Fri Apr 07 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนทาสบเส้า จังหวัดลำพูน พ.ศ. 2566


ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนทาสบเส้า จังหวัดลำพูน พ.ศ. 2566

ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนทาสบเส้า จังหวัดลำพูน พ.ศ. 2566 โดยที่เป็นการสมควรให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนทาสบเส้า จังหวัดลำพูน เพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการพัฒนา และการดารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท ในด้านการใช้ประโยชน์ ในทรัพย์สิน การคมนาคมและการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะ และสภาพแวดล้อม ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการผังเมือง อาศัยอานาจตามความในมำตรา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 33 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ การผังเมือง พ.ศ. 2562 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวม ชุมชนทาสบเส้า จังหวัดลำพูน พ.ศ . 2566 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ใช้บังคับผังเมืองรวม ในท้องที่ตาบลทาสบเส้า อำเภอแม่ทา จังหวัดลาพูน ภายในแนวเขตตามแผนที่ท้ายประกาศนี้ ข้อ 4 การวางและจัดทาผังเมืองรวมตามประกาศนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการพัฒนา และการดารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท ในด้านการใช้ประโยชน์ ในทรัพย์สิน การคมนาคมและการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะ และสภาพแวดล้อม ในบริเวณแนวเขตตามข้อ 3 ให้สอดคล้องกับการพัฒนาระบบเศรษ ฐกิจและสังคมของประเทศ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ข้อ 5 ผังเมืองรวมตามประกาศนี้ มีนโยบายและมาตรการเพื่อจัดระบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน โครงข่ายคมนาคมขนส่งและบริการสาธารณะให้มีประสิทธิภาพ สามารถรองรับและสอดคล้องกับ การขยายตัวของชุมชนในอนาคต รวมทั้ งส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจ โดยมีสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้ (1) ส่งเสริมและพัฒนาชุมชนทาสบเส้าให้เป็นศูนย์กลางการบริหาร การค้า และการบริการ ในระดับอำเภอ (2) ส่งเสริมและพัฒนาการบริการทางสังคม การศึกษา การสาธารณสุข การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ให้เพียงพอและได้มาตรฐาน (3) ส่งเสริมและพัฒนาด้านที่อยู่อาศัยให้เหมาะสม (4) พัฒนาระบบโครงข่ายคมนาคมขนส่งให้สอดคล้องกับการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต (5) สงวนและรักษาพื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่โล่งของชุมชนให้มีความอุดมสมบูรณ์ ตามแนวทางการพัฒนาแบบยั่งยืน (6) อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ้ หนา 12 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 83 ง ราชกิจจานุเบกษา 7 เมษายน 2566

ข้อ 6 การใช้ประโยชน์ที่ดินภายในเขตผังเมืองรวม ให้เป็นไปตามแผนผังกำหนด การใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง และรายการ ประกอบแผนผังท้ายประกาศนี้ ข้อ 7 การใช้ประโยชน์ที่ดินตามแผนผั งกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท ท้ายประกาศนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้ (1) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 1.1 ถึงหมายเลข 1.25 ที่กำหนดไว้เป็นสีเหลือง ให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (2) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 2.1 ถึงหมายเลข 2.4 ที่กาหนดไว้เป็นสีส้ม ให้เป็นที่ดิน ประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (3) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 3.1 ถึงหมายเลข 3.4 ที่กาหนดไว้เป็นสีแดง ให้เป็นที่ดิน ประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก (4) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 4.1 ถึงหมายเลข 4.18 ที่กาหนดไว้ เป็นสีเขียว ให้เป็น ที่ดิน ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (5) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 5.1 และหมายเลข 5.2 ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (6) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 6.1 ถึงหมายเลข 6.8 ที่กาหนดไว้ เป็นสีเขียวอ่อนมีเส้นทแยงสีขาว ให้เป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ (7) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 7.1 ถึงหมายเลข 7.13 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ให้เป็นที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา (8) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 8.1 ถึงหมายเลข 8.19 ที่กำหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทสถาบันศาสนา (9) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 9.1 ถึงหมายเลข 9.15 ที่กำหนดไว้เป็นสีน้าเงิน ให้เป็นที่ดิน ประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ข้อ 8 ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ (1) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมำยว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และจำพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ (2) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย ้ หนา 13 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 83 ง ราชกิจจานุเบกษา 7 เมษายน 2566

(3) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลว ประเภทโรงเก็บ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง (4) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จ ระเข้ หรือสัตว์ป่าตามกฎหมาย ว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า (5) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็น การก่อสร้างแทนสุสานหรือฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม (6) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม (7) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบ พาณิชยกรรม (8) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ (9) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล (10) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ ที่ดินประเภทนี้ในแนวเขตป่าสงวนแห่งชาติ แนวเขตอุทยานแห่งชาติ แนวเขตวนอุทยาน และแนวเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการสงวนและคุ้มครองดูแลรักษา หรือบารุงป่าไม้ สัตว์ป่า ต้นน้ำ ลาธาร และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ตามมติคณะรัฐมนตรีและกฎหมายเกี่ยวกับการป่าไม้ การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า และการส่งเสริมและรักษาคุณภา พสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ที่ดินประเภทนี้ในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ในบริเวณหมายเลข 1.3 หมายเลข 1.6 หมายเลข 1.22 และหมำยเลข 1.25 ในระยะ 50 เมตร จากแนวเขตที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อการอยู่อาศัยประเภทบ้านเดี่ยว เกษตรกรรม การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเท่านั้น ข้อ 9 ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ (1) โรงงานทุกจำพว กตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และจำพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ (2) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย (3) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ้ หนา 14 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 83 ง ราชกิจจานุเบกษา 7 เมษายน 2566

(4) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระ เข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า (5) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็น การก่อสร้างแทนสุสานหรือฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม (6) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม (7) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชย กรรม (8) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล (9) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ ที่ดินประเภทนี้ในแนวเขตป่าสงวนแห่งชาติ แนวเขตอุทยานแห่งชาติ แนวเขตวนอุทยาน และแนวเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการสงวนและคุ้มครองดูแลรักษา หรือบารุงป่าไม้ สัตว์ป่า ต้นน้า ลาธาร และทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ตามมติคณะรัฐมนตรีและกฎหมายเกี่ยวกับการป่าไม้ การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า และการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ข้อ 10 ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อพาณิชยกร รม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สำหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ (1) โรง งานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และจำพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ (2) คลังน้ำมัน สถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม สถานีบริการน้ามันประเภท ก สถานีบริการน้ามันประเภท ข สถานีบริการน้ามันประเภท ค ลักษณะที่สอง สถานีบริการน้ามัน ประเภท จ ลักษณะที่สอง และสถานีบริการน้ำมันประเภท ฉ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย (3) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเห ลวประเภทห้องบรรจุ สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ และสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง (4) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า (5) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็น การก่อสร้างแทนสุสานหรือฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม (6) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม (7) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล (8) ซื้อขายหรือเก็บ ชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า ้ หนา 15 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 83 ง ราชกิจจานุเบกษา 7 เมษายน 2566

(9) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ในบริเวณหมายเลข 3.1 ในระยะ 50 เมตร จากแนวเขตที่ดิน ประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยประเภทบ้านเดี่ยว เกษตรกรรม การสาธารณูปโภค และสาธารณูปกำรเท่านั้น ที่ดินประเภทนี้ในแนวเขตป่าสงวนแห่งชาติ แนวเขตอุทยานแห่งชาติ แนวเขตวนอุทยาน และแนวเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการสงวนและคุ้มครองดูแลรักษา หรือบารุงป่าไม้ สัตว์ป่า ต้นน้ำ ลาธาร และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ตามมติคณะรัฐมนตรีและกฎหมายเกี่ยวกับการป่าไม้ การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า และการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ข้อ 11 ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ (1) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และจำพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ (2) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย (3) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่บรรจุก๊ำซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง (4) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม (5) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม (6) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม (7) จัดสรรที่ดิน เพื่อการอยู่อาศัย (8) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ (9) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว (10) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่ดินประเภทนี้ในแนวเขตป่าสงวนแห่งชาติ แนวเขตอุทยานแห่งชาติ แนวเขตวนอุทยาน และแนวเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการสงวนและคุ้มครองดูแลรักษา หรือบารุงป่าไม้ สัตว์ป่า ต้นน้ำ ลาธาร และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ตามมติคณะรัฐมนตรีและกฎห มายเกี่ยวกับการป่าไม้ การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า และการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ที่ดินประเภทนี้ในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ้ หนา 16 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 83 ง ราชกิจจานุเบกษา 7 เมษายน 2566

ข้อ 12 ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เฉพาะที่ดิน ซึ่งเป็นของรัฐ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อนันทนาการหรือเกี่ยวข้องกับนันทนาการ การรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น ที่ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบ ครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เกษตรกรรม การอยู่อาศัย หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น และห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ (1) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย (2) การอยู่อาศัยประเภท อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ (3) การอยู่อาศัยประเภทห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว (4) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม (5) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ข้อ 13 ที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการสงวนและคุ้มครองดูแลรักษา หรือบำรุงป่าไม้ สัตว์ป่า ต้นน้ำ ลำธาร และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ตามมติคณะรัฐมนตรี และกฎหมายเกี่ยวกับการป่าไม้ การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า และการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติเท่านั้น ที่ ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม การอยู่อาศัย หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น และห้ามใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการ ตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ (1) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย (2) การอยู่อาศัยประเภทอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ (3) การอยู่อาศัยประเภทห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว (4) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม (5) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล (6) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ ที่ดินประเภทนี้ในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษ ตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ข้อ 14 ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการศึกษาหรือเกี่ยวข้องกับ การศึกษา สถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น ข้อ 15 ที่ดิ นประเภทสถาบันศาสนา ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการศาสนาหรือเกี่ยวข้องกับ การศาสนา การศึกษา สถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น ข้อ 16 ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการของรัฐ กิจการเกี่ยวกับการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น ้ หนา 17 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 83 ง ราชกิจจานุเบกษา 7 เมษายน 2566

ข้อ 17 การใช้ประโยชน์ที่ดินในบริเวณแนวถนนสาย ก 1 ถนนสาย ก 2 ถนนสาย ก 3 ถนนสาย ก 4 ถนนสาย ก 5 ถนนสาย ก 6 ถนนสาย ก 7 ถนนสาย ก 8 และถนนสาย ข ตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่งท้ายประกาศนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น นอกจากกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ (1) การสร้างถนนหรือเกี่ยวข้องกับถนน และการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (2) การสร้างรั้วหรือกำแพง (3) เกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษต รกรรมที่มีความสูงของอาคารไม่เกิน 9 เมตร หรือไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ ข้อ 18 ให้ผู้มีหน้าที่และอานาจในการควบคุมการก่อสร้างอาคารหรือการประกอบกิจการ ในเขตผังเมืองรวมปฏิบัติการให้เป็นไปตามประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 23 มีนา คม พ.ศ. 25 6 6 พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 83 ง ราชกิจจานุเบกษา 7 เมษายน 2566

