Wed Jan 11 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ คุณลักษณะ ระบบการทำงาน และสมรรถนะ และกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการรับรองแบบระบบห้ามล้อของรถยนต์ พ.ศ. 2565


ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ คุณลักษณะ ระบบการทำงาน และสมรรถนะ และกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการรับรองแบบระบบห้ามล้อของรถยนต์ พ.ศ. 2565

ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ คุณลักษณะ ระบบการทำงาน และสมรรถนะ และกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการรับรองแบบระบบห้ามล้อของรถยนต์ พ.ศ. 2565 เพื่อให้ส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ของรถยนต์เกิดความปลอดภัยในการใช้งานและสอดคล้อง กับมาตรฐานสากล อาศัยอานาจตามความในข้อ 11 และข้อ 12 แห่งกฎกระทรวงกาหนดส่วนควบ และเครื่องอุปกรณ์สาหรับรถ พ.ศ. 2551 อธิบดีกรมการขนส่งทางบกกาหนดให้ระบบห้ามล้อเป็นส่วนควบ และเครื่องอุปกรณ์ที่ต้องผ่านการรับรองแบบ และกาหนดคุณสมบัติและคุณลักษณะ ระบบการทางาน และสมรรถนะระบบห้ามล้อ และกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการรับรองแบบระบบห้ามล้อ ของรถยนต์ไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ดังต่อไปนี้ (1) รถยนต์นั่ง ( M 1) และรถยนต์บรรทุก ( N 1) ที่ผลิต ประกอบ หรือนำเข้าเพื่อจำหน่าย (2) รถยนต์นั่ง ( M 1) และรถยนต์บรรทุก ( N 1) ที่ผลิต ประกอบ หรือนาเข้ามาเพื่อใช้เอง เกินกว่า 3 คัน ต่อแบบต่อปี ข้อ 2 ในประกาศนี้ (1) “ รถยนต์นั่ง ” ( M 1) หมายความว่า รถยนต์สี่ล้อขึ้นไปที่ผู้ผลิตออกแบบให้เป็นรถสาหรับ นั่งโดยสาร ซึ่งมีจำนวนคนนั่งโดยสารรวมคนขับรถไม่เกิน 9 ที่นั่ง ทั้งนี้ ไม่รวมถึงรถยนต์นั่งที่มีสี่ล้อที่น้าหนักรถเปล่า (กรณีรถไฟฟ้าไม่รวมน้าหนักแบตเตอรี่) ไม่เกิน 400 กิโลกรัม หรือมีกำลั งพิกัดต่อเนื่องสูงสุด ( maximum continuous rated power ) ของมอเตอร์ไฟฟ้าสูงสุดไม่เกิน 15 กิโลวัตต์ ( L 6 , L 7) (2) “ รถยนต์บรรทุก ” ( N 1) หมายความว่า รถยนต์สี่ล้อขึ้นไปที่ผู้ผลิตออกแบบให้เป็นรถ สาหรับบรรทุก มีน้าหนักรถรวมน้าหนักบรรทุกไม่เกิน 3 , 500 กิโลกรัม และให้หมายความรวมถึง รถยนต์ที่ผู้ผลิตออกแบบให้มีพื้นที่โดยสารและพื้นที่บรรทุกอยู่ในส่วนเดียวกันและเป็นไปตามเงื่อนไข ที่กำหนดไว้ในภาคผนวก 2 ท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ไม่รวมถึงรถยนต์บรรทุกที่มีสี่ล้อที่น้าหนักรถเปล่า (กรณีรถไฟฟ้าไม่รวมน้าหนักแบตเตอรี่) ไม่เกิน 550 กิโลกรัม หรือมีกาลังพิกัดต่อเนื่องสูงสุด ( maximum continuous rated power ) ของมอเตอร์ไฟฟ้าสูงสุดไม่เกิน 15 กิโลวัตต์ ( L 6 , L 7) ( 3 ) “ แบบ ” หมายความว่า สิ่งที่กาหนดความเหมือนกันของสาระสาคัญเกี่ยวกับคุณสมบัติ คุณลักษณะ สมรรถนะ ระบบการทางาน ประสิทธิภาพการทางาน การติดตั้ง ประเภท ขนาด หรือจำนวนของส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ ้ หนา 57 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

( 4 ) “ การรับรองแบบ ” หมายความว่า การรับรองแบบระบบห้ามล้อของรถยนต์ว่ามีคุณสมบัติ และคุณลักษณะ ระบบการทำงานและสมรรถนะเป็นไปตามประกาศนี้ ( 5 ) “ ผู้ผลิต ” หมายความว่า ผู้ที่ทาการผลิต ประกอบ หรือนาเข้ารถยนต์ที่ติดตั้งระบบ ห้ามล้อของรถเพื่อจำหน่าย ( 6 ) “ หน่วยงานทดสอบ ” หมายความว่า กรมการขนส่งทางบกหรือหน่วยงานที่กรมการขนส่งทางบก ยินยอมให้ทำหน้าที่ทดสอบระบบห้ามล้อของรถยนต์ ( 7 ) “ หน่วยงานตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ” ( Conformity of Production : COP ) หมายความว่า กรมการขนส่งทางบกหรือหน่วยงานที่กรมการขนส่งทางบกยินยอมให้ทาหน้าที่ตรวจ ประเมินระบบคุณภาพการผลิตและสุ่มตรวจระบบห้ามล้อของรถยนต์ให้เป็นไปตามต้นแบบที่ได้รับ การรับรอง (8) การควบคุม ( Control ) การส่งผ่าน ( Transmission ) การส่งผ่านการควบคุม ( Control Transmission ) การส่งผ่านพลังงาน ( Energy Transmission ) ห้ามล้อ ( Brake ) รถรวมน้าหนักบรรทุก ( Laden vehicle ) มวลสูงสุด ( Maximum mass ) การกระจายของมวลระหว่างเพลาล้อ ( The distribution of mass among the axles ) แรงกระทาต่อล้อหรือเพลาล้อ ( Wheel / axle load ) ภาระสูงสุด ที่กระทำต่อล้อหรือเพลาล้อขณะหยุดนิ่ง ( Maximum stationary wheel / axle load ) อุปกรณ์ ห้ามล้อแบบไฮดรอลิกที่มีการสะสมพลังงาน ( Hydraulic braking equipment with stored energy ) การกระตุ้น ( Actuation ) ระบบห้ามล้อที่นาพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ ( Electric regenerative braking ) การควบคุมระบบห้ามล้อที่นาพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ ( Electric regenerative braking control ) ระบบห้ามล้อที่นำพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ ประเภท A ( Electric regenerative braking system of category A ) สถานะการประจุไฟฟ้า ( Electric state of charge ) ระบบ ห้ามล้อที่นาพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ ประเภท B ( Electric regenerative braking system of category B ) แบตเตอรี่ขับเคลื่อน ( Traction Battery ) การห้ามล้อเป็นช่วง ( Phased braking ) ค่ากาหนด ( Nominal value ) คำสั่งห้ามล้อโดยอัตโนมัติ ( Automatically commanded braking ) ระบบห้ามล้อเสริม ( Selective braking ) สัญญาณการห้ามล้อ ( Braking signal ) สัญญาณการห้าม ล้อฉุกเฉิน ( Emergency braking s ignal ) ระบบควบคุมการทรงตัวรถด้วยอิเล็กทรอนิกส์ หรือระบบ เสถียรภาพ ESC ( Electronic Stability Control ) ค่าสัมประสิทธิ์ของการห้ามล้อสูงสุด ( Peak braking coefficient ) พื้นที่ร่วม ( Common space ) ค่าการทรงตัวสถิต ( Static Stability Factor ) ระบบ เสริมแรงเบรก ( Brake Assist System ) ให้มีความหมายตามนิยามศัพท์ที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 1 ท้ายประกาศนี้ หมวด 1 คุณสมบัติ คุณลักษณะและระบบการทำงาน ้ หนา 58 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

ข้อ 3 ระบบห้ามล้อของรถยนต์ต้องมีคุณสมบัติ คุณลักษณะ และระบบการทำงานทั่วไป ดังนี้ (1) อุปกรณ์ห้ามล้อ (ก) อุปกรณ์ห้ามล้อต้องออกแบบ ผลิต และติดตั้ง ให้เป็นไปตามประกาศนี้ เมื่อรถใช้งาน ตามปกติ แม้จะมีการสั่นสะเทือนเกิดขึ้น รวมทั้งทนทานต่อการสึกกร่อนและต่อการใช้งานที่เพิ่มขึ้น (ข) ผ้าเบรก ( Brake linings ) จะต้องไม่มีส่วนผสมของแร่ใยหิน ( asbestos ) (ค) สัญญาณการตรวจจับความล้มเหลวอาจขัดจังหวะชั่วขณะ (น้อยกว่า 10 มิลลิวินาที) ในระหว่างที่มีการส่งสัญญาณใช้งานระบบห้ามล้อ ทั้งนี้ ประสิทธิภาพการห้ามล้อจะไม่ลดลง (2) การทำงานของอุปกรณ์ห้ามล้อ (ก) ระบบห้ามล้อหลัก ( Service braking system ) ต้องสามารถควบคุมการเคลื่อนที่ ของรถยนต์และหยุดรถยนต์ลงอย่างรวดเร็ว ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าความเร็ว น้าหนัก บรรทุกของรถยนต์หรือมุมลาดเอียงของพื้นถนนเป็นเท่าไร ผู้ขับต้องสามารถควบคุมการห้ามล้อได้และ สามารถบังคับการห้ามล้อได้จากที่นั่งของผู้ขั บโดยไม่ละมือออกจากการบังคับเลี้ยว (ข) ระบบห้ามล้อสำรอง ( Secondary braking system ) ต้องสามารถหยุดรถยนต์ลง ภายในระยะทางที่เหมาะสมได้ในกรณีที่ระบบห้ามล้อหลักไม่ทางาน และผู้ขับรถต้องสามารถควบคุม การห้ามล้อได้จากที่นั่งของผู้ขับโดยไม่ละมือออกจากการบังคับเลี้ยวและไม่มีการบกพร่องของระบบ ห้ามล้อหลักมากกว่าหนึ่งจุดภายในเวลาเดียวกัน (ค) ระบบห้ามล้อขณะจอด ( Parking braking system ) ต้องสามารถที่จะทำให้รถจอด อยู่กับที่บนทางลาดเอียงแม้ไม่มีผู้ขับรถ ห้าม ล้อขณะจอดจะอยู่ในตาแหน่งทางานโดยใช้กลไกเชิงกล เป็นตัวล็อก ( Mechanical device ) โดยผู้ขับรถต้องสามารถใช้ห้ามล้อขณะจอดได้จากที่นั่งผู้ขับรถ ข้อ 4 คุณสมบัติ คุณลักษณะ และระบบการทำงานเฉพาะ (1) ชุดระบบห้ามล้อที่ติดตั้งในรถต้องเป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดของห้ามล้อหลัก ห้ามล้อสำรอง และห้ามล้อขณะจอด (2) อุปกรณ์ควบคุมห้ามล้อหลักและห้ามล้อขณะจอดต้องเป็นอิสระจากกัน (3) ระบบห้ามล้อหลัก ห้ามล้อสำรอง และห้ามล้อขณะจอดอาจใช้ชิ้นส่วนอุปกรณ์ร่วมกันได้ แต่ สมรรถนะการทำงานของระบบห้ามล้อหลักและห้ามล้อขณะจอดต้องเป็นไปตามที่กาหนดในหมวด 2 (4) กรณีเกิดการชารุดของห้ามล้อหลักหรือชิ้นส่วนใดในระบบ ซึ่งส่งผลให้ไม่สามารถทาการ ห้ามล้อได้ตามสมรรถนะที่กาหนด หรือวงจรห้ามล้อหลักที่อิสระจากกันอย่างน้อยหนึ่งวงจรจากสองวงจร ไม่ ทางาน ต้องมีสัญญาณเตือนเป็นแสงสีแดง ซึ่งสามารถมองเห็นได้แม้ในเวลากลางวัน โดยผู้ขับต้อง สามารถตรวจสอบสถานะของแสงสัญญาณดังกล่าวได้โดยง่ายจากที่นั่งผู้ขับ (5) ระบบห้ามล้อหลักต้องกระทาบนล้อรถทุกล้อ และต้องกระจายแรงห้ามล้อระหว่างเพลา อย่างเหมาะสม (6) เมื่อผู้ขับใช้ห้ามล้อหลัก โคมไฟหยุดต้องส่องสว่างด้วย ้ หนา 59 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

