐานขอมูลผู้จดทะเบียนลิขสิทธิ์ 51. ฐานขอมูลผู้จดทะเบียนสิทธิบัตร 52. ระบบคาเสียหายเบื้องตน 103

ยุทธศาสตรที่ 1 : ยกระดับการเปลี่ยนผานดิจิทัลภาครัฐ เพื่อการบริหารงานที่ยืดหยุน คลองตัว และขยายสูหนวยงานภาครัฐระดับทองถิ่น เปาหมาย ตัวชี้วัด หนวยนับ สถานะในอดีต 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 คาเปาหมาย 1. ภาครัฐดําเนินการจัดทําขอมูล ตามกรอบธรรมาภิบาลขอมูล ภาครัฐ 2. ภาครัฐดําเนินการเชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน ผานศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลาง 3. ภาครัฐมีกระบวนการทํางาน ที่เป็นดิจิทัลอยางเต็มรูปแบบ 4. มีชุดเทคโนโลยี และบริการ กลางที่มีมาตรฐาน สําหรับการ ให้บริการของรัฐ 5. บุคลากรรัฐได้รับการอบรม และมีทักษะดานดิจิทัลอยาง ทั่วถึงและต่อเนื่อง 1.1 รอยละของหนวยงานรัฐ ที่จัดทําขอมูลตามกรอบ ธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ 2.1 รอยละความสําเร็จของ การแลกเปลี่ยน เชื่อมโยงขอมูล ในดานสําคัญ 3.1 รอยละของหนวยงานที่ ดําเนินการตามวิธีปฏิบัติ ราชการทางอิเล็กทรอนิกส 4.1 รอยละความสําเร็จของ ระบบกลางหรือแอปพลิเคชัน สนับสนุนกลาง (Shared Application Enabling Services) 5.1 รอยละของบุคลากรภาครัฐ ดานไอทีหรือปฏิบัติงานดาน ดิจิทัลของทุกหนวยงานมีความ รูและทักษะดิจิทัลรองรับการ เปลี่ยนผานองคกรสูรัฐบาล ดิจิทัล รอยละ รอยละ รอยละ รอยละ รอยละ 4 25 N/A N/A N/A 298,201 คน* 10.05 26 48 ชุดขอมูล บน GDX 18.06 26 มี e-Payment Platform และอยู่ ระหวางการ พัฒนา Digital ID 30 20 20 รอยละ 60 3 ระบบ 50 50 40 40 รอยละ 100 5 ระบบ 27 60 70 60 60 – 70 90 80 80 – 80 100 100 (ครบ 10 ดาน) 100 – 90 647,695 คน* ภาคผนวก 3 : เปาหมาย ตัวชี้วัด และคาเปาหมายของแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ของประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2570 เปาหมาย ตัวชี้วัด หนวยนับ สถานะในอดีต 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 คาเปาหมาย 1. ให้บริการที่ตอบสนองประชาชน และลดความเหลื่อมล้ําในการเขาถึง บริการ (Responsive Government) 2. เพิ่มความสามารถและศักยภาพ ในการแขงขันภาคธุรกิจ (Enhance Competitiveness) 3. โปรงใส เปดเผยขอมูล ประชาชน เชื่ อถือและมีสวนรวม (Open Government & Trust) 4. ภาครัฐที่ปรับตัวทันการณ (Agile Government) 1. ระดับความพึงพอใจของ ประชาชนต่อการใชบริการ ออนไลนภาครัฐ 2. อันดับดัชนีรัฐบาล อิเล็กทรอนิกส (EGDI) ของไทย รอยละ อันดับ 79.76 23 N/A N/A ประเมินผลโดย สํานักงาน ก.พ.ร. ทุกๆ 2 ป 55 24 55 24 80 - - 80 - - 85 ไม่ต่ํากวา อันดับที่ 40 ของโลก 85 - - 80 ไม่ต่ํากวา อันดับที่ 45 ของโลก ไม่ต่ํากวา อันดับที่ 45 ของโลก ไม่ต่ํากวา อันดับที่ 40 ของโลก อันดับ 2. อันดับดัชนีรัฐบาล อิเล็กทรอนิกส (EGDI) ของไทย 23 ผลสํารวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2564 (สํานักงาน ก.พ.ร., 2564) 24 E-Government Survey 2022 The Future of Digital Government (UN, 2022) 25 ขอมูลความพรอมหนวยงานภาครัฐ จากผลสํารวจระดับความพรอมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ประจําป 2564 26 ขอมูลความพรอมหนวยงานภาครัฐ จากผลสํารวจระดับความพรอมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ประจําป 2565 27 ระบบกลางหรือแอปพลิเคชันสําคัญ เชน Digital ID e-Payment e-Certificate เป็นตน * จํานวนบุคลากรรัฐทุกกลุ่ม (ทั้ง IT และ non-IT) ที่ได้รับการอบรมและมีทักษะดานดิจิทัล 104

ยุทธศาสตรที่ 3 : สรางมูลคาเพิ่มและอํานวยความสะดวกแกภาคธุรกิจ เปาหมาย ตัวชี้วัด หนวยนับ สถานะในอดีต 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 คาเปาหมาย 1. ผู้ประกอบการได้รับความสะดวก รวดเร็วในการใชบริการดิจิทัล ของภาครัฐ 1.1 ระดับความสําเร็จ ในการพัฒนาแพลตฟอรม บริการภาคธุรกิจแบบเบ็ดเสร็จ ในดานสําคัญ 33 รอยละ 20 60 80 100 34 40 75 70 N/A 58.66 35 79.76 37 พัฒนาระบบ Biz Portal เรียบรอยแล้ว 72.71 36 ประเมินผลโดย สํานักงาน ก.พ.ร. ทุกๆ 2 ป 85 80 90 80 80 85 80 85 รอยละ รอยละ 1.2 สัดสวนบริการของรัฐสําหรับ ภาคธุรกิจสามารถให้บริการแบบ ออนไลน 1.3 ระดับความพึงพอใจของ ภาคธุรกิจต่อการใชบริการ ออนไลนภาครัฐในดานสําคัญ 33 33 ดานสําคัญ ได้แก ดาน SMEs เกษตร แรงงาน ทองเที่ยว 34 อางอิงจากเปาหมาย/ตัวชี้วัด แผนงานบูรณาการรัฐบาลดิจิทัล ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 35 รายงานบทวิเคราะหระดับความพรอมรัฐบาลดิจิทัลหนวยงานภาครัฐของประเทศไทยป 2561-2564 (สพร., 2564) 36 รายงานผลการสํารวจระดับความพรอมรัฐบาลดิจิทัลหนวยงานภาครัฐของประเทศไทยป 2565 (สพร., 2565) 37 ผลสํารวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2564 (สํานักงาน ก.พ.ร., 2564) 28 ดานสําคัญ ได้แก ความเหลื่อมล้ําทางสิทธิสวัสดิการประชาชน การศึกษา สุขภาพและการแพทย และสิ่งแวดลอม 29 อางอิงจากเปาหมาย/ตัวชี้วัด แผนงานบูรณาการรัฐบาลดิจิทัล ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 30 ผลสํารวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2564 (สํานักงาน ก.พ.ร., 2564) 31 รายงานบทวิเคราะหระดับความพรอมรัฐบาลดิจิทัลหนวยงานภาครัฐของประเทศไทยป 2561-2564 (สพร., 2564) 32 รายงานผลการสํารวจระดับความพรอมรัฐบาลดิจิทัลหนวยงานภาครัฐของประเทศไทยป 2565 (สพร., 2565) ยุทธศาสตรที่ 2 : พัฒนาบริการที่สะดวกและเขาถึงงาย เปาหมาย ตัวชี้วัด หนวยนับ สถานะในอดีต 2565 2566 2567 2568 2569 2570 คาเปาหมาย 1. ประชาชนได้รับความสะดวก รวดเร็วในการใชบริการตางๆ ของหนวยงานภาครัฐ ได้อยาง ครบถวน ณ จุดเดียว (One-Stop Service) 2. ประชาชนทุกกลุ่มทั่วประเทศ สามารถเขาถึงและใชบริการ ดิจิทัลภาครัฐได้ 1.1 ระดับความสําเร็จในการพัฒนา แพลตฟอรมบริการประชาชน แบบเบ็ดเสร็จ ในดานสําคัญ 28 1.2 ระดับความพึงพอใจของ ประชาชนต่อการใชบริการ ออนไลนภาครัฐในดานสําคัญ 28 รอยละ พัฒนาระบบทางรัฐ เรียบรอยแล้วและ อยู่ระหวางการต่อ ยอดระบบ 20 29 60 80 100 40 80 80 ประเมินผลโดย สํานักงาน ก.พ.ร. ทุกๆ 2 ป 2564 N/A 79.76 30 57.36 31 72.71 32 85 80 85 75 70 85 80 90 รอยละ รอยละ 2.1 สัดสวนบริการของรัฐสําหรับ ประชาชนสามารถให้บริการแบบ ออนไลน 105

ยุทธศาสตรที่ 4 : สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐ เปาหมาย ตัวชี้วัด หนวยนับ สถานะในอดีต 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 คาเปาหมาย 2. การเปดเผยขอมูลแก สาธารณะโดยประชาชน ไม่ต้องรองขอ ประชาชน สามารถนําไปใชประโยชน และมีสวนรวมในการ แสดงความคิดเห็น 1.3 รอยละความสําเร็จใน การพัฒนาแพลตฟอรมกลาง ที่บูรณาการขอรองเรียนรองทุกข ของประชาชน เพื่อการบริหาร จัดการ ติดตาม และแจงผล อยางเป็นระบบ รอยละ พัฒนา ระบบเรื่องราว รองทุกข พัฒนาระบบ ᆞ ติดตามผลและสถานะ เรื่องรองทุกข ᆞ ระบบการรายงานผล ᆞ สํารวจความต้องการ จากสื่อสังคมออนไลน ᆞ ระบบแบบสํารวจ ความพึงพอใจ ᆞ การรับเรื่องราว รองทุกขผาน LINE: @psc1111 50 (เชื่อมโยง ขอมูลและ บูรณาการ ขอมูลของ หนวยงาน*) 100 (ขยายผล การเชื่อมโยง ฐานขอมูลไป ยังหนวยงาน ระดับทองถิ่น*) - 50 (เชื่อมโยง ขอมูลและ บูรณาการ ขอมูลของ หนวยงาน*) 70 (เชื่อมโยง ขอมูลและ บูรณาการ ขอมูลของ หนวยงาน*) 85 95 90 100 รอยละ กิจกรรม /โครงการ สะสม 318 หนวยงาน สะสม 372 หนวยงาน 80 อยางนอย 2 กิจกรรม /โครงการ อยางนอย 4 กิจกรรม /โครงการ อยางนอย 6 กิจกรรม /โครงการ อยางนอย 8 กิจกรรม /โครงการ อยางนอย 10 กิจกรรม /โครงการ N/A 1 โครงการ (ระบบภาษีไปไหน) 2.1 รอยละของหนวยงานรัฐที่ มีการให้บริการขอมูลเปด ภาครัฐบนศูนยกลางขอมูล เปดภาครัฐในรูปแบบที่ถูกต้อง ตามมาตรฐานขอมูลเปดภาครัฐ 2.2 จํานวนโครงการ/กิจกรรม ที่มีการนําขอมูลเปดภาครัฐที่ ได้รับการเปดเผยผานศูนยกลาง ขอมูลเปดภาครัฐได้รับการนํา ไปวิเคราะหเพื่อพัฒนานวัตกรรม และบริการโดยภาคเอกชน หรือ ประชาชน 1. ทุกภาคสวนมีสวนรวม ในการดําเนินงานภาครัฐ ที่มีความโปรงใสตรวจสอบ ได้ผานชองทางที่ หลากหลาย 1.1 รอยละความสําเร็จของการ เชื่อมโยงขอมูลในระบบหลัก ดานการบริหารจัดการ งบประมาณ รอยละ N/A อยู่ระหวาง ศึกษาโครงการ 60 80 - - 100 (ระบบเสร็จ และใชงาน ได้สมบูรณ) 100 60 ต่อยอดการพัฒนา ระบบ Law Portal และภาษีไปไหน พัฒนาระบบ Law Portal และภาษีไปไหน - - 80 รอยละ 1.2 รอยละความสําเร็จของ การจัดให้มีชองทางการมี สวนรวมของประชาชนในดาน สําคัญ 38 38 ดานสําคัญ ได้แก ดานงบประมาณ ดานกฎหมาย และดานการจัดซื้อจัดจาง หมายเหตุ * : หนวยงานเปาหมายให้เป็นไปตามที่สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีกําหนด 106

2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน พัฒนาระบบสื่อสารแบบรวมศูนย์ (Unified Communication) ระบบสารบรรณกลางอิเล็กทรอนิกส์สําหรับหน่วยงานภาครัฐ (Saraban as a Service) ระบบพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัล (Digital ID) และระบบสนับสนุนการให้บริการผ่านระบบดิจิทัล (Digital Service Microservices) หน่วยงานนําไปประยุกต์ใช้ ประเมินผล และพัฒนาต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับ พ.ร.บ. การปฏิบัติ ราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2565 ยุทธศาสตรที่ 1 1.1 โครงการพัฒนาบริการและเครื่องมือกลางดิจิทัลภาครัฐ โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการพัฒนาบริการและเครื่องมือกลางดิจิทัลภาครัฐ เพื่อให้หนวยงานของรัฐสามารถมีบริการรัฐที่มีมาตรฐาน ทํางานรวมกันได้ และประหยัดงบประมาณ โครงการพัฒนาบริการและเครื่องมือกลางดิจิทัลภาครัฐ ซึ่งประกอบด้วย โครงการที่รวมพัฒนาระบบสื่อสารแบบรวมศูนย (Unified Communication) โครงการพัฒนาระบบสารบรรณกลางอิเล็กทรอนิกสสําหรับหนวยงานภาครัฐ (Saraban as a Service) โครงการพัฒนา และให้บริการระบบพิสูจนและยืนยันตัวตนทางดิจิทัล (Digital ID) โครงการพัฒนาและให้บริการระบบสนับสนุน การให้บริการผานระบบดิจิทัล (Digital Service Microservices) เพื่อเป็น Enabler platform ของเทคโนโลยีภาครัฐสําหรับให้ หนวยงานรัฐนําไปพัฒนาการให้บริการที่มีมาตรฐาน ที่ทํางานรวมกันได้อยางไรรอยต่อ เพื่อให้สอดคลองกับ พ.ร.บ. การปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2565 สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล มีชุดเทคโนโลยีและบริการรวมของรัฐที่แต่ละหนวยงานสามารถนําไปใชงานได้ เพื่อประหยัดงบประมาณในการพัฒนาระบบ 165 ลานบาท (งบประมาณป 2566) 60 เดือน 2566-2570 ภาคผนวก 4 : รายละเอียดโครงการสําคัญภายใตแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ของประเทศไทย พ.ศ. 2566 – 2570 107