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงําน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 2 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับผลิตผลเกษตรกรรม อย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารต้ม นึ่ง หรืออบพืชหรือเมล็ดพืช ได้ ได้ ได้ ( 2 ) กํารกะเทําะเมล็ดหรือเปลือกเมล็ดพืช ได้ ได้ ได้ ( 5 ) กํารเก็บรักษําหรือลําเลียงพืช เมล็ดพืช หรือผลิตผลจําก ได้ พืชในไซโล โกดัง หรือคลังสินค้ํา ( 8 ) กํารเพําะเชื้อเห็ด กล้วยไม้ หรือถั่วงอก ได้ ได้ ได้ ( 9 ) กํารร่อน ล้ําง คัด หรือแยกขนําดหรือคุณภําพ ได้ ได้ ได้ ของผลิตผลเกษตรกรรม ( 11 ) กํารฟักไข่ โดยใช้ตู้อบ ได้ ได้ ได้ ได้ 4 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับสัตว์ ซึ่งมิใช่สัตว์น้ ํา อย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารฆ่ําสัตว์ ได้ ( 2 ) กํารถนอมเนื้อสัตว์ โดยวิธีอบ รมควัน ใส่เกลือ ได้ ได้ ได้ ดอง ตํากแห้ง หรือทําให้เยือกแข็งโดยฉับพลัน หรือเหือดแห้ง ( 3 ) กํารท ําผลิตภัณฑ์อําหํารสําเร็จรูปจํากเนื้อสัตว์ มันสัตว์ ได้ ได้ หนังสัตว์ หรือสํารที่สกัดจํากไขสัตว์หรือกระดูกสัตว์ เรื่อง กํารให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนทําสบเส้ํา จังหวัดลําพูน พ . ศ . 2566 บัญชีท้ํายประกําศกระทรวงมหําดไทย ชนบทและเกษตรกรรม โรงงํานจําพวกที่ โรงงํานจําพวกที่ ที่อยู่อําศัย หนําแน่นน้อย หมํายเหตุ ที่ดินประเภท พําณิชยกรรมและ ที่อยู่อําศัยหนําแน่นมําก โรงงํานจําพวกที่ ที่อยู่อําศัย หนําแน่นปํานกลําง โรงงํานจําพวกที่

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงําน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 ( 6 ) กํารล้ําง ชําแหละ แกะ ต้ม นึ่ง ทอด หรือบดสัตว์ ได้ ได้ หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของสัตว์ ( 7 ) กํารท ําผลิตภัณฑ์จํากไข่ เพื่อใช้ประกอบเป็นอําหําร เช่น ได้ ได้ ได้ ไข่เค็ม ไข่เยี่ยวม้ํา ไข่ผง ไข่เหลวเยือกแข็ง หรือไข่เหลวแช่เย็น 5 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับน้ ํานมอย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารท ํานมสดให้ไร้เชื้อหรือฆ่ําเชื้อ โดยวิธีกํารใด ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ วิธีกํารหนึ่ง เช่น กํารพําสเจอร์ไรส์ หรือสเตอริไลส์ 6 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับสัตว์น้ ําอย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 2 ) กํารถนอมสัตว์น้ ําโดยวิธีอบ รมควัน ใส่เกลือ ดอง ได้ ได้ ตํากแห้ง หรือทําให้เยือกแข็งโดยฉับพลันหรือเหือดแห้ง ( 3 ) กํารท ําผลิตภัณฑ์อําหํารสําเร็จรูปจํากสัตว์น้ ํา ได้ ได้ หนัง หรือไขมันสัตว์น้ ํา ( 5 ) กํารล้ําง ชําแหละ แกะ ต้ม นึ่ง ทอด หรือบดสัตว์น้ ํา ได้ ได้ ได้ 8 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับผัก พืช หรือผลไม้ อย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารท ําอําหํารหรือเครื่องดื่มจํากผัก พืช หรือผลไม้ ได้ ได้ ได้ และบรรจุในภําชนะที่ผนึกและอํากําศเข้ําไม่ได้ ( 2 ) กํารถนอมผัก พืช หรือผลไม้ โดยวิธีกวน ตํากแห้ง ดอง ได้ ได้ ได้ หรือท ําให้เยือกแข็งโดยฉับพลันหรือเหือดแห้ง 2 ที่ดินประเภท หมํายเหตุ ที่อยู่อําศัย ชนบทและเกษตรกรรม หนําแน่นน้อย โรงงํานจําพวกที่ โรงงํานจําพวกที่ พําณิชยกรรมและ ที่อยู่อําศัยหนําแน่นมําก โรงงํานจําพวกที่ ที่อยู่อําศัย หนําแน่นปํานกลําง โรงงํานจําพวกที่

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงําน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 9 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับเมล็ดพืชหรือหัวพืช อย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารสี ฝัด หรือขัดข้ําว ได้ ได้ ได้ ( 3 ) กํารป่นหรือบด เมล็ดพืช หรือหัวพืช ได้ ได้ ( 4 ) กํารผลิตอําหํารสําเร็จรูปจํากเมล็ดพืชหรือหัวพืช ได้ ได้ ( 6 ) กํารปอกหัวพืช หรือทําหัวพืชให้เป็นเส้น แว่น หรือแท่ง ได้ ได้ 10 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับอําหํารจํากแป้งอย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารท ําขนมปังหรือขนมเค้ก ได้ ได้ ได้ ( 2 ) กํารท ําขนมปังกรอบหรือขนมอบแห้ง ได้ ได้ ได้ ( 3 ) กํารท ําผลิตภัณฑ์อําหํารจํากแป้ง เป็นเส้น เม็ด หรือชิ้น ได้ ได้ ได้ 11 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับน้ ําตําล ซึ่งทําจํากอ้อย บีช หญ้ําหวําน หรือพืชอื่นที่ให้ควํามหวํานอย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารท ําน้ ําเชื่อม ได้ ได้ ได้ ( 7 ) กํารท ําน้ ําตําลจํากน้ ําหวํานของต้นมะพร้ําว ต้นตําลโตนด ได้ ได้ ได้ ได้ หรือพืชอื่น ๆ ซึ่งมิใช่อ้อย 12 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับชํา กําแฟ โกโก้ ช็อกโกเลต หรือขนมหวํานอย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารท ําใบชําแห้งหรือใบชําผง ได้ ได้ ได้ ( 2 ) กํารคั่ว บด หรือป่นกําแฟ หรือกํารทํากําแฟผง ได้ ได้ ได้ ได้ 3 ที่ดินประเภท หมํายเหตุ ที่อยู่อําศัย ชนบทและเกษตรกรรม หนําแน่นน้อย โรงงํานจําพวกที่ โรงงํานจําพวกที่ พําณิชยกรรมและ ที่อยู่อําศัยหนําแน่นมําก โรงงํานจําพวกที่ ที่อยู่อําศัย หนําแน่นปํานกลําง โรงงํานจําพวกที่

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงําน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 ( 3 ) กํารท ําโกโก้ผงหรือขนมจํากโกโก้ ได้ ได้ ได้ ( 4 ) กํารท ําช็อกโกเลต ช็อกโกเลตผง หรือขนมจํากช็อกโกเลต ได้ ได้ ได้ ( 5 ) กํารท ําเก็กฮวยผง ขิงผง หรือเครื่องดื่มชนิดผงจํากพืชอื่น ๆ ได้ ได้ ได้ ( 6 ) กํารท ํามะขํามอัดเม็ด มะนําวอัดเม็ด หรือผลไม้อัดเม็ด ได้ ได้ ได้ ( 7 ) กํารเชื่อมหรือแช่อิ่มผลไม้หรือเปลือกผลไม้ หรือ ได้ ได้ ได้ กํารเคลือบผลไม้หรือเปลือกผลไม้ด้วยน้ ําตําล ( 8 ) กํารอบหรือคั่วถั่วหรือเมล็ดผลไม้ (Nuts) หรือกํารเคลือบถั่ว ได้ ได้ ได้ หรือเมล็ดผลไม้ (Nuts) ด้วยน้ ําตําล กําแฟ โกโก้ หรือช็อกโกเลต ( 10 ) กํารท ําลูกกวําดหรือทอฟฟี่ ได้ ได้ ได้ ( 11 ) กํารท ําไอศกรีม ได้ ได้ ได้ 13 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับเครื่องปรุงหรือ เครื่องประกอบอําหํารอย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 6 ) กํารท ําน้ ํามันสลัด ได้ ได้ ได้ ( 7 ) กํารบดหรือป่นเครื่องเทศ ได้ ได้ ได้ ( 8 ) กํารท ําพริกป่น พริกไทยป่น หรือเครื่องแกง ได้ ได้ ได้ 14 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับกํารทํา ตัด ซอย บด ได้ ได้ ได้ หรือย่อยน้ําแข็ง 4 ที่ดินประเภท หมํายเหตุ ที่อยู่อําศัย ชนบทและเกษตรกรรม หนําแน่นน้อย โรงงํานจําพวกที่ โรงงํานจําพวกที่ พําณิชยกรรมและ ที่อยู่อําศัยหนําแน่นมําก โรงงํานจําพวกที่ ที่อยู่อําศัย หนําแน่นปํานกลําง โรงงํานจําพวกที่

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงําน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 20 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับน้ ําดื่ม เครื่องดื่มที่ไม่มี แอลกอฮอล์ น้ ําอัดลม หรือน้ ําแร่อย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารท ําน้ ําดื่ม ได้ ได้ ได้ ( 2 ) กํารท ําเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ ได้ ได้ ได้ ( 4 ) กํารท ําน้ ําแร่ ได้ ได้ ได้ 21 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับยําสูบ ยําอัด ยําเส้น ยําเคี้ยว หรือยํานัตถุ์อย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารอบใบยําสูบให้แห้งหรือกํารรูดก้ํานใบยําสูบ ได้ ได้ ( 3 ) กํารท ํายําอัด ยําเส้น ยําเส้นปรุง หรือยําเคี้ยว ได้ ได้ ได้ ( 4 ) กํารท ํายํานัตถุ์ ได้ ได้ 23 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์จํากสิ่งทอ ซึ่งมิใช่เครื่องนุ่งห่มอย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารท ําผลิตภัณฑ์จํากสิ่งทอเป็นเครื่องใช้ในบ้ําน ได้ ได้ ได้ ( 2 ) กํารท ําถุงหรือกระสอบซึ่งมิใช่ถุงหรือกระสอบพลําสติก ได้ ได้ ได้ ( 3 ) กํารท ําผลิตภัณฑ์จํากผ้ําใบ ได้ ได้ ได้ ( 4 ) กํารตบแต่งหรือเย็บปักถักร้อยสิ่งทอ ได้ ได้ ได้ 25 โรงงํานผลิตเสื่อหรือพรมด้วยวิธีทอ สําน ถัก หรือผูกให้เป็นปุย ได้ ได้ ได้ ซึ่งมิใช่เสื่อหรือพรมที่ทําด้วยยํางหรือพลําสติกหรือพรมน้ ํามัน ที่อยู่อําศัย ชนบทและเกษตรกรรม หนําแน่นน้อย โรงงํานจําพวกที่ โรงงํานจําพวกที่ พําณิชยกรรมและ ที่อยู่อําศัยหนําแน่นมําก โรงงํานจําพวกที่ 5 ที่ดินประเภท หมํายเหตุ ที่อยู่อําศัย หนําแน่นปํานกลําง โรงงํานจําพวกที่