(7) การทำงานของระบบห้ามล้อหลัก ด้วยคำสั่งห้ามล้ออัตโนมัติ ต้องส่งสัญญาณโคมไฟหยุด ตาม (6) ด้วย อย่างไรก็ตามเมื่อเกิดการหน่วงน้อยกว่า 0.7 เมตรต่อวินาที 2 อาจไม่มีการส่งสัญญาณ (8) การทางานของระบบห้ำมล้อหลักโดย “ ระบบห้ามล้อเสริม ” ( Selective Braking ) จะต้องไม่ส่งสัญญาณโคมไฟหยุดตาม (6) ซึ่งระหว่างการทางานของระบบห้ามล้อเสริม ( selective braking ) ฟังก์ชันการทำงานอาจเปลี่ยนเป็นคาสั่งห้ามล้อโดยอัตโนมัติ ( automatically commanded braking ) (9) ระบบห้ามล้อที่นาพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ ที่สร้างแรงหน่วงเมื่อปล่อยการควบคุม คันเร่งจะต้องส่งสัญญาณโคมไฟหยุดตาม (6) ตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในภาคผนวก 3 ท้ายประกาศนี้ หมวด 2 การทดสอบและเกณฑ์สมรรถนะ ข้อ 5 การทดสอบสมรรถนะห้ามล้อหลักให้เป็นไปตามวิธีการที่ กาหนดไว้ในภาคผนวก 3 ท้ายประกาศนี้ ข้อ 6 ระบบห้ามล้อหลักต้องมีระบบป้องกันล้อล็อก ( Anti - lock system ) โดยให้ทำการทดสอบ ตามที่กำหนดในภาคผนวก 4 และต้องมีสมรรถนะตามที่กำหนดในภาคผนวก 4 ท้ายประกาศนี้ด้วย กรณีได้รับการร้องขอจากผู้ผลิต อาจใช้วิธีการทดสอบสำหรับรถยนต์บรรทุก ( N 1) ตามภาคผนวก ที่เกี่ยวข้อง ของข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 13 อนุกรมที่ 09 ( UN Regulation No . 13.09 ) ขึ้นไปแทนได้ ข้อ 7 การทดสอบสมรรถนะห้ามล้อสำรองให้เป็นไปตามวิธีการในภาคผนวก 3 ท้ายประกาศนี้ ข้อ 8 ให้ทาการทดสอบสมรรถนะห้ามล้อขณะจอดของรถที่น้าหนักรวมสูงสุด โดยห้ามล้อ ขณะจอดต้องมีสมรรถนะ ดังนี้ (1) ห้ามล้อขณะจอดต้องสามารถทาให้รถหยุดนิ่งบนพื้นที่มีความลาดเอียง (ทั้งลาดขึ้นและ ลาดลง) เมื่อใช้แรงกระทำที่ตัวควบคุมห้ามล้อขณะจอด ตามที่กาหนดในภาคผนวก 3 ท้ำยประกาศนี้ (2) ต้องมีค่าความหน่วงสูงสุดก่อนที่รถจะหยุดไม่น้อยกว่า 1.5 เมตรต่อวินาที 2 เมื่อทดสอบ ที่ความเร็ว 30 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยแรงที่ใช้ในการทดสอบต้องไม่เกินตามที่กาหนดไว้ใน (1) ข้อ 9 ในกรณีการรับรองแบบรายคัน (1) ให้ยกเว้นการทดสอบตามที่กาห นดไว้ในข้อ 5 ข้อ 7 และข้อ 8 และให้ดาเนินการ ตรวจสอบประสิทธิภาพระบบห้ามล้อตามระเบียบกรมการขนส่งทางบกว่าด้วยการตรวจสภาพรถและ เกณฑ์การวินิจฉัยผลการตรวจสภาพรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์แทนได้ โดยใช้เครื่องทดสอบห้ามล้อ แบบลูกกลิ้ง ( Roller Brake Tester ) โดยทำการทดสอบขณะรถเปล่าซึ่งมีเฉพาะผู้ขับรถ จำนวน 1 คน และใช้เกณฑ์สมรรถนะระบบห้ามล้อ ดังนี้ ้ หนา 60 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

(ก) ห้ามล้อหลักและห้ามล้อขณะจอด ต้องมีการตอบสนองการทางานทันทีเมื่อใช้แรง กระทำที่อุปกรณ์ควบคุมห้ามล้อ (ข) ผลรวมของแรงห้ามล้อหลักจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของน้าหนักรถ และผลต่าง ระหว่างแรงห้ามล้อด้านซ้ายและด้านขวาต้องไม่เกินร้อยละ 25 ของแรงห้ามล้อสูงสุดของเพลาล้อนั้น (ค) ผลรวมของแรงห้ามล้อขณะจอดต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของน้ำหนักรถ (2) ในกรณีระบบป้องกันล้อล็อก ( Anti - lock system ) ให้ยกเว้นการทดสอบตามวิธีการ ที่กาหนดในข้อ 6 โดยผู้ผลิตต้องแสดงเอกสาร หรือผลการทดสอบเพื่อยืนยันให้เห็นว่าการทางานของ ระบบป้องกันล้อล็อก ( Anti - lock system ) สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และให้ดาเนินการ ตรวจพินิจการทางานของระบบป้องกันล้อล็อกและตรวจสอบ อุปกรณ์เตือนการทางานของระบบป้องกัน ล้อล็อก ดังนี้ (ก) อุปกรณ์เตือนไม่ทำงาน (ข) อุปกรณ์เตือนแสดงความผิดปกติของระบบ หมวด 3 การรับรองแบบ ส่วนที่ 1 การยื่นคำขอ ข้อ 10 ผู้ผลิตที่ประสงค์ขอรับรองแบบระบบห้ามล้อของรถยนต์ ให้ยื่นหนังสือขอรับรองแบบ ณ สำนักวิศวกรรมยานยนต์ กรมการขนส่งทางบก พร้อมด้วยเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี้ (1) บุคคลธรรมดา (ก) บัตรประจำตัวประชาชน ในกรณีผู้ขอเป็นคนต่างด้าวตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง ให้ยื่นใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวพร้อมทั้งหลักฐานแสดงที่พักอาศัยในราชอาณาจักรที่ทางราชกำรหรือ หน่วยงานของรัฐบาลต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศออกให้ (ข) หนังสือมอบอำนาจในกรณีมีการมอบอำนาจ พร้อมภาพถ่ายบัตรประจำตัวประชาชน ของผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ (ค) เอกสารหลักฐานแสดงข้อมูลประกอบการพิจารณารับรองแบบระบบห้ามล้อตามที่กาหนดไว้ ในภาคผนวก 5 ท้ายประกาศนี้ จำนวน 3 ชุด ดังนี้ 1) คำอธิบายแบบระบบห้ามล้อ 2) รายการของชิ้นส่วนที่ประกอบกันเป็นระบบห้ามล้อ 3) แผนผัง ภาพ หรือรูปวาดของระบบห้ามล้อที่ประกอบสมบูรณ์แล้ว แสดงตาแหน่ง การติดตั้งระบบห้ามล้อบนตัวรถยนต์ 4) ภาพวาดโดยละเอียดของชิ้นส่วน ที่สามารถใช้ในการระบุตาแหน่งและบ่งชี้ชิ้นส่วนได้ ้ หนา 61 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

(ง) ผู้ผลิตจะต้องส่งตัวอย่างรถยนต์ที่ติดตั้งระบบห้ามล้อที่ต้องการขอรับรองแบบ ในกรณีที่ กรมการขนส่งทางบกหรือหน่วยงานทดสอบร้องขอ (จ) หลักฐานการทดสอบสมรรถนะระบบห้ามล้อ (ถ้ามี) (ฉ) หลักฐานการประเมินระบบควบคุมคุณภาพการผลิตตามขั้นตอนการผลิตให้เป็นไป ตามต้นแบบ (ถ้ามี) (ช) หลักฐานการผ่านการรับรองมาตรฐานหรือข้อกำหนดทางเทคนิคของระบบห้ามล้อ (ถ้ามี) (2) ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด (ก) หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (ข) ภาพถ่ายบัตรประจาตัวประชาชนของผู้มีอานาจลงนาม ในกรณีผู้มีอานาจลงนาม เป็นคนต่างด้าวตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองให้ยื่นใบสาคัญประจาตัวคนต่างด้าว พร้อมทั้งหลักฐาน แสดงที่พักอาศัยในราชอาณาจักรที่ทางราชการหรือหน่วยงานของรั ฐบาลต่างประเทศหรือองค์การ ระหว่างประเทศออกให้ (ค) หนังสือมอบอำนาจในกรณีมีการมอบอำนาจ พร้อมภาพถ่ายบัตรประจำตัวประชาชน ของผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ (ง) เอกสารตาม (1) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) และ (ช) (3) ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือสถาบันการศึกษา (ก) หนังสือมอบอำนาจของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือสถาบันการศึกษาให้ดาเนินการ ยื่นคำขอหนังสือรับรองแบบ (ข) เอกสารตาม (1) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) และ (ช) ส่วนที่ 2 การตรวจสอบ ข้อ 11 ให้ตรวจสอบเอกสารหลักฐานให้ครบถ้วนถูกต้อง ในกรณีที่เอกสารหลักฐานไม่ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คืนเรื่องแก่ผู้ยื่นขอรับรองแบบไปดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้อง ในกรณีที่เอกสารหลักฐานครบถ้วน ถูกต้อง ให้ดาเนินการ ดังนี้ (1) ตรวจสอบคุณสมบัติ คุณลักษณะ ระบบการทางาน และสมรรถนะของระบบห้ามล้อ ของรถยนต์ (ก) ดาเนินการตรวจสอบคุณสมบัติ คุณลักษณะ และระบบการทางานตามที่กาหนดไว้ ในหมวด 1 และทดสอบสมรรถนะระบบห้ามล้อของรถยนต์ตามที่กาหนดไว้ในหมวด 2 โดยผลที่ได้ จากการตรวจสอบจะต้องตรงกับข้อมูลที่ได้ระบุไว้ในแบบแสดงข้อมูลประกอบการพิจารณารับรองแบบ ระบบห้ามล้อตามที่กาหนดไ ว้ในภาคผนวก 5 ท้ายประกาศนี้ แล้วแต่กรณี ้ หนา 62 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

