ประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง กำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันวินาศภัย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2564
ประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง กำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันวินาศภัย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2564
ประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง กำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันวินาศภัย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2564 อาศัยอานาจตามความมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ประกอบกับ มติที่ประชุมคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ครั้งที่ 13/2563 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2563 และครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564 คณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัย เรื่อง กาหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันวินาศภัย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2564 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกความใน 5.2.5 ของเอกสารแนบ 2 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการคานวณเงินกองทุนสาหรับความเสี่ยงด้านตลาด ท้ายประกาศคณะกรรมการกากับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง กำหนดประ เภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคานวณเงินกองทุนของบริษัทประกันวินาศภัย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2563 ลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2563 และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ 5.2.5 เงินกองทุนสาหรับความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยด้านปัจจัยเฉพาะของผู้ออกตราสาร ( specific risk ) ของการลงทุนในตราสารหนี้แต่ละประเภท เท่ากับ มูลค่าของตราสารหนี้ คูณด้วย ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยด้านปัจจัยเฉพาะของผู้ออกตราสาร ( specific risk ) ของการลงทุน ในตราสารหนี้ที่เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ว่าด้วยการลงทุนประกอบธุรกิจอื่นของบริษัทประกันวินาศภัย ตามตาราง 2.6.1 โดยต้องพิจารณา ระดับความเสี่ยงจากหลักเกณฑ์การพิจารณาอันดับความน่าเชื่อถือตาม 5.2.1 5.2.2 และ 5.2. 3 และระยะเวลาของตราสารหนี้ตาม 5.2.4 หากการลงทุนในตราสารหนี้ไม่เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบ ธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการลงทุนประกอบธุรกิจอื่นของบริษัทประกันวินาศภัย ให้ใช้ความเสี่ยงจากอัตรา ดอกเบี้ยด้านปัจจัยเฉพาะของผู้ออกตราสาร ( specific risk ) ตามตาราง 2.7 ในการคานวณเงินกองทุน ตามวรรคหนึ่ง ้ หนา 28 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 80 ง ราชกิจจานุเบกษา 3 เมษายน 2566
ทั้งนี้ กรณีตราสารหนี้ส่วนที่มาจากหน่วยลงทุน หากบริษัทไม่สามารถแยกประเภทย่อยของ ตราสารหนี้ได้ตามตาราง 2.5 และ 2.6 ให้ใช้ค่าความเสี่ยงระดับ 4 โดยกาหนดให้พิจารณา ระยะเวลาคงเหลือจากระยะเว ลาคงเหลือของกองทุนรวมนั้นหรืออายุเฉลี่ยของตราสารหนี้ในกองทุนรวมนั้น หากไม่ทราบให้ถือว่ามีระยะเวลาคงเหลือมากกว่า 5 ปี ตาราง 2.6.1 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยด้านปัจจัยเฉพาะของผู้ออกตราสาร ( specific risk ) ของการลงทุนในตราสารหนี้ที่เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัยว่าด้วยการลงทุนประกอบธุรกิจอื่นของบริษัทประกันวินาศภัย ระยะเวลาคงเหลือ ( TTM ) ระดับความเสี่ยง ( risk grade ) 1 2 3 4 5 6 ไม่เกิน 6 เดือน 0.30% 0.35% 0.40% 0.45% 1.85% 2.45% มากกว่า 6 เดือน ถึง ไม่เกิน 1 ปี 0.65% 0.70% 0.75% 0.80% 3.65% 4.80% มากกว่า 1 ปี ถึง ไม่เกิน 3 ปี 1.30% 1.50% 1.75% 2.00% 10.60% 13.80% มากกว่า 3 ปี ถึง ไม่เกิน 5 ปี 2.55% 2.70% 3.70% 4.75% 17.05% 21.95% 5 ปีขึ้นไป 3.70% 4.00% 5.45% 7.30% 28.70% 36.90% ตาราง 2.7 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยด้านปัจจัยเฉพาะของผู้ออกตราสาร ( specific risk ) ของการลงทุนในตราสารหนี้ที่ไม่เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกากับและส่ง เสริมการประกอบ ธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการลงทุนประกอบธุรกิจอื่นของบริษัทประกันวินาศภัย ระยะเวลาคงเหลือ ( TTM ) ระดับความเสี่ยง ( risk grade ) 1 2 3 4 5 6 ไม่เกิน 6 เดือน 0.30% 0.35% 0.40% 0.45% 45.00% 68.00% มากกว่า 6 เดือน ถึง ไม่เกิน 1 ปี 0.65% 0.70% 0.75% 0.80% 45.00% 68.00% มากกว่า 1 ปี ถึง ไม่เกิน 3 ปี 1.30% 1.50% 1.75% 2.00% 45.00% 68.00% มากกว่า 3 ปี ถึง ไม่เกิน 5 ปี 2.55% 2.70% 3.70% 4.75% 45.00% 68.00% 5 ปีขึ้นไป 3.70% 4.00% 5.45% 7.30% 45.00% 68.00% ข้อ 4 ให้ยกเลิกความใน 3.1 ของเอกสารแนบ 3 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการคานวณเงินกองทุนสาหรับความเสี่ยงด้านเครดิต ท้ายประกาศคณะกรรมการกากับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง กำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคาน วณเงินกองทุนของบริษัทประกันวินาศภัย พ.ศ. 2562 ลงวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2562 และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ 3.1 ลำดับการพิจารณาอันดับความน่าเชื่อถือของตราสารหนี้ 3.1.1 ในกรณีตราสารหนี้ที่ออกในประเทศไทยโดยผู้ออกตราสารหนี้เป็นนิติบุคคล จดทะเบียนในประเทศไทย ให้ใช้อันดับความน่าเชื่อถือสำหรับตราสารหนี้ ( issue rating ) จากสถาบัน จัดอันดับความน่าเชื่อถือในประเทศไทย หากไม่มีให้ใช้สถาบันการจัดอันดับความน่าเชื่อถือในต่างประเทศ ” ้ หนา 29 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 80 ง ราชกิจจานุเบกษา 3 เมษายน 2566