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงําน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 26 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับเชือก ตําข่ําย แห หรืออวน อย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารผลิตเชือก ได้ ได้ ( 2 ) กํารผลิต ประกอบ หรือซ่อมแซมตําข่ําย แห หรืออวน ได้ ได้ และรวมถึงชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ของผลิตภัณฑ์ดังกล่ําว 28 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับเครื่องแต่งกํายซึ่งมิใช่ร้องเท้ํา อย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารตัดหรือเย็บเครื่องนุ่งห่ม เข็มขัด ผ้ําเช็ดหน้ํา ได้ ได้ ได้ ผ้ําพันคอ เนกไท หูกระต่ําย ปลอกแขน ถุงมือ ถุงเท้ํา จํากผ้ําหนังสัตว์ ขนสัตว์ หรือวัสดุอื่น ( 2 ) กํารท ําหมวก ได้ ได้ ได้ 33 โรงงํานผลิตรองเท้ําหรือชิ้นส่วนของรองเท้ําซึ่งมิได้ทําจํากไม้ ได้ ได้ ได้ ยํางอบแข็ง ยํางอัดเข้ํารูป หรือพลําสติกอัดเข้ํารูป 34 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับไม้อย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารเลื่อย ไส ซอย เซําะร่อง หรือกํารแปรรูปไม้ด้วยวิธีอื่น ได้ ได้ ที่คล้ํายคลึงกัน ( 2 ) กํารท ําวงกบ ขอบประตู ขอบหน้ําต่ําง บํานหน้ําต่ําง ได้ ได้ บํานประตู หรือส่วนประกอบที่ทําด้วยไม้ของอําคําร 35 โรงงํานผลิตภําชนะบรรจุหรือเครื่องใช้จํากไม้ไผ่ หวําย ฟําง ได้ ได้ ได้ อ้อ กก หรือผักตบชวํา ที่ดินประเภท หมํายเหตุ ที่อยู่อําศัย ชนบทและเกษตรกรรม หนําแน่นน้อย โรงงํานจําพวกที่ โรงงํานจําพวกที่ พําณิชยกรรมและ ที่อยู่อําศัยหนําแน่นมําก โรงงํานจําพวกที่ 6 ที่อยู่อําศัย หนําแน่นปํานกลําง โรงงํานจําพวกที่

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงําน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 36 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์จํากไม้ หรือไม้ก๊อกอย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารท ําภําชนะบรรจุ เครื่องมือ หรือเครื่องใช้จํากไม้ ได้ และรวมถึงชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ดังกล่ําว ( 2 ) กํารท ํารองเท้ํา ชิ้นส่วนของรองเท้ํา หรือหุ่นรองเท้ําจํากไม้ ได้ ( 3 ) กํารแกะสลักไม้ ได้ ได้ ได้ ( 4 ) กํารท ํากรอบรูปหรือกรอบกระจกจํากไม้ ได้ ( 5 ) กํารท ําผลิตภัณฑ์จํากไม้ก๊อก ได้ ได้ ได้ 37 โรงงํานท ําเครื่องเรือนหรือตบแต่งภํายในอําคํารจํากไม้ แก้ว ได้ ยําง หรืออโลหะอื่น ซึ่งมิใช่เครื่องเรือนหรือเครื่องตบแต่ง ภํายในอําคํารจํากพลําสติกอัดเข้ํารูป และรวมถึงชิ้นส่วน ของผลิตภัณฑ์ดังกล่ําว 41 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับ ( 1 ) กํารพิมพ์ กํารทําแฟ้มเก็บเอกสําร กํารเย็บเล่ม ท ําปก ได้ ได้ ได้ หรือตบแต่งสิ่งพิมพ์ ( 2 ) กํารท ําแม่พิมพ์โลหะ ได้ 43 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับปุ๋ย หรือสํารป้องกัน หรือกําจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ (Pesticides) อย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารท ําปุ๋ย หรือสํารป้องกันหรือกําจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ ได้ ได้ ปุ๋ยอินทรีย์ ให้ดําเนินกํารหรือประกอบ กิจกํารได้เฉพําะกํารผลิต 7 ที่ดินประเภท หมํายเหตุ ที่อยู่อําศัย ชนบทและเกษตรกรรม หนําแน่นน้อย โรงงํานจําพวกที่ โรงงํานจําพวกที่ พําณิชยกรรมและ ที่อยู่อําศัยหนําแน่นมําก โรงงํานจําพวกที่ หนําแน่นปํานกลําง โรงงํานจําพวกที่ ที่อยู่อําศัย

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงําน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 52 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับยํางอย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารท ํายํางแผ่นในขั้นต้นจํากน้ ํายํางธรรมชําติ ได้ ได้ ซึ่งมิใช่กํารทําในสวนยํางหรือป่ํา ( 2 ) กํารหั่น ผสม รีดให้เป็นแผ่น หรือตัดแผ่นยํางธรรมชําติ ได้ ได้ ซึ่งมิใช่กํารทําในสวนยํางหรือป่ํา 55 โรงงํานผลิตภัณฑ์เครื่องกระเบื้องเคลือบ เครื่องปั้นดินเผํา ได้ ได้ ได้ หรือเครื่องดินเผํา และรวมถึงกํารเตรียมวัสดุเพื่อกํารดังกล่ําว 56 โรงงํานผลิตอิฐ กระเบื้อง หรือท่อสําหรับใช้ในกํารก่อสร้ําง ได้ ได้ เบ้ําหลอมโลหะ กระเบื้องประดับ (Architectural Terracotta) รองในเตําไฟ ท่อหรือยอดปล่องไฟ หรือวัตถุทนไฟจํากดินเหนียว 57 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับซีเมนต์ ปูนขําว หรือปูนปลําสเตอร์อย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารท ําซีเมนต์ ปูนขําว หรือปูนปลําสเตอร์ ได้ ( 2 ) กํารลําเลียงซีเมนต์ ปูนขําว หรือปูนปลําสเตอร์ ได้ ด้วยระบบสํายพํานลําเลียงหรือระบบท่อลม ( 3 ) กํารผสมซีเมนต์ ปูนขําว หรือปูนปลําสเตอร์ ได้ อย่ํางหนึ่งอย่ํางใดเข้ําด้วยกัน หรือกํารผสมซีเมนต์ ปูนขําว หรือปูนปลําสเตอร์อย่ํางหนึ่งอย่ํางใด เข้ํากับวัสดุอื่น 8 ที่ดินประเภท หมํายเหตุ ที่อยู่อําศัย ชนบทและเกษตรกรรม หนําแน่นน้อย โรงงํานจําพวกที่ โรงงํานจําพวกที่ พําณิชยกรรมและ ที่อยู่อําศัยหนําแน่นมําก โรงงํานจําพวกที่ ที่อยู่อําศัย หนําแน่นปํานกลําง โรงงํานจําพวกที่

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงําน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 58 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์อโลหะ อย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารท ําผลิตภัณฑ์คอนกรีต ผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสม ได้ ได้ ผลิตภัณฑ์ยิปซัม หรือผลิตภัณฑ์ปูนปลําสเตอร์ 61 โรงงํานผลิต ตบแต่ง ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องมือ ได้ ได้ ได้ หรือเครื่องใช้ที่ทําด้วยเหล็กหรือเหล็กกล้ํา และรวมถึง ส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของเครื่องมือหรือเครื่องใช้ ดังกล่ําว 62 โรงงํานผลิต ตบแต่ง ดัดแปลง หรือซ่อมแซม เครื่องเรือน ได้ ได้ ได้ หรือเครื่องตบแต่งภํายในอําคํารที่ทําจํากโลหะหรือโลหะ เป็นส่วนใหญ่ และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ ของเครื่องเรือนหรือเครื่องตบแต่งดังกล่ําว 63 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์โลหะ สําหรับใช้ในกํารก่อสร้ําง หรือติดตั้งอย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 2 ) กํารท ําส่วนประกอบสําหรับใช้ในกํารก่อสร้ํางอําคําร ได้ ได้ 64 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์โลหะ อย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารท ําภําชนะบรรจุ ได้ ได้ ( 12 ) กํารตัด พับ หรือม้วนโลหะ ได้ ได้ ( 13 ) กํารกลึง เจําะ คว้ําน กัด ไส เจียน หรือเชื่อมโลหะทั่วไป ได้ ได้ โรงงํานจําพวกที่ 9 ที่ดินประเภท หมํายเหตุ ที่อยู่อําศัย ชนบทและเกษตรกรรม หนําแน่นน้อย โรงงํานจําพวกที่ พําณิชยกรรมและ ที่อยู่อําศัยหนําแน่นมําก โรงงํานจําพวกที่ ที่อยู่อําศัย หนําแน่นปํานกลําง โรงงํานจําพวกที่

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงําน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 65 โรงงํานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องยนต์ ได้ ได้ ได้ เครื่องกังหัน และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ ของเครื่องยนต์หรือเครื่องกังหันดังกล่ําว 66 โรงงํานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องจักร ได้ ได้ ได้ สําหรับใช้ในกํารกสิกรรมหรือกํารเลี้ยงสัตว์ และรวมถึง ส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของเครื่องจักรดังกล่ําว 69 โรงงํานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องคํานวณ ได้ ได้ ได้ เครื่องท ําบัญชี เครื่องจักรสําหรับระบบบัตรเจําะ เครื่องจักรสําหรับใช้ในกํารคํานวณชนิดดิจิทัลหรือ ชนิดอนําล็อก หรือเครื่องอิเล็กทรอนิกส์สําหรับปฏิบัติกับข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกันหรืออุปกรณ์ (Digital or Analog Computers, Associated Electronic Data Processing Equipment, or Accessories) เครื่องรวมรําคําของขําย (Cash Registers) เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องชั่งซึ่งมิใช่เครื่องชั่งที่ใช้ในห้องทดลอง วิทยําศําสตร์ หรือเครื่องอัดสําเนําซึ่งมิใช่เครื่องอัดสําเนํา ด้วยกํารถ่ํายภําพ และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ ของผลิตภัณฑ์ดังกล่ําว 70 โรงงํานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องสูบน้ ํา ได้ ได้ เครื่องอัดอํากําศหรือก๊ําซ เครื่องเป่ําลม เครื่องปรับหรือ ถ่ํายเทอํากําศ เครื่องโปรยน้ ําดับไฟ ตู้เย็นหรือเครื่อง ประกอบตู้เย็น เครื่องขํายสินค้ําอัตโนมัติ เครื่องล้ําง ซัก 10 ที่ดินประเภท หมํายเหตุ ที่อยู่อําศัย ชนบทและเกษตรกรรม หนําแน่นน้อย โรงงํานจําพวกที่ โรงงํานจําพวกที่ พําณิชยกรรมและ ที่อยู่อําศัยหนําแน่นมําก โรงงํานจําพวกที่ ที่อยู่อําศัย หนําแน่นปํานกลําง โรงงํานจําพวกที่