(ข) ตรวจสอบผลการทดสอบหรือตรวจสอบคุณสมบัติ คุณลักษณะ ระบบการทางาน และสมรรถนะตาม (ก) ของผู้ผลิตหรือหน่วยงานทดสอบอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1) ผลการทดสอบหรือตรวจสอบของผู้ผลิตที่เป็นหน่วยงานทดสอบตามที่กำหน ดไว้ ในภาคผนวก 6 ท้ายประกาศนี้ 2) ผลการทดสอบหรือตรวจสอบของหน่วยงานทดสอบตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 6 ท้ายประกาศนี้ 3) ผลการทดสอบหรือตรวจสอบของหน่วยงานทดสอบท้ายความตกลงว่าด้วย การรับรองข้อกำหนดทางเทคนิคของยานยนต์ อุปกรณ์และส่วนควบที่ติดตั้งหรือใช้ในยานยนต์ และเงื่อนไขสาหรับการยอมรับร่วมกันของการให้ความเห็นชอบในข้อกาหนดทางเทคนิค ค.ศ. 1958 ภายใต้คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจแห่งยุโรป สหประชาชาติ 4) ผลการทดสอบหรือตรวจสอบของผู้ผลิตที่มีเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจาก กรมการขนส่งทางบกเป็นพยานในการทดสอบหรือตรวจสอบคุณสมบัติและคุณลักษณะตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนดไว้ในหมวด 2 ในกรณีที่กรมการขนส่งทางบกยอมรับผลการทดสอบหรือตรวจสอบคุณสมบัติ คุณลักษณะ ระบบกำรทำงาน และสมรรถนะของระบบห้ามล้อของรถยนต์ (ข) ให้ยกเว้นการทดสอบตามที่กำหนด ไว้ในหมวด 2 (2) การตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ( Conformity of Production : COP ) (ก) ดาเนินการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบของระบบห้ามล้อของรถยนต์ โดยการประเมินระบบควบคุมคุณภาพการผลิตตามขั้นตอนการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบที่กาหนด ในภาคผนวก 7 ท้ายประกาศนี้ เว้นแต่กรณีการขอรับรองแบบระบบห้ามล้อของรถยนต์เป็นรายคัน โดยระบุตัวเลขชี้บ่งยานยนต์ ( Vehicle Identification Number : VIN ) ให้ยกเว้นการตรวจสอบ กำรผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบดังกล่าว (ข) ตรวจสอบผลการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบของผู้ผลิตหรือหน่วยงาน ตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1) ผลการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบของผู้ผลิตที่เป็นหน่วยงาน ตรวจสอบการผลิตให้เป็นไ ปตามต้นแบบตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 6 ท้ายประกาศนี้ 2) ผลการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบของหน่วยงานตรวจสอบการผลิต ให้เป็นไปตามต้นแบบตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 6 ท้ายประกาศนี้ 3) ผลการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบของหน่วยงานตรวจสอบการผลิต ให้เป็นไปตามต้นแบบ ท้ายความตกลงว่าด้วยการรับรองข้อกาหนดทางเทคนิคของยานยนต์ อุปกรณ์ และส่วนควบที่ติดตั้งหรือใช้ในยานยนต์ และเงื่อนไขสาหรับการยอมรับร่วมกันของการให้ความเห็นชอบ ในข้อกาหนดทางเทคนิค ค.ศ. 19 58 ภายใต้คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจแห่งยุโรป สหประชาชาติ ้ หนา 63 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

  1. ผลการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบของหน่วยงานตรวจสอบการผลิต ให้เป็นไปตามต้นแบบที่ได้รับอนุญาตจากสานักงานคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการรับรองระบบงาน โดยต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดในประเภ ทของหน่วยงานตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ที่กำหนดไว้ในภาคผนวก 6 ท้ายประกาศนี้ ในกรณีที่กรมการขนส่งทางบกยอมรับผลการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบตาม (ข) ให้ยกเว้นการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบที่กำหนดไว้ในภาคผนวก 7 ท้ายประกาศนี้ ส่วนที่ 3 เงื่อนไขการขอรับรองแบบ ข้อ 12 การขอรับรองแบบระบบห้ามล้อของรถยนต์ ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (1) แบบของรถซึ่งติดตั้งระบบห้ามล้อที่ขอรับรองที่ถือว่าเป็นแบบรถเดียวกัน จะต้องไม่มี ความแตกต่างในสาระสำคัญ ดังนี้ (ก) มวลรวมสูงสุด ตามที่ผู้ผลิตได้ระบุไว้ (ข) การกระจายมวลลงบนแต่ละเพลาล้อ (ค) ความเร็วสูงสุดที่ผู้ผลิตออกแบบไว้ (ง) แบบของอุปกรณ์ห้ามล้อ ( Braking Equipment ) ซึ่งมีความแตกต่างของสาระสาคัญ ดังต่อไปนี้ 1) ชิ้นส่วน หรือส่วนประกอบที่มีลักษณะแตกต่างกัน 2) ชิ้นส่วน หรือส่วนประกอบที่ทำจากวัสดุ หรือมีรูปร่าง หรือขนาดที่แตกต่างกัน 3) การประกอบชิ้นส่วนที่แตกต่างกัน (จ) แบบเครื่องยนต์ หรือเครื่องกาเนิดพลังงานอื่น ๆ (ฉ) จำนวนและอัตราทดของเกียร์ขับเคลื่อน (ช) อัตราทดสุดท้าย ( Final drive ratios ) (ซ) มิติของยาง ข้อ 13 การขอรับรองแบบและการพิจารณารับรองแบบระบบห้ามล้อของรถยนต์ ให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (1) ระบบห้ามล้อของรถยนต์มีคุณสมบัติ คุณลักษณะ ระบบการทางาน และสมรรถนะ แ ละการทดสอบระบบห้ามล้อ เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในหมวด 1 และหมวด 2 และผ่านการตรวจสอบ การผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 7 หรือที่กรมการขนส่งทางบกยอมรับผล การตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ แล้วแต่กรณี ้ หนา 64 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

(2) ในกรณีที่ระบบห้ามล้อของรถยนต์ที่มีการติดตั้งระบบป้องกันล้อล็อกและผ่านการรับรอง ตามมาตรฐานหรือข้อกาหนดทางเทคนิคดังต่อไปนี้ ให้ถือว่ามีคุณสมบัติ คุณลักษณะ ระบบการทำงาน และสมรรถนะเป็นไปตามประกาศนี้ (ก) ข้อกาหนดสหประชาชาติ ที่ 13 - H ว่าด้วยระบบห้ามล้อของ รถยนต์นั่ง ( M 1) และรถยนต์บรรทุก ( N 1) อนุกรมที่ 00 ( UN Regulation No . 13 - H .00) ขึ้นไป (ข) ข้อกำหนดสหประชาชาติ ที่ 13 ว่าด้วยระบบห้ามล้อ อนุกรมที่ 09 ( UN Regulation No . 13.09) ขึ้นไป (ค) มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่เทียบเท่า (ก) หรือ (ข) ส่วนที่ 4 การออกหนังสือรับรองและเครื่องหมายการรับรองแบบ ข้อ 14 ในกรณีที่ระบบห้ามล้อของรถยนต์เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในข้อ 13 ให้เจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบนาเสนออธิบดีหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย แล้วแต่กรณี เพื่อออกหนังสือรับรองแบบให้กับ ผู้ยื่นคำข อภายใน 30 วัน หนังสือรับรองแบบให้เป็นไปตามแบบที่กำหนดไว้ในภาคผนวก 8 ท้ายประกาศนี้ เครื่องหมายรับรองแบบในหนังสือรับรองแบบให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 9 ท้ายประกาศนี้ ข้อ 15 ในกรณีที่ระบบห้ามล้อของรถยนต์ที่ขอรับรองแบบไม่เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในข้อ 13 ให้ถือว่าไม่ผ่านการรับรองแบบตามประกาศนี้ และให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบแจ้งให้ผู้ยื่นคำขอทราบ ส่วนที่ 5 การตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบที่ได้รับหนังสือรับรองแบบ ข้อ 16 รถยนต์ที่ได้รับการรับรองแบบระบบห้ามล้อแล้ว ให้มีกระบวนการตรวจสอบการผลิต ให้เป็นไปตามต้นแบบที่ได้รับการรับรอง ดังต่อไปนี้ (1) ระบบห้ามล้อที่ติดตั้งในรถต้องมีคุณสมบัติ คุณลักษณะ ระบบการทำงาน และสมรรถนะ เป็นไปตามที่กาหนดในหมวด 1 (2) การตรวจสอบการผลิตรถตาม (1) ให้ใช้วิธีสุ่มตัวอย่าง ให้ดาเนินการต รวจสอบการผลิต สองปีต่อครั้ง โดยอาจดำเนินการตามแผนควบคุมการผลิต ( Control plan ) ที่ครอบคลุมการตรวจสอบ คุณสมบัติและคุณลักษณะของระบบห้ามล้อที่ได้เห็นพ้องร่วมกันแทนได้ ้ หนา 65 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

ส่วนที่ 6 การแก้ไขหรือเพิ่มเติมการรับรองแบบ ข้อ 17 ในกรณีที่ผู้ผลิตที่ได้รับหนังสือรับรองแบบประสงค์ขอแก้ไขหรือเพิ่มเติมแบบของ ระบบห้ามล้อของรถยนต์ หรือรายละเอียดของหนังสือรับรองแบบ ให้ยื่นขอแก้ไขหรือเพิ่มเติม ณ สำนักวิศวกรรมยานยนต์ กรมการขนส่งทางบก พร้อมด้วยเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี้ (1) หนังสือรับรองแบบฉบับเดิม (2) เอกสารแสดงข้อมูลการแก้ไขหรือเพิ่มเติม และรายงานผลการทดสอบ รูปวาด หรือรูปภาพ ในกรณีที่ขอแก้ไขเพิ่มเติมรายละเอียดที่เกิดจากการลงรายการในหนังสือรับรองแบบ ผิดพลาดคลาดเคลื่อน ให้ใช้เฉพาะหลักฐานตาม (1) และในกรณีการขอแก้ไขเพิ่มเติมตามวรรคหนึ่ง ที่ไม่จาเป็นต้องพิจารณาผลทดสอบ รูปวาด หรือรูปภาพ ให้ได้รับการยกเว้นหลักฐานรายงานผลการทดสอบ รูปวาด หรือรูปภาพตาม (2) ข้อ 18 เมื่อได้รับคาขอตามข้อ 17 แล้ว ให้ตรวจสอบเอกสารหลักฐานให้ครบถ้วนถูกต้อง ในกรณีที่เอกสารหลักฐานไม่ครบถ้วนถูกต้อง ให้คืนเรื่องและแจ้งให้ผู้ยื่นคำขอรับรองแบบไปดาเนินการ แก้ไขให้ถูกต้อง ภายใน 30 วัน และในกรณีที่เอกสารหลักฐานครบถ้วนถูกต้อง ให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้ (1) การขอแก้ไขเพิ่มเติมข้อผิดพลาดในการออกหนังสือรับรองแบบ เช่น ลงรายละเอียดผิดพลาด หากเห็นว่ามีรายการผิดพลาดจริงให้แก้ไขรายการในหนังสือรับรองแบบให้ถูกต้องพร้อมลงลายมือชื่อ ผู้ทาการแก้ไขและวันที่กากับไว้ในรายการที่มีการแก้ไข หากเห็นว่ารายละเอียดของหนังสือรับรองแบบ ถูกต้องแล้วให้ชี้แจงหรือแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ยื่นคำขอ ทราบ (2) การขอแก้ไขหรือเพิ่มเติมแบบของระบบห้ามล้อของรถยนต์ ให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบคำขอ แก้ไขหรือเพิ่มเติมดังกล่าวว่าจำเป็นต้องดาเนินการทดสอบหรือไม่ และให้ดาเนินการ ดังนี้ (ก) กรณีการแก้ไขเพิ่มเติมที่ไม่ต้องทาการทดสอบ ให้พิจารณาความถูกต้องของเอกสาร แสดงข้อมูลที่ประกอบการแก้ไขเพิ่มเติม หากเห็นว่าถูกต้อง ให้ดำเนินการแก้ไขเพิ่มเติมเอกสาร ท้ายหนังสือรับรองแบบ พร้อมจัดทาเครื่องหมายการรับรองแบบส่วนที่มีการเปลี่ยนแปลงตามที่กาหนดไว้ใน ภาคผนวก 9 พร้อมทั้งลงลายมือชื่อผู้ทำการ แก้ไขและวันที่กากับไว้ในรายการที่มีการแก้ไข (ข) กรณีการแก้ไขเพิ่มเติมที่ต้องมีการทดสอบ ให้พิจารณาความถูกต้องของเอกสารแสดง ข้อมูลที่ประกอบการแก้ไขเพิ่มเติม หากเห็นว่าถูกต้อง ให้ดาเนินการตามข้อ 13 และเมื่อดาเนินการ เรียบร้อยแล้ว ปรากฏว่าเอกสารและผลการทดสอบครบถ้วนถูกต้อง ให้นาเสนออธิบดีหรือผู้ที่ได้รับ มอบหมายเพื่อออกหนังสือรับรองแบบฉบับใหม่ให้กับผู้ยื่นคำขอต่อไป ้ หนา 66 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