2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน พัฒนาบริการดิจิทัล สาธารณะ 10 บริการต้นแบบ พัฒนาบริการดิจิทัลสาธารณะ 10 บริการต้นแบบ พัฒนาบริการดิจิทัลสาธารณะ 10 บริการต้นแบบ พัฒนาบริการดิจิทัลสาธารณะ 10 บริการต้นแบบ พัฒนาบริการดิจิทัลสาธารณะ 10 บริการต้นแบบ 1.3 โครงการพัฒนาบริการดิจิทัลสาธารณะตนแบบ (Digital Service) โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการพัฒนาบริการดิจิทัลสาธารณะตนแบบ (Digital Service) เพื่ออํานวยความสะดวกให้ประชาชน ภาคธุรกิจ และชาวตางชาติ ในการติดต่อรับบริการหรือทําธุรกรรมกับภาครัฐได้แบบเบ็ดเสร็จ การพัฒนาบริการดิจิทัลสาธารณะ (Digital Service) รวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ โดยเนนการจัดทําบริการที่อํานวยความสะดวก ต่อประชาชน/ผู้ประกอบการ รวมทั้ง แพลตฟอรมกลางที่อํานวยความสะดวกแกประชาชน ภาคธุรกิจ และชาวตางชาติ ในการเขาถึง และรับบริการจากหนวยงานภาครัฐอยางสะดวก ครบถวน และสอดคลองกับบริบทความต้องการของผู้รับบริการแต่ละกลุ่ม และได้ใชบริการภาครัฐได้งายผานชองทางดิจิทัล ประหยัดเวลาและคาใชจาย พรอมทั้งสามารถขอรับบริการได้ตลอดเวลา สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล บริการดิจิทัลสาธารณะตนแบบ (Digital Service) 26.8950 ลานบาท (งบประมาณภายใตแผนการบูรณาการรัฐบาลดิจิทัล ป 2566) 60 เดือน 2566 - 2570 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน • ส่งเสริมสนันสนุนให้เกิดการบูรณาการข้อมูลผ่านศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลกลางภาครัฐ ในด้านสําคัญ • ส่งเสริมให้เกิดการนําไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาบริการดิจิทัลภาครัฐ • เพิ่มชุดข้อมูลตามด้านสําคัญ 1.2 โครงการพัฒนาศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางภาครัฐ (Government Data Exchange) โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการพัฒนาศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางภาครัฐ (Government Data Exchange) เพื่อให้หนวยงานของรัฐสามารถมีศูนยกลางแลกเปลี่ยนขอมูลกลางที่มีมาตรฐาน ทํางานรวมกันได้ มีความมั่นคงปลอดภัย เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลขอมูล และประหยัดงบประมาณ แพลตฟอรมของระบบการรับสงขอมูล เอกสารและทะเบียนดิจิทัลภาครัฐ ที่เป็นไปตามธรรมาภิบาลขอมูล (Data Governance) โดยอางอิงมาตรฐานกรอบแนวทางการพัฒนามาตรฐานการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ (Thailand Government Information eXchange :TGIX) สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล มีศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางของรัฐที่แต่ละหนวยงานสามารถขอเขาถึงขอมูลจากหนวยงานตางๆ ไปใชงานได้ 50 ลานบาท 60 เดือน 2566 - 2570 108

1.4 โครงการพัฒนากรอบขีดความสามารถเชิงดิจิทัลดานการใชดิจิทัลของบุคลากรภาครัฐ (Digital Capabilities) โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการพัฒนากรอบขีดความสามารถเชิงดิจิทัลดานการใชดิจิทัลของบุคลากรภาครัฐ (Digital Capabilities) 1. เพื่อให้มีหลักสูตรกลางสําหรับการพัฒนาและยกระดับทักษะดิจิทัลขาราชการและบุคลากรภาครัฐของทุกหนวยงานตามแนวทาง การพัฒนาทักษะดานดิจิทัลสําหรับขาราชการและบุคลากรภาครัฐของสํานักงาน ก.พ. และผานความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2560 ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน 2. เพื่อให้มีหลักสูตรสําหรับพัฒนาทักษะดิจิทัลใหมๆ ตามทิศทางความกาวหน้าทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมดานดิจิทัลที่สามารถ นํามาประยุกตใชกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลที่ทันสมัยตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย และสอดคลองกับกฎระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวของ 3. เพื่อให้มีเครื่องมือสนับสนุนการพัฒนาและยกระดับทักษะดิจิทัลขาราชการและบุคลากรภาครัฐ และบริหารจัดการในดานตางๆ อยางเป็นระบบรวมถึงการติดตามสถานะการพัฒนาทักษะดิจิทัลของขาราชการและบุคลากรภาครัฐผานระบบได้ 1. การประเมินสมรรถนะความสามารถดานดิจิทัล โดยใชเครื่องมือของสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ ที่สามารถแสดงให้เห็นถึง ขีดความสามารถของบุคลากร และสามารถระบุถึงประเด็นที่ต้องพัฒนา 2. จัดทําหลักสูตรกลางสําหรับการพัฒนาทักษะดานดิจิทัลที่สอดคลองกับแนวทางการพัฒนาทักษะดานดิจิทัลสําหรับ ขาราชการและบุคลากรภาครัฐ (ว.6) ของสํานักงาน ก.พ. โดยสํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เพื่อเป็นหลักสูตรกลาง สําหรับทุกหนวยงานภาครัฐในการยกระดับทักษะดิจิทัลของบุคลากรทุกคนให้มีความรูและความสามารถในการปรับเปลี่ยน องคกรสูรัฐบาลดิจิทัลให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน 3. จัดทําหลักสูตรสําหรับพัฒนาทักษะดิจิทัลใหมๆ ตามทิศทางความกาวหน้าทางเทคโนโลยีเพื่อรองรับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ของแต่ละหนวยงาน และรองรับการปฏิบัติตามกฎหมายดิจิทัลที่เกี่ยวของ 4. จัดทํากระบวนการพัฒนาทักษะดิจิทัลและเสนทางการฝกอบรมหลักสูตรกลาง สําหรับขาราชการและบุคลากรภาครัฐ โดยสํานักงาน ก.พ. รวมกับสํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ และสํานักงานคณะกรรมการดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อให้หนวยงานภาครัฐใชเป็นแนวทางในการวางแผนยกระดับทักษะดิจิทัลของบุคลากรอยางเป็น ระบบและมีแบบแผนชัดเจน 5. จัดทําระบบแนะนําหลักสูตรอบรมดานดิจิทัล (DG Course Match) โดยสํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เพื่อเป็นระบบอํานวย ความสะดวกให้ขาราชการและบุคลากรภาครัฐสามารถคนหาหลักสูตรที่ตรงกับทักษะดิจิทัลที่ตนเองจําเป็นต้องพัฒนาได้ 6. จัดทําศูนยรวมการเรียนรูดานรัฐบาลดิจิทัล (DG Learning Portal) โดยสํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เพื่อเป็นศูนยกลาง และแหลงการเรียนรูดานรัฐบาลดิจิทัลทั้งแบบ offline และ online สําหรับขาราชการและบุคลากรภาครัฐทุกระดับ 1. สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน 2. สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 3. สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ 4. สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 1. ความสําเร็จของระบบประเมินสมรรถนะความสามารถดานดิจิทัลที่ขาราชการและบุคลากรภาครัฐเขาใชงาน โดยสามารถ รายงานผลการประเมินที่สะทอนให้เห็นถึงขีดความสามารถของบุคลากรภาครัฐ และประเด็นที่ต้องพัฒนาได้ 2. หลักสูตรกลางเพื่อการพัฒนาทักษะดานดิจิทัลที่เหมาะสําหรับบุคลากรภาครัฐทุกกลุ่มและสอดคลองกับสมรรถนะที่จําเป็น ต้องมีตามแนวทางการพัฒนาทักษะดานดิจิทัลสําหรับขาราชการและบุคลากรภาครัฐของสํานักงาน ก.พ. โดยสํานักงาน พัฒนารัฐบาลดิจิทัล 3. หลักสูตรสําหรับพัฒนาทักษะดิจิทัลใหมๆ ตามทิศทางความกาวหน้าทางเทคโนโลยีเพื่อรองรับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ของแต่ละหนวยงาน 4. ขอมูลรายงานการพัฒนาทักษะดานดิจิทัลของหนวยงานภาครัฐ 5. กระบวนการพัฒนาทักษะดิจิทัลและเสนทางการฝกอบรมหลักสูตรกลางเพื่อการวางแผนพัฒนาคนสําหรับทุกหนวยงานภาครัฐ 6. ระบบแนะนําหลักสูตรอบรมดานดิจิทัลของสํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (DG Course Match) 7. เครื่องมือสนับสนุนการพัฒนาทักษะดิจิทัลของขาราชการและบุคลากรภาครัฐทั้งแบบ offline และ online (DG Learning Portal) - 60 เดือน 2566-2570 109

1.5 โครงการยกระดับความสามารถและสรางความพรอมของบุคลากรเพื่อสงเสริมรัฐบาลดิจิทัล (Government Digital Skills) 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน จัดทําหลักสูตรสําหรับ พัฒนาทักษะดิจิทัลใหม่ๆ ตามทิศทางความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยี กระบวนการพัฒนาทักษะดิจิทัล และเส้นทางการฝึกอบรม หลักสูตรกลาง ปรับปรุงหลักสูตรกลางให้ เหมาะกับสถานการณ์ปัจจุบัน ระบบ DG Course Match ระบบ DG Learning Portal โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ โครงการยกระดับความสามารถและสรางความพรอมของบุคลากรเพื่อสงเสริมรัฐบาลดิจิทัล (Government Digital Skills) 1. เพื่อพัฒนาทักษะผู้นําดานดิจิทัลให้กับผู้บริหารหนวยงานภาครัฐ และผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง ให้มีวิสัยทัศนและความรูความเขาใจเกี่ยวกับการขับเคลื่อนการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 2. เพื่อยกระดับความรูและความสามารถดานดิจิทัลให้กับขาราชการและบุคลากรภาครัฐให้มีความพรอมและสามารถปฏิบัติงาน เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของหนวยงานที่สอดคลองกับแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยได้ 1. จัดการฝกอบรมขาราชการและบุคลากรภาครัฐให้ครอบคลุมขาราชการทุกประเภท (รวม 16 ประเภท) ตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง จนถึงเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานของหนวยงานด้วยหลักสูตรกลางที่สอดคลองกับ ว.6 2. จัดการฝกอบรมหลักสูตรเพื่อการพัฒนาทักษะดิจิทัลใหมๆ ตามทิศทางความกาวหน้าทางเทคโนโลยีให้ขาราชการและบุคลากร ภาครัฐทุกประเภทและทุกกลุ่ม เพื่อรองรับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของแต่ละหนวยงานให้สอดคลองกับแผนพัฒนา รัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย และกฎหมายดิจิทัลที่เกี่ยวของ 3. สรางความรวมมือกับสถาบันพัฒนาบุคลากรของภาครัฐ สถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชน รวมถึงบริษัทเอกชนที่เป็นผู้นํา เทคโนโลยี เพื่อขยายฐานกําลังในการจัดอบรมแกหนวยงานภาครัฐครอบคลุมทั่วประเทศ รวมถึงสรางโอกาสให้บุคลากร ภาครัฐได้รับการฝกอบรมเทคโนโลยีใหมๆ ที่เป็นประโยชนจากเจ้าของเทคโนโลยีโดยตรง 4. ติดตามความกาวหน้าการยกระดับทักษะบุคลากรภาครัฐโดยสํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 1. สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล โดยสถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐดานดิจิทัล (สถาบัน TDGA) 2. หนวยงานภาครัฐที่รับผิดชอบดูแลขาราชการประเภทตางๆ ทั้ง 16 ประเภท ได้แก 1) ขาราชการพลเรือน 2) ขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา 3) ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 4) ขาราชการทหาร 5) ขาราชการตํารวจ 6) ขาราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม 7) ขาราชการฝ่ายอัยการ 8) ขาราชการรัฐสภา 9) ขาราชการฝ่ายศาลปกครอง 10) ขาราชการสํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ 11) ขาราชการสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 12) ขาราชการสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน 13) ขาราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร 14) ขาราชการการเมือง 15) ขาราชการสวนทองถิ่น 16) พนักงานอื่นของรัฐ 3. สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 4. หนวยงานที่จัดการฝกอบรม เชน สถาบันพัฒนาบุคลากรของภาครัฐ และสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน รวมถึงบริษัท เทคโนโลยีที่เป็นเครือขายพันธมิตรของสถาบัน TDGA 110

โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการการพัฒนาเครือขายอาสาสมัครดิจิทัล (อสด.) เพื่อให้เกิดการถายทอดและพัฒนาทักษะการใชเทคโนโลยีดิจิทัลให้เทาทันบริบทโลกแกประชาชนในระดับชุมชน สดช. รวมกับ กระทรวง พม. เพื่อพัฒนาอาสาพัฒนาชุมชน (อช.) รายอําเภอ ในการจัดอบรมความรูดานทักษะการใชเทคโนโลยี ดิจิทัลให้เทาทันบริบทโลก ให้สามารถเป็นอาสาสมัครพัฒนาดิจิทัล (อสด.) เพื่อเป็นหนวยสําคัญในการให้ความรูประชาชนในระดับ ชุมชนดานดิจิทัล และเป็นหนวยติดตามผลการดําเนินงานเชิงนโยบายตางๆ วาสงผลไปถึงระดับทองถิ่นหรือไม่อีกด้วย 1. สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2. สํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย 3. สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล อสด. ประจําหมู่บ้านซึ่งเป็นกลไกในการพัฒนาดิจิทัลของประเทศไทยในระดับหมู่บ้านได้รับการฝกอบรมให้มีความรูและทักษะการใช ประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อขยายผลสูประชาชนในชุมชน 9.4 ลานบาท 48 เดือน 2566-2569 1.6 โครงการการพัฒนาเครือขายอาสาสมัครดิจิทัล (อสด.) 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน (ขึ้นกับงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนในแต่ละป) จัดการฝึกอบรมบุคลากรไอทีหรือปฏิบัติงานด้านดิจิทัล ขยายฐานกําลังในการจัดอบรม ผ่านความร่วมมือกับสถาบันและหน่วยงานต่างๆ ติดตามความก้าวหน้าการยกระดับทักษะบุคลากรภาครัฐ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ บุคลากรไอทีหรือปฏิบัติงานดานดิจิทัลของสวนราชการทุกประเภทหนวยงาน ได้รับการยกระดับทักษะดิจิทัลด้วยหลักสูตร ที่กําหนดโดยสํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล จํานวนไม่นอยกวารอยละ 90 ภายในป 2570 ปละ 100 ลานบาท (5 ป 500 ลานบาท) 60 เดือน 2566-2570 111