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงําน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 ซักแห้ง หรือรีดผ้ํา เครื่องเย็บ เครื่องส่งกําลังกล เครื่องยก ปั้นจั่น ลิฟต์ บันไดเลื่อน รถบรรทุก รถแทรกเตอร์ รถพ่วง สําหรับใช้ในกํารอุตสําหกรรม รถยกซ้อนของ (Stackers) เตําไฟหรือเตําอบสําหรับใช้ในกํารอุตสําหกรรมหรือ สําหรับใช้ในบ้ําน แต่ผลิตภัณฑ์นั้นต้องไม่ใช้พลังงํานไฟฟ้ํา และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของผลิตภัณฑ์ดังกล่ําว 71 โรงงํานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องจักร ได้ ได้ หรือผลิตภัณฑ์ที่ระบุไว้ในลําดับที่ 70 เฉพําะที่ใช้ไฟฟ้ํา เครื่องยนต์ไฟฟ้ํา เครื่องกําเนิดไฟฟ้ํา หม้อแปลงแรงไฟฟ้ํา เครื่องสับหรือบังคับไฟฟ้ํา เครื่องใช้สําหรับแผงไฟฟ้ํา เครื่องเปลี่ยนทํางไฟฟ้ํา เครื่องส่งหรือจําหน่ํายไฟฟ้ํา เครื่องสําหรับใช้บังคับไฟฟ้ํา หรือเครื่องเชื่อมไฟฟ้ํา 72 โรงงํานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องรับ ได้ ได้ ได้ วิทยุ เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องกระจํายเสียงหรือ บันทึกเสียง เครื่องเล่นแผ่นเสียง เครื่องบันทึกคําบอก เครื่องบันทึกเสียงด้วยเทป เครื่องเล่นหรือเครื่อง บันทึกแถบภําพ ( วีดิทัศน์ ) แผ่นเสียง เทปแม่เหล็ก ที่ได้บันทึกเสียงแล้ว เครื่องโทรศัพท์หรือโทรเลขชนิดมีสําย หรือไม่มีสําย เครื่องส่งวิทยุ เครื่องส่งโทรทัศน์ เครื่องรับส่งสัญญําณหรือจับสัญญําณ เครื่องเรดําร์ ผลิตภัณฑ์ที่เป็นตัวกึ่งน ําหรือตัวกึ่งน ําชนิดไวที่เกี่ยวข้อง พําณิชยกรรมและ ที่อยู่อําศัยหนําแน่นมําก โรงงํานจําพวกที่ 11 ที่ดินประเภท หมํายเหตุ ที่อยู่อําศัย ชนบทและเกษตรกรรม หนําแน่นน้อย โรงงํานจําพวกที่ โรงงํานจําพวกที่ ที่อยู่อําศัย หนําแน่นปํานกลําง โรงงํานจําพวกที่

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงําน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 (Semi - Conductor or Related Sensitive Semi - Conductor Devices) คําปําซิเตอร์หรือคอนเดนเซอร์ อิเล็กทรอนิกส์ชนิดคงที่หรือเปลี่ยนแปลงได้ (Fixed or Variable Electronic Capacitors or Condensers) เครื่องหรือหลอดเรดิโอกรําฟ เครื่องหรือหลอดฟลูโรสโคป หรือเครื่องหรือหลอดเอกซเรย์ และรวมถึงกํารผลิตอุปกรณ์ หรือชิ้นส่วนสําหรับใช้กับเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่ําว 73 โรงงํานผลิต ประกอบ หรือดัดแปลงเครื่องมือหรือเครื่องใช้ไฟฟ้ํา ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ที่ไม่ได้ระบุไว้ในลําดับใด และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ ของผลิตภัณฑ์ดังกล่ําว 75 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับเรืออย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารต่อ ซ่อมแซม ทําสี หรือตอกหมันเรือในอู่ต่อเรือ ได้ ได้ นอกจํากเรือยําง ( 2 ) กํารท ําชิ้นส่วนพิเศษสําหรับเรือหรือเครื่องยนต์เรือ ได้ ได้ ได้ 78 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับจักรยํานยนต์ จักรยํานสํามล้อ หรือจักรยํานสองล้ออย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) สร้ําง ประกอบ ดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลงสภําพ ได้ ได้ ได้ จักรยํานยนต์ จักรยํานสํามล้อ หรือจักรยํานสองล้อ ( 2 ) กํารท ําชิ้นส่วนพิเศษ หรืออุปกรณ์สําหรับจักรยํานยนต์ ได้ ได้ ได้ จักรยํานสํามล้อหรือจักรยํานสองล้อ หนําแน่นปํานกลําง โรงงํานจําพวกที่ 12 ที่ดินประเภท หมํายเหตุ ที่อยู่อําศัย ชนบทและเกษตรกรรม หนําแน่นน้อย โรงงํานจําพวกที่ โรงงํานจําพวกที่ พําณิชยกรรมและ ที่อยู่อําศัยหนําแน่นมําก โรงงํานจําพวกที่ ที่อยู่อําศัย

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงําน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 80 โรงงํานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมล้อเลื่อน ได้ ได้ ที่ขับเคลื่อนด้วยแรงคนหรือสัตว์ ซึ่งมิใช่จักรยําน และรวมถึง ส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของผลิตภัณฑ์ดังกล่ําว 81 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับเครื่องมือ เครื่องใช้ หรืออุปกรณ์วิทยําศําสตร์ หรือกํารแพทย์อย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารท ํา ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องมือหรืออุปกรณ์ ได้ ได้ ได้ วิทยําศําสตร์ที่ใช้ในห้องทดลอง หรืออุปกรณ์ที่ใช้ ในกํารชั่ง ตวง วัด หรือบังคับควบคุม 83 โรงงํานผลิตหรือประกอบนําฬิกํา เครื่องวัดเวลํา หรือชิ้นส่วน ได้ ได้ ได้ ของนําฬิกําหรือเครื่องวัดเวลํา 84 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับเพชร พลอย ทอง เงิน นําก หรืออัญมณีอย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารท ําเครื่องประดับโดยใช้เพชร พลอย ไข่มุก ทองคํา ได้ ได้ ได้ ทองขําว เงิน นําก หรืออัญมณี ( 2 ) กํารท ําเครื่องใช้ด้วยทองคํา ทองขําว เงิน นําก ได้ ได้ ได้ กะไหล่ทอง หรือโลหะที่มีค่ํา ( 3 ) กํารตัด เจียระไน หรือขัดเพชร พลอย หรืออัญมณี ได้ ได้ ได้ ( 4 ) กํารเผําหรืออบพลอยหรืออัญมณีอื่น ๆ ได้ ได้ ( 5 ) กํารท ําดวงตรํา หรือเหรียญตรําของเครื่องรําชอิสริยําภรณ์ ได้ ได้ หรือเหรียญอื่น 13 ที่ดินประเภท หมํายเหตุ ที่อยู่อําศัย ชนบทและเกษตรกรรม หนําแน่นน้อย โรงงํานจําพวกที่ โรงงํานจําพวกที่ พําณิชยกรรมและ ที่อยู่อําศัยหนําแน่นมําก โรงงํานจําพวกที่ ที่อยู่อําศัย หนําแน่นปํานกลําง โรงงํานจําพวกที่

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงําน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 85 โรงงํานผลิตหรือประกอบเครื่องดนตรี และรวมถึงชิ้นส่วน ได้ ได้ ได้ หรืออุปกรณ์ของเครื่องดนตรีดังกล่ําว 87 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับเครื่องเล่น เครื่องมือ หรือเครื่องใช้ที่มิได้ระบุไว้ในลําดับอื่นอย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารท ําเครื่องเล่น ได้ ได้ ( 2 ) กํารท ําเครื่องเขียนหรือเครื่องวําดภําพ ได้ ได้ ได้ ( 3 ) กํารท ําเครื่องเพชร พลอย หรือเครื่องประดับ ได้ ได้ ได้ สําหรับกํารแสดง ( 4 ) กํารท ําร่ม ไม้ถือ ขนนก ดอกไม้เทียม ซิป กระดุม ได้ ได้ ได้ ไม้กวําด แปรง ตะเกียง โป๊ะตะเกียงหรือไฟฟ้ํา กล้องสูบยําหรือกล้องบุหรี่ ก้นกรองบุหรี่ หรือไฟแช็ก ( 5 ) กํารท ําป้ําย ตรํา เครื่องหมําย ป้ํายติดของ หรือ ได้ ได้ ได้ เครื่องโฆษณําสินค้ํา ตรําโลหะ หรือยํางแม่พิมพ์ลํายฉลุ (Stencils) ( 6 ) กํารท ําแหคลุมผม ช้องผม หรือผมปลอม ได้ ได้ ได้ 88 โรงงํานผลิตพลังงํานไฟฟ้ําอย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารผลิตพลังงํานไฟฟ้ําจํากพลังงํานแสงอําทิตย์ ยกเว้น ได้ ที่ติดตั้งบนหลังคํา ดําดฟ้ํา หรือส่วนหนึ่งส่วนใดบนอําคําร ซึ่งบุคคลอําจเข้ําอยู่หรือใช้สอยได้ โดยมีขนําดกําลังกํารผลิต 14 ที่ดินประเภท หมํายเหตุ ที่อยู่อําศัย ชนบทและเกษตรกรรม หนําแน่นน้อย โรงงํานจําพวกที่ โรงงํานจําพวกที่ พําณิชยกรรมและ ที่อยู่อําศัยหนําแน่นมําก โรงงํานจําพวกที่ ที่อยู่อําศัย หนําแน่นปํานกลําง โรงงํานจําพวกที่