หมวด 4 การเลิกการผลิต ประกอบ หรือนำเข้า ข้อ 19 ในกรณีผู้ผลิตที่ได้รับหนังสือรับรองแบบประสงค์จะเลิกผลิต ประกอบ หรือนาเข้า ระบบห้ามล้อของรถยนต์ตามแบบที่ได้รับการรับรองให้แจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับการเลิกผลิต ประกอบ หรือนำเข้าเป็นหนังสือให้กรมการขนส่งทางบกทราบ หมวด 5 การกำกับดูแลผู้ผลิตที่ได้รับหนังสือรับรองแบบ ข้อ 20 ผู้ผลิตที่ได้รับหนังสือรับรองแบบต้องอานวยความสะดวกให้แก่อธิบดีหรือผู้ที่อธิบดี มอบหมายเข้าทำการตรวจสอบกระบวนการผลิต ทำการทดสอบ หรือทำการติดตั้ง ตลอดจนตรวจสอบ การปฏิบัติตามประกาศนี้ ณ โรงงานผลิต โรงงานประกอบ คลังสินค้า สถานที่ติดตั้ง หรือสถานที่ ทำกา รทดสอบ ข้อ 21 เมื่อปรากฏว่าผู้ผลิตที่ได้รับหนังสือรับรองแบบผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในประกาศนี้ หรือเจตนาทุจริตหรือจงใจยื่นเอกสารข้อมูลที่เป็นเท็จ หรือปลอมแปลง เอกสารแสดงข้อมูลในการขอรับรองแบบ ให้กรมการขนส่งทางบกมีอำนาจตักเตือน ระงับใช้ หนังสือรับรองแบบชั่วคราว หรือเพิกถอนหนังสือรับรองแบบ ตามควรแก่กรณี หมวด 6 การอุทธรณ์ ข้อ 22 ผู้ผลิตที่ได้รับหนังสือรับรองแบบซึ่งถูกระงับใช้หนังสือรับรองแบบชั่วคราว หรือถูกสั่ง เพิกถอนหนังสือรับรองแบบ มีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือต่ออธิบดีได้ภายใน 15 วัน นับแต่ได้รับแจ้ง การระงับใช้หนังสือรับรองแบบชั่วคราว หรือถูกสั่งเพิกถอนหนังสือรับรองแบบ โดยระบุข้อโต้แย้ง ข้อเท็จจริง และข้อกฎหมายที่อ้างอิงประกอบด้วย และให้นาหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกั บ การอุทธรณ์ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับ ทั้งนี้ การอุทธรณ์ดังกล่าว ไม่เป็นการทุเลาการบังคับตามคาสั่งระงับใช้หนังสือรับรองแบบชั่วคราว หรือคาสั่งเพิกถอนหนังสือ รับรองแบบ หมวด 7 การใช้บังคับ ้ หนา 67 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

ข้อ 23 ผู้ผลิตต้องดาเนินการให้ระบบห้ามล้อของรถยนต์นั่ง ( M 1) และรถยนต์บรรทุก ( N 1 ) ซึ่งเป็นแบบรถยนต์ใหม่ที่ผลิต ประกอบ หรือนำเข้าตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2567 เป็นไปตาม ประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 256 5 จิรุตม์ วิศาลจิตร อธิบดีกรมการขนส่งทางบก ้ หนา 68 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

ภาคผนวก 1 นิยามศัพท์ ___________ _____________ ( 1) “ การควบคุม ” ( Control ) หมายความว่า ส่วนของการขับเคลื่อนโดยตรงจากผู้ขับรถเพื่อส่ง พลังงาน ที่จาเป็นสาหรับการห้ามล้อหรือการควบคุมระบบห้ามล้อ พลังงานนี้อาจเป็นพลังงานกล้ามเนื้อของ ผู้ขับรถ หรือพลังงานจากแหล่งอื่นที่ควบคุมโดยผู้ขับรถ หรือการรวมกันของพลังงานชนิดต่าง ๆ เหล่า นี้ ( 2 ) “ การส่งผ่าน ” ( Transmission ) หมายความว่า การรวมกันขององค์ประกอบระหว่างการควบคุม และ การห้ามล้อ การส่งผ่านอาจเป็นในรูปแบบกลไกไฮดรอลิก นิวเมติก ไฟฟ้า หรือแบบผสม ในกรณีที่ พลังงาน ของการห้ามล้อได้ถูกส่ง กาลัง หรือให้ความช่วยเหลือจากแหล่งพลังงานที่เป็นอิสระจากผู้ขับรถ พลังงาน สำรองในระบบก็ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการส่ง ผ่าน เช่นเดียวกัน การส่งผ่านแบ่งออกเป็นสองลักษณะ คือ การส่งผ่านการควบคุม และการส่งผ่านพลังงาน ซึ่งเมื่อใดก็ตาม ที่คาว่า “การส่ง ผ่าน ” ถูกใช้เพียงอย่างเดียวในประกาศฉบับนี้ให้หมายรวมถึงทั้ง “การส่ง ผ่าน การควบคุม” และ “การส่ง ผ่าน พลังงาน” (ก) “ การส่งผ่านการควบคุม ” ( Control Transmission ) หมายความว่า การรวมกันของส่วนประกอบ ที่ส่งผ่านการควบคุมการทำงานของระบบห้ามล้อ รวมถึงการควบคุมการทำงานและการสำรองพลังงานที่จำเป็น (ข ) “ การส่งผ่านพลังงาน ” ( Energy Transmission ) หมายความว่า การรวมกันของส่วนประกอบ ที่ส่งพลังงานที่จำเป็นให้กับการห้ามล้อ รวมถึงการสำรองพลังงานที่จำเป็นสาหรับการทางานของระบบห้ามล้อ ( 3 ) “ ห้ามล้อ ” ( Brake ) หมายความว่า ชิ้นส่วนที่ออกแรงกระทาที่ต้านการเคลื่อนที่ของรถ อาจเป็นการ ห้ามล้อแบบเสีย ดทาน (เมื่อแรงที่เกิดจากการเสียดทานระหว่างสองชิ้นส่วนของรถที่เคลื่อนที่ไปมาระหว่างกัน) ห้ามล้อแบบไฟฟ้า (เมื่อแรงเสียดทานถูกสร้างขึ้นโดยการกระทาของแม่เหล็กไฟฟ้าระหว่างสองชิ้ นส่วนของรถ ซึ่งเคลื่อนที่สัมพันธ์กันแต่ไม่มีการสัมผัสกัน) การห้ามล้อด้วยของเหลว (เมื่อแรงเสียดทานเกิดขึ้นจากการกระทา ของของเหลวที่อยู่ในสองชิ้นส่วนของรถที่เคลื่อนที่ไปมาระหว่างกัน) การห้ามล้อด้วยเครื่องยนต์ (เมื่อแรงห้ามล้อ มาจากแรงต้านของเครื่องยนต์ส่ งผ่านไปยังล้อ) ( 4 ) “ รถรวมน้าหนักบรรทุก ” ( Laden vehicle ) หมายความว่า รถที่บรรทุก ให้มี มวลสูงสุดที่รองรับได้ ( Maximum mass ) ทั้งนี้ ยกเว้นในกรณีที่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น ( 5 ) “ มวลสูงสุด ” ( Maximum mass ) หมายความว่า มวลสูงสุดที่ได้รับอนุญาตทางเทคนิคซึ่งถูกกาหนด โดยผู้ผลิตรถ (มวลนี้อาจสูงกว่า “มวลสูงสุดที่อนุญาต” ที่กรมการขนส่งทางบกกาหนด) ( 6 ) “ การกระจายของมวลระหว่างเพลาล้อ ” ( The distribution of mass among the axles ) หมายความว่า การกระจายของมวลตามแรงโน้มถ่วงต่อเพลาล้อของรถ ( 7 ) “ แรงกระทาต่อล้อหรือเพลาล้อ ” ( Wheel / axle load ) หมายความว่า แรงปฏิกิริยาคงที่ตามแนวดิ่ง ของพื้นผิวถนนที่สัมผัสบนล้อ หรือ เพลา ล้อ ( 8 ) “ ภาระสูงสุดที่กระทาต่อล้อหรือเพลาล้อขณะหยุดนิ่ง ” ( Maximum stationary wheel / axle load ) หมายความว่า ภาระสูงสุดที่กระทำต่อล้อ หรือ เพลาล้อขณะหยุดนิ่ง ของรถรวมน้ำหนักบรรทุก ( 9 ) “ อุปกรณ์ห้ามล้อแบบไฮดรอลิ ก ที่มีการสะสมพลังงาน ” ( Hydraulic braking equipment with stored energy ) หมายความว่า อุปกรณ์ห้ามล้อที่ส่งผ่านกาลังด้วยน้ามันไฮดรอลิก ภายใต้แรงดันที่เก็บไว้ใน อุปกรณ์สะสมพลังงานอย่างน้อยหนึ่งตัวโดยส่งผ่านจากปั๊มแรงดันอย่างน้อยหนึ่งตั ว ซึ่งค่าเฉลี่ยของแรงดันสูงสุด นี้จะถูกระบุโดยผู้ผลิต ( 10 ) “ การกระตุ้น ” ( Actuation ) หมายความว่า การใช้งานหรือการยกเลิก การควบคุม

  • 2 – ( 11 ) “ ระบบห้ามล้อที่นาพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ ” ( Electric regenerative braking ) หมายความว่า ระบบห้ามล้อซึ่งในระหว่างการชะลอความเร็วของรถจะมีการแปลงพลังงานจลน์ให้กลับมาเป็นพลังงานไฟฟ้า และ ได้แก่ ( ก ) “ การควบคุมระบบห้ามล้อที่นำพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ ” ( Electric regenerative braking control ) หมายความว่า อุปกรณ์ที่ควบคุมการทำงานของระบบห้ามล้อที่นำพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ ( ข ) “ ระบบห้ามล้อที่นำพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ ประเภท A ” ( Electric regenerative braking system of category A ) หมายความว่า ระบบห้ามล้อที่นาพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ ซึ่งไม่ได้เป็น ส่วนหนึ่งของระบบห้ามล้อหลัก ( ค ) “ ระบบห้ามล้อที่นำพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ ประเภท B ” ( Electric regenerative braking system of category B ) หมายความว่า ระบบห้ามล้อที่นาพลังงานไฟฟ้ากลับมา ใช้ใหม่ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของระบบห้ามล้อหลัก ( ง ) สถานะการประจุไฟฟ้า ( Electric state of charge ) หมายความว่า อัตราส่วนของปริมาณ พลังงานไฟฟ้าที่จัดเก็บใน แบตเตอรี่ขับเคลื่อน เมื่อเทียบกับปริมาณพลังงานไฟฟ้าสูงสุดที่แบตเตอรี่นี้สามารถเก็บได้ ( จ ) “ แบตเตอรี่ขับเคลื่อน ” ( Traction Battery ) หมายความว่า องค์ประกอบของการจัดเก็บ พลังงานที่ใช้ในการจ่ายกำลังให้กับมอเตอร์ ไฟฟ้าที่ใช้ขับเคลื่อน รถ ( 12 ) “ การห้ามล้อเป็นช่วง ” ( Phased braking ) หมายความว่า การห้ามล้อที่มาจากอย่างน้อย สองแหล่งซึ่งถูกควบคุมการทางานเข้าด้วยกัน ทั้งนี้อาจให้ความสาคัญการยกเลิกแหล่งหนึ่งเพื่อให้แหล่งอื่น ๆ ที่ จำเป็นได้เริ่มถูกนำมาใช้งาน ( 13 ) “ ค่ากาหนด ” ( Nominal value ) หมายความว่า ค่าที่ต้องกาหนดสาหรับสมรรถนะห้ามล้อ อ้างอิง เพื่อให้ สามารถกาหนดค่าให้กับฟังก์ชันการถ่ายโอนของระบบห้ามล้อ โดยที่ค่าตัวแปรขาออกจะสัมพันธ์กับ ตัวแปรขาเข้าในรถยนต์แต่ละคัน และถูกระบุให้เป็นคุณลักษณะที่สามารถแสดงให้เห็นได้เมื่อทาการรับรองแบบ และสัมพันธ์กับอัตราการห้ามล้อของรถกับระดับของตัวแปรขาเข้าของการห้ามล้อ ( 14 ) “ คำสั่งห้ามล้อโดยอัตโนมัติ ” ( Automatically commanded braking ) หมายความว่า การทางานภายใต้ร ะบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อนซึ่งมีการกระตุ้นระบบห้ามล้อหรือห้ามล้อของแต่ละ เพลาล้อบางรุ่น เพื่อจุดประสงค์ในการหน่วงความเร็วชะลอตัวของรถโดยมีหรือไม่มีการกระทาโดยตรงของ ผู้ขับรถซึ่งเป็นผลมา จากการประเมินข้อมูลที่เริ่มต้นโดยอัตโนมัติ ( 15 ) “ ระบบห้ามล้อเสริม ” ( Selective braking ) หมายความว่า การทางาน ภายใต้ระบบควบคุม อิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อนซึ่งการสั่งงานของ การห้ามล้อ แต่ละรายการจะทาโดยวิธีอัตโนมัติ การสั่งงานของห้ามล้อ แต่ละตัวเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของรถ มากกว่า ซึ่งการชะลอ ตัว หน่วงความเร็ว ของรถเป็นรองจากการปรับเปลี่ ยนพฤติกรรมของรถ ( 16 ) “ สัญญาณการห้ามล้อ ” ( Braking signal ) หมายความว่า สัญ ญาณแสดงการใช้งาน ห้ามล้อ ( 17 ) “ สัญญาณการห้ามล้อฉุกเฉิน ” ( Emergency braking signal ) หมายความว่า สัญญาณที่แสดง การห้ามล้อแบบฉุกเฉิน ( 18 ) “ ระบบควบคุมการทรงตัวรถด้วยอิเล็กทรอนิกส์ หรือระบบ เสถียรภาพ ESC ( Electronic Stability Control )” หมายความว่า ระบบที่เป็นไปตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( ก ) ที่ปรับปรุงการทรงตัวของรถตามทิศทาง โดยอย่างน้อยที่สุดต้องสามารถควบคุมอัตโนมัติ ที่เป็นอิสระต่อกันของแรงบิดเบรกของล้อซ้ายและล้อขวาบนแต่ละเพลา โดยกลุ่มของเพลาอาจถูกระบุเป็น