1.7 โครงการศูนยเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลภาครัฐ (DGTi) เพื่อสนับสนุนบริการดิจิทัลสําหรับหนวยงาน ระดับทองถิ่น และสรางนวัตกรรมภาครัฐ โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการศูนยเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลภาครัฐ (DGTi) เพื่อสนับสนุนบริการดิจิทัล สําหรับหนวยงานระดับทองถิ่นและ สรางนวัตกรรมภาครัฐ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและขีดความสามารถในการให้บริการของภาครัฐไทย ตลอดจนประสานความรวมมือกับสถาบันการศึกษา และองคกรตาง ๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศ เพื่อสรางระบบนิเวศนวัตกรรมของเทคโนโลยีดิจิทัลสําหรับภาครัฐไทย ศูนย DGTi ที่มุงมั่นผลักดันภาครัฐสูการเป็นรัฐบาลดิจิทัล และสรางระบบนิเวศนวัตกรรมของเทคโนโลยีดิจิทัลสําหรับภาครัฐไทย (GovTech Innovation Ecosystem) เพื่อเปดโอกาสให้ผู้ประกอบการนวัตกรรมดิจิทัลไทยมีพื้นที่ในการสรางผลงานและประโยชน แล้วต่อยอดสูความเขมแข็งทางเศรษฐกิจได้ต่อไป โดยเนนเป็นศูนยในการทดสอบการใชงาน Digital Solution เพื่อปรับปรุง กระบวนงานภาครัฐ เป็นแหลงแลกเปลี่ยนเรียนรูและพัฒนาทักษะบุคลากร และเป็นจุดขยายผลและสรางเครือขายกับทุกภาคสวน 1. สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 2. กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น มีศูนยขับเคลื่อนนวัตกรรมภาครัฐ (DGTi) ในระดับทองถิ่น 7.5 ลานบาท ในป 2566 (ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ) 60 เดือน 2566-2570 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน พัฒนาศูนย์ทดสอบการใช้งาน Digital Solution เพื่อ ปรับปรุงกระบวนงานรัฐและ ขยายความร่วมมือกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ ในการนําเทคโนโลยีปรับปรุง ประสิทธิภาพการทํางานของรัฐ ขยายเครือข่ายความร่วมมือกับ ผู้พัฒนานวัตกรรมจากภาค เอกชนและวิชาการ รวมทั้ง ความร่วมมือกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ ในการนําเทคโนโลยีปรับปรุง ประสิทธิภาพการทํางานของรัฐ พร้อม ระบบ local Gov. V.2 การเชื่อมโยงข้อมูลให้กับ หน่วยงานส่วนกลาง ขยายเครือข่ายความร่วมมือกับ ผู้พัฒนานวัตกรรมจากภาค เอกชนและวิชาการ รวมทั้ง ความร่วมมือกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ ในการนําเทคโนโลยีปรับปรุง ประสิทธิภาพการทํางานรัฐ และการพัฒนาและปรับปรุง ระบบ local Gov. V.2.1 (Mobile Portal) พัฒนาและปรับปรุงระบบ local Gov. V.3 พัฒนาและปรับปรุงระบบ local Gov. V.4 2566 2567 2568 2569 2570 - การดําเนินงาน จัดทํา MOU ระหว่างหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องสําหรับการเตรียม พัฒนาอาสาสมัคร ออกแบบหลักสูตรอบรมและ ระบบการปฏิบัติงานของ อสด. (แอปพลิเคชัน) จัดฝึกอบรม อสด. ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค พร้อมทั้งการลงพื้นที่ปฏิบัติภารกิจประจําหมู่บ้าน และติดตามงาน เปิดงาน จัดกิจกรรมติดตาม ตรวจสอบปัญหาในพื้นที่ ปรับปรุงหลักสูตรอบรมและ ระบบการปฏิบัติงานของ อสด. (แอปพลิเคชัน) ปรับปรุงหลักสูตรอบรมและ ระบบการปฏิบัติงานของ อสด. (แอปพลิเคชัน) ปรับปรุงหลักสูตรอบรมและ ระบบการปฏิบัติงานของ อสด. (แอปพลิเคชัน) พัฒนาทักษะฯ ของอาสาสมัคร อย่างต่อเนื่อง และกระจายกําลัง อาสาสมัครในพื้นที่เพื่อให้ ความรู้ประชาชนในการใช้งาน เทคโนโลยีดิจิทัล และเข้าถึง งานบริการรัฐผ่านระบบดิจิทัล พัฒนาทักษะฯ ของอาสาสมัคร อย่างต่อเนื่อง และกระจายกําลัง อาสาสมัครในพื้นที่เพื่อให้ ความรู้ประชาชนในการใช้งาน เทคโนโลยีดิจิทัล และเข้าถึง งานบริการรัฐผ่านระบบดิจิทัล พัฒนาทักษะฯ ของอาสาสมัคร อย่างต่อเนื่อง และกระจายกําลัง อาสาสมัครในพื้นที่เพื่อให้ ความรู้ประชาชนในการใช้งาน เทคโนโลยีดิจิทัล และเข้าถึง งานบริการรัฐผ่านระบบดิจิทัล 112

1.8 โครงการพัฒนามาตรฐานเชื่อมโยงแพลตฟอรมภาครัฐเพื่อเสริมสรางบริการที่สะดวกสําหรับประชาชน (Interoperable Services thru Digital Standard) โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการพัฒนามาตรฐานเชื่อมโยงแพลตฟอรมภาครัฐเพื่อเสริมสรางบริการที่สะดวกสําหรับประชาชน (Interoperable Services thru Digital Standard) เพื่อกําหนดแนวทางการพัฒนาระบบให้บริการของหนวยงานภาครัฐ ให้มีมาตรฐานเดียวกันและสามารถประสานการทํางานรวมกัน ได้อยางสมบูรณไรรอยต่อ จัดทํามาตรฐานกลางให้เกิดการทํางานรวมกันระหวางแพลตฟอรมแต่ละประเภท โดยกําหนด Interoperability Framework ให้กับ แพลตฟอรมกลางของรัฐ และระบบบริการของรัฐ ให้มีมาตรฐานดําเนินงานรวมกัน สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล มี Digital Government Services Interoperability Framework เป็นแนวทางปฏิบัติให้หนวยงานรัฐสามารถนําไปดําเนินการ ในการพัฒนาปรับปรุงบริการดิจิทัลของรัฐเพื่อให้สามารถทํางานประสานกับหนวยงานรัฐอื่นๆ นอกสังกัดได้อยางไรรอยยต่อ - 60 เดือน 2566-2570 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน มีมาตรฐานข้อมูลหลักของ ประเทศที่แพลตฟอร์ม เชื่อมโยงกัน -ข้อมูลบุคคล -ข้อมูลนิติบุคคล -ข้อมูลที่อยู่ (TGIX Semantic) มีมาตรฐานทะเบียนข้อมูลหลัก ของประเทศ ให้แพลตฟอร์ม เชื่อมโยง (Organizational Master-Data and National Reference Data) พร้อมมี เจ้าภาพหลักในการปรับปรุง ข้อมูล มีมาตรฐานการเชื่อมโยง แพลตฟอร์มของหน่วยงาน ภายใต้กระทรวงเดียวกัน (Intra -TGIX) และมี การเชื่อมโยงข้อมูลของ หน่วยงาน (Bulk) มีมาตรฐานการเชื่อมโยง แพลตฟอร์มของหน่วยงาน ระหว่างกระทรวง (Inter-TGIX) มีมาตรฐานการเชื่อมโยง แพลตฟอร์มของหน่วยงาน ระหว่างรัฐ และ เอกชน (Federated-TGIX) 113

1.9 โครงการแนวทางปรับปรุงกระบวนการให้บริการประชาชนของภาครัฐผานระบบดิจิทัล (Government- Digitalization Process Guideline) โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการแนวทางปรับปรุงกระบวนการให้บริการประชาชนของภาครัฐผานระบบดิจิทัล ( Government-Digitalization Process Guideline) เพื่อให้หนวยงานรัฐให้บริการผานชองทางอิเล็กทรอนิกส โดยเนนให้ประชาชนเขาถึงโดยสะดวกในกระบวนการที่พบโดยทั่วไปได้ อยางมีประสิทธิภาพ ตรงตามมาตรฐานสากล และสอดคลองกับกฎระเบียบที่เกี่ยวของ สนับสนุนการดําเนินการในรูปแบบดิจิทัล โดยกําหนดแนวทางการปฏิบัติวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสให้กับกระบวนการที่พบ โดยทั่วไปในบริการดิจิทัลภาครัฐ (Common Process) 8 กระบวนการ ตาม พ.ร.บ. การปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2565 1. สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 2. สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส 3. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 4. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มีแนวทางการปฏิบัติวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสให้กับกระบวนการที่พบโดยทั่วไปในบริการดิจิทัลภาครัฐ (Common Process) 8 กระบวนการ ตาม พ.ร.บ. การปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2565 - 60 เดือน 2566-2570 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน แนวปฏิบัติและคู่มือพร้อม Technical Specification สําหรับ 8 กระบวนการ รวมถึงการกํากับดูแลระบบ บริการภาครัฐ (CII) ให้มี ความมั่นคงปลอดภัยและ สอดคล้องกับกฎหมาย แนวปฏิบัติกําหนดกระบวนการ มาตรฐาน 8 Common Process พร้อมแนวทาง การปรับปรุงคู่มือประชาชน ของหน่วยงานภาครัฐผ่าน ระบบอย่างมั่นคงปลอดภัย และสอดคล้องกับกฎหมาย แนวปฏิบัติกระบวนการทํางาน ของรัฐเชื่อมโยงระหว่างส่วน งานกลางส่วนภูมิภาค และส่วน ท้องถิ่น และขยายผลทั่วประเทศ แนวปฏิบัติการใช้งาน Common Services ของภาครัฐ เช่น - Digital ID สําหรับบริการ ภาครัฐ -Digital Payment รับชําระ ค่าธรรมเนียมภาครัฐ แนวปฏิบัติการใช้งาน Common Services ที่เชื่อม ระหว่างแพลตฟอร์มรัฐและ เอกชนได้ 114

1.10 โครงการสงเสริมการจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐในระดับหนวยงาน เพื่อการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูล 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน • ศึกษาและกําหนดแนวทาง การประเมินธรรมาภิบาล ข้อมูลภาครัฐ • พัฒนา Data Governance Template (เอกสารแม่แบบสําหรับตรวจ ประเมิน) • ทดลองทําการตรวจประเมิน และปรับปรุงเอกสารแม่แบบ โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการสงเสริมการจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐในระดับหนวยงาน เพื่อการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูล 1. เพื่อให้เกิดแมแบบ (template) ของการจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ 2. เพื่อให้ขอมูลที่ใชเพื่อการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนมีคุณภาพ เชื่อถือได้ตามหลักธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ 3. ขยายผลการจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐในระดับหนวยงานในวงกวางในระยะยาว เป็นการรวมพัฒนาแมแบบการประเมินธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ และ ใชเป็นแนวทางให้การตรวจติดตามหนวยงานงานภาครัฐ โดยการดําเนินการจะเนนคัดเลือกชุดขอมูลสําคัญ (ถูกเรียกใชโดยหนวยงานอยางนอย 1 หนวยงาน หรือโดยบริการดิจิทัลภาครัฐ หรือ ใชอางอิงสําหรับขอมูลชุดอื่น) ทั้งนี้หนวยงานเจ้าของขอมูลมีความพรอมสมัครใจรวมดําเนินการ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 1. ป 2566 หนวยงานตนแบบ 4 หนวยงาน ได้รับการตรวจประเมินและปรับปรุงกระบวนการดานขอมูล 2. ป 2567 10 หนวยงาน (หรือกระบวนการ) ได้รับการตรวจประเมินและปรับปรุงกระบวนการดานขอมูล 3. ป 2568 30 หนวยงาน (หรือกระบวนการ) ได้รับการตรวจประเมินและปรับปรุงกระบวนการดานขอมูล 4. ป 2569 30 หนวยงาน (หรือกระบวนการ) ได้รับการตรวจประเมินและปรับปรุงกระบวนการดานขอมูล 5. ป 2570 30 หนวยงาน (หรือกระบวนการ) ได้รับการตรวจประเมินและปรับปรุงกระบวนการดานขอมูล ป 2566 0 บาท (DIGI ดําเนินการเอง) ป 2567 4,000,000 บาท ป 2568 10,000,000 บาท ป 2569 10,000,000 บาท ป 2570 10,000,000 บาท 60 เดือน 2566 - 2570 • จัดอบรมถ่ายทอดองค์ความ รู้และเอกสารแม่แบบสําหรับ การตรวจประเมินให้กับเครือ ข่ายผู้ตรวจประเมิน • จัดจ้างมหาวิทยาลัยหรือ บริษัทที่ปรึกษาทําการตรวจ ประเมิน • ปรับปรุงเอกสารแม่แบบและ กระบวนการตรวจประเมิน • ประเมินความสําเร็จของปีที่ผ่านมา • จัดจ้างมหาวิทยาลัยหรือบริษัทที่ปรึกษาทําการตรวจประเมินต่อเนื่อง 115

1.12 โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงโครงสรางสวนราชการภายในกรม และศึกษาระบบการจางงาน รูปแบบใหมในภาครัฐ 1.11 โครงการบริการระบบคลาวดกลางภาครัฐ (Government Data Center and Cloud Service: GDCC) โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการบริการระบบคลาวดกลางภาครัฐ (Government Data Center and Cloud Service: GDCC) 1. เพื่อให้มีระบบกลางในการให้บริการ Cloud Service สําหรับหนวยงานภาครัฐที่มีมาตรฐานปลอดภัย สามารถเขาถึงทรัพยากร คอมพิวเตอรได้อยางรวดเร็วทันต่อความต้องการในการเปลี่ยนแปลงเขาสูรัฐบาลดิจิทัล (Government Transformation) ซึ่งสามารถให้บริการระบบคลาวดกลางภาครัฐที่มีหนวยประมวลผลรวมได้อยางนอย จํานวน 100,000 vCPU หรืออยางนอย จํานวน 25,000 VM 2. เพื่อให้หนวยงานภาครัฐสามารถเลือกบริการ (Services) บน Government Cloud Market Place ที่เป็นศูนยรวมบริการ (Services) ได้ตรงความต้องการของแต่ละหนวยงานมากขึ้น 3. เพื่อประหยัดงบประมาณดานโครงสรางพื้นฐานดิจิทัลในการจัดหาระบบคลาวดกลางของภาครัฐ พัฒนา ติดตั้ง บริการ และดูแลระบบคลาวดกลางภาครัฐ (Government Data Center and Cloud Service: GDCC) เพื่อให้ หนวยงานภาครัฐที่มีความต้องการใชงานทรัพยากรทางคอมพิวเตอร อาทิ เครื่องคอมพิวเตอรแมขาย พื้นที่จัดเก็บขอมูลดิจิทัล เป็นตน เพื่อเป็นโครงสรางพื้นฐานคลาวด (Cloud Infrastructure) ที่มีความสามารถในการรองรับการใชประโยชนจากขอมูล ขนาดใหญ (Big Data) และขอมูลแบบเปด (Open Data) เพื่อนําไปสูการประยุกตใชขั้นสูง เชน Internet of Thing (IoT) ปญญาประดิษฐ (AI) สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระบบคลาวดกลางภาครัฐ (Government Data Center and Cloud Service: GDCC) 6,216.42 ลานบาท 36 เดือน 2566 - 2568 2566 2567 2568 2569 2570 - - การดําเนินงาน ให้บริการใช้ระบบคลาวด์กลางภาครัฐ และการบริหารสิทธิของระบบการจัดการฐานข้อมูล โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงโครงสรางสวนราชการภายในกรม และศึกษาระบบการจางงานรูปแบบใหมในภาครัฐ เพื่อทบทวนโครงสรางสวนราชการภายในหนวยงานรัฐ และระบบการจางงานรูปแบบใหมให้สอดคลองกับบริบทการพัฒนาบริการ ดิจิทัลที่เปลี่ยนแปลง ศึกษาแนวทางการปรับปรุงโครงสรางองคกรรัฐ และการจางงานรูปแบบใหม และดําเนินการพัฒนาและทดสอบนวัตกรรมดานการบริหาร ทรัพยากรบุคคลให้เป็นนวัตกรรมตนแบบ แล้วให้สวนราชการดําเนินการทดสอบตามหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขและเวลาที่ สํานักงาน ก.พ. กําหนด โดยให้สํานักงาน ก.พ. มีหน้าที่กํากับ ติดตาม และประเมินผลการทดสอบ 1. สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน 2. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ มีการทบทวนโครงสรางสวนราชการและศึกษานวัตกรรมตนแบบในการปรับปรุงการจางงานและโครงสรางองคกรของหนวยงานรัฐ - 12 เดือน 2566 116