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงําน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 ติดตั้งสูงสุดรวมกันของแผงเซลล์แสงอําทิตย์ ไม่เกิน 1 , 000 กิโลวัตต์ ( 2 ) กํารผลิตพลังงํานไฟฟ้ําจํากพลังงํานควํามร้อน ได้ ( 3 ) กํารผลิตพลังงํานไฟฟ้ําจํากพลังงํานน้ ํา ยกเว้นกํารผลิต ได้ พลังงํานไฟฟ้ําจํากพลังงํานน้ ําจํากเขื่อนหรือจํากอ่ําง เก็บน้ําขนําดกําลังกํารผลิตไม่เกิน 15 เมกะวัตต์ กํารผลิตพลังงํานไฟฟ้ําจํากพลังงํานน้ ําแบบสูบกลับ กํารผลิตพลังงํานไฟฟ้ําจํากพลังงํานน้ ําท้ํายเขื่อน กํารผลิต พลังงํานไฟฟ้ําจํากพลังงํานน้ ําจํากฝําย หรือกํารผลิต พลังงํานไฟฟ้ําจํากพลังงํานน้ ําจํากคลองส่งน้ ํา 89 โรงงํานผลิตก๊ําซ ซึ่งมิใช่ก๊ําซธรรมชําติ และโรงงํานส่งหรือ ได้ จําหน่ํายก๊ําซ แต่ไม่รวมถึงโรงงํานส่งหรือจําหน่ํายก๊ําซที่ เป็นน้ํามันเชื้อเพลิงตํามกฎหมํายว่ําด้วยกํารควบคุมน้ ํามัน เชื้อเพลิง 90 โรงงํานจัดหําน้ ํา ทําน้ ําให้บริสุทธิ์ หรือจําหน่ํายน้ ํา ได้ ไปยังอําคํารหรือโรงงํานอุตสําหกรรม 91 โรงงํานบรรจุสินค้ําในภําชนะโดยไม่มีกํารผลิต อย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารบรรจุสินค้ําทั่วไป ได้ ได้ ได้ 92 โรงงํานห้องเย็น ได้ ได้ ได้ 93 โรงงํานซ่อมรองเท้ําหรือเครื่องหนัง ได้ ได้ ได้ ได้ 15 ที่ดินประเภท หมํายเหตุ ที่อยู่อําศัย ชนบทและเกษตรกรรม หนําแน่นน้อย โรงงํานจําพวกที่ โรงงํานจําพวกที่ พําณิชยกรรมและ ที่อยู่อําศัยหนําแน่นมําก โรงงํานจําพวกที่ ที่อยู่อําศัย หนําแน่นปํานกลําง โรงงํานจําพวกที่

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงําน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 94 โรงงํานซ่อมเครื่องมือไฟฟ้ําหรือเครื่องใช้ไฟฟ้ํา ได้ ได้ ได้ ได้ สําหรับใช้ในบ้ํานหรือใช้ประจําตัว 95 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับยํานที่ขับเคลื่อน ด้วยเครื่องยนต์ รถพ่วง จักรยํานสํามล้อ จักรยํานสองล้อ หรือส่วนประกอบของยํานดังกล่ําวอย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กํารซ่อมแซมยํานที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ ได้ ได้ หรือส่วนประกอบของยํานดังกล่ําว ( 2 ) กํารซ่อมแซมรถพ่วง จักรยํานสํามล้อ จักรยํานสองล้อ ได้ ได้ ได้ หรือส่วนประกอบของยํานดังกล่ําว ( 3 ) กํารพ่นสีกันสนิมยํานที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ ได้ ( 4 ) กํารล้ํางหรืออัดฉีดยํานที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ ได้ ได้ ได้ ได้ 96 โรงงํานซ่อมนําฬิกํา เครื่องวัดเวลํา หรือเครื่องประดับ ได้ ได้ ได้ ได้ ที่ท ําด้วยเพชร พลอย ทองคํา ทองขําว เงิน นําก หรืออัญมณี 97 โรงงํานซ่อมผลิตภัณฑ์ที่มิได้ระบุกํารซ่อมไว้ในลําดับใด ได้ ได้ ได้ ได้ 98 โรงงํานซักรีด ซักแห้ง ซักฟอก รีด อัด หรือย้อมผ้ํา ได้ ได้ ได้ เครื่องนุ่งห่ม พรม หรือขนสัตว์ 100 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับกํารตบแต่งหรือเปลี่ยนแปลง คุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ หรือส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ โดยไม่มีกํารผลิตอย่ํางหนึ่งอย่ํางใด ดังต่อไปนี้ ( 3 ) กํารลงรักหรือกํารประดับตบแต่งด้วยแก้ว กระจก มุก ได้ ได้ ได้ ได้ ทอง หรืออัญมณี 16 ที่ดินประเภท หมํายเหตุ ที่อยู่อําศัย ชนบทและเกษตรกรรม หนําแน่นน้อย โรงงํานจําพวกที่ โรงงํานจําพวกที่ พําณิชยกรรมและ ที่อยู่อําศัยหนําแน่นมําก โรงงํานจําพวกที่ ที่อยู่อําศัย หนําแน่นปํานกลําง โรงงํานจําพวกที่

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงําน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 101 โรงงํานปรับคุณภําพของเสียรวม (Central Waste ได้ ได้ Treatment Plant) 102 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับกํารผลิต หรือจําหน่ํายไอน้ ํา ได้ ได้ (Steam Generating) 105 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับกํารคัดแยกหรือฝังกลบ ได้ ได้ สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่มีลักษณะและคุณสมบัติ ตํามที่กําหนดไว้ในกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 ( พ . ศ . 2535 ) ออกตํามควํามในพระรําชบัญญัติโรงงําน พ . ศ . 2535 106 โรงงํานประกอบกิจกํารเกี่ยวกับกํารน ําผลิตภัณฑ์อุตสําหกรรม ได้ ที่ไม่ใช้แล้วหรือของเสียจํากโรงงํานมําผลิตเป็นวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑ์ใหม่โดยผ่ํานกรรมวิธีกํารผลิตทํางอุตสําหกรรม 17 ที่ดินประเภท หมํายเหตุ ที่อยู่อําศัย ชนบทและเกษตรกรรม หนําแน่นน้อย โรงงํานจําพวกที่ โรงงํานจําพวกที่ พําณิชยกรรมและ ที่อยู่อําศัยหนําแน่นมําก โรงงํานจําพวกที่ ที่อยู่อําศัย หนําแน่นปํานกลําง โรงงํานจําพวกที่ หมายเหตุ ลาดับที่ หมายถึง ลำดับที่ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน ได้ หมายถึง สามารถประกอบกิจการโรงงานได้ภายใต้บังคับของกฎหมายว่าด้วยโรงงาน โรงงานจำพวกที่ หมายถึง จำพวกโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน

รายการประกอบแผนผัง กำหนด การใช้ประโยชน์ที่ดิน ตามที่ ได้ จาแนกประเภทท้าย ประกาศ กระทรวง มหาดไทย เรื่อง การ ให้ใช้บังคับ ผังเมืองรวมชุมชนทาสบเส้า จังหวัดลำพูน พ.ศ. 2566 การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นไปตามแผนผัง กำหนด การใช้ประโยชน์ที่ดิน ตามที่ได้จำแนก ประเภทท้าย ประกา ศ นี้ ตาม ที่กำหนดไว้ในข้อ 7 คือ 1. ที่ดินในบ ริเวณหมายเลข 1 . 1 ถึงหมายเลข 1 . 25 ที่กาหนดไว้เป็นสีเหลือง ให้เป็นที่ดิน ประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย มีรายการดังต่อไปนี้ 1 . 1 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก 1 ฟากตะวันต ก ด้านใต้ จดถนนสาย ก 1 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก 2 ฟากตะวันออก 1 . 2 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก 2 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด เขตทางรถไฟสายเหนือ ฟากเหนือ สถานีรถไฟ ศาลาแม่ทา และถนนสาย ก 1 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงชนบท ลพ . 1135 ฟากตะวันออก 1 . 3 ด้านเหนือ จด แนว เขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 และวัดทาดอนชัย (ศรีบุญเรือง) ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์ กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ด้านตะวันตก จดถนนบ้านดอนชัย - บ้านจำตาเหิน ฟากตะวันออก 1 . 4 ด้านเหนือ จดเส้นตั้งฉากกับถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้าแม่เส้า ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่ง ซอย 8 บ้านหล่ายทา บรรจบกับถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ไปทาง ทิศตะวั นตกเฉียงเหนือตามแนวถนน บ้านทำศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า เป็นระยะ 320 เมตร เส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลางถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า เส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ซอย 8 บ้านหล่ายทา และเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท ลพ. 5019 ด้ำนตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด ทางหลวงชนบท ลพ. 5019 ฟากเหนือ สุสานดอยแก้ว ซอย 8 บ้านหล่ายทา ฟากตะวันออกและ ฟากเหนือ และโรงเรียนบ้านหล่ายทา ด้านตะวันตก จดถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ฟากตะวันออ ก 1 . 5 ด้านเหนือ จด ทางหลวงชนบท ลพ. 5019 ฟากใต้ และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้น ขนาน ระยะ 550 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท ลพ. 5019 เส้นขนานระยะ 250 เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 และเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์ กลาง ทางหลวงชนบท ลพ. 5019

2 ด้านใต้ จด เส้นขนานระยะ 250 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 และ เส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท ลพ. 5019 ด้านตะวันตก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก 1 . 6 ด้านเหนือ จด แนว เขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่า แม่ทา ด้านตะวันออก จดถนนบ้านดอนชัย - บ้านจำตาเหิน ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 และถนนสาย ข ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก 1 . 7 ด้านเหนือ จดถนนสาย ก 3 ฟากใต้ กำรไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค อาเภอแม่ทา และสำนักงานไปรษณีย์ แม่ทา ด้านตะวันออก จดถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเขตทางรถไฟสายเหนือ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก 4 ฟากตะวันออก 1 . 8 ด้านเหนือ จดถนนสาย ข ฟากใต้ ด้านตะวันออ ก จดทางหลวงท้องถิ่น ลพ . ถ. 100 1 1 ฟากตะวันตก เส้นขนำนระยะ 140 เมตร กับศูนย์กลางถนน สาย ก 8 เส้นขนานระยะ 420 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงท้องถิ่น ลพ . 100 1 1 และถนนสาย ก 8 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 10014 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนน สาย ก 5 ฟากตะวัน ออก 1 . 9 ด้านเหนือ จดถนนสาย ข ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก 6 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ก 7 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงท้องถิ่น ลพ . ถ. 100 1 1 ฟากตะวันออก 1 . 10 ด้านเหนือ จดถนนสาย ข ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนาน ระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ด้านใต้ จดถนนสาย ก 6 ฟาก ตะวันออก ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก 6 ฟากตะวันออก 1 . 11 ด้านเหนือ จดถนนบ้านดอนชัย - บ้านทาศาลา ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนน สาย ก 4 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด เขตทางรถไฟสายเหนือ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟากตะวันออก 1 . 12 ด้านเหนือ จดถนนสาย ก 7 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก 6 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟากเหนือ และศูนย์พัฒนาเด็กเ ล็ก เทศบาลตำบลทาสบเส้า ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 140 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงท้องถิ่น ลพ . ถ. 100 1 1 และอารามบ้าน หล่าย สาย