  • 3 – เพลาเดี่ยวและล้อคู่อาจถูกระบุเป็นล้อเดี่ยว เพื่อให้มีการปรับแก้การเบี่ยงเบน ( Yaw moment ) ตามการ ประเมินพฤติกรรมของรถจริงโดยเปรียบเทียบกับพฤติกรรมของรถจากการสั่งการของผู้ขับรถ ( ข ) ที่เป็นคอมพิวเตอร์ที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ที่ใช้ชุดคาสั่งแบบวงจรปิด เพื่อจำกัดการหลุดโค้ง ( Oversteer ) ของรถ และเพื่อจากัดการดื้อโค้ง ( Understeer ) ของรถตามการประเมินพฤติกรรมของรถจริง โดยเปรียบเทียบกับพฤติกรรมของรถจากการสั่งการของผู้ขับรถ ( ค ) ที่มีวิธีกาหนดค่าอัตราการเบี่ยงเบน ( Yaw rate ) ของรถ และเพื่อประมาณการลื่นไถลด้านข้าง ( Side slip ) หรืออนุพันธ์ของการลื่นไถลด้านข้างเมื่อเทียบกับเวลา ( Side - slip de rivative with respect to time ) ( ง ) ที่มีวิธีติดตามการใส่ข้อมูลการบังคับเลี้ยวของผู้ขับรถ และ ( จ ) ที่มีชุดคาสั่งในการกาหนดความต้องการ และวิธีในการปรับแรงบิดขับเคลื่อน ( propulsion torque ) ตามที่จำเป็น เพื่อช่วยผู้ขับรถให้ควบคุมรถได้ ( 19 ) “ ค่าสัมประสิทธิ์ของการห้ามล้อสูงสุด ” ( Peak braking coefficient ) หมายความว่า การวัด ความเสียดทานของยางล้อกับผิวถนน โดยพิจารณาจากการหมุนของยางล้อที่ลดลงสูงสุด ( 20) “ พื้นที่ร่วม ” ( Common space ) หมายความว่า พื้นที่หรือบริเวณซึ่งประกอบด้วยไฟสัญญา ณ สัญลักษณ์ หรือข้อความ อย่างน้อยหนึ่งประเภทรวมอยู่ด้วยกัน แต่อาจไม่ได้แสดงผลพร้อมกันก็ได้ ( 21 ) “ ค่าการทรงตัว สถิต ” ( Static Stability Factor ) หมายความว่า ครึ่งหนึ่งของ ระยะกึ่งกลางยาง หารด้วยความสูงของจุดศูนย์ถ่วงของรถ ซึ่งสามารถระบุได้เป็น SSF = T / 2 H เมื่อ T คือ ระยะกึ่งกลางยาง (กรณี รถยนต์ที่มี ระยะกึ่งกลางยาง มากกว่าหนึ่งให้ใช้เป็นค่าเฉลี่ย ในกรณีเพลารถที่มีล้อคู่ให้ใช้ล้อด้านนอกมาคำนวณ) และ H คือ ความสูงของจุดศูนย์ถ่วงของรถ” ( 22 ) “ ระบบเสริมแรงเบรก ” ( Brake Assist System ) ลักษณะของระบบห้ามล้อที่ช่วยลดปัญหา จากการห้ามล้อฉุกเฉิน และตรงตามความต้องการของผู้ขับรถ ______________ __ ___

ภาคผนวก 2 เงื่อนไขการจัดประเภทรถยนต์บรรทุก N 1 ___________ ___ ___ _______ เกณฑ์กำหนด รถยนต์บรรทุก ( N1 ) รถยนต์ที่มีพื้นที่โดยสารและพื้นที่บรรทุกอยู่ในส่วนเดียวกัน ต้องเป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ จึงจะ จัด เป็นรถยนต์บรรทุก ( N1 ) เงื่อนไขที่ 1 จานวนของตาแหน่งการนั่งโดยสารซึ่งมีจำนวนที่นั่งคนโดยสารรวมคนขับรถไม่เกิน 7 ที่นั่ง โดยทุกที่นั่งมีจุดยึดที่นั่งที่มั่นคงแข็งแรงและสามารถใช้งานได้ดี ( Accessible seat anchorages ) ซึ่งผู้ผลิต จะต้องมีวิธีป้องกันการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของที่นั่ง โดยใช้แผ่นเหล็กปิดจุดยึดที่นั่งโดยการเชื่อม หรือใช้วัสดุที่ คล้ายกันเพื่อไม่ให้เคลื่อนย้ายได้โดยเครื่ องมือทั่วไป เงื่อนไขที่ 2 มีน้ำหนักสูงสุดมากกว่าจำนวนที่นั่งไม่รวมคนขับรถ ตามสูตรการคำนวณดังนี้ P – ( M + N x 68 ) > N x 68 โดย P = มวลบรรทุกสูงสุดทางเทคนิคที่ได้รับอนุญาต หน่วยเป็นกิโลกรัม M = มวลรถพร้อมใช้งาน หน่วยเป็นกิโลกรัม N = จำนวนตำแหน่งการนั่งที่ไม่รวมคนขับรถ _______ _____ _______

ภาคผนวก 3 วิธีการทดสอบระบบห้ามล้อ ___________ _____________ 1 . สมรรถนะ ทั่วไป (1) สมรรถนะของระบบห้ามล้อ ขึ้นอยู่กับ ระยะหยุด ( Stopping distance ) และค่า ความหน่วง สูงสุดเฉลี่ย ( mean fully developed deceleration ) สามารถวัดได้จากความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางที่ใช้ ในการหยุดรถยนต์กับความเร็วของรถยนต์ในขณะที่เริ่มทาการห้ามล้อ และ / หรือ โดยการวัดค่า ความหน่วง สูงสุดเฉลี่ย ระหว่างการทดสอบ (2) ระยะหยุด คือ ระยะทางตั้งแต่ผู้ขับรถยนต์เริ่มใช้ห้ามล้อจนกระทั่งรถยนต์หยุดนิ่ง ความเร็ว ของรถยนต์ในขณะที่ห้ามล้อ คือ ความเร็วขณะที่ผู้ขับรถเริ่มใช้ห้ามล้อ ต้องมีความเร็วไม่น้อยกว่าร้อยละ 98 ของความเร็วที่กาหนดในการทดสอบ ค่า ความหน่วงสูงสุดเฉลี่ย ( d m ) คานวณได้จาก ค่าความหน่วงเฉลี่ยในช่วงระยะทางระหว่าง ตำแหน่งที่รถยนต์มีความเร็ว v b และ v e ดังสูตรต่อไปนี้ โดย v 0 คือ ความเร็วขณะที่ผู้ขับรถเริ่มใช้ ห้ามล้อ ( กิโลเมตรต่อชั่วโมง ) v b คือ ความเร็วของรถยนต์ที่ 0.8 v 0 ( กิโลเมตรต่อชั่วโมง ) v e คือ ความเร็วของรถยนต์ที่ 0.1 v 0 ( กิโลเมตรต่อชั่วโมง ) S b คือ ระยะทางระหว่าง v 0 กับ v b ( เมตร ) S e คือ ระยะทางระหว่าง v 0 กับ v e ( เมตร ) เครื่องมือที่ใช้ในการหาความเร็วและระยะทางต้องมีความ เที่ยงตรงที่ ร้อยละ ± 1 ขอ งความเร็ว ที่กาหนดสาหรับการทดสอบ ส่วน ค่า ความหน่วงสูงสุดเฉลี่ย ( d m ) อาจหาได้โดยใช้วิธีอื่นนอกเหนือจากการวัด ความเร็วกับระยะทาง ซึ่งในกรณีนี้ ค่าความเที่ยงตรงของ ค่า ความหน่วงสูงสุดเฉลี่ย ( d m ) ต้องอยู่ภายในร้อยละ ± 3 2 . ในการรับรองรถยนต์ใด ๆ สมรรถนะของการห้ามล้อจะต้องทาการวัดในขณะทาการทดสอบบน ถนนทดสอบภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้: (1) มวล ของรถยนต์ ต้องเป็นไปตามที่กาหนดในแต่ละรูปแบบการทดสอบและต้องระบุไว้ใน รายงานการทดสอบ (2) ต้องทดสอบที่ความเร็วที่กาหนดไว้ในแต่ละรูปแบบการทดสอบ ถ้าความเร็วสูงสุดของรถยนต์ ที่ผู้ผลิต ออกแบบไว้มีค่าต่ำกว่าความเร็วที่กาหนดสำหรับการทดสอบ ให้ทดสอบที่ความเร็วสูงสุดของรถยนต์นั้ น (3) ขณะทาการทดสอบ แรงที่ใช้กระทาต่อชุดควบคุมของระบบห้ามล้อเพื่อให้ได้สมรรถนะตามที่ กำหนดจะต้องไม่เกินค่าแรงสูงสุดที่กำหนดไว้ (4) ถนนทดสอบจะต้องให้การยึดเกาะที่ดี เว้นแต่จะกำหนดให้เป็นอย่างอื่นในภาคผนวกที่เกี่ยวข้อง (5) ต้องทำการทดสอบในสภาพที่ไม่มีลมที่อาจมีผล กระทบ ต่อผลการทดสอบ (6) ขณะเริ่มทดสอบยางจะต้องเย็นและมีแรงดันลมยางตามที่กาหนดตามน้าหนักของรถยนต์ ในสภาพ ที่จอดรถยนต์อยู่กับที่ v b 2 – v e 2 25 . 92 ( S e - S b ) d m =