1.13 โครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดิจิทัลภาครัฐที่มีความมั่นคงปลอดภัย 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน GIN 2,400 หน่วยงาน GSI 470 หน่วยงาน GIN 2,000 หน่วยงาน GSI 750 หน่วยงาน GIN 1,000 หน่วยงาน GSI 1,000 หน่วยงาน GIN 500 หน่วยงาน GSI 1,250 หน่วยงาน ยุติบริการ GSI 1,500 หน่วยงาน โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดิจิทัลภาครัฐที่มีความมั่นคงปลอดภัย 1. เป็นโครงสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อรองรับการให้บริการกลางภาครัฐที่สําคัญและเป็นบริการกลางที่ให้บริการประชาชน 2. เป็นวงจรสื่อสารเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลกันภายในวงจํากัดเฉพาะหนวยงานภาครัฐ ไม่วาจะเป็นการเชื่อมโยงระหวางหนวยงาน เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลกันอยางมั่นคงปลอดภัย หรือ การเชื่อมโยงกับแพลตฟอรมหรือระบบที่มีความสําคัญของหนวยงานรัฐ การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดิจิทัลที่มีความมั่นคงปลอดภัย ประกอบไปด้วยการพัฒนาระบบเครือขายสื่อสารขอมูลเชื่อมโยง หนวยงานภาครัฐ (Government Information Network : GIN) และการพัฒนาดานความมั่นคงของโครงสรางพื้นฐานดิจิทัล ภาครัฐ (DG-LINK) การเชื่อมโยงผานบริการวงจร GIN และ DG-Link เป็นการเชื่อมโยงในลักษณะ Government Intranet คือการเชื่อมโยงเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลกันภายในวงจํากัดเฉพาะหนวยงานภาครัฐ ไม่วาจะเป็นการเชื่อมโยงระหวางหนวยงาน เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลกันอยางมั่นคงปลอดภัย หรือ การเชื่อมโยงกับแพลตฟอรมหรือระบบที่มีความสําคัญของหนวยงานรัฐ ที่โดยปกติไม่อนุญาตให้ภาคเอกชนเขาถึงการให้บริการ วงจร GIN นั้นจะเป็นการให้บริการอยู่บนเทคโนโลยีที่มีการใชงานมาแล้ว ระยะหนึ่ง นั่นคือเทคโนโลยี MPLS (Multi-Protocol Label Switching) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ได้รับการยอมรับและพิสูจนมานานแล้ววา มีความมั่นคง มีเสถียรภาพในการใชงาน และความปลอดภัยสูงมาก แต่ก็มีขอจํากัดในเรื่องของตนทุนต่อหนวยแบนดวิดทที่คอนขาง สูงมาก โดยเฉพาะเมื่อเทียบกับเทคโนโลยี Broadband Internet ที่ใชกันแพรหลายในปจจุบันที่มีตนทุนต่อหนวยแบนดวิดท ที่ต่ํากวาอยางมีนัยสําคัญ อยางไรก็ตามเทคโนโลยี Broadband Internet มีขอจํากัดในเรื่องของคุณภาพการให้บริการ และความมั่นคงปลอดภัย ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามเทคโนโลยีสมัยใหม ลดตนทุนต่อหนวยในการให้บริการ แต่ยังคงไวซึ่งคุณภาพ การให้บริการและความมั่นคงปลอดภัยที่เป็นสิ่งสําคัญของการเชื่อมโยงขอมูลภาครัฐ การให้บริการวงจร DG-Link จึงได้มีการนํามาให้ บริการแกหนวยงานภาครัฐตั้งแต่ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นตนมา โดยเป็นการนําเอาเทคโนโลยี Broadband Internet ที่มีขอดีในเรื่องของขนาดแบนดวิดทที่ใหญมากและมีตนทุนต่อหนวยแบนดวิดทที่ต่ํา มาผนวกเขากับเทคโนโลยี SD-WAN (Software Defined WAN) เพื่อเพิ่มคุณภาพการให้บริการและความมั่นคงปลอดภัยให้อยู่ในระดับเดียวกับเทคโนโลยี MPLS หรือดีกวา สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล โครงสรางพื้นฐานดิจิทัลภาครัฐที่มีความมั่นคงปลอดภัย - 60 เดือน 2566-2570 2566 2567 2568 2569 2570 - - - การดําเนินงาน ทบทวนกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง กับการปรับปรุงโครงสร้าง หน่วยงานราชการรัฐ การจ้างงาน รูปแบบใหม่ - 117

1.14 โครงการศูนยประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอรภาครัฐ (Government Computer Security Incident Co-ordination Center) โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการศูนยประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอรภาครัฐ (Government Computer Security Incident Co-ordination Center) 1. เพื่อวางมาตรการ และจัดหาเครื่องมือในการปองกันภัยทางไซเบอรของสํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัลให้รองรับการให้บริการ หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ 2. เพื่อเสริมประสิทธิภาพของศูนยประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ดําเนินการเฝาระวังความเสี่ยงในการเกิดภัยคุกคาม ทางไซเบอรให้รองรับการให้บริการหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ การบูรณาการจัดตั้งศูนยประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอรภาครัฐเพื่อตอบสนองต่อการรับมือ ที่ครอบคลุม บริการของ สพร. และหนวยงานโครงสรางพื้นฐานสําคัญ (CII: Critical Information Infrastructure) ทางสารสนเทศ หมวดที่ 2 ดานบริการภาครัฐที่สําคัญ ขอที่ 2 ที่มีการให้บริการโดยตรงแกประชาชน ที่สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเป็นหนวยงานควบคุม หรือกํากับดูแล (Regulator) ตามกรอบการดําเนินงาน ดังนี้ - ภารกิจหรือให้บริการในดานการประสานงาน - ภารกิจหรือให้บริการในดานการเฝาระวังภัยคุกคามทางไซเบอร - ภารกิจหรือให้บริการในดานการรับมือและแกไขภัยคุกคามทางไซเบอร - ภารกิจหรือให้บริการในดานการดําเนินมาตรการดานการบริหารจัดการคุณภาพ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล มาตรการ และเครื่องมือในการปองกันภัยทางไซเบอร - 60 เดือน 2566-2570 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน • บริการของ สพร. • หน่วยงานโครงสร้าง พื้นฐานสําคัญ (CII: Critical Information Infrastructure) หมวดที่ 2 ด้านบริการภาครัฐ ที่สําคัญ ข้อที่ 2 • Government CERT สําหรับ CII หมวดที่ 2 ด้านบริการ ภาครัฐที่สําคัญ ข้อที่ 2 • Government CERT สําหรับ Non-CII จํานวน 3 หน่วยงาน • Government CERT สําหรับ CII หมวดที่ 2 ด้านบริการภาค รัฐที่สําคัญ ข้อที่ 2 • Government CERT สําหรับ Non-CII จํานวน 6 หน่วยงาน (สะสม) • Government CERT สําหรับ CII หมวดที่ 2 ด้านบริการภาค รัฐที่สําคัญ ข้อที่ 2 • Government CERT สําหรับ Non-CII จํานวน 9 หน่วยงาน (สะสม) บริการของ สพร. ตาม Service Catalog 118

ยุทธศาสตรที่ 2 2.1 โครงการพัฒนาระบบให้บริการดิจิทัลสําหรับสิทธิสวัสดิการ โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการพัฒนาระบบให้บริการดิจิทัลสําหรับสิทธิสวัสดิการ เพื่อพัฒนาระบบให้บริการดิจิทัลสําหรับสิทธิสวัสดิการสําหรับประชาชนและกลุ่มเปราะบาง โครงการพัฒนาระบบให้บริการดิจิทัลสําหรับสิทธิสวัสดิการเป็นการรวบรวมสิทธิสวัสดิการพื้นฐานสําหรับประชาชนและกลุ่มเปราะบาง เพื่อตอบสนองต่อความหลากหลายทางสังคมที่เกิดขึ้น อีกทั้งการให้บริการอยางตรงจุดจึงได้พัฒนาบริการผานกลไกของเทคโนโลยี สารสนเทศ อันจะนําไปสูการให้บริการที่มีประสิทธิภาพตอบโจทยต่อกลุ่มเปาหมายตามที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษยได้ตั้งไว โดยมีกิจกรรมการให้บริการพื้นฐาน ได้แก โครงการขับเคลื่อนระบบแจงเตือนสิทธิสวัสดิการประชาชน พม. ตลอดชวงชีวิต การพัฒนา แพลตฟอรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน การพัฒนาแพลตฟอรมการบริหาร จัดการขอมูลสําหรับเด็กและเยาวชน การจัดทําระบบบริหารจัดการด้วยระบบ Single Sign On การสงเสริมให้คนพิการได้เขาถึงการมี บัตรประจําตัวคนพิการ และเงินสงเคราะห และฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ รวมถึงการให้บริการเงินกูยืมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต พรอมทั้งการจัดหาบริการผู้ชวยเพื่อสนับสนุนคนพิการที่ตั้งอยู่ในพื้นที่หางไกล การบริการภาษามือ เพื่อสงเสริมพัฒนาระบบ การบริการภาษามือให้กับผู้พิการในการรับขอมูลขาวสาร การพัฒนาระบบยื่นคําขอรับสวัสดิการสําหรับผู้สูงอายุ การแจงประโยชน สิทธิการต่อสัญญาการใชประโยชนที่ดินสงวน การพัฒนางานวิเคราะหและออกแบบระบบการพิจารณาและจัดสวัสดิการแบบครบวงจร และการพัฒนาระบบฐานขอมูลประเทศไทยดานการดําเนินคดีและการชวยเหลือผู้เสียหายจากการคามนุษย 1. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย 2. หนวยงานสนับสนุน ได้แก สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล กระทรวงแรงงาน กระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทย กระทรวงคมนาคม กระทรวงพาณิชย กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวง ยุติธรรม กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงเกษตรและสหกรณ ระบบให้บริการดิจิทัลสําหรับสิทธิสวัสดิการ 8,726 ลานบาท 60 เดือน 2566-2570 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน พัฒนาโครงการขับเคลื่อนระบบแจงเตือนสิทธิสวัสดิการประชาชน การพัฒนาระบบยื่นคําขอรับสวัสดิการกรมกิจการผู้สูงอายุออนไลน (e-service) การสงเสริมการมีบัตรประจําตัวคนพิการ การสงเสริมการเขาถึงสิทธิคนพิการ พรอมทั้งการปรับสภาพแวดลอมที่อยู่สําหรับคนพิการ อีกทั้งการจัดบริการชวย เหลือ การให้ทุนกูยืมสําหรับคนพิการ และการอํานวยความสะดวกดานลามภาษามือ พัฒนาระบบบริหารจัดการด้วย ระบบ Single Sign On ระยะที่ 1 จํานวน 6 ระบบ บริการแจงเตือนสิทธิการต่อ สัญญาในการใชประโยชนที่ดิน สงวนเพื่อกิจการนิคม บริการแจงเตือนสิทธิสวัสดิการ ผู้มีรายได้นอยและไรที่พึ่ง (แจงเตือนสิทธิสวนแรก) พัฒนาระบบริหารจัดการด้วย ระบบ Single Sign On ระยะที่ 2 จํานวน 6 ระบบ 119

2.2 โครงการพัฒนาระบบบูรณาการขอมูลสิทธิสวัสดิการ เพื่อการวิเคราะหและอํานวยความสะดวกในการให้บริการ 2566 - 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน การพัฒนาระบบเชื่อมโยงขอมูล เด็กพิการ เด็กในสภาวะยาก ลําบากกับหนวยงาน ที่เกี่ยวของ และระบบ Dashboard กับ พม. การบํารุงรักษาระบบ Big Data ดานเด็กและเยาวชน เพื่อการพัฒนาสังคม การพัฒนาระบบเชื่อมโยงขอมูล กับสมุดพกครอบครัว และ พัฒนาระบบ Dashboard กับ พม. การบํารุงรักษาระบบ Big Data ดานเด็กและเยาวชน เพื่อการพัฒนาสังคม โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการพัฒนาระบบบูรณาการขอมูลสิทธิสวัสดิการ เพื่อการวิเคราะหและอํานวยความสะดวกในการให้บริการ เพื่อพัฒนาระบบขอมูลสิทธิสวัสดิการดานเด็กและเยาวชน สําหรับใชเป็นขอมูลในการคาดการณ หรือแกไขปญหาที่เกิดขึ้น เพื่อประกอบ การตัดสินใจของผู้บริหารและใชในการวางแผนกําหนดนโยบาย และรายงานสถานการณดานเด็กและเยาวชน ในอนาคตได้อยาง รวดเร็วและทันต่อสถานการณตางๆ ที่เกิดขึ้น การจัดการขอมูลขนาดใหญที่สามารถแสดงขอมูลสารสนเทศ ตามที่ต้องการได้อยางครอบคลุม และคาดการณแนวโนมได้อยาง แมนยํา โดยไม่จํากัดปริมาณขอมูล และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ซึ่งการจัดการระบบฐานขอมูลสารสนเทศรูปแบบเดิม ไม่อาจรองรับ การวิเคราะหขอมูลจํานวนมหาศาลได้อยางมีประสิทธิภาพ จึงเห็นควรดําเนินโครงการจัดทําขอมูล Big Data ดานเด็กและเยาวชน เพื่อใชในการบริหารขอมูลให้เกิดประโยชนสูงสุดต่อประชาชน รวมถึงการสนับสนุน และให้บริการเผยแพรขอมูลกลางแกทุกภาคสวน ที่เกี่ยวของให้สอดคลองกับการให้บริการประชาชนเปาหมายได้อยางเป็นรูปธรรมต่อไป ภายใตนโยบายรัฐบาลดิจิทัล (Digital Thailand 4.0) 1. กรมกิจการเด็กและเยาวชน 2. สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ระบบฐานขอมูลขนาดใหญ (Big Data) ดานเด็กและเยาวชน ครอบคลุมตามภารกิจและสามารถนําไปใชในการแกปญหาหรือสถานการณ ที่อาจเกิดขึ้นได้อยางรวดเร็ว 21 ลานบาท 48 เดือน 2567 - 2570 120

2.3 โครงการพัฒนาระบบแพลตฟอรมอัจฉริยะเพื่อการบริหารจัดการขอมูลดานกําลังคนและการพัฒนาสมรรถนะ ด้วยการเรียนรูตลอดชีวิตของประเทศไทย (E-Workforce Ecosystem) 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน เชื่อมโยงฐานขอมูลกลางเขากับ ฐานขอมูลกรมการปกครอง แรงงาน และการศึกษาทุกระดับ และมีการจัดทําระบบ career guidance เชื่อมโยงฐานขอมูลกลางเขากับ ฐานขอมูลกรมการปกครอง แรงงาน และการศึกษาทุกระดับ มีการจัดทําระบบ E-coupon ระบบเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยน ขอมูลภาครัฐ (GDX) และ แพลตฟอรมธนาคารหนวยกิต ดิจิทัล (Digital Credit Bank) ขยายผลการเชื่อมโยงขอมูล กับภาคอุตสาหกรรม และการคา เชน กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย และภาคเอกชน ที่สําคัญ เชื่อมโยงขอมูลการตรวจสอบ สิทธิสวัสดิการภาครัฐ ของ กระทรวงการคลัง เชื่อมโยงขอมูลและบูรณาการ ขอมูลกับระบบบริหารจัดการ ขอมูลการพัฒนาคนแบบชี้เปา (TPMAP) พัฒนาระบบวิเคราะห ความต้องการกําลังคนเชิงรุก โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการพัฒนาระบบแพลตฟอรมอัจฉริยะเพื่อการบริหารจัดการขอมูลดานกําลังคนและการพัฒนาสมรรถนะด้วยการเรียนรู ตลอดชีวิตของประเทศไทย (E-Workforce Ecosystem) เพื่อดําเนินการในการพัฒนาระบบบริหารจัดการกําลังคนของประเทศแบบบูรณาการ และเชื่อมโยงขอมูลสําหรับพัฒนากําลังคน ในการจัดทํานโยบายกําลังคนเชิงรุกของประเทศ ระบบบูรณาการขอมูลดานกําลังคนและพัฒนาสมรรถนะด้วยการเรียนรูตลอดชีวิต เพื่อเชื่อมโยงขอมูลระหวางหนวยงาน เพื่อพัฒนา กําลังคน ทั้งการเชื่อมโยงขอมูลจากภาคการศึกษาและแรงงาน เพื่อวิเคราะหและจัดทํานโยบายดานกําลังคนของประเทศเชิงรุก 1. สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ 2. กระทรวงตางๆ ที่เกี่ยวของ อาทิ กระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม การเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงาน และการแลกเปลี่ยนขอมูลผานแพลตฟอรมกลาง 55.5897 ลานบาท 60 เดือน 2566 - 2570 121