3 1 . 13 ด้านเหนือ จด ทางหลวงชนบท ลพ . 5019 ฟากใต้ วัด หล่ายทา และ ซอย 8 บ้านหล่ายทา ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออกและ ฟำกตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท ลพ . 5019 เส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลางถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า และเส้นตั้งฉากกับถนนบ้านทา ศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่ง ทางหลวงชนบท ลพ . 5019 บร รจบกับถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ไปทางทิศ ตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนบ้านทำศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า เป็นระยะ 540 เมตร ด้านตะวันตก จดถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ฟากตะวันออก 1 . 14 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท ลพ . 4030 ฟากใต้ ด้านตะวั นออก จดเส้นขนานระยะ 150 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ด้านใต้ จด ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 10022 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 280 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 1 . 15 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 1 5 เมตร กับริมฝั่งแม่น้าทา ฝั่งใต้ เส้นขนานระยะ 120 เมตร กับศูนย์กลางถนน ไม่ปรากฏชื่อ เส้นขนานระยะ 200 เมตร กับ ศูนย์กลาง ถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้าแม่เส้า และเส้นตั้งฉากกับถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้าแม่เส้า ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่ง ทางหลวงชนบท ลพ . 5019 บรร จบกับถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ไปทางทิศตะวันตก เฉียงเหนือตามแนวถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า เป็นระยะ 320 เมตร ด้านตะวันออก จดถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนน ไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ 1 . 16 ด้านเหนือ จดเขต ทางรถไฟสายเหนือ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ด้านใต้ จดถนนบ้านร้องเรือ - บ้านสบเส้า ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 100 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 1033 และโรงเ รียนบ้านร้องเรือ 1 . 17 ด้านเหนือ จดถนน ไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ฟากตะวัน ตก ด้านใต้ จดเส้นตั้งฉากกับถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้าแม่เส้า ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่ง ทางหลวงชนบท ลพ . 5019 บรรจบกับถนนบ้าน ทา ศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวถนนบ้าน ทา ศาลา - อ่างเก็บน้าแม่เส้า เป็นระยะ 540 เมตร ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 150 เมตร กับศูนย์กลาง ถนน บ้าน ทาศาลา - อ่างเก็บน้าแม่เส้า และ ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวัน ออก

4 1 . 18 ด้านเหนื อ จดเส้นขนานระยะ 150 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 และโรงเรียนบ้าน กอลุง (ร้าง) ด้านตะวันออก จดทางหลวงท้องถิ่น ลพ . ถ. 10022 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงท้องถิ่น ลพ . ถ. 10018 ฟากต ะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข 8 . 15 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน 1 . 19 ด้านเหนือ จด เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่ง แม่น้าทา ฝั่งใต้ และถนน ไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนน ไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 150 เมตร กับศูนย์ก ลาง ถนน ไม่ปรากฏชื่อ 1 . 20 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟากใต้ เส้นตั้งฉาก กับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟากใต้ ที่จุดซึ่ง ทางหลวงท้องถิ่น ลพ . ถ. 10022 บรรจบกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 และเส้นขนานระยะ 100 เมตร กับศูนย์กลางทำงหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1033 ด้านตะวันออก จดถนน บ้านร้องเรือ - บ้านสบเส้า ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 และวัดทาร้องเรือ ด้านตะวันตก จดถนนบ้านดง - บ้านห้วยต้ น หนุน ฟากตะวันออก 1 . 21 ด้านเหนื อ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนบ้านดง - บ้านห้วยต้นหนุน ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งแม่น้าทา ฝั่งเหนือ ด้ำนตะวันตก จดเส้นตั้งฉาก กับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟากใต้ ที่จุดซึ่งทางหลวงท้องถิ่น ลพ . ถ. 10018 บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 และ เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่ง แม่น้ำทา ฝั่งเหนือ 1 . 22 ด้านเหนือ จดถนนบ้านดง - บ้านห้วยต้นหนุน ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้น ขนานระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่ง แม่น้า ทา ฝั่งใต้ ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 150 เมตร กับศูนย์กลางถนนบ้านดง - บ้าน ห้วย ต้นหนุน และ แนว เขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 100 เมตร กับ แนว เขตผัง เมืองรวม ด้านตะวันตก ที่จุดซึ่ง แนว เขตผังเมืองรวมด้ำนตะวันตก ซึ่งเป็นเส้นตรงที่ลากจากเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนบ้านดง - บ้านห้วยต้นหนุน เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ จนบรรจบกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 1000 4 บรรจบกับ ทางหลวงแผ่นดิ นหมาย เลข 1033 ไปทางทิศตะวันตก ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 เป็นระยะ 480 เมตร

5 1 . 23 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 150 เมตร กับศูนย์กลางถนนบ้านดง - บ้าน ห้วย ต้นหนุน ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่ง แม่น้าทา ฝั่งใต้ ด้านใต้ จดถนนบ้านดง - บ้าน ห้วย ต้นหนุน ฟากเหนือ และโรงเรียนบ้านดงสารภี ด้านตะวันตก จดถนน ไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก 1 . 24 ด้ำนเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนน ไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนบ้านดง - บ้าน ห้วย ต้นหนุน ฟำกเหนือ ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข 8 . 17 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน 1 . 25 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งแม่น้าทา ฝั่งใต้ เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับ แนว เขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้นตรงที่ลากจากเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนบ้ำนดง - บ้านห้วยต้นหนุน ที่จุดซึ่ง แนว เขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นตรงที่ลากจากเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนบ้านดง - บ้านห้วยต้นหนุน เป็นเส้นตรง ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ จนบรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจาก ทางหล วงท้องถิ่น ลพ. ถ. 1000 4 บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเ ลข 1033 ไปทางทิศตะวันตก ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 เป็นระยะ 480 เมตร และเส้นขนานระยะ 150 เมตร กับศูนย์กลางถนนบ้านดง - บ้านห้วยต้นหนุน ด้านตะวันออก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนบ้านดง - บ้าน ห้วย ต้นหนุน ฟากเหนือ โ รงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบล บ้าน แม่ สะป้วด และ โรง เรียนวัดอรัญญาราม ด้านตะวันตก จด เส้นขนานระยะ 100 เมตร กับ แนว เขตผังเมืองรวม ด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้นตรงที่ลากจากเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนบ้านดง - บ้านห้วยต้นหนุน เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ จนบรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจาก ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 1000 4 บรรจบกับทางหลวงแผ่น ดินหมายเลข 1033 ไปทางทิศตะวันตก ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 เป็นระยะ 480 เมตร ทั้ งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข 7 . 12 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก และบริเวณ หมายเลข 8 . 19 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน 2. ที่ดินในบริเวณหมายเลข 2 . 1 ถึงหมายเลข 2 . 4 ที่กาหนดไว้เป็นสีส้ม ให้เป็น ที่ดินประเภท ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง มีรายการดังต่อ ไป นี้ 2 . 1 ด้านเห นือ จดเส้นขนานระยะ 140 เมตร กับศูนย์กลางถนน สาย ก 8 ด้านตะวันออก จด ทางหลวงท้องถิ่น ลพ . ถ. 100 1 1 ฟากตะวันตก สำนักงานเทศบาลตำบลทาสบ ชัย อาราม บ้านหล่าย สาย ถนนสาย ก 7 ฟากใต้ และเส้นขนานระยะ 140 เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงท้องถิ่น ลพ . ถ. 100 1 1 ด้านใต้ จด ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟากเหนือ และทางหลวงท้องถิ่น ลพ . ถ. 10014 ฟากเหนือ

6 ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก 8 ฟากตะวันออก และเส้นขนานระยะ 420 เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 100 1 1 2 . 2 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท ลพ . 4030 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จ ดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟากตะวันตก ด้านตะวันตก จด ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 10022 ฟากตะวันออก และเส้นขนาน ระยะ 150 เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข 8 . 13 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน 2 . 3 ด้านเหนือ จดเขตทางรถไฟสา ยเหนือ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด เส้นขนานระยะ 100 เมตร กับ ศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 และ โรงเรียนบ้านร้องเรือ ด้านใต้ จด ถนนบ้านร้องเรือ - บ้านสบเส้า ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟากตะวันออก 2 . 4 ด้านเหนือ จด ทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ถนน บ้านร้องเรือ - บ้านสบเส้า ฟาก ใต้ ด้านใต้ จดเส้น ขนานระยะ 100 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ด้านตะวันตก จด เส้นตั้งฉากกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟากใต้ ที่จุดซึ่ง ทางหลวงท้อง ถิ่น ลพ. ถ. 10022 บรรจบ กับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 3. ที่ดินในบริเวณหมายเลข 3 . 1 ถึงหมายเลข 3 . 4 ที่กาหนดไว้เป็นสีแดง ให้เป็นที่ดิน ประเภทพาณิ ชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก มีรายการดังต่อไปนี้ 3 . 1 ด้านเหนือ จด แนว เขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา และทางหลวงแ ผ่นดิน หมายเลข 11 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดโรงพยาบาลแม่ทา ป้อมตารวจ และ ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1033 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนน บ้านดอ น ชัย - บ้านจำตาเหิน ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 และวัดทาดอนชัย (ศรีบุญเรือง) 3 . 2 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงชนบท ลพ . 1135 ฟากตะวันตก สำนักงานที่ดินจังหวัดลำพูน สาขา แม่ทา และสำนักงานสาธารณสุขอาเภอแม่ทา ด้านใต้ จ ด เขตทางรถไฟสายเหนือ ฟากเหนือ และถนนสาย ก 1 ฟากเหนือ ด้ำนตะวันตก จ ดถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ฟากตะวันออก ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ สาขาแม่ทา และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข 7 . 4 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก บริเวณ หมายเลข 9 . 7 หมายเลข 9 . 9 และหมายเลข 9 . 10 ที่กา หนดไว้เป็นสีน้ำเงิน

7 3 . 3 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ฟากตะวันตก ป่าช้า ศาลาแม่ทา และสหกรณ์การเกษตร แม่ทา ด้านใต้ จดถนน สาย ก 3 ฟากเหนือ และถนน บ้านดอนชัย - บ้านทาศาลา ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟากตะวันออก 3 . 4 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ด้านตะวันออก จดถนน บ้านดอ น ชัย - บ้านจำตาเหิน ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟาก ตะวันตก ด้านตะวันตก จดถนน สาย ก 6 ฟากตะวันออก 4 . ที่ดิน ในบริเวณหมายเลข 4 . 1 ถึงหมายเลข 4 . 18 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียว ให้เป็นที่ ดิน ประเภทชนบทและเกษตรกรรม มีรายการดังต่อไปนี้ 4 . 1 ด้านเหนือ จด แนว เ ขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา และ แนว เขต ผังเมืองรวมด้านเหนือ ซึ่งเป็น เส้นตรงที่ลากจากเส้นตั้งฉากกับ ศูนย์ กลางทางรถไฟสายเหนือ ที่จุดซึ่ งอยู่ ห่างจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 บรรจบกับทางรถไฟสายเหนือ ไปทางทิศตะวันตกตามแนวทางรถไฟ สายเหนือ เป็นระยะ 2,800 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นระยะ 2,000 เมตร ไปทาง ทิศ ตะวันออกจนบรรจบกับเส้นตั้งฉากกับทางรถไฟสายเหนือ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนว ทางรถไฟสายเหนือ เป็นระยะ 1,900 เมตร และ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ เป็นระยะ 500 เมตร ด้านตะวันออก จด แนว เขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา ถนน บ้านดอนชัย - บ้านจำตาเหิน ฟาก ตะวันตก และ ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนน สาย ข ฟากเหนือ ถนนสาย ก 5 ฟากตะวันตก ทางหลวงท้องถิ่น ลพ . ถ. 10014 ฟากเหนือ และเขต ทาง รถไฟสายเหนือ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด แนว เขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้นตั้งฉาก กับ ศูนย์ กลางทางรถไฟสาย เหนือ ที่จุดซึ่ง อยู่ ห่างจากทำงรถไฟสายเหนือ บรรจบกับทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1033 ไปทางทิศตะวันตกตามแนวทางรถไฟสายเหนือ เป็นระยะ 2 , 800 เมตร และ เป็นเส้นตรง ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ เป็น ระยะ 2 , 000 เมตร ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข 8 . 1 และ หมายเลข 8 . 4 ที่กา หนดไว้เป็นสีเทาอ่อน 4 . 2 ด้านเหนือ จด แนว เขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา สำนักสงฆ์ดวงตะวัน และโรงเรียนบ้านผาตั้ง ด้านตะวันออก จด แนว เขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นตั้งฉาก กับ ศูนย์ กลางทางรถไฟสายเหนือ ที่จุดซึ่งทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 บรรจบกับทางรถ ไฟสายเหนือ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตาม แนว ทางรถไฟสายเหนือ เป็นระยะ 1 , 900 เมตร ด้านใต้ จดเขตทางรถไฟสายเหนือ ฟากเหนือ และทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 11 ฟากเหนือ