  • 2 - (7) สมรรถนะที่กาหนดไว้จะต้องได้มาโดยล้อไม่เกิดการล็อกที่ความเร็วมากกว่า 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ไม่เบี่ยงออกจากช่องทางวิ่งที่มีความกว้าง 3.5 เมตร มีมุมเบี่ยงเบนไม่เกิน 15 องศา และไม่เกิดการสั่นที่ผิดปกติ (8) สาหรับรถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าทั้งหมดหรือ บางส่วนและมีมอเตอร์ต่อตรงถาวร กับล้อ การทดสอบทั้งหมดจะต้องทำในขณะที่มอเตอร์ยังคงต่อตรงกับล้อ ( 9 ) สาหรับรถยนต์ตาม (8 ) ที่ติดตั้ง ระบบห้ามล้อที่นาพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ ประเภท A ต้องทาการ ทดสอบบนพื้นทางวิ่งที่มีค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะต่า (ตามที่ระบุใน ภาคผนวก 4 ข้อ 5 ( 2 ) ( ข) ) ที่ความเร็ว เท่ากับร้อยละ 80 ของความเร็วสูงสุดแต่ไม่เกิน 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เพื่อตรวจสอบว่ายังคงรักษา เสถียรภาพ การทรงตัว ได้ (ก) รถยนต์ ที่ติดตั้ง ระบบห้ามล้อที่นำพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ ประเภท A สภาวะที่เกิดขึ้น แบบชั่วขณะ ได้แก่ การเปลี่ยนเกียร์หรือการปล่อยคันเร่ง จะต้องไม่ส่งผลกระทบกับการทดสอบที่กำหนดใน ( 9 ) (10 ) ขณะทาการทดสอบตาม ( 9 ) และ ( 9 ) ( ก) ล้อต้องไม่ล็อก การแก้ไขการบังคับเลี้ยวสามารถทาได้ โดยการหมุนของอุปกรณ์บังคับเลี้ยวต้องไม่เกิน 120 องศา ในช่วง 2 วินาทีแรกและไม่เกิน 240 องศา ของทั้งหมด (11 ) สาหรับรถยนต์ ซึ่งรับพลังงานจากระบบอัดประจุจากภายนอกที่เป็นอิสระเท่านั้น ที่ติดตั้ง ห้ามล้อแบบสั่งงานด้วยไฟฟ้าที่ใช้พ ลังงานจากแบตเตอรี่ที่ใช้ขับเคลื่อนมอเตอร์ (หรือแบตเตอรี่เสริม) ในระหว่าง การทดสอบประสิทธิภาพการห้ามล้อ จะต้องมีค่าเฉลี่ยไม่เกินร้อยละ 5 ที่สูงกว่าสถานะการชาร์จ ตามคาเตือนข้อผิดพลาดของห้ามล้อ หากได้รับการแจ้งเตือน ระหว่างการทดสอบอาจนาแบตเตอรี่มาอัดประจุใหม่ เพื่อให้อยู่ในสภาวะ ที่ต้องการ 3 . การทดสอบสมรรถนะ ห้ามล้อ ขณะชุดห้ามล้อเย็น และไม่มีการต่อกาลังจากเครื่องยนต์ ( Type - 0 ( A )) (1 ) การทดสอบทั่วไป (ก) ค่าอุณหภูมิเฉลี่ยของชุดห้ามล้อบนเพลาที่ร้อนที่สุด โดยวัดที่ภายในเนื้อผ้าเบรก หรือแนว ผิวสัมผัสบนจานเบรก (disc) หรือ ดรัม (drum) จะมีค่าระหว่าง 65 ถึง 100 องศาเซลเซียส ก่อนทำการทดสอบ (ข) การทดสอบต้องกระทำตามเงื่อนไขต่อไปนี้ 1) รถยนต์จะต้องมีน้าหนักบรรทุกเต็มพิกัด การกระจายน้าหนักลงบนเพลาล้อรถยนต์ จะต้องเป็นไปตามที่ผู้ผลิตกาหนด หากรถยนต์ได้รับการออกแบบให้มีการกระจายน้าหนักบรรทุกได้หลาย รูปแบบ การกระจายของน้าหนักสูงสุดลงบนแต่ละเพลาล้อจะต้องเป็นสัดส่วนต่อน้าหนักสูงสุดที่ออกแบบไว้ สำหรับแต่ละเพลาล้อ 2) การทดสอบทุกครั้งจะต้องกระทาซ้าบนรถยนต์ที่ไม่มีน้าหนักบรรทุกอาจให้มีผู้ บันทึก ผลการ ทดสอบนอกเหนือจากผู้ขับ รถ นั่งในที่นั่งด้านหน้า รถ ด้วยก็ได้ 3) กรณี รถยนต์ที่ติดตั้งระบบห้ามล้อที่นาพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ ข้อกาหนดเป็นไป ดังต่อไปนี้ ประเภท A หากมี ตัวควบคุมห้ามล้อที่นาพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่แยก ต่างหาก จะ ต้องไม่ ใช้ ตัวควบคุมนั้น ในระหว่างการทดสอบ Type - 0 ประเภท B การสร้างแรงห้ามล้อของ ห้ามล้อที่นำพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ จะ ต้อง ไม่เกินกว่า แรงห้ามล้อน้อยสุด ที่ออกแบบ ไว้

  • 3 - สถานะของการอัดประจุของแบตเตอรี่ ( State of charge ) ต้องอยู่ในเงื่อนไขอย่างใด อย่างหนึ่งต่อไปนี้ 3.1) ที่ระดับการอัดประจุสูงสุดที่ผู้ผลิตแนะนำ ตามที่ระบุไว้ในข้อมูลจำเพาะของรถยนต์ 3.2) ที่ระดับไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ของระดับการอัดประจุเต็ม ที่ผู้ผลิตไม่ได้ระบุ ใน คำแนะนำ 3.3) ที่ระดับสูงสุดที่เกิดจากการควบคุมการ อัดประจุ อัตโนมัติ โดย รถ ยนต์ 3.4) เมื่อทาการทดสอบโดยไม่ใช้ห้ามล้อที่นาพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ จะไม่คานึงถึง สถานะการ อัดประจุ ของแบตเตอรี่ 4) การทดสอบทั้งในสถานะไม่มีน้าหนักบรรทุกและมีน้าหนักบรรทุกสูงสุดของรถ รถ จะต้อง มี ระยะหยุด และค่า ความหน่วงสูงสุดเฉลี่ย เป็นไปตามที่กาหนดไว้ 5) ถนนทดสอบต้องเป็นพื้นราบ (2) การทดสอบต้องกระทา ณ ความเร็วที่กาหนดโดยจะต้องมีความคลาดเคลื่อนไม่เกิน ที่ กำหนดไว้ และจะต้อง ผ่านสมรรถนะต่ำสุดที่กำหนดไว้ 4 . การทดสอบสมรรถนะห้ามล้อสำรองและไม่มีการต่อกำลังจากเครื่องยนต์ (ก) การทดสอบประสิทธิภาพห้ามล้อสำรองจะต้องดำเนินการโดยการจำลองความบกพร่อง ที่ เกิดขึ้นจริงในระบบห้ามล้อหลัก (ข) สาหรับรถยนต์ ที่ ติดตั้งระบบห้ามล้อที่นาพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ ประสิทธิภาพห้ามล้อ จะต้องได้รับการตรวจสอบเพิ่มเติมภายใต้ความบกพร่องดังต่อไปนี้ 1) ความบกพร่องทั้งหมดของส่วนประกอบไฟฟ้า ที่เป็นตัวสร้างแรง ห้ามล้อหลัก 2) ใ น กรณี ความบกพร่อง ที่ส่งผลให้ ส่วนประกอบทางไฟฟ้า สร้าง แรง ห้ามล้อ สูงสุด 5. ตารางกำหนดการส่งสัญญาณโคมไฟหยุดของระบบห้ามล้อที่นำพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ ตาราง 1 ความหน่วงของรถยนต์ การส่งสัญญาณ ≤ 0.7 เมตรต่อวินาที 2 ไม่ต้องส่งสัญญาณ > 0.7 เมตรต่อวินาที 2 และ ≤ 1.3 เมตรต่อวินาที 2 อาจส่งสัญญาณ > 1.3 เมตรต่อวินาที 2 ต้องส่งสัญญาณ ในทุกกรณี สัญญาณโคมไฟหยุดจะต้องดับลงทันทีเมื่อความหน่วงลดลงต่ำกว่า 0.7 เมตรต่อวินาที 2

  • 4 - 6. ตารางกำหนด หลัก เกณฑ์ การทดสอบสมรรถนะห้ามล้อหลัก ตาราง 2 วิธีการทดสอบ ลักษณะรถ ความเร็วในการทดสอบ เกณฑ์ หน่วย Type - 0 ( A ) รถยนต์ นั่ง ( M 1) 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง s ≤ 0.1 v + 0.0060 v 2 เมตร d m ≥ 6.43 เมตรต่อวินาที 2 f = 6.5 – 50 เดคานิวตัน รถยนต์ บรรทุก ( N 1) 80 กิโลเมตร ต่อ ชั่วโมง s ≤ 0.15 v + 0.0077 v 2 เมตร d m ≥ 5.00 เมตรต่อวินาที 2 f ≤ 70 เดคานิวตัน โดยที่ s คือ ระยะทางในการหยุดรถมีหน่วยเป็นเมตร d m คือ ค่า ความหน่วงสูงสุดเฉลี่ย มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที 2 v คือ ความเร็วของรถเมื่อเริ่มทำการห้ามล้อ มีหน่วยเป็นกิโลเมตรต่อชั่วโมง f คือ แรงกระทาที่ตัวควบคุมห้ามล้อมีหน่วยเป็นเดคานิวตัน รายละเอียดวิธีการทดสอบ Type - 0 ( A ) วิธีการคานวณ d m และเงื่อนไขอื่น ๆ ในการทดสอบ ให้เป็นไปตามภาคผนวก 3 ท้ายประกาศนี้ กรณีได้รับการร้องขอจากผู้ผลิต อาจใช้วิธีการทดสอบและค่าเกณฑ์ของการทดสอบของ รถยนต์ นั่ง ( M 1) มาใช้สำหรับทำการทดสอบเพื่อรับรองรถยนต์ บรรทุก ( N 1) ได้ 7. ตาราง กำหนดหลักเกณฑ์การทดสอบสมรรถนะ ห้ามล้อสารอง ตาราง 3 วิธีการทดสอบ ลักษณะรถ ความเร็วในการทดสอบ เกณฑ์ หน่วย ห้ามล้อสำรอง รถยนต์ นั่ง ( M 1) 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง s ≤ 0.1 v + 0.0158 v 2 เมตร d m ≥ 2.44 เมตรต่อวินาที 2 f = 6.5 – 50 เดคานิวตัน รถยนต์ บรรทุก ( N 1) 70 กิโลเมตรต่อชั่วโมง s ≤ 0.15 v + 0.0174 v 2 เมตร d m ≥ 2.2 เมตรต่อวินาที 2 f ≤ 60 (กรณีใช้มือควบคุม) f ≤ 70 (กรณีใช้เท้าควบคุม) เดคานิวตัน โดยที่ s คือ ระยะทางในการหยุดรถมีหน่วยเป็นเมตร d m คือ ค่า ความหน่วงสูงสุดเฉลี่ย มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที 2

  • 5 - v คือ ความเร็วของรถเมื่อเริ่มทำการห้ามล้อ มีหน่วยเป็นกิโลเมตรต่อชั่วโมง f คือ แรงกระทาที่ตัวควบคุมห้ามล้อมีหน่วยเป็นเดคานิวตัน กรณีได้รับการร้องขอจากผู้ผลิต อาจใช้วิธีการทดสอบและค่าเกณฑ์ของการทดสอบสาหรับรถยนต์ นั่ง ( M 1) มาใช้สำหรับทำการทดสอบเพื่อรับรองรถยนต์ บ รรทุก ( N 1) ได้ 8. ตารางกำหนดหลักเกณฑ์การทดสอบสมรรถนะห้ามล้อขณะจอดของรถที่มีน้ำหนักรวมสูงสุด ตาราง 4 ประเภทรถ ความเอียงของทางลาด แรงที่ใช้ในการควบคุม รถยนต์ นั่ง ( M 1) ร้อยละ 20 ( 11.3 องศา) ไม่เกิน 40 เดคานิ วตัน กรณีใช้มือควบคุม ไม่เกิน 50 เดคานิ วตัน กรณีที่ใช้เท้าควบคุม รถยนต์ บรรทุก ( N 1 ) ร้อยละ 18 ( 10.2 องศา) ไม่เกิน 60 เดคานิ วตัน กรณีใช้มือควบคุม ไม่เกิน 70 เดคานิ วตัน กรณีที่ใช้เท้าควบคุม กรณีได้รับการร้องขอจากผู้ผลิต อาจใช้วิธีการทดสอบและค่าเกณฑ์ของการทดสอบของรถยนต์ นั่ง ( M 1) มาใช้สำหรับทำการทดสอบเพื่อรับรองรถยนต์ บรรทุก ( N 1) ได้