2.4 โครงการระบบธนาคารสะสมผลการเรียนรู (Credit Bank) ที่มีมาตรฐานกับกรอบคุณวุฒิของประเทศ 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน เชื่อมโยงระบบขอมูลผู้เรียน ระบบเครดิตแบงกภายใน สังกัดเดียวกัน พัฒนาแพลตฟอรมเครดิตแบงก ของสังกัด • สํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา • สํานักงานคณะกรรมการ สงเสริมการศึกษาเอกชน โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการระบบธนาคารสะสมผลการเรียนรู (Credit Bank) ที่มีมาตรฐานกับกรอบคุณวุฒิของประเทศ เพื่อให้มีระบบสารสนเทศดาน Credit Bank ที่เชื่อมโยงของแต่ละหนวยงานกับระบบสารสนเทศสวนกลาง สําหรับกําหนดมาตรฐาน การเทียบโอนความรูและประสบการณระหวางองคกร การต่อยอดเชื่อมโยงระบบสารสนเทศดาน Credit Bank ของแต่ละหนวยงานกับระบบสารสนเทศสวนกลาง เพื่อกําหนดมาตรฐาน การเทียบโอนความรูและประสบการณระหวางองคกร ให้สอดคลองกับกรอบคุณวุฒิของประเทศ 1. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 2. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 3. สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน 4. สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ 5. สํานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม 6. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 7. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 8. สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย การเชื่อมโยงระบบสารสนเทศดาน Credit Bank ของแต่ละหนวยงานกับระบบสารสนเทศสวนกลาง - 60 เดือน 2566 - 2570 พัฒนาแพลตฟอรมเครดิตแบงก • เชิงพื้นที่ (ระดับจังหวัด) • เชิงระดับ (พื้นฐานอุดมศึกษา) • เชิงระบบการศึกษา (ในระบบ นอกระบบ ตามอัธยาศัย) พัฒนาแพลตฟอรมเครดิตแบงก ของสังกัด • สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน • สํานักงานสงเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย เชื่อมโยงระบบขอมูลผู้เรียน ระบบเครดิตแบงกภายในสังกัด เดียวกัน เชื่อมโยงระบบขอมูลผู้เรียน ระบบเครดิตแบงกระหวางตาง สังกัดในพื้นที่และภาคแรงงาน ในพื้นที่ นํารองระบบธนาคารหนวยกิต เชิงพื้นที่ (ตางสังกัด) เชื่อมโยงระบบขอมูลผู้เรียน ระบบเครดิตแบงกระหวาง สังกัดภายใน ศธ ทดลองใชเครดิตแบงกที่ เชื่อมโยงทั้งระบบ ขยายผลไปยัง sector อื่นๆ ที่จัดการศึกษา/อบรม 122

2.5 โครงการศูนยกลางการให้บริการและฐานองคความรู สื่อการเรียนรู และหลักสูตรการศึกษา (e-Education Hub) 2566 - 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน เชื่อมโยงฐานขอมูลองคความรู สื่อการเรียนรู และหลักสูตร การศึกษาทุกระดับทุกประเภทการศึกษาของกระทรวงโดยสมบูรณ บูรณาการขอมูลกับหนวยงานอื่น ที่เกี่ยวของและจัดทําระบบกลาง เพื่อให้บริการแกผู้รับบริการ (e-Education Hub) เริ่มใชงานและพัฒนาฐานขอมูล และการให้บริการอยางต่อเนื่อง โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการศูนยกลางการให้บริการและฐานองคความรู สื่อการเรียนรู และหลักสูตรการศึกษา (e-Education Hub) เพื่อให้มีศูนยกลางการให้บริการดานการศึกษาที่ครบวงจร ณ จุดเดียว และอํานวยความสะดวกแกผู้ใชงาน การเชื่อมโยงฐานขอมูลองคความรู สื่อการเรียนรู และหลักสูตรการศึกษาทุกระดับทุกประเภทการศึกษา เขาไวด้วยกัน ณ จุดเดียว (e-Education Hub) โดยรวบรวมขอมูลจากทั้งหนวยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ 1. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 2. สํานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ศูนยกลางการให้บริการฐานองคความรู สื่อการเรียนรู และหลักสูตรการศึกษา (e-Education Hub) - 48 เดือน 2567-2570 123

2.6 โครงการแพลตฟอรมระบบสุขภาพดิจิทัลแห่งชาติ (National Digital Health Platform) โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการแพลตฟอรมระบบสุขภาพดิจิทัลแห่งชาติ (National Digital Health Platform) 1. เพื่อให้สถานพยาบาลและหนวยบริการสาธารณสุข ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ทุกแห่งในประเทศไทย สามารถเชื่อมโยงแลกเปลี่ยน ขอมูลสุขภาพ (Health Information Exchange : HIE) ขามหนวยงานได้อยางไรรอยต่อ เกิดการให้บริการขามพรมแดน (Cross Border Care) หรือไม่มีพรมแดน 2. เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการฐานขอมูลขนาดใหญคลังขอมูลดานการแพทยและสุขภาพของกระทรวง สาธารณสุข รองรับการเรียกใชประโยชนขอมูลตลอดเวลาแบบ 24x7 ทั้งจากสถานพยาบาล อุปกรณ IoT แอปพลิเคชันที่ประชาชนใช และหนวยงานระดับบริหาร 3. เพื่อสนับสนุนสงเสริมให้เกิดการพัฒนาบริการใหม (New Service Model) นอกโรงพยาบาล (Extra-Hospital) ที่สงมอบ บริการให้ที่บ้านหรืออํานวยความสะดวกให้ประชาชนเขาถึงได้ทาง Online เกิดโรงพยาบาลเสมือนหรือคลินิกเสมือน (Virtual Hospital, Virtual Clinic) โดยไม่ยึดติดกับโครงสรางทางกายภาพของหนวยบริการ และเกิดการกระจายการบริการออกนอก โรงพยาบาลจาก Hospital Base ไปเป็น Professional Base 4. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ด้วยอุปกรณติดตามขอมูลสุขภาพเฉพาะบุคคล (Personal Use Device) ในรูปแบบ IoMT (Internet of Medical Things) ประเภทสวมใสติดตัว (Wearable Device) หรืออุปกรณที่ใช ประจําบ้าน (Home Device) ในอนาคต 5. เพื่อเป็นระบบสนับสนุนกระบวนการให้บริการดานสุขภาพแกประชาชนตามมาตรฐานสากลที่เหมาะกับพฤติกรรมสังคมที่เปลี่ยน สูความปกติใหม (New Normal) แพลตฟอรมหลักที่เชื่อมโยงและบูรณาการขอมูลจากหนวยงานดานสาธารณสุขและหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งเป็นสวน ในการบริหารจัดการขอมูลขนาดใหญที่หลากหลายให้มีคุณภาพและมาตรฐาน กอนจะนําไปใชในการให้บริการขอมูลหรือใชประโยชน ในรูปแบบตาง ๆ และการให้บริการระบบโครงสรางแพลตฟอรมกลาง (Centralization Platform) จะเป็นแพลตฟอรมหลัก ระบบดิจิทัลสุขภาพแห่งชาติ (National Digital Health Platform) สําหรับการควบคุมขอมูล การเชื่อมต่อขอมูล การแลกเปลี่ยนขอมูล จัดการขอมูล ควบคุมความปลอดภัยของขอมูล และเป็นแพลตฟอรมหลักเพื่อให้บริการโครงสรางพื้นฐานการสื่อสาร การเชื่อมต่อ ระหวางแพลตฟอรม สําหรับหนวยงานดานสาธารณสุขของประเทศไทย เพื่อยกระดับคุณภาพการให้บริการสาธารณสุขแกประชาชน ซึ่งประกอบด้วยการให้บริการสวนประกอบยอย 3 สวน ดังนี้ 1. การให้บริการระบบโครงสรางแพลตฟอรมสวนประกอบสําหรับการให้บริการเชิงโครงสรางพื้นฐานหลัก (Infrastructure as a Service Core Platform: IaaS Core Platform) สนับสนุนดานโครงสรางพื้นฐานในการเชื่อมต่อและสื่อสารขอมูล 2. การให้บริการระบบโครงสรางแพลตฟอรมสวนประกอบสําหรับการให้บริการเชิงโครงสรางแพลตฟอรม (Main Platform as a Service Core Platform : PaaS Core Platform) สนับสนุนการจัดการขอมูล วิเคราะหขอมูล และประมวลผลขอมูลภายใต มาตรฐานสากล ดานการสาธารณสุข 3. ระบบโครงสรางแพลตฟอรมสวนประกอบสําหรับการให้บริการเชิงโครงสรางโปรแกรมประยุกตหลัก (Software as a Service Core Platform : SaaS Core Platform) สนับสนุนการเชื่อมต่อระหวางโปรแกรมประยุกตภายใตมาตรฐานสากลทางดาน การสาธารณสุข 1. ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เขตสุขภาพ และกรมฯ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 2. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 3. หนวยงานระดับกรม ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และในกํากับรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข 4. หนวยงานระดับกรมที่ดูแลเรื่องงบประมาณ การเบิกจาย และกฎหมายของประเทศ เชน กรมบัญชีกลาง สํานักงานอัยการสูงสุด เป็นตน แพลตฟอรมการให้บริการระบบสุขภาพดิจิทัลแบบ SaaS และระบบบริหารจัดการขอมูลสุขภาพขนาดใหญ (Big Data Management for Digital Health) 1,990 ลานบาท 60 เดือน 2566 - 2570 124

2.7 โครงการจัดทําฐานขอมูลดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต โครงการจัดทําฐานขอมูลดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG ดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม 1. บูรณาการขอมูลดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG (Bio-Circular-Green Economy : BCG Model) 2. พัฒนาแพลตฟอรมดิจิทัลดานทรัพยากรธรรมชาติบูรณาการการขับเคลื่อน BCG เชื่อมโยงกับ TPMAP 1. จัดทําสถาปตยกรรมองคกรในการพัฒนาบูรณาการฐานขอมูลเพื่อขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG (Bio -Circular – Green Economy : BCG Model) 2. จัดทําเครือขายฐานขอมูลดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและแพลตฟอรมดิจิทัลบูรณาการขอมูลพื้นที่สีเขียว ความหลากหลายทางชีวภาพ น้ําเพื่อประชาชน และการจัดเก็บคารบอน 2567 3. ออกแบบและจัดทําแพลตฟอรมดิจิทัลติดตามประเมินผลสถานภาพการขับเคลื่อน BCG เชื่อมโยงกับ TPMAP ภายใต การวิเคราะหเชิง Business Intelligence and Artificial Intelligence ในรูปแบบแผนที่ (Geographic Information System) ให้มีมาตรฐานดิจิทัล 1. สํานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2. หนวยงานในสังกัดของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1. มีฐานขอมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมครอบคลุมพื้นที่เปาหมาย โดยมีการจัดทําสถาปตยกรรมองคกรในการพัฒนา บูรณาการฐานขอมูลเพื่อขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG (Bio-Circular-Green Economy : BCG Model) 2. ฐานขอมูลบูรณาการพื้นที่สีเขียว 3. ฐานขอมูลบูรณาการขอมูลทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชประโยชนที่ดิน วัฒนธรรมทองถิ่น ภูมิปญญาทอง ถิ่นในพื้นที่เปาหมาย 4. ฐานขอมูลบูรณาการการจัดเก็บปริมาณคารบอน 5. ฐานขอมูลบูรณาการขอมูลสิ่งแวดลอม (มลพิษทางน้ํา มลพิษทางอากาศ และปริมาณขยะ) 6. พัฒนาแพลตฟอรมดิจิทัลติดตามประเมินผลสถานะภาพการขับเคลื่อน BCG เชื่อมโยงกับ TPMAP ภายใตการวิเคราะหเชิง Business Intelligence and Artificial Intelligence ในรูปแบบแผนที่ (Geographic Information System) ให้มีมาตรฐานดิจิทัล 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน 1. จัดซื้อจัดจางตามแผน การลงทุนดานโครงสราง พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 2. จางพัฒนาระบบบริการ แอปพลิเคชันตางๆ ตาม แพลตฟอรมที่ออกแบบ 3. ดําเนินการจัดทํา พ.ร.บ. ระบบ สุขภาพดิจิทัลของประเทศไทย 4. ดําเนินการจัดตั้งสํานักงาน สุขภาพดิจิทัลแห่งชาติ 1. ออกแบบและจัดทํา สถาปตยกรรม ระบบสุขภาพดิจิทัล 2. ศึกษาและเตรียมเสนอราง พ.ร.บ. ระบบสุขภาพดิจิทัลของ ประเทศไทย 3. ศึกษาและเตรียมเสนอราง จัดตั้งสํานักงานสุขภาพดิจิทัล แห่งชาติ (Nation Digital Health Agency : NDHA) 4. จางที่ปรึกษาโครงการ ศึกษา ปจจัยความเสี่ยง และจัดทําแผน การลงทุนดานโครงสรางพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 1. ประเมินผลการให้บริการแพลตฟอรม 2. พัฒนาปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพและเสถียรภาพให้เหมาะสมกับบริบทของหนวยงานสาธารณสุข ทั้งภาครัฐและเอกชน ทั่วประเทศ 3. ดําเนินการจัดทํา พ.ร.บ. ระบบสุขภาพดิจิทัลของประเทศไทย 4. ดําเนินการจัดตั้งสํานักงานสุขภาพดิจิทัลแห่งชาติ 125

2566 2567 - 2568 2569 2570 การดําเนินงาน ระยะที่ 2 : พัฒนาแผนที่ดิจิทัล ติดตามสถานการณสิ่งแวดลอม ระยะที่ 3 : พัฒนาแผนที่ดิจิทัล ติดตามการใชประโยชน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดานการทองเที่ยว สินคา และ บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดลอมใน ความรับผิดชอบของ ทส. ระยะที่ 4 : พัฒนาแผนที่ดิจิทัล ติดตามการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนบนฐานทรัพยากรใน ความรับผิดชอบของ ทส. งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ 350 ลานบาท 48 เดือน 2567 - 2570 2.8 โครงการแผนที่สิ่งแวดลอม (Environmental Map) โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการแผนที่สิ่งแวดลอม (Environmental Map) หนวยงานที่เกี่ยวของสามารถนําแผนที่สิ่งแวดลอม (Environmental Map) ไปใชในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ ได้อยางมีประสิทธิภาพ จัดทําแผนที่สิ่งแวดลอมแบบดิจิทัล/ระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดลอมดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม เชน การติดตามการเปลี่ยนแปลงสภาพปา การกําหนดพื้นที่ควบคุมเขมขนดานสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะอยางยิ่งในเขต อุตสาหกรรมตาง ๆ การบุกรุกปา พื้นที่เสี่ยงต่อการกัดเซาะทางทะเล รวมถึงบริการขอมูลเชิงพื้นที่แกประชาชน และมีการอัพเดท และเก็บขอมูลอยางสม่ําเสมอ 1. สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2. กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม แผนที่สิ่งแวดลอม (Environmental Map) 56 ลานบาท 48 เดือน 2567-2570 2566 - 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน ปรับปรุงขอมูลให้ทันสมัย และเพิ่มเติมขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ รวบรวมขอมูลสารสนเทศ ภูมิศาสตร (GIS) ที่เกี่ยวของ กับทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมจากหนวยงาน ตาง ๆ และจัดทําแผนที่ สิ่งแวดลอม ระยะที่ 1 : พัฒนาแผนที่ดิจิทัล ติดตามการเปลี่ยนแปลงและ ประเมินผลพื้นที่ปาไม หมายเหตุ โครงการแผนที่สิ่งแวดลอมได้ดําเนินการรวบรวมชั้นขอมูลเชิงพื้นที่ของหนวยงานภายใตสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จํานวนทั้งสิ้น 56 ชั้นขอมูล พรอมทั้งนําเขาสูระบบนําเสนอขอมูลสารสนเทศ ในรูปแบบออนไลนของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม เรียบรอยแล้ว โดยคณะทํางานจัดทําแผนที่สิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในการประชุมครั้งที่ 2/2565 เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2565 มีมติเห็นชอบให้ใชระบบบริหารจัดการคลังขอมูลภูมิสารสนเทศกลาง ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (MNRE GIS Big Data Platform) ของสํานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เป็นระบบหลักในการจัดทํา แผนที่สิ่งแวดลอม และนําขอมูลที่ได้จากการดําเนินโครงการแผนที่สิ่งแวดลอม ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ไปพัฒนาต่อยอดต่อไป 126