และหากไม่มีอันดับความน่าเชื่อถือสาหรับตราสารหนี้ ( issue ratin g ) ให้ใช้อันดับความน่าเชื่อถือของ ผู้ออกตราสาร ( issuer rating ) จากสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือในประเทศไทย และหากยังไม่มี ให้ใช้สถาบันการจัดอันดับความน่าเชื่อถือในต่างประเทศ ยกเว้นกรณีผู้ออกตราสารที่ระบุไว้ในข้อ 3.2 3.1.2 ในกรณีตราสารหนี้ที่ออกใ นต่างประเทศโดยผู้ออกตราสารหนี้เป็นนิติบุคคล ที่จดทะเบียนในประเทศไทย ให้ใช้อันดับความน่าเชื่อถือเป็นไปตามลาดับตาม 3.1.1 หรือสามารถ ข้ามลาดับ มาใช้อันดับความน่าเชื่อถือของผู้ออกตราสาร ( issuer rating ) จากสถาบันจัดอันดับ ความน่าเชื่อถือในประเทศไทยได้ 3.1.3 ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นนิติบุคคลจดทะเบียนในต่างประเทศ ให้ใช้ อันดับความน่าเชื่อถือสำหรับตราสารหนี้ ( issue rating ) จากสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ต่างประเทศ หากไม่มีให้ใช้สถาบันการจัดอันดับความน่าเชื่อถือในประเทศไทย ทั้งนี้ หากไม่มีอันดั บ ความน่าเชื่อถือสาหรับตราสารหนี้ ( issue rating ) ให้ใช้อันดับความน่าเชื่อถือของผู้ออกตราสาร ( issuer rating ) จากสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือในต่างประเทศ หากไม่มีให้ใช้สถาบันการจัดอันดับ ความน่าเชื่อถือในประเทศไทย 3.1.4 ในกรณีมีการจัดอันดับความน่าเชื่ อถือมากกว่า 1 อันดับ ให้ใช้อันดับ ความน่าเชื่อถือที่ดีที่สุดลำดับที่ 2 ( the second best rating )” ข้อ 5 กรณีที่บริษัทลงทุนในตราสารหนี้ที่ออกในต่างประเทศโดยผู้ออกตราสารหนี้เป็น นิติบุคคลจดทะเบียนในประเทศไทยเพิ่มเติมตั้งแต่วันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับจนถึงวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2565 ให้บริษัทคานวณเงินกองทุนสาหรับความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยด้านปัจจัยเฉพาะของ ผู้ออกตราสาร ( specific risk ) ของการลงทุนในตราสารหนี้ดังกล่าว โดยพิ จารณาอันดับความน่าเชื่อถือ ของตราสารหนี้ตาม 5.2.1.1 ของเอกสารแนบ 2 ท้ายประกาศคณะกรรมการกากับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง กำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคานวณเงินกองทุนของบริษัทประกันวินาศภัย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2563 ลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2563 หรือใช้อันดับความน่าเชื่อถือของผู้ออกตราสาร ( issuer rating ) จากสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือในประเทศไทยได้ โดยในกรณีที่มีการจัดอันดับความน่าเชื่อถือของ ผู้ออกตราสารมากกว่า 1 อันดับ ให้ใช้อันดับความน่าเชื่อถือที่ดีที่สุดลาดับที่ 2 ( the second best rating ) ข้อ 6 กรณีที่บริษัทลงทุนในกองทุนรวมตราสารทุนที่ลงทุนในต่างประเทศ ( foreign equity fund ) เพิ่มเติมตั้งแต่วันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับจนถึงวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2565 โดยกองทุนรวม มีสัดส่วนการลงทุนในตราสารทุนที่อยู่ในดัชนีตลาดหลักทรัพย์อื่นตามตาราง 2.2 ของเอกสารแนบ 2 ท้ายประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง กาหนดประเภทและ ชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคานว ณเงินกองทุนของบริษัทประกัน วินาศภัย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2563 ลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2563 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ้ หนา 30 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 80 ง ราชกิจจานุเบกษา 3 เมษายน 2566
ของมูลค่าหน่วยลงทุน ( net asset value : NAV ) ให้บริษัทคานวณเงินกองทุนสาหรับความเสี่ยง ด้านตลาดจากราคาหน่วยลงทุนของกองทุนรวมได้สองวิธี คือ วิธีที่หนึ่ง คานวณโดยใช้วิธีการตาม 7. ของเอกสารแนบ 2 ท้ายประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง กำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคานวณ เงินกองทุนของบริษัทประกันวินาศภัย (ฉบั บที่ 3) พ.ศ. 2563 ลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2563 หรือวิธีที่สอง คานวณโดยใช้มูลค่าหน่วยลงทุน ณ วันประเมิน คูณกับ ค่าความเสี่ยงร้อยละ 25 โดยนำมูลค่าของสินทรัพย์ที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศในกองทุนดังกล่าวมารวมในการคำนวณ เงินกองทุนสาหรับความเสี่ ยงด้านตลาดจากอัตราแลกเปลี่ยนด้วย ซึ่งเมื่อเลือกใช้วิธีใดแล้วให้ใช้วิธีนั้น อย่างสม่ำเสมอ ประกาศ ณ วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 256 4 กฤษฎา จีนะวิจารณะ ปลัดกระทรวงการคลัง ประธานกรรมการ คณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ้ หนา 31 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 80 ง ราชกิจจานุเบกษา 3 เมษายน 2566