  • 6 - ภาคผนวก 3 . 1 วิธีการตรวจสอบสถานะแบตเตอรี่ ___________ _____________ วิธีการทดสอบนี้ใช้สำหรับรถยนต์ที่ใช้แบตเตอรี่ในการขับเคลื่อนและ ห้ามล้อที่นาพลังงานไฟฟ้ากลับมา ใช้ ใหม่ โดยใช้ เครื่องวัด กาลังไฟฟ้ากระแสตรงแบบสองทิศทาง ( bi - directional DC Watt - hour meter ) หรือ เครื่องวัด กระแสไฟฟ้ากระแสตรงแบบสองทิศทาง ( bi - directional DC Ampere - hour meter ) 1 . หากแบตเตอรี่ ใหม่หรือได้รับการจัดเก็บเป็นเวลานาน ให้ทาการ อัดและคายประจุไฟฟ้า ตาม วั ฎ จักร ตามที่ผู้ผลิตแนะนา ให้ปล่อยแบตเตอรี่ไว้ที่อุณหภูมิปกติอย่างน้อย 8 ชั่วโมงหลังจากเสร็จสิ้นการอัดและ คายประจุไฟฟ้าตามวัฎจักร 2 . หลังจากนั้นให้ทำ การอัดประจุ ให้ เต็ม ตาม ขั้นตอนการ อัดประจุ ที่ ผู้ผลิตแนะนำ 3 . เมื่อทำการทดสอบตาม ภาคผนวก 3 ข้อ 2 ( 11 ) และ ข้อ 3 ( 1 ) ( ข) 3 ) ให้ดำเนินการวัดกำลังไฟฟ้า ( watt - hours ) ที่ใช้โดยมอเตอร์ขับเคลื่อน และจ่ายออกโดยระบบห้ามล้อที่นาพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ รวมกัน เป็นการทางานทั้งหมด ซึ่งจะนำไปใช้เพื่อประเมินสถานะของประจุ ณ ขณะเริ่มต้นหรือจ น สิ้นสุดการทดสอบ ____ _________________

ภาคผนวก 4 การทดสอบระบบป้องกันล้อล็อก ( Test requirement for anti - lock systems ) ___________ _____________ 1. ทั่วไป ระบบป้องกันล้อล็อกจะประกอบไปด้วยอุปกรณ์ตรวจจับ ( Sensor ) อุปกรณ์ประมวลผล ( Controller ) และอุปกรณ์ควบคุม ( Modulator ) ทั้งนี้ ในอนาคตหากมีอุปกรณ์ใดๆ ที่มีการออกแบบแตกต่างไปจากนี้ หรือ รูปแบบการทางานของระบบป้องกันล้อล็อกที่ถูกผนวกเข้าไปกับระบบอื่น หากมีสมรรถนะการทางานตาม ภาคผนวกนี้ ให้ถือว่าเป็นระบบป้องกันล้อล็อกตามภาคผนวกนี้ 2. คำนิยาม (1) “ ระบบป้องกันล้อล็อก ” ( Anti - lock system ) เป็นส่วนหนึ่งของระบบห้ามล้อหลัก โดยทาหน้าที่ ควบคุมการ ลื่นไถลโดยอัตโนมัติในทิศทางของการหมุนของล้อ อย่างน้อยหนึ่งล้อในระหว่างการใช้ห้ามล้อ (2) “ อุปกรณ์ตรวจจับ ” ( Sensor ) หมายความว่า อุปกรณ์ที่ออกแบบมาเพื่อตรวจจับและส่ง สัญญาณ ไปที่อุปกรณ์ประมวลผล ( Controller ) ตามสภาพการหมุนของล้อ หรือสภาพการเคลื่อนที่ของรถ ( 3 ) “ อุปกรณ์ประมวลผล ” ( Controller ) หมายความว่า อุปกรณ์ที่ออกแบบมาเพื่อประมวลผล ข้อมูลที่ได้รับจากอุปกรณ์ตรวจจับ และทาการส่งสัญญาณต่อไปยังอุปกรณ์ควบคุม ( Modulator ) ( 4 ) “ อุปกรณ์ควบคุม ” ( Modulator ) หมายความว่า อุปกรณ์ที่ออกแบบให้แปรผันแรงห้ามล้อตาม สัญญาณที่ได้รับจากอุปกรณ์ประมวลผล (5) “ ล้อที่ถูกควบคุมโดยตรง ” ( Directly controlled wheel ) หมายถึง ล้อที่มีการควบคุม แรงห้ามล้อตามข้อมูลที่ได้รับจากอุปกรณ์ตรวจจับอย่างน้อยจากตัวล้อนั้นเอง 1/ (6) “ ล้อที่ถู กควบคุมโดยอ้อม ” ( Indirectly controlled wheel ) หมายถึง ล้อที่มีการควบคุม แรงห้ามล้อตามข้อมูลที่ได้รับจากอุปกรณ์ตรวจจับของล้ออื่น ๆ 1/ (7) “ วั ฎ จักรเต็มรูปแบบ ” ( Full Cycling ) หมายถึง ระบบป้องกันล้อล็อกที่มีการควบคุมแรงห้ามล้อ ซ้า ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้ล้อที่ถูกควบคุมโดยตรงเกิดการล็อก การใช้ห้ามล้อโดยที่อุปกรณ์ควบคุมสั่งงานเพียงครั้งเดียว แล้วทำให้เกิดการหยุดไม่ถือว่าเป็นไปตามคำนิยามนี้ 3 . ประเภทของระบบป้องกันล้อล็อก ( 1 ) รถยนต์ที่ติดตั้งระบบป้องกันล้อล็อก ต้องเป็น ระบบหนึ่ง ระบบ ใด ดังต่อไปนี้: (ก) ระบบป้องกันล้อล็อก ประเภทที่ 1 รถยนต์ที่ติดตั้งระบบป้องกันล้อล็อก ประเภทที่ 1 ต้องเป็นไปตามทุกข้อ ที่ กาหนดภายใต้ ภาคผนวกนี้ (ข) ระบบป้องกันล้อล็อก ประเภทที่ 2 รถยนต์ที่ติดตั้งระบบป้องกันล้อล็อกประเภทที่ 2 ต้องเป็นไปตามทุกข้อกาหนดภายใต้ ภาคผนวกนี้ ยกเว้น ในข้อ 5 ( 3 ) (จ) (ค) ระบบป้องกันล้อล็อก ประเภทที่ 3 รถยนต์ที่ติดตั้งด้วยระบบป้องกันล้อล็อก ประเภทที่ 3 ต้องเป็นไปตามทุกข้อกาหนด ภายใต้ภาคผนวกนี้ ยกเว้น ในข้อ 5 (3) (ง) และ ข้อ 5 (3) (จ) โดยในรถยนต์นั้น เพลาล้อใด ๆ ซึ่งไม่รวมถึงล้อ ที่ถูกควบคุมโดยตรง อย่างน้อยหนึ่งล้อจะต้องเป็นไปตามเงื่อนไขสมรรถนะของการยึดเกาะถนนและลำดับการล็อก ของล้อตามภาคผนวก 4 . 5 แทนที่จะเป็นไปตามสมรรถนะของการยึดเกาะถนนที่ระบุใน

  • 2 - ข้อ 5 (2) อย่างไรก็ตาม ถ้าตำแหน่งเชิงเปรียบเทียบของเส้นโค้งที่ใช้ยึดเกาะไม่ได้เป็นไปตามที่กาหนดใน ข้อ 3 (1) ของภาคผนวก 4 . 5 ให้ตรวจสอบเพื่อให้แน่ใจว่าล้ออย่างน้อยหนึ่งล้อบนเพลาท้าย ไม่ได้ล็อกก่อนล้อบนเพลาหน้า หรือภายใต้เงื่อนไขที่กาหนดไว้ใน ข้อ 3 (1) ของภาคผนวก 4 . 5 ตามอัตราการห้ามล้อและภาระการบรรทุก ตามลาดับ โดยสามารถตรวจสอบได้บนพื้นผิวถนนที่มีสัมประสิทธิ์การยึดเกาะสูงและต่า (สูงสุดที่ 0.8 และ 0.3 โดยประมาณ) โดยการควบคุมแรงห้ามล้อของห้ามล้อหลักอย่างต่อเนื่อง 4 . เกณฑ์ทั่วไป ( General requirement ) (1) ความบกพร่องของระบบไฟฟ้าหรือความผิดปกติของอุปกรณ์ตรวจจับที่มี ผลกระทบต่อ การทำงาน และสมรรถนะตาม ที่กาหนดใน ภาคผนวกนี้ รวมทั้งตัวจ่ายกระแสไฟฟ้า การเชื่อมต่อสายไฟภายนอก กับอุปกรณ์ประมวลผล อุปกรณ์ประมวลผล และอุปกรณ์ควบคุมต้องส่งสัญญาณถึงผู้ขั บรถ ด้วยสัญญาณเตือน สีเหลือง (ก) ความผิดปกติของอุปกรณ์ตรวจจับที่ไม่สามารถตรวจพบในสภาวะที่รถหยุดนิ่ง ( static condition ) จะต้องถูกตรวจพบเมื่อความเร็วของรถมากกว่า 10 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 2 / อย่างไรก็ตาม เพื่อป้องกัน การแจ้งเตือนที่ผิดพลาดในกรณีอุปกรณ์ตรวจจับยังไม่ส่งสัญญาณความเร็ วรถเนื่องจากล้อไม่หมุน การตรวจพบอาจจะเกิดความล่าช้าได้แต่จะต้องถูกตรวจพบก่อนที่รถจะมีความเร็วมากกว่า 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (ข) เมื่อระบบป้องกันล้อล็อกถูกกระตุ้นให้ทางานในขณะที่รถอยู่นิ่ง วาล์วควบคุมแบบนิวเมติก ที่ควบคุมด้วยไฟฟ้า ( electrically controlled pneumatic modulator valve ) จะต้องทำงานอย่างน้อยครบ หนึ่งรอบวั ฎ จักร (2) ในกรณีที่ เ กิดความบกพร่องของการทำงานระบบไฟฟ้า หนึ่งครั้ง ( A single electrical functional failure ) ที่ ส่งผลต่อการทำงานของระบบป้องกันล้อล็อก เท่านั้น ตามที่แสดงด้วยสั ญญาณไฟสีเหลือง ข้างต้น สมรรถนะการห้ามล้อหลักต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของที่กาหนดไว้ตามการทดสอบแบบ type - 0 ที่ตัดการเชื่อมต่อกับเครื่องยนต์ ( Type - 0 with engine disconnected ) ซึ่งสัมพันธ์กับระยะการหยุด 0.1 V + 0 . 0075V 2 ( เมตร) และค่า ความหน่วงสูงสุดเฉลี่ย ( d m ) ที่ 5.15 เมตรต่อวินาที 2 (3) อาจไม่ต้องมีอุปกรณ์ที่ทางานด้วยมือที่จะตัดการเชื่อมต่อหรือเปลี่ยนโหมดการควบคุม 3 / ของ ระบบป้องกันล้อล็อ ก 5 . บทบัญญัติพิเศษ ( Special provision ) ( 1 ) การใช้พลังงาน รถที่มีการติดตั้งระบบป้องกันล้อล็อกต้องคงสมรรถนะดังกล่าว เมื่ออุปกรณ์ควบคุมการห้ามล้อ ถูกนำมาใช้อย่างเต็มที่ เป็น ระยะเวลานาน ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นไปตามที่กำหนด ให้ทำการทดสอบ ดังนี้ (ก) วิธีการทดสอบ 1) ระดับพลังงานเริ่มต้นในอุปกรณ์จัดเก็บพลังงานจะต้องเป็นไปตามที่ผู้ผลิตกาหนด และ เป็นระดับที่มั่นใจได้ว่ามีสมรรถนะห้ามล้อของห้ามล้อหลักเป็น ไป ตามที่กาหนดไว้ เมื่อรถมีการบรรทุก แต่ในส่วน ของ อุปกรณ์จัดเก็บพลังงานสำหรับอุปกรณ์เสริมนิวเมติก ต้องถูกตัดการทำงาน 2) ควำมเร็วเริ่มต้นต้องไม่น้อยกว่า 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง บนพื้นผิวที่มีค่าสัมประสิทธิ์ ของการยึดเกาะ 0.3 4 / หรือต่ำกว่า ให้ทำการห้ามล้อรถที่มีน้ำหนักเต็มอัตราบรรทุกอย่างเต็มที่เป็นระยะเวลา t ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่พลังงานที่ถูกใช้โดยล้อที่ถูกควบคุมโดยอ้อม ( Indirectly controlled wheel ) และทุกล้อ ที่ ควบคุมโดยตรง ( Directly controlled wheel ) ยังคงอยู่ภายใต้การควบคุมของระบบป้องกันล้อล็อก