8 4 . 3 ด้านเหนือ จดเขตทางรถไฟสายเหนือ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด แนว เขตผังเมืองรวมด้าน ตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นตั้งฉาก กับศูนย์กลางทางรถไฟสายเหนือ เป็นระยะ 1 , 500 เมตร ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทางรถไฟสายเหนือบรรจบกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ไปตาม แนว ทางรถไฟสายเหนือ เป็นระยะ 1,900 เมตร เป็นเส้นตรงไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ จนบรรจบ กับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ที่จุดซึ่งทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 บรรจบกับ ทางหลวงชนบท ลพ. 5019 ไป ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 เป็น ระยะ 1 , 070 เมตร ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งแม่น้าทา ฝั่งเหนือ และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ฟากเหนือ ทั้ งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข 8 . 3 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน 4 . 4 ด้านเหนือ จด วัดทาศาลา สถานีรถไฟศาลาแม่ทา และเขต ทางรถไฟสายเหนือ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งแม่น้าทา ฝั่ง เหนือ ด้านตะวันตก จดถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ฟากตะวันออก 4 . 5 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งแม่น้าทา ฝั่งใต้ และโรงเรียนบ้านดอ ย แก้ว ด้านตะวันออก จด แนว เขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นตั้งฉาก กับศูนย์กลางทางรถไฟสายเหนื อ ที่จุดซึ่งทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 บรรจบกับทางรถไฟสายเหนือ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวทางรถไฟสายเหนือ เป็นระยะ 1 , 900 เมตร ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ฟากเหนือ ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข 8 . 7 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน 4 . 6 ด้า นเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งแม่น้าทา ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท ลพ. 5019 เส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ซอย 8 บ้านหล่ายทา เส้ นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลางถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า และเส้นตั้งฉากกับ ถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า บรรจบกับทางหลวงชนบท ลพ. 5019 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวถนนบ้านทา ศาลา - อ่างเก็บน้า แม่เส้า เป็น ระยะ 320 เมตร ด้านตะวันตก จดถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ฟากตะวันออก 4 . 7 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท ลพ. 5019 เส้นขนานระยะ 250 เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 เส้น ขนานระยะ 550 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท ลพ. 5019 และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด แนว เขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นตั้งฉาก กับศูนย์กลางทางรถไฟสายเหนือ ที่จุดซึ่งทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 บรรจบกับทางรถไฟสายเหนือ ไป ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวทางรถไฟสายเหนือ เป็นระยะ 1 , 900 เมตร

9 ด้านใต้ จด แนว เขตผังเมืองรวมด้านใต้ ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ 1 , 500 เมตร กับศูนย์กลางทางรถไฟสายเหนือ และ แนว เขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา ด้านตะวันตก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก 4 . 8 ด้านเหนือ จดเขตทางรถไฟสายเหนือ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งแม่น้ำทา ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนน ไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก 4 . 9 ด้านเหนือ จดเขตทางรถไฟสายเหนือ ฟา กใต้ ด้านตะวันออก จดถนนบ้านดอนชัย - บ้าน สบเส้า ฟากตะวันตก วัด ทาสบเส้า และโรงเรียน สามัคคีวิทยา ด้านใต้ จดถนนบ้านร้องเรือ - บ้านสบเส้า ฟากเหนื อ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 และโรงเรียนบ้ำนร้องเรือ 4 . 10 ด้านตะวันออก จดถนน ไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนบ้านร้องเรือ - บ้านสบเส้า ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนบ้านดอนชัย - บ้านสบเส้า ฟากตะวันออก 4 . 11 ด้านเหนือ จด ทางหลวงชนบท ลพ . 4030 ฟากใต้ และ เขต ทางรถไฟสายเหนือ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 280 เมตร กับ ศูนย์ กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 และ ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ . 10022 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด เส้นขนานร ะยะ 150 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 1033 ด้านตะวันตก จด แนว เขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา ทางหลวง ชนบท ลพ . 4030 ฟากใต้ เขต ทาง รถไฟสายเหนือ ฟากใต้ และ แนว เขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้นตั้งฉาก กับ ศูนย์ กลางทางรถไฟสายเหนือ ที่จุดซึ่ง อยู่ ห่างจาก ทางรถไฟสายเหนือ บรรจบกับทางหลวงแผ่น ดิน หมายเลข 1033 ไปทางทิศตะวันตก ตามแนว ทาง รถไฟสายเหนือ เป็นระยะ 2 , 8 00 เมตร ไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ จนบรรจบ กับ แนวเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา 4 . 12 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าทา ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นตั้งฉากกับถนนบ้า นทาศาลา - อ่างเก็บน้าแม่เส้า ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่ง ทางหลวงชนบท ลพ. 5019 บรรจบกั บถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า เป็นระยะ 320 เมตร เส้นขนาน ระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลางถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บ น้ำแม่เส้า และเส้นขนานระยะ 120 เมตร กับศูนย์กลางถนน ไม่ปรากฏ ชื่อ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งแม่น้าทา ฝั่งตะวันออก

10 4 . 13 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท ลพ. 5019 ด้านตะวันออก จดถน นไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด แนว เขตผังเมืองรวมด้านใต้ ซึ่งเป็นเขตเทศบาล ตำบลทาสบเส้า และ แนว เขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา ด้านตะวันตก จดถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ฟากตะวันออก เส้นตั้งฉากกับถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่ง ทางหลวงชนบท ลพ. 5019 บรรจบกับถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า เป็นระยะ 540 เมตร และเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลางถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า 4 . 14 ด้านเหนือ จดเส้นข นานระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่ง แม่น้าทา ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 150 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนไม่ปรากฏชื่อ เส้นขนานระยะ 150 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า เส้นตั้งฉาก กับถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ฟากตะวันตก ที่ จุดซึ่ง ทางหลวงชนบท ลพ. 5019 บรรจบกับ ถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้าแม่เส้า ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนบ้านทาศาลา - อ่างเก็บน้ำ แม่เส้า เป็นระยะ 540 เมตร และถนนบ้านทำศาลา - อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด แนว เขตผังเมืองรวมด้านใต้ ซึ่ งเป็นเขต เทศบาล ตำบลทาสบเส้า แนว เขตป่าสงวน แห่งชาติ ป่าแม่ทา และสุสานบ้านด อย สารภี ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 150 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนบ้านดง - บ้านห้วยต้นหนุน 4 . 15 ด้านเหนือ จด เส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทาง ห ลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 วัดทาร้องเรื อ และ ถนนบ้านร้องเรือ - บ้านสบเส้า ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ถนน ไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่ง แม่น้าทา ฝั่ง เหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนบ้านดง - บ้านห้วยต้นหนุน ฟากตะวันออ ก 4 . 16 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟาก ใต้ เส้นตั้งฉาก กับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟากใต้ ที่จุดซึ่งทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 10018 บรรจบกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งแม่น้ำทา ฝั่งเหนือ และเส้นขนาน ระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ด้านตะวันออก จดถนนบ้านดง - บ้านห้วยต้นหนุน ฟากตะวันตก และเส้นขนาน ระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งแม่น้ำทา ฝั่ง เหนือ ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 150 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนบ้านดง - บ้านห้วยต้นหนุน และถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ

11 ด้านตะวันตก จด เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับ แนว เขตผังเมืองรวม ด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้นตรงที่ลากจากเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนบ้านดง - บ้านห้วยต้นหนุน เป็น เส้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียง เหนือ บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ที่จุดซึ่งอยู่ห่าง จากทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 1000 4 บรรจบกับทางหลวงแผ่น ดินหมายเลข 1033 ไปทางทิศตะวันตก ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 เป็นระยะ 480 เมตร และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำทา ฝั่งเหนือ 4 . 17 ด้านเหนือ จด แนว เขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา ด้านตะวันออก จด ทางหลวงท้องถิ่น ลพ . ถ. 10018 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด แนว เขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ที่จุดซึ่ง ทางหลวงท้องถิ่น ลพ . ถ. 1000 4 บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ไปทางทิศตะวันตก ตามแนวทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1033 เป็นระยะ 480 เมตร เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออ ก เฉียงเหนือ จนบรรจบ กับเส้นตั้งฉากกับศูนย์กลางทางรถไฟสายเหนือ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 บรรจบกับทางรถไฟสายเหนือ ไปทางทิศตะวันตกตามแนวทางรถไฟสายเหนือ เป็นระยะ 2,800 เมตร 4 . 18 ด้านเหนื อ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่ง แม่น้า ทา ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 100 เมตร กับ แนว เขตผังเมืองรวม ด้านตะวันตก ซึ่ งเป็นเส้นตรงที่ลากจากเส้นขนาน ระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนบ้านดง - บ้านห้วยต้นหนุน เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจนบรรจ บกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ที่จุดซึ่งอยู่ห่า งจาก ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 1000 4 บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ไปทางทิศตะวันตก ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 เป็นระยะ 480 เมตร ด้านใต้ จด แนวเขต ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา ด้านตะวันตก จด แนว เขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้นตรง ที่ลากจากเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนบ้านดง - บ้านห้วยต้นหนุน เป็นเส้นตรงไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทาง หลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 1000 4 บรรจบ กับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ไปทางทิศตะวันตกตามแนวทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1033 เป็นระยะ 480 เมตร และ แนว เขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา 5 . ที่ดินในบริเวณหมายเลข 5 . 1 และ หมายเลข 5 . 2 ที่กาหนดไว้เป็นสี เขียวอ่อน ให้เป็น ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและ การ รักษาคุณ ภาพสิ่งแวดล้อม มีรายการดังต่อไปนี้ 5 . 1 ที่ดินในบริเวณเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับ ริม ฝั่ง แม่น้ำทา ฝั่งเหนือ 5 . 2 ที่ดินในบริเวณเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับ ริม ฝั่ง แม่น้ำทา ฝั่งใต้ 6 . ที่ดินในบริเวณหมายเลข 6 . 1 ถึง หมายเลข 6 . 8 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อนมี เส้นท แยง สี ขาว ให้เป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ มีรายการดังต่อไปนี้ 6.1 ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา 6.2 ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา 6.3 ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา 6.4 ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา 6.5 ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา

12 6.6 ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา 6.7 ป่ำสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา 6.8 ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ทา 7 . ที่ดินในบริเวณหมายเลข 7 . 1 ถึงหมายเลข 7 . 13 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ให้เป็นที่ดินปร ะ เภทสถาบันการศึกษา มีรายการดังต่อไปนี้ 7 . 1 โรงเรียนบ้านจำตาเหิน 7 . 2 โรงเรียนบ้านผาตั้ง 7 . 3 โรงเรียน แม่ทาวิทยาคม 7 . 4 โรงเรียนบ้านศาลาแม่ทา 7 . 5 โรงเรียนบ้านดอย แก้ว 7 . 6 โรงเรียน สามัคคีวิทยา 7 . 7 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทาสบเส้า 7 . 8 โรงเรียนบ้านร้องเรือ 7 . 9 โรงเรียนบ้านหล่ายทา 7 . 10 โรงเรียนบ้า น กอลุง (ร้าง) 7 . 11 โรงเรียนบ้านดงสารภี 7 . 12 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลทาสบชัย บ้าน สบ สะป้วด 7 . 13 โรงเรียนวัดอรัญญาราม 8 . ที่ดินในบริเวณหมายเลข 8 . 1 ถึงหมายเลข 8 . 19 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ให้เป็น ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา มีรายการดังต่อไปนี้ 8 . 1 วัดจำตาเหิน 8 . 2 สำนักสงฆ์ดวงตะวัน 8 . 3 วัดทาผาตั้ ง 8 . 4 สุสานจำตาเหิน 8 . 5 วัด ทาดอนชัย (ศรีบุญเรือง) 8 . 6 ป่าช้า ศาลาแม่ทา 8 . 7 วัด ทา ดอยแก้ว 8 . 8 วัดทาศาลา 8 . 9 สุสานดอยแก้ว 8 . 10 อาราม บ้าน หล่า ย สาย 8 . 11 วัด ทาสบเส้า 8 . 12 วัด หล่า ย ทา 8 . 13 สถานป ฏิบัติธรรม พระพุทธบาท จำลองเขากู่แก้ว 8 . 14 วัดทาร้อ งเรือ 8 . 15 สุสานทาร้ องเรือ 8 . 16 วัดใหม่กอลุง

13 8 . 17 วัดดอยสารภี 8 . 18 สุสานบ้านด อย สารภี 8 . 19 วัดอรัญญาราม 9 . ที่ดินในบริเวณหมายเลข 9 . 1 ถึงหมายเลข 9 . 15 ที่กาหนดไว้เป็นสีน้ำเงิ น ให้เป็นที่ดิน ประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ มีราย การดังต่อไปนี้ 9 . 1 สำนักงาน เทศบาลตำบลทาสบ เส้า 9 . 2 อาคารศูนย์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ( OTOP ) ประจำตำบล 9 . 3 โรงพยาบาลแม่ทา และป้อมตำรวจ 9 . 4 สำนักงานที่ดินจังหวัดลำพูน สาขาแม่ทา 9 . 5 สำนักงานสาธารณสุขอาเภอแม่ทา 9 . 6 สถานีรถไฟศาลาแม่ทา 9 . 7 ที่ว่าการ อาเภอแม่ทา 9 . 8 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ สาขาแม่ทา 9 . 9 สถานีตำรวจภูธรแม่ทา 9 . 10 ศูนย์การศึกษานอก ระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัย 9 . 11 สหกรณ์การเกษตร แม่ทา 9 . 12 สำนักงานไปรษณีย์ แม่ทา 9 . 13 การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค อาเภอแม่ทา 9 . 14 สำนักงานเทศบาลตำบลทาสบ ชั ย 9 . 15 โรงพ ยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบล บ้าน แม่ สะป้วด

รายการประกอ บแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่งท้าย ประกาศ กระทรวง มหาดไทย เรื่อง การ ให้ใช้บังคับ ผังเมืองรวมชุมช นทาสบเส้า จังหวัด ลำพูน พ.ศ. 2566 ถนนตามแผนผังแสดงโค รงการคมนาคมและขนส่ง แบ่งเป็น 2 ขนาด คือ 1 . ถนนแบบ ก ข นาดเขตทาง 12 . 00 เมตร จานวน 8 สาย ดังนี้ ถนนสาย ก 1 เป็นถนนเดิมกำหนดให้ขยายเขตทาง คือ ซอย 4 บ้านทาศาลา และถนนเลียบทางรถไฟ และ ถนนโครงการกาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้น จาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ไปทางทิศใต้ตามแนว ซอย 4 บ้านทาศาลา ระยะประมาณ 30 0 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมำณ 370 เมตร บรรจบกับถนนสาย ก 2 ที่บริเวณห่างจาก ซอย 5 บ้านทาศาลา ( ถนนสาย ก 2 ) บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมาย เลข 11 ไปทางทิศ ใต้ ตามแนว ถนนสาย ก 2 ระยะประมาณ 280 เมตร ไปทางทิศตะวั นตกเฉียงใต้ ระยะป ระมาณ 160 เมตร บรรจบกับถนน เลียบทางรถไฟ ไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตา มแนว ถนนเลียบทางรถไฟ ระยะประมาณ 6 2 0 เมตร จนบร รจบกับ ถนนบ้านทาศาลา – อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ถนนสาย ก 2 เป็นถนนเดิมกำหนดให้ขยายเขตทาง คือ ซอย 5 บ้านทาศาลา และถนนโครงการกาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้น จาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ไ ปทางทิศใต้ ตามแนว ซอย 5 บ้ำนทาศาลา ระยะประมาณ 190 เมตร ไปทางทิศใต้ ระยะประมาณ 90 เมตร จนบรรจบกับ ถนน สาย ก 1 ที่บริเวณห่างจาก ถนนเลียบทางรถไฟ ( ถนนสาย ก 1 ) บรรจบกับถนนบ้านทาศาลา – อ่างเก็บน้าแม่เส้า ไปทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนสาย ก 1 ระยะประมาณ 780 เมตร ถนนสาย ก 3 เป็นถน นเดิมกาหนดให้ขยายเขต ทาง คือ ถนนบ้านดอนชัย – บ้านทาศาลา เริ่มต้น จาก ถนน ไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 4 ) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวถนน เดิม จน บรรจบ กับถนนบ้านทาศาลา – อ่างเก็บน้ำแม่เส้า ถนนสาย ก 4 เป็นถนนเดิม ไม่ปรากฏชื่อ กำหนดให้ขยายเขตทาง เริ่มต้นจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวถนน เดิม ระยะประมาณ 270 เมตร จนบรรจบกับ ทางรถไฟ สายเหนือ ถนนสาย ก 5 เป็นถนนโครงการกาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้น จาก ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 10014 ที่บริเวณห่างจาก ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 10014 บรรจบกับทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1033 ไปทางทิศตะวันตกตามแนว ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 10014 ระยะประมาณ 700 เมตร ไปทางทิศเหนือ ระยะประมาณ 540 เมตร จน บรร จบ กับถนนสาย ข ที่บริเวณห่างจาก ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 10014 บรรจบกับ ถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ข ) ไปทางทิศ ตะวันออก เฉียงเหนือ ตามแนว ถนนสาย ข ระยะประมาณ 690 เมตร ถนนสาย ก 6 เป็นถนนเดิ มไม่ปรากฏชื่อกาหนดให้ขยายเขตทาง และถนนโครงการ กาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ที่บริเวณห่างจากทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1033 บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินห มายเลข 11 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1033 ระยะประมาณ 1 , 760 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 420 เมตร บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 7 ) ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 7 ) บรรจบ กับ .

2 ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 100 1 1 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 7 ) ระยะประมาณ 340 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนว ถนน ไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 220 เมตร จนบรรจบกับ ถนน ไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ข ) ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ข ) บรรจบกับทางหลวงแผ่ นดินหมายเลข 1033 ไปทางทิศตะวันตก เฉียงเหนือและทิศตะวันตก ตามแนว ถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ข ) ระยะประมาณ 600 เมตร ถนนสาย ก 7 เป็นถนนเดิม ไม่ปรากฏชื่อ กาหนดให้ขยายเขต ทาง เริ่มต้น จาก ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 100 1 1 ที่บริเวณห่างจาก ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 100 1 1 บรรจบกับ ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1033 ไปทางทิศ ตะวันตกเฉียง เหนือตามแนว ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 100 1 1 ระยะประมาณ 420 เมตร ไปทางทิศตะวันออ กเฉียงใต้ ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 340 เมตร จนบรรจบกับ ถนน ไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 6 ) ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 6 ) บรรจบกับ ถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ข ) ไปทางทิศตะวันตกเฉียง ใต้ ตามแนวถนน ไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 6 ) ระยะประมาณ 220 เมตร ถนนสาย ก 8 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ ขยายเขตทาง คือ ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 10046 เริ่มต้นจาก ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 10014 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือและทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนว ถนน เดิม จนบรรจบกับ ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 100 1 1 2 . ถนนแบบ ข ขนาดเขตทาง 16 . 00 เมตร เป็น ถนนเดิม ไม่ปรากฏชื่อกาหนดให้ขยาย เขตทาง แล ะถนนโครงการกาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ที่ บริเวณ ห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ไปทางทิศตะวันตก เฉียงใต้ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1033 ระยะประมาณ 990 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และทิศตะวัน ตก ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 600 เมตร ไปทางทิศตะวัน ตก ระยะประ มาณ 340 เมตร บรรจบกับทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 100 1 1 ที่บริเวณห่างจาก ถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 7 ) บรรจบกับทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 100 1 1 ไปทางทิศ ตะวันออกเฉียง เหนือ ระยะประมาณ 180 เมตร ไปทางทิศตะวัน ตก ระยะประมาณ 680 เมตร บรรจบกับถนนสาย ก 5 ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ก 5 บรรจบกับทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 10014 ไปทางทิศเหนือตามแนวถนนสาย ก 5 ระยะประมาณ 540 เมตร ไปทางทิศตะวัน ตก ระยะประมาณ 280 เมตร บรรจบกับถนน ไม่ปรากฏชื่อ ไปทางทิศตะวันตก เฉียงใต้ ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 410 เมตร จนบรรจบกับ ทางหลวงท้องถิ่น ลพ. ถ. 10014