ยุทธศาสตรที่ 3 3.1 โครงการหนึ่งรหัส หนึ่งผู้ประกอบการ (One Identification : ID One SMEs) โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการหนึ่งรหัส หนึ่งผู้ประกอบการ (One Identification : ID One SMEs) เพื่ออํานวยความสะดวกผู้ประกอบการ SMEs ในการเขาถึงการให้บริการของภาครัฐ ชวยให้ผู้ประกอบการสามารถทําธุรกรรมกับ ภาครัฐได้รวดเร็ว และเขารวมโครงการสงเสริม SMEs ตาง ๆ ของรัฐได้โดยไม่จําเป็นต้องยืนยันตัวตน ลดภาระในการบันทึกขอมูล และเตรียมเอกสาร หรือหลักฐานตาง ๆ ประกอบการขอรับบริการ การบูรณาการเชื่อมโยงขอมูลระหวางหนวยงานเพื่ออํานวยความสะดวกในการเขาถึงการให้บริการของภาครัฐในทุกภาคสวนของ ผู้ประกอบการ SMEs รวมถึงจะเป็นการสรางระบบการสงต่อการให้บริการของหนวยงานภาครัฐและเอกชนที่สามารถติดตาม ประเมิน ศักยภาพ และวัดผลการพัฒนา SMEs อยางมีประสิทธิผล โดยปนการต่อยอดจากโครงการนํารองระยะที่ 1 (สิงหาคม 2564-มกราคม 2565) และระยะที่ 2 (กุมภาพันธ-กันยายน 2565) พรอมต่อยอดกับ Biz Portal ในปจจุบันให้ครอบคลุมขอมูลและบริการตลอดหวง โซมูลคาของ SMEs ณ จุดเดียว เชน การรวมขอมูลและบริการดานการเงินการธนาคาร การคาและโลจิสติกส การขอรับเงินอุดหนุนและ ความชวยเหลือสําหรับ SMEs การจัดซื้อจัดจางภาครัฐ ความปลอดภัยดานอุตสาหกรรมและผลิตภัณฑ และการพัฒนาศักยภาพ ผู้ประกอบการ เป็นตน โดย 1. มีการจัดหมวดหมู่ที่เป็นระบบ มีฟงกชั่นจํากัดผลลัพธการคนหา รวมทั้งฟงกชั่นแนะนําเนื้อหาจากขอมูลลงทะเบียนของสมาชิก 2. มีบริการแนะนําหนวยงานสนับสนุน/ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อชวยให้คําปรึกษาเกี่ยวกับปญหา SMEs โดยสามารถเลือกคนหาได้จาก ตําแหนงที่ตั้งใกลเคียงและประเด็นปญหา รวมทั้งบริการรวบรวมกรณีศึกษา สําหรับผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs เพื่อใชเป็นแนวทาง ปรับใชทั้งดานการบริหารจัดการและการใชประโยชนจากระบบสนับสนุน 1. สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม 2. สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล มีเลขผู้ประกอบการดิจิทัล และระบบ Single Sign on สําหรับ SMEs 5 ลานบาท 48 เดือน 2566 - 2569 2566 2567 2568 2569 2570 - การดําเนินงาน เชื่อมต่อขอมูลและบูรณาการ กับหนวยงานภาครัฐ เชื่อมต่อขอมูลและบูรณาการ กับ พณ. กษ. รง. มท. และ ธนาคารแห่งประเทศไทย เชื่อมต่อขอมูลและบูรณาการ กับหนวยงานภาคเอกชน สรางระบบวิเคราะห ติดตาม ประเมินศักยภาพ และวัดผล รวมทั้งพัฒนาและปรับปรุง ขอมูลให้ทันสมัย 127

3.2 โครงการพัฒนาระบบฐานขอมูลการเกษตร โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการพัฒนาระบบฐานขอมูลการเกษตร เพื่อบูรณาการขอมูลและบริการดานการเกษตรจุดเดียวของประเทศ ระบบบูรณาการและเชื่อมโยงฐานขอมูลของหนวยงานการเกษตรตางๆ ให้เป็นแพลตฟอรมที่มีมาตรฐานเดียวกัน โดยจัดทําธรรมาภิบาล ขอมูล และเชื่อมโยงฐานขอมูลการเกษตรเขากับฐานขอมูลของหนวยงานรัฐ ภาคเอกชนและสถาบันการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวของตาง ๆ รวมกัน ปรับปรุงจัดทําสถาปตยกรรม กระบวนการดําเนินงานบริการ การเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลให้เป็นมาตรฐานรวมกัน เพื่อนําไปสูการพัฒนาระบบฐานขอมูลการเกษตรและการบริการให้สามารถบริการผานชองทาง/แพลตฟอรมกลาง ที่หนวยงาน ตาง ๆ ทั้งในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงอื่นที่เกี่ยวของ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวของเขาถึงได้ อยางสะดวก โดยภาครัฐจะมีฐานขอมูลและบริการดิจิทัลที่ครอบคลุมการดําเนินการเกษตรตลอดหวงโซมูลคาการเกษตรสําหรับ เกษตรทุกกลุ่มที่รวมขอมูลและบริการที่เกี่ยวของทั้งหมด ณ จุดเดียว 1. สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2. ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแห่งชาติ 3. หนวยงานที่เกี่ยวของดานฐานขอมูล ภาครัฐจะมีฐานขอมูลและบริการดิจิทัลที่ครอบคลุมการดําเนินการเกษตรตลอดหวงโซมูลคาการเกษตรสําหรับเกษตรทุกกลุ่มที่รวม ขอมูลและบริการที่เกี่ยวของทั้งหมด ณ จุดเดียว 41.59 ลานบาท 60 เดือน 2566-2570 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน เชื่อมโยงฐานขอมูลภายใน กระทรวงโดยสมบูรณ จัดทํา MOU, Data Cleansing และจัดขอมูลให้ อยู่ในมาตรฐานเดียวกัน ขยายผลให้ระบบครอบคลุม ฐานขอมูลอื่น พัฒนาระบบการให้บริการ ที่รวมศูนยไว ณ จุดเดียว เริ่มใชงานและพัฒนาฐานขอมูล และการให้บริการอยางต่อเนื่อง 128

3.3 โครงการพัฒนาแพลตฟอรมเพื่อสนับสนุนการวิเคราะหและการใชประโยชนขอมูลขนาดใหญในภาคการเกษตร (Thailand Agricultural Data Collaboration Platform : THAGRI) โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการพัฒนาแพลตฟอรมเพื่อสนับสนุนการวิเคราะหและการใชประโยชนขอมูลขนาดใหญในภาคการเกษตร (Thailand Agricultural Data Collaboration Platform : THAGRI) เพื่อให้หนวยงานภาครัฐมีแพลตฟอรมให้บริการขอมูลภาคการเกษตรที่มีการบูรณาการและจัดทําธรรมาภิบาลขอมูลในรูปแบบ Application Protocol Interface (API) ที่มีความสะดวก มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย ซึ่งจะชวยให้นักพัฒนาโปรแกรมทั้งภาครัฐ และเอกชนสามารถเขาถึงขอมูลและพัฒนาเป็นแอปพลิเคชันให้บริการตอบสนองความต้องการของผู้ที่เกี่ยวของตลอดโซอุปทานเกษตร การประยุกตใชเทคโนโลยีสมัยใหม ในการเชื่อมโยงและต่อยอดการใชประโยชนขอมูล Big Data ภาคการเกษตร อันได้แก เทคโนโลยี ปญญาประดิษฐ เทคโนโลยี Machine Learning และ การรวบรวม Big Data ซึ่งจะเป็นจุดเริ่มตนของการบูรณาการขอมูลภาคการเกษตร อยางเป็นระบบ นําไปสูเปาหมายเพื่อการลดตนทุน เพิ่มผลผลิต และการบริหารจัดการเชิงพื้นที่ที่มีผลกระทบในทางบวกต่อเกษตรกร เพื่อคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มุงเนนการใชประโยชนในการวางแผนบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมบูรณาการขอมูล จากฐานขอมูลของระบบ Agri-Map และเชื่อมโยงขอมูลเขาสูฐานขอมูลศูนยขอมูลเกษตรแห่งชาติ (NABC) ในรูปแบบอัตโนมัติ และมี การกํากับดูแลขอมูล (Data Governance) และจัดทําบัญชีขอมูล (Data Catalog) ที่เป็นระบบและได้มาตรฐาน เพื่อให้เกิดการพัฒนา application และนวัตกรรมใหมๆ ได้อยางสะดวกและรวดเร็ว 1. ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแห่งชาติ 2. สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 3. กรมพัฒนาที่ดิน 4. สถาบันสงเสริมการวิเคราะหและบริหารขอมูลขนาดใหญภาครัฐ (GBDI by DEPA) 5. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ํา (องคการมหาชน) 6. สถาบันวิจัยเศรษฐกิจปวย อึ๊งภากรณ - ธนาคารแห่งประเทศไทย แพลตฟอรมเพื่อสนับสนุนการวิเคราะหและการใชประโยชนขอมูลขนาดใหญในภาคการเกษตร (Thailand Agricultural Data Collaboration Platform : THAGRI) - 36 เดือน 2567-2569 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน • บูรณาการขอมูล จัดทําขอมูล ให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกัน จัด ทําบัญชีขอมูลและให้บริการ ขอมูลผาน Application Programming Interface (API) • เชื่อมโยงขอมูล พัฒนา dashboard รวมกับ GBDi แสดงขอมูล value chain ของ มะพราวน้ําหอมใน จ.ราชบุรี • ใชงานขอมูล THAGRI จาก Application ใหมๆ เชน นอง ดินดี (พ.ด.) • การใช THAGRI เป็น แพลตฟอรมสําหรับแบบ จําลองวิเคราะหสมดุลน้ําระดับ ตําบลและระดับแปลงเกษตร • พัฒนา THAGRI API ที่มีสวน ชวยสราง Indicator ในการ วิเคราะหและการแกหนี้ เกษตรกรอยางยั่งยืน • ใช THAGRI เป็นแพลตฟอรม สําหรับแกปญหาเรื่องขาวใน พื้นที่ทุงกุลารองไห • ทดสอบและฝกฝนระบบ AI วิเคราะหคาดการณ การเกษตร (NABC, สศก) - - 129

3.4 โครงการแพลตฟอรมวิเคราะหแนวโนมตลาดแรงงานของประเทศ (Labour Big Data Analytics) โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการแพลตฟอรมวิเคราะหแนวโนมตลาดแรงงานของประเทศ (Labour Big Data Analytics) เพื่อให้หนวยงานภาครัฐมีฐานขอมูลพรอมระบบวิเคราะหขอมูลที่มีประสิทธิภาพประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายดานแรงงาน ของประเทศ และประชาชนสามารถสํารวจความต้องการ และโอกาสทางการงานของอาชีพตาง ๆ รวมทั้งเปรียบเทียบโอกาสของ อาชีพที่ตางกัน อีกทั้งภาคธุรกิจสามารถเขาถึงขอมูลแนวโนมตลาดแรงงานของประเทศ ประกอบการตัดสินใจในการประเมิน การทําธุรกิจได้แมนยํามากขึ้น พัฒนาต่อยอดจากระบบวิเคราะหขอมูลขนาดใหญดานแรงงาน (Labour Big Data Analytics) เพื่อการพัฒนากําลังแรงงาน ของประเทศ ให้สามารถวิเคราะหแนวโนมตลาดแรงงาน ทั้งอุปสงคและอุปทาน ในระยะกลาง (5 ป) เพื่อระบุอาชีพหรือแนวโนม การเติบโตของความต้องการที่เหมาะสมได้วา ขาดแคลน สมดุล หรือลนตลาด ซึ่งจะชวยพัฒนาการวางนโยบายการพัฒนาแรงงาน รวมถึงให้ประชาชนได้สํารวจความต้องการ และโอกาสทางการงานของอาชีพตาง ๆ รวมทั้งเปรียบเทียบโอกาสของอาชีพที่ตางกัน สํานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน มีระบบวิเคราะหขอมูลขนาดใหญดานแรงงาน (Labour Big Data Analytics) - 36 เดือน 2566 - 2568 2566 2567 2568 2569 2570 - - การดําเนินงาน ทดสอบและฝกฝนระบบ AI วิเคราะหคาดการณแนวโนม ตลาดแรงงาน 1. เชื่อมโยงฐานขอมูลองค ความรู / ขอมูลสถิติแรงงาน ทั้งหนวยงานภายในและ ภายนอกกระทรวง ผาน API เขาสูระบบสารสนเทศขอมูล แรงงานแห่งชาติ โดยผาน GDX เพื่อให้มีกรอบธรรมาภิบาล ขอมูลที่เหมาะสม 2. เชื่อมโยงขอมูลทั้ง Structured Data และ Unstructured Data เชน ขอมูล จากการทํา social listening 3. ศึกษาแนวทางการขึ้น ทะเบียนแรงงานนอกระบบ เริ่มใชงานและพัฒนาฐานขอมูล และการให้บริการวิเคราะห อยางต่อเนื่อง 130

3.5 โครงการพัฒนาระบบวิเคราะหขอมูลทองเที่ยวอัจฉริยะด้วย AI บน Tourism Intelligence Center โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการพัฒนาระบบวิเคราะหขอมูลทองเที่ยวอัจฉริยะด้วย AI บน Tourism Intelligence Center เพื่อต่อยอดระบบ Tourism Intelligence Center ให้สามารถมีการวิเคราะหแนวโนมตลาดทองเที่ยว ทั้งอุปสงคและอุปทาน ของตลาดได้ลวงหน้า ให้หนวยงานภาครัฐมีฐานขอมูล พรอมระบบวิเคราะหขอมูลที่มีประสิทธิภาพประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบาย ดานการพัฒนาการทองเที่ยว พัฒนาต่อยอดจากระบบ Tourism Intelligence Center ให้สามารถมีการวิเคราะหแนวโนมตลาดทองเที่ยว ทั้งอุปสงคและอุปทาน ของตลาดได้ลวงหน้า เพื่อระบุกลุ่มสินคาและบริการที่มีความต้องการจากนักทองเที่ยวที่เหมาะสม ซึ่งจะชวยพัฒนาการวางนโยบาย การพัฒนาแหลงทองเที่ยว การกํากับดูแลบริการ โดยตั้งตนจากการ Digitize ขอมูลที่เกี่ยวของ และเชื่อมโยงฐานขอมูล เพื่อนําไป ฝกฝนระบบ AI ต่อไป 1. สํานักงานปลัดกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา 2. การทองเที่ยวแห่งประเทศไทย มีระบบวิเคราะหขอมูลทองเที่ยวอัจฉริยะด้วย AI บน Tourism Intelligence Center - 36 เดือน 2566 - 2568 2566 2567 2568 2569 - 2570 - การดําเนินงาน ทดสอบและฝกฝนระบบ AI วิเคราะหคาดการณแนวโนม ตลาดทองเที่ยว เชื่อมโยงฐานขอมูลดิบที่ เกี่ยวของจากทั้งหนวยงาน ภายในและภายนอกกระทรวง ผาน API เขาสูระบบ TIC โดยผาน GDX เพื่อให้มีกรอบ ธรรมาภิบาลขอมูลที่เหมาะสม เริ่มใชงานและพัฒนาฐานขอมูล และการให้บริการวิเคราะห อยางต่อเนื่อง 131

3.6 โครงการพัฒนาระบบโปรแกรม สําหรับการบริหารจัดการเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวและผู้ประกอบการทองเที่ยว (Tourism Supply Management) โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการพัฒนาระบบโปรแกรม สําหรับการบริหารจัดการเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวและผู้ประกอบการทองเที่ยว (Tourism Supply Management) เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถวางแผนการดําเนินกิจกรรมทองเที่ยวให้สอดคลองกับการจัดการหวงโซอุปทานได้อยางมีประสิทธิภาพ และหนวยงานภาครัฐสามารถบริหารจัดการแหลงทองเที่ยวได้อยางมีประสิทธิภาพ ลดโอกาสการเกิด Over tourism และมีขอมูล การทองเที่ยวที่แมนยํามากขึ้น พัฒนาศูนยบริการการบริหารจัดการเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวและผู้ประกอบการทองเที่ยว (Tourism Supply Management) เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการแหลงทองเที่ยวกับผู้ประกอบการทองเที่ยวได้อยางมีประสิทธิภาพ มีมาตรฐานของหนวยงานในสังกัด เกิดการลงทะเบียน ตรวจสอบผู้ให้บริการนําเที่ยวให้เกิดความนาเชื่อถือ และลดระยะเวลาในการติดต่อหนวยราชการ โดยเชื่อมโยง Thailand Tourism Directory กอนในระยะแรก 1. กรมการทองเที่ยว 2. ภาคธุรกิจเอกชนที่ให้บริการสนับสนุน มีระบบโปรแกรม สําหรับการบริหารจัดการเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวและผู้ประกอบการทองเที่ยว (Tourism Supply Management) - 24 เดือน 2567 - 2568 2566 - 2567 2568 2569 2570 - - การดําเนินงาน พัฒนาฐานขอมูล และการให้ บริการวิเคราะหขอมูล อยางต่อเนื่อง เชื่อมโยงฐานขอมูลของหนวย งานที่เกี่ยวของกับการจัดการ แหลงทองเที่ยวและระบบงาน บริหารจัดการที่เกี่ยวของกับ ผู้ประกอบการทองเที่ยว ให้ครอบคลุมทั่วประเทศ เชน Thailand Tourism Directory 132

3.7 โครงการ Amazing Thailand Metaverse โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการ Amazing Thailand Metaverse เพื่อผลักดันให้อุตสาหกรรมทองเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมคริปโต (Crypto-positive Industry) ตลอดจนใชประโยชนจากเศรษฐกิจ โทเคน (Token Economy) ด้วยการใชประโยชนจากสกุลเงินดิจิทัล จากกระแสโลกเสมือน หรือ Metaverse ที่มีแนวโนมที่ชัดเจนขึ้นทั่วโลก ทําให้ภาคการทองเที่ยวที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 ต้องพิจารณารองรับความต้องการและโอกาสจากโลก metaverse ที่สูงขึ้น ประกอบกับผู้ใชงาน คือกลุ่มประชากรโลกที่มีความมั่งคั่ง สูง (Wealthy Global Citizen) ซึ่งเป็นนักทองเที่ยวที่มีกําลังซื้อสูงและเต็มใจจายที่สอดรับกับเปาหมายนักทองเที่ยวของประเทศไทย ดังนั้น โครงการนี้ จึงเป็นการสนับสนุนการพัฒนาภาคการทองเที่ยวบน Metaverse โดยสนับสนุนการขับเคลื่อนการทองเที่ยว บนโลกเสมือนมากขึ้น อาทิ การต่อยอด Thailand Tourism Virtual Market (TTVM) ให้เกิดการซื้อขายสินคาและบริการทองเที่ยว บนโลกดิจิทัลมากขึ้น การแปลงคูปองตางๆ สู Token Digital เพื่อเพิ่มสภาพคลองให้ผู้ประกอบการทองเที่ยว เป็นตน 1. การทองเที่ยวแห่งประเทศไทย 2. สมาคมการทองเที่ยวตางๆ ที่เกี่ยวของ มีการศึกษาและออกแบบระบบสนับสนุนให้เกิดการซื้อขายสินคาและบริการที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวบนโลกเสมือน - 36 เดือน 2567-2569 2566 2567 2568 2569 2570 - - การดําเนินงาน ต่อยอดการศึกษาความเป็นไปได้การพัฒนา Digital Content และ Business Model ดาน Metaverse ให้นักทองเที่ยวและผู้ประกอบการสามารถทําธุรกรรมบนโลกเสมือนได้อยางปลอดภัย 133

ยุทธศาสตรที่ 4 4.1 โครงการพัฒนาระบบการจัดการงบประมาณอิเล็กทรอนิกส (New e-Budgeting) 2566 2567 2568 2569 2570 - - - การดําเนินงาน 1. จัดทําแผนการดําเนินงาน โดยละเอียด 2. ทบทวนความต้องการของ ระบบ และการวิเคราะหใน เชิงลึกจัดทํามาตรฐานขอมูล และออกแบบและจัดทํา กระบวนการแลกเปลี่ยนและ เชื่อมโยงขอมูล (API/Open Data) 3. ออกแบบรายละเอียด (Detailed Design) 4. พัฒนา (Development) ทดสอบ และติดตั้ง - ระบบสารสนเทศหลัก จํานวน 7 เดือน - ระบบสารสนเทศสนับสนุน จํานวน 9 เดือน - ทดสอบ และประเมินผลการ ทดสอบการยอมรับของผู้ใช งาน (User Acceptance Test : UAT) พัฒนา (Development) ทดสอบ และติดตั้ง - ระบบสารสนเทศหลัก จํานวน 6 เดือน - ระบบสารสนเทศ สนับสนุน จํานวน 9 เดือน - ทดสอบ และประเมินผล การทดสอบ การยอมรับของ ผู้ใชงาน (User Accep- tance Test : UAT) จํานวน 9 เดือน - ติดตั้งระบบบน Private Cloud จํานวน 3 เดือน โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการพัฒนาระบบการจัดการงบประมาณอิเล็กทรอนิกส (New e-Budgeting) 1. สํานักงบประมาณมีระบบ New e-Budgeting เป็นเครื่องมือใชเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติภารกิจดานการงบประมาณที่ทันสมัย สะดวก รวดเร็ว และครอบคลุมการปฏิบัติงานตามกระบวนการงบประมาณ และสอดคลองกับ พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 และหนวยรับงบประมาณทั้งหมดสามารถใชเป็นเครื่องมือปฏิบัติงานดานการงบประมาณได้ 2. ระบบ New e-Budgeting สามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลกับระบบภายในและภายนอกสํานักงบประมาณได้อยางมีมาตรฐาน 1. พัฒนาระบบสารสนเทศดานโปรแกรมประยุกต ดานขอมูล และ ดานเทคโนโลยี (Application Data and Technology Architecture) ใหมตามสถาปตยกรรมองคกรที่จัดทําไว โดยพัฒนาภายใตมาตรฐานสากล ให้ครอบคลุมกระบวนการงบประมาณ และระบบงาน สนับสนุนที่เกี่ยวของ 2. สนับสนุนการให้บริการแกผู้เกี่ยวของ ให้ใชงานได้สะดวก รวดเร็ว ลดความซ้ําซอน มีสารสนเทศที่ครอบคลุมกระบวนการงบประมาณ และรองรับการบริการเชื่อมโยงและถายโอนขอมูลระหวางหนวยงาน 1. สํานักงบประมาณ 2. สํานักงานปลัดกระทรวงการคลัง 3. กรมบัญชีกลาง 4. สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระบบการจัดการงบประมาณอิเล็กทรอนิกส (New e-Budgeting) เป็นเครื่องมือที่เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติภารกิจดานการงบประมาณ ที่ทันสมัย สะดวก รวดเร็ว และครอบคลุมการปฏิบัติงานตามกระบวนการงบประมาณ และสอดคลองกับพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 และหนวยรับงบประมาณทั้งหมดสามารถใชเป็นเครื่องมือปฏิบัติงานดานการงบประมาณได้ 666.4119 ลานบาท 24 เดือน 2566-2567 134

4.2 โครงการพัฒนาระบบจัดการเรื่องราวรองทุกข โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการพัฒนาระบบจัดการเรื่องราวรองทุกข 1. เพื่อเชื่อมโยงฐานขอมูลการรองเรียนรองทุกขเป็นศูนยขอมูลรองเรียนรองทุกขของประเทศ 2. หนวยงานภาครัฐสามารถใชประโยชนขอมูลรวมกัน ประชาชนเขาถึงขอมูลได้อยางสะดวกรวดเร็ว และทันเหตุการณ 3. เป็นเครื่องมือวิเคราะหแนวโนมและทิศทางของปญหาการรองเรียนรองทุกขสําหรับใชในการวางแผน 4. แกไขปญหาเรื่องรองทุกขที่ซ้ําซอน และลดขั้นตอนการทํางานในการแกไขปญหาการรองเรียนรองทุกขของประชาชน การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนฐานขอมูลเรื่องรองทุกขระหวางหนวยงาน เพื่อให้ขอมูลเรื่องรองทุกขจากทั่วประเทศเสมือนเป็นฐานขอมูล เดียวกัน เพื่ออํานวยความสะดวกแกผู้ใชบริการ รวมทั้งการจัดหมวดหมู่อัตโนมัติ ทําให้ขอรองเรียนและรองทุกขถูกสงไปที่หนวยงาน ที่เหมาะสมที่สามารถจัดการขอรองเรียนได้อยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถติดตามความคืบหน้าของเรื่องราวรองทุกขได้ทุกที่ตลอดเวลา 1. สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี 2. ศูนยดํารงธรรม สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 3. ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 4. สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ขอมูลเรื่องรองทุกขจากทั่วประเทศถูกจัดเก็บเสมือนฐานขอมูลเดียวกัน และการจัดหมวดหมู่อัตโนมัติ ทําให้ขอรองเรียนและรองทุกขได้รับ การประสานสงไปที่หนวยงานที่เหมาะสม - 48 เดือน 2566-2569 2566 2567 2568 2569 2570 - การดําเนินงาน เชื่อมโยงขอมูลและบูรณาการขอมูลของหนวยงาน ขยายผลการเชื่อมโยงฐานขอมูล ไปยังหนวยงานระดับทองถิ่น 135

4.3 โครงการพัฒนาระบบกลางดานกฎหมาย (Law Portal) โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการพัฒนาระบบกลางดานกฎหมาย (Law Portal) เพื่อให้หนวยงานของรัฐใชในการรับฟงความคิดเห็นประกอบรางกฎหมายและประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย และเพื่อเปดโอกาส ให้ประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการทางกฎหมายผานการให้ความคิดเห็นแกหนวยงานของรัฐ สําหรับใชประกอบการจัดทํา รางกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ เว็บไซต์ที่พัฒนาตาม พ.ร.บ. หลักเกณฑการจัดทํารางกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 เพื่อเป็นชองทาง ที่ให้หนวยงานของรัฐเปดรับฟงความคิดเห็น ประชาชนได้มีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น และเป็นศูนยกลางขอมูลทางกฎหมาย ของประเทศ 1. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 2. สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ระบบแสดงความคิดเห็นประกอบการจัดทํารางกฎหมาย และประเมินผลสัมฤทธิ์กฎหมายของหนวยงานรัฐ และฐานขอมูลกฎหมาย ของประเทศ 4.6671 ลานบาท (งบประมาณภายใตแผนการบูรณาการรัฐบาลดิจิทัล ป 2566) 60 เดือน 2566 - 2570 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน จัดทําฐานขอมูลกฎหมายของ ประเทศ เชื่อมโยงขอมูลกฎหมาย ระยะ 2 เชื่อมโยงขอมูลกฎหมาย ระยะ 3 ให้บริการต่อเนื่อง 136

4.4 โครงการภาษีไปไหน โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการภาษีไปไหน เพื่อเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับกระบวนการงบประมาณทองถิ่น ให้ประชาชนเขามามีสวนรวมแสดงความคิดเห็น และเกิดความโปรงใส การทํามาตรฐานการเชื่อมโยงและบูรณาการขอมูลการใชงบประมาณของสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กับภาษีไปไหน รวมทั้งขอมูลของกรมบัญชีกลาง สํานักงบประมาณ และองคกรต่อตานคอรรัปชัน (ประเทศไทย) เพื่อให้ได้ขอมูล การใชภาษีที่มีความทันสมัย สามารถติดตามตรวจสอบการใชงบประมาณได้อยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพิ่มความโปรงใส และลดปญหาการคอรรัปชั่น โดยประชาชนสามารถตรวจสอบขอมูลและแสดงความคิดเห็นออนไลนได้ผานชองทางของภาษีไปไหน ทั้งนี้ ในระยะยาวจะพัฒนาแพลตฟอรมสําหรับเปดเผยขอมูลการจัดทําพิจารณา และตรวจสอบการใชงบประมาณทองถิ่น 1. สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 2. กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 3. องคกรต่อตานคอรรัปชัน (ประเทศไทย) 4. สํานักงบประมาณ 5. กรมบัญชีกลาง แพลตฟอรมกลางสําหรับเปดเผยงบประมาณทองถิ่น 5 ลานบาท 60 เดือน 2566 - 2570 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน เชื่อมโยงขอมูลกับหนวยงาน พันธมิตรเดิม ให้ได้ขอมูล เชิงลึกมากขึ้น เชื่อมโยงฐานขอมูลระหวาง หนวยงานโดยสมบูรณ จัดระบบแสดงความคิดเห็น และเปดเผยขอมูล ให้บริการต่อเนื่อง 137

4.5 โครงการปกหมุดพื้นที่เสี่ยงต่อการทุจริต (Anti Corruption Risk Mapping) 2566 2567 2568 2569 2570 - - - - การดําเนินงาน จัดทํารายงานผลการปกหมุด แผนที่พื้นที่เสี่ยงต่อการทุจริต และการพัฒนาระบบแสดงผล แผนที่พื้นที่เสี่ยงต่อการทุจริต (Corruption Risk Mapping) โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการปกหมุดพื้นที่เสี่ยงต่อการทุจริต (Anti Corruption Risk Mapping) 1. เพื่อให้เกิดฐานขอมูลประเด็นการทุจริตสําหรับการต่อตานการทุจริตทุกรูปแบบในทุกพื้นที่ทั่วประเทศที่มีการจัดเรียง ปรับปรุง และ พัฒนาขอมูลอยางเป็นระบบ ผานการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและผลสัมฤทธิ์ให้แกภารกิจการปองกันการทุจริตในระดับจังหวัด รวมถึงในระดับหนวยงานภาครัฐ ตลอดถึง ภารกิจการเสริมสรางการมีสวนรวมและปลุกจิตสํานึกในการตานทุจริตให้แกประชาชนในทุกพื้นที่ เกิดการพัฒนาแผนที่พื้นที่เสี่ยงต่อการทุจริตที่มาจากการมีสวนรวมของภาคีเครือขายภาครัฐ ภาคเอกชน ที่ไม่ทนต่อการทุจริต เพื่อเป็นฐานขอมูลนํามาใชประโยชนในการวางแผนและกําหนดแนวทางดําเนินโครงการหรือกิจกรรมดานการปองกันและปราบปราม การทุจริต รวมกับฐานขอมูลอื่น ๆ ของสํานักงาน ป.ป.ช. สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 1. รายงานผลการปกหมุดแผนที่พื้นที่เสี่ยงต่อการทุจริต 9 ภาค และกรุงเทพมหานครฯ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 2. รายงานผลการปกหมุดความเสี่ยงต่อการทุจริตขององคกรภาครัฐ 3. รายงานสรุปผลการปกหมุดแผนที่พื้นที่เสี่ยงต่อการทุจริต ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2566 4. การพัฒนาระบบแผนที่พื้นที่เสี่ยงต่อการทุจริต (Corruption Risk Mapping) - 12 เดือน 2566 138

4.6 โครงการพัฒนาศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐสงเสริมการเปดเผยและใชประโยชนจากขอมูล (Open Data) 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน • กําหนด High Value Dataset ในระดับนโยบาย ตามความ ต้องการของผู้ใช้งาน • ปรับปรุงข้อมูล ภาษีไปไหน? • ศึกษาพัฒนาเชื่อมข้อมูลงบ ประมาณกับ สถ. ในรูปแบบ API • ส่งเสริมหน่วยงานเชื่อมโยงข้อมูล กับ Open Data ในระดับ API • กําหนด High Value Dataset ในระดับนโยบาย ตามความต้องการของผู้ใช้งาน • เพิ่มจํานวนชุดข้อมูลเปิดท้องถิ่นตามการขยายของระบบท้องถิ่นดิจิทัล • ปรับปรุงข้อมูล ภาษีไปไหน? ให้เป็นปัจจุบัน • ส่งเสริมการเชื่อมโยงข้อมูลกับ Open Data ในระดับ API โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการพัฒนาศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐสงเสริมการเปดเผยและใชประโยชนจากขอมูล (Open Data) เพื่อให้หนวยงานของรัฐใชเป็นศูนยกลางในการเปดเผยขอมูลแกสาธารณะ ศูนยกลางขอมูลเปดของภาครัฐที่สามารถนําขอมูลภาครัฐที่เป็นประโยชนมาเปดเผยโดยไม่คิดคาใชจาย รวมทั้งสามารถนําไปทําซ้ํา และเผยแพรต่อได้ เพื่อให้เกิดประโยชนต่อธุรกิจ สังคม สาธารณะ รวมถึงการวิจัยในภาคสวนตางๆ ไม่วาจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน หรือภาคประชาสังคม โดยเนนการพัฒนาเชิงนวัตกรรม สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล มีศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐที่มีระบบวิเคราะห ติดตามขอมูล และปรับปรุงขอมูลที่ทันสมัย 16.1868 ลานบาท (งบประมาณภายใตแผนการบูรณาการรัฐบาลดิจิทัล ป 2566) 60 เดือน 2566 - 2570 139

4.7 โครงการ e-Justice Case Management and Tracking System 2566 2567 2568 2569 2570 การดําเนินงาน • พัฒนาสร้างฐานข้อมูลกลาง ในกระบวนการยุติธรรม • พัฒนาทะเบียนคดีกลาง • พัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูล Case Flow ของหน่วยงาน ยุติธรรมกระแสหลัก ระยะที่ 1 • พัฒนาระบบติดตามสถานะคดี กระบวนการยุติธรรม ระยะที่ 1 • ศึกษาวิเคราะห์ ออกแบบระบบ กระบวนการดําเนินการสถานะ ปัจจุบัน และการดําเนินการของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ การดําเนินคดีอาญา และการจัด เก็บข้อมูลอาชญากรรมและวิธี การจัดเก็บข้อมูลทั้งกระบวนการ ให้เป็นดิจิทัล เพื่อกําหนด Template • ปรับปรุงกระบวนงานให้ง่าย และสะดวกขึ้น • ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง • ศึกษาวิธีการจัดเก็บข้อมูลใน กระบวนการยุติธรรมและวิธีการ เชื่อมโยงข้อมูล • พัฒนาระบบ Case flow ระยะที่ 2 • พัฒนาระบบติดตามสถานะคดี กระบวนการยุติธรรมระยะที่ 2 เริ่มใช้งานและพัฒนาฐานข้อมูล และการให้บริการอย่างต่อเนื่อง - โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการ e-Justice Case Management and Tracking System 1. เพื่อพัฒนาระบบ Case Flow ยกระดับการทํางานของหนวยงานดานยุติธรรมสูระบบดิจิทัลทั้งกระบวนการตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา 2. เพื่อให้สามารถติดตามขั้นตอนของสถานะคดีที่อยู่ในระหวางการดําเนินการในกระบวนการยุติธรรม ในการสงต่อขอมูลคดี ระหวางสํานักงานตํารวจแห่งชาติ สํานักงานอัยการสูงสุด และสํานักงานศาลยุติธรรมในทุกขั้นตอน 3. เพื่อให้สามารถมีขอมูลนํามาประกอบการวิเคราะหขอมูลคดีและขอมูลทางสถิติ นําเสนอแผนภาพ โดยสามารถแสดงเสนทาง ขั้นตอนการดําเนินการคดีอาญา การเชื่อมต่อฐานขอมูลระหวางหนวยงานในกระบวนการยุติธรรม ตั้งแต่ชั้นตํารวจ อัยการ ศาล และหนวยงานภายใตกระบวนการ ยุติธรรมเพื่อให้ประชาชนสามารถติดตามขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรม 1. สํานักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม 2. ศาลยุติธรรม 3. สํานักงานอัยการสูงสุด 4. สํานักงานตํารวจแห่งชาติ การพัฒนาระบบเชื่อมโยงขอมูลระบบการทํางานของหนวยงานกระบวนการยุติธรรมทั้งระบบ เพื่อการติดตามสถานะการดําเนินการ และสถานะคดีสามารถติดตามสถานะคดีของบุคคลที่เกี่ยวของในกระบวนการยุติธรรม ลดระยะเวลาขั้นตอนตาง ๆ จากการจัดทํา หนังสือราชการ ลดระยะเวลาและคาใชจายในการเดินทางเพื่อการติดต่อสอบถามสถานะการติดตามคดีของประชาชน นําไปสู ความโปรงใส ตรวจสอบได้ และเกิดความเชื่อมั่นต่อกระบวนการยุติธรรม 50 ลานบาท 48 เดือน 2567 – 2570 140

4.8 โครงการ Big Data and AI Analytics for Crime Prevention 2566 2567 2568 2569 2570 - การดําเนินงาน 1. พัฒนาเชื่อมโยงข้อมูลที่ จําเป็นในการพยากรณ์ สถานการณ์อาชญากรรม 2. พัฒนาระบบแสดงผล การพยากรณ์ในรูปแบบ Web Application และ Mobile Application 3. ทดสอบและฝึกฝนระบบ AI เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์ แนวโน้มอาชญากรรมในพื้นที่ นําร่อง 4. พัฒนาสร้างฐานข้อมูลกลางใน กระบวนการยุติธรรม 5. นําเสนอรายงานสรุป เทคโนโลยีการพยากรณ์ใน รูปแบบที่ทันสมัยและกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง พัฒนาศูนย์พยากรณ์ สถานการณ์อาชญากรรม โดย 1. ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลและ แหล่งข้อมูลที่จําเป็น ออกแบบ ระบบและกระบวนการดําเนินงาน และวิธีการจัดเก็บข้อมูลเพื่อ กําหนด Template ของข้อมูล ที่สําคัญและจําเป็น 2. ศึกษาวิธีการจัดเก็บข้อมูล ในกระบวนการยุติธรรม และ วิธีการเชื่อมโยงข้อมูล 3. ทดสอบข้อมูล กําหนด มาตรฐานและนําเข้าข้อมูลใน พื้นที่นําร่อง 1. พัฒนาฐานข้อมูลและการให้ บริการอย่างต่อเนื่อง เพื่อขยายผลการใช้งาน 2. พัฒนาระบบวิเคราะห์เพื่อ การตัดสินใจของผู้บริหาร (Dashboard) 1. พัฒนาฐานข้อมูลและการให้ บริการอย่างต่อเนื่องเพื่อขยาย ผลการใช้งาน 2. พัฒนาระบบวิเคราะห์ เพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร อย่างต่อเนื่อง (Dashboard) โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการ Big Data and AI Analytics for Crime Prevention 1. เพื่อวิเคราะหปจจัยการกระทําความผิด เพื่อนําไปใชวางแผนวิเคราะหปองกันอาชญากรรม 2. เพื่อพัฒนาระบบวิเคราะหการคาดการณสถานการณอาชญากรรมในแต่ละพื้นที่ 3. เพื่อให้หนวยงานในกระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวของมีขอมูลในการกําหนดยุทธศาสตรการปองกันอาชญากรรมได้อยางแมนยํา เพื่อให้การนําเสนอขอมูลการคาดการณอาชญากรรมในระดับพื้นที่สามารถนําไปสูการวางกลยุทธและวิธีปองกันแกไขปญหา อาชญากรรมเกิดเป็นแผนปฏิบัติการในระดับจังหวัด และมีระบบการคาดการณสถานการณอาชญากรรมในแต่ละพื้นที่ทําให้ ประชาชนสามารถเขาถึง และไม่ตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม มีการเฝาระวังตัวเองผานระบบ Application นาิกาอาชญากรรม เพื่อเป็นการเตือนภัยให้กับประชาชนได้นั้น ขอมูลจากรายงานสถานการณอาชญากรรมและกระบวนการยุติธรรม (White Paper on Crime and Justice) จึงไม่เพียงพอ ดังนั้นในการวิเคราะหและนําไปสูการพยากรณสถานการณอาชญากรรม จึงต้องอาศัย ขอมูลตาง ๆ ที่หนวยงานต้องการ เพื่อที่จะประกอบเป็นขอมูลสําคัญในการวิเคราะหอาชญากรรมเพื่อให้หนวยงานทราบปญหา ของแต่ละหนวยงานในกระบวนการยุติธรรม และสามารถนําไปกําหนดนโยบาย ยุทธศาสตรหรือแนวทางในการปองกันอาชญากรรม อีกทั้งสงเสริมการมีสวนรวมของภาคประชาชนอาสาสมัคร ในพื้นที่ได้เขามามีบทบาทและมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมการปองกัน อาชญากรรมในพื้นที่รวมกับภาครัฐ เป็นการสรางชุมชนเขมแข็ง ปลอดภัย ที่จะเกิดขึ้นกับพื้นที่ได้อยางมีประสิทธิภาพ 1. สํานักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม 2. สํานักงานตํารวจแห่งชาติ สามารถพัฒนาระบบวิเคราะหการคาดการณสถานการณอาชญากรรมในแต่ละพื้นที่ เพื่อให้บริการประชาชนในพื้นที่ทราบสถานการณ ความเสี่ยงของพื้นที่เกี่ยวกับอาชญากรรม รวมถึงวิเคราะหปญหาอาชญากรรมในพื้นที่ให้หนวยงานได้ทราบปญหา เป็นขอมูล เสริมประกอบการออกแบบและเป็นทิศทางในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรขององคกรในการปองกันปญหาอาชญากรรม และ สรางความรวมมือของภาคประชาชน อาสาสมัครในการจัดกิจกรรมปองกันอาชญากรรมในพื้นที่ 50 ลานบาท 48 เดือน 2566 - 2569 141

4.9 โครงการระบบศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกระบวนการยุติธรรม Data Exchange Center (DXC) 2566 2567 2568 2569 2570 - - การดําเนินงาน เชื่อมโยงข้อมูลการดําเนินคดี การสอบสวนและการพิจารณา คดีข้อมูลการบังคับโทษ/ลงโทษ เชื่อมโยงข้อมูลสําคัญ ได้แก่ ข้อมูลการศึกษา ข้อมูลภาพ ใบหน้า ลายพิมพ์นิ้วมือ ข้อมูล ทรัพย์สิน สถานะทางการเงิน เชื่อมโยงข้อมูลการช่วยเหลือ เยียวยาและข้อมูลการช่วยเหลือ หลังปล่อย โครงการ วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต งบประมาณ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ปงบประมาณ โครงการระบบศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกระบวนการยุติธรรม Data Exchange Center (DXC) 1. เพื่อเชื่อมโยงขอมูลสําคัญ ดานการดําเนินคดี ดานการสอบสวนและการพิจารณาคดีขอมูลการบังคับโทษ/ลงโทษ ดานการชวยเหลือ เยียวยาและดานการชวยเหลือหลังปลอย ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานดานกระบวนการยุติธรรม และเพื่อบริการประชาชน 2. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพระบบ DXC ให้มีขอมูลครบถวน ใชงานงาย และสะดวก การจัดตั้งและพัฒนาศูนย DXC เริ่มดําเนินการมาตั้งแต่ ป พ.ศ. 2550 ตลอดระยะเวลาดังกลาว กระทรวงยุติธรรมได้มอบหมาย ให้สํานักงานกิจการยุติธรรม (สกธ.) เป็นผู้รับผิดชอบในการขับเคลื่อนศูนย DXC ให้เป็นไปตามแผนแมบทการบริหารงานยุติธรรม แห่งชาติ ภายใตการกํากับดูแลของคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการยุติธรรม และคณะกรรมการ การบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ (กพยช.) ซึ่ง ณ ปจจุบันจะเห็นได้วาภารกิจหน้าที่และเปาประสงคของศูนย DXC สอดรับตามแนว นโยบายดิจิทัลภาครัฐได้อยางชัดเจน มีหนวยงานรวมแลกเปลี่ยนขอมูลจํานวน 26 หนวยงาน มีฐานขอมูลจํานวน 64 ฐานขอมูล เพื่อให้เกิดการยกระดับในการให้บริการและการประมวลผลขอมูลเพิ่มมากขึ้น จึงจําเป็นต้องพัฒนาการเชื่อมโยงขอมูลสําคัญ และทําการปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพของศูนย DXC ในสวนของระบบการให้บริการที่สะดวก ขอมูลครบถวน และใชงานงายเพื่อให้ สามารถรองรับการเป็นศูนยกลางการให้บริการ ในการเสาะแสวงหาขอเท็จจริงสําหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานดานกระบวนการ ยุติธรรมตามผลผลิตและเปาหมายที่วางไว สํานักงานกิจการยุติธรรม การเชื่อมโยงขอมูลสําคัญที่เป็นความต้องการ และเป็นขอมูลจําเป็นในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ดานกระบวนการยุติธรรม และเพื่อบริการประชาชน ที่ใชงานงาย และสะดวก 50 ลานบาท 36 เดือน 2567 - 2569 หมายเหตุ โครงการภายใตแผนบูรณาการรัฐบาลดิจิทัล ถือเป็นสวนหนึ่งของโครงการภายใตแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ 142

จััดพิิมพและเผยแพรโดย สํานักงานพััฒนารััฐบาลดิิจิิทััล (องคการมหาชน) (สพร.) ชั้น 17 อาคารบางกอกไทยทาวเวอร เลขที่ 108 ถนนรางน้ํา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวีี กรุุงเทพฯ 10400 โทรศััพท: 0 2612 6000 โทรสาร: 0 2612 6011, 0 2612 6012 อีีเมล: contact@dga.or.th