  • 3 - 3) หลังจากนั้นให้ทาการดับเครื่องยนต์ หรือตัดการส่งถ่ายพลังงานไปยังอุปกรณ์จัดเก็บ พลังงาน 4) ทาการเหยียบแป้นแบรกของห้ามล้อหลักอย่างเต็มที่ 4 ครั้งติดต่อกัน ในขณะที่รถ จอดอยู่กับที่ 5) เมื่อใช้ห้ามล้อในครั้งที่ 5 จะต้องหยุดรถด้วย สมรรถนะ อย่างน้อยที่สุดของห้ามล้อ สำรองที่กาหนด สำหรับรถที่มีน้ำหนักบรรทุก (ข) ข้อกำหนดเพิ่มเติม 1) ค่าสัมประสิทธิ์ของการยึดเกาะที่พื้นผิวถนน วัดจากรถภายใต้การทดสอบตามวิธีการ ที่อธิบาย ไว้ใน ข้อ 1 . 1 . ของ ภาคผนวก 4 . 2 2) ทาการทดสอบห้ามล้อกับรถที่มีการบรรทุกน้าหนักเต็มอัตราซึ่งเครื่องยนต์ถูกตัด การเชื่อมต่อ และอยู่ใน รอบเดินเบา 3) เวลาที่ใช้ในการห้ามล้อ ( t ) จะสามารถหาได้จาก 7 max v t  (แต่ต้องไม่น้อยกว่า 15 วินาที) เมื่อ t มีหน่วยเป็นวินาที และ max v คือ ความเร็วออกแบบสูงสุด หน่วย กิโลเมตรต่อชั่วโมง ด้วยขีดจำกัด บน 160 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 4) หากไม่สามารถทาการห้ามล้อได้ด้วยการห้ามล้อ 1 ครั้ง ภายในระยะเวลา t ให้ทาการห้าม ล้อ ต่อไปได้สูงสุด ทั้งหมดไม่เกิน 4 ครั้ง 5) หากทาการ ทดสอบหลายครั้ง ต้องไม่มีการเพิ่มพลังงานเข้าไปใน ระหว่าง การทดสอบ แต่ละครั้ง การทดสอบห้ามล้อในครั้งที่ 2 เป็นต้นไป อาจต้องคำนึงถึงการใช้พลังงานกับการห้ามล้อ ครั้งแรก โดยลบการห้ามล้อแบบเต็มกาลัง ( Full Brake Application ) ออกไปหนึ่งครั้งจากทั้งหมดสี่ครั้ง ดังที่ ระบุใน ข้อ 5 ( 1 ) ( ก ) 4 ) และ 5 ( 1 ) ( ก ) 5 และ 5 ( 1 ) ( ข ) 6 ) สาหรับในครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 และครั้งที่ 4 ให้ ใช้วิธี การทดสอบที่ กำหนดใน ข้อ 5 ( 1 ) ( ก ) ของภาคผนวกนี้ 6) สมรรถนะที่กาหนดใน 5 (1) (ก) 5) ของภาคผนวกนี้ถือว่ายอมรับได้ เมื่อสิ้นสุด การใช้ห้ามล้อในครั้งที่ 4 กับรถที่อยู่นิ่งแล้ว ระดับพลังงานในอุปกรณ์เก็บพลังงานต้องเท่ากับที่กาหนดหรือ สูงกว่า ระดับพลังงานของห้ามล้อสำรองในรถที่มีการบรรทุกเต็มอัตรา (2) การยึดเกาะถน น ( Utilization of adhesion ) (ก) การยึดเกาะถนนโดยระบบป้องกันล้อล็อกต้องคานึงถึงการเพิ่มขึ้นของ ระยะหยุด ที่เกิดขึ้น จริงซึ่งมากกว่า ระยะหยุด ขั้นต่าตามทฤษฎี ระบบป้องกันล้อล็อกจะต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่การยึดเกาะถนน ( ԑ ) ต้องไม่ต่ำกว่า 0 . 75 และการยึดเกาะถนน ( ԑ ) เป็นไปตาม 1 (2) ของ ภาคผนวก 4 . 2 (ข) การยึดเกาะถนน ( ԑ ) จะทาการวัดบนพื้นผิวถนนที่มีค่าสัมประสิทธิ์ของการยึดเกาะ ( Coefficient of adhesion ) 0.3 4 / หรือต่ากว่า และ 0.8 (สาหรับการวัดบนพื้นผิวถนนแห้ง) โดยมีความเร็ว เริ่มต้นที่ 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เพื่อขจัดผลกระทบของอุณหภูมิห้ามล้อที่แตกต่างกัน ควรกาหนดอัตราการหยุด ของรถที่มีระบบป้องกันล้อล็อก ( Z AL ) ก่อนการกำหนดค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะ ( k )

  • 4 - (ค) ขั้นตอนในการทดสอบเพื่อหาค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะ ( k ) และวิธีการคานวณการยึดเกาะ ถนน ( ԑ ) ให้เป็นไปตามภาคผนวก 4 . 2 (ง) การยึดเกาะถนนโดยระบบป้องกันล้อล็ อกต้องทำการตรวจสอบกับรถที่ติดตั้งระบบป้องกัน ล้อล็อกประเภทที่ 1 หรือประเภทที่ 2 ในกรณีรถยนต์ติดตั้งระบบป้องกันล้อล็อกประเภทที่ 3 จะทาการทดสอบ เฉพาะล้อที่ถูกควบคุมโดยตรงอย่างน้อยหนึ่งล้อเท่านั้น โดยเงื่อนไขการทดสอบต้องเป็นไปตามที่กาหนด ใน ประกาศนี้ (จ) เงื่อนไ ขการทดสอบที่การยึดเกาะถนน ( ԑ ) ไม่ต่ำกว่า 0.75 ต้องทำการทดสอบทั้งในกรณี ของรถเปล่าและรถที่มีน้ำหนักบรรทุก 5 / การทดสอบบนพื้นผิวที่มีการยึดเกาะสูงสาหรับรถที่มีน้าหนักบรรทุกอาจได้รับยกเว้น ถ้าหากแรงที่ กระทาต่อ อุปกรณ์ควบคุมไม่ทาให้รอบวัฎจักรของระบบป้องกัน ล้อ ล็ อกทางานได้อย่างสมบูรณ์ สำหรับการทดสอบรถเปล่า แรงที่ กระทำต่อ อุปกรณ์ควบคุมอาจเพิ่มได้ถึง 100 เดคานิวตัน หากแรงสูงสุดยังไม่ เพียงพอที่จะทาให้วั ฎ จักรทางาน 6 / และการทดสอบนี้อาจจะยกเว้นได้ในกรณีแรงที่ควบคุม 100 เดคานิวตัน ไม่เพียงพอให้วั ฎ จักรทำงานได้สมบูรณ์ (3) การตรวจสอบเพิ่มเติม ( Additional checks ) การตรวจสอบเพิ่มเติมนี้ จะดาเนินการในกรณีที่เครื่องยนต์ถูกตัดการเชื่อมต่อ กับรถที่มี น้ำหนักบรรทุก และรถเปล่า (ก) ล้อที่ถูกควบคุมโดยตรงด้วยระบบป้องกันล้อล็อก ต้องไม่มีการล็อกเกิดขึ้น เมื่อมีแรง กระทำเต็มที่ 6 / โดยทันทีกับอุปกรณ์ควบคุมซึ่งอยู่บนพื้นผิวถนนตามที่ระบุไว้ใน 5 (2) (ข) ที่ความเร็วเริ่มต้น เท่ากับ 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และที่ความเร็วเริ่มต้นสูงเท่ากับ 0.8 V max ≤ 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 7 / (ข) เมื่อเพลาล้อวิ่งผ่านช่วงที่พื้นผิวยึดเกาะสูง ( k H ) ไปสู่พื้นผิวยึดเกาะต่ำ ( k L ) เมื่อค่า k H ≤ 0 . 5 และ k H / k L ≤ 2 8 / โดยให้แรงกระทำเต็มที่ 6 / กับอุปกรณ์ควบคุม ล้อที่ถูกควบคุมโดยตรงจะต้องไม่ล็อก และ ความเร็วในการทำงาน และ การตอบสนองการทำงานของระบบห้ามล้อต้อง คานวณให้การเปลี่ยน ไปสู่พื้นผิวอื่นๆ ที่ความเร็วสูง และความเร็วต่ำ ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดอยู่ใน 5 ( 3 ) ( ก ) 7 / โดยร ะบบการป้องกันล้อล็อก ทางาน เต็มรอบวั ฎ จักร บนพื้นผิวที่มีการยึดเกาะสูง (ค) เมื่อรถยนต์ผ่านช่วงที่พื้นผิวยึดเกาะต่า ( k L ) ไปสู่พื้นผิวยึดเกาะสูง ( k H ) เมื่อ ค่า k H ≤ 0 . 5 ขึ้นไป และ k H / k L ≤ 2 8 / โดยให้แรงกระทำเต็มที่ 6 / กับอุปกรณ์ควบคุม การชะลอตัวของรถต้องเพิ่มขึ้นภายใต้ ระยะเวลาที่เหมาะสม และตัวรถจะต้องไม่เบี่ยงไปจากแนวเดิม ความเร็วในการทางานและการตอบสนอง การทำงาน ของระบบห้ามล้อต้องคำนว ณให้การเปลี่ยน ไปสู่พื้นผิวอื่น ๆ เกิดขึ้น ที่ความเร็วประมาณ 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยระบบ การป้องกันล้อล็อก ทำงาน เต็มรอบวั ฎ จักรบนพื้นผิวที่มีการยึดเกาะต่ำ (ง) ข้อนี้ใช้เฉพาะสาหรับรถยนต์ที่ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันล้อล็อก ประเภทที่ 1 หรือ ประเภทที่ 2 โดยเมื่อล้อด้านขวาและล้อด้านซ้ายของรถอยู่บนพื้นผิวที่มีค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะที่ต่างกัน ( k H และ k L ) เมื่อ ค่า k H ≤ 0 . 5 ขึ้นไป และ k H / k L ≤ 2 8 / เมื่อมีแรงกระทำเต็มที่ 6 / กับอุปกรณ์ควบคุมในทันทีที่ความเร็ว 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ล้อที่ ถูกควบคุมโดยตรงด้วยระบบป้องกันล้อล็อก ต้องไม่มีการล็อกเกิดขึ้น

  • 5 - (จ) นอกจากนี้ รถที่มีน้าหนักบรรทุกที่ติดตั้งระบบป้องกันล้อล็อกประเภท 1 ภายใต้เงื่อนไข ของ ข้อ 5 ( 3 ) ( ง ) ต้องเป็นไปตามอัตราการห้ามล้อที่กำหนดไว้ในภาคผนวก 4 . 3 (ฉ) อย่างไรก็ตาม การทดสอบตาม ข้อ 5 (3) (ก) , 5 (3) (ข) , 5 (3) (ค) , 5 (3) (ง) และ 5 (3) (จ) ยอมให้เกิดการล็อกของล้อได้ในช่วงระยะเวลาสั้นๆ ได้ นอกจากนั้น ให้มีการล็อก ล้อได้เมื่อรถมีความเร็วน้อย กว่า 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทั้งนี้ ที่ความเร็วใด ๆ ล้อที่ควบคุมโดยอ้อมอาจจะเกิดการล็อก ขึ้นได้ แต่ต้องไม่ กระทบต่อการทรงตัวและการบังคับเลี้ยว รวมทั้งตัวรถต้องมีมุมเบี่ยงเบนไม่เกิน 15 องศา หรือ เบี่ยงเบนจาก ถนนที่มีความกว้าง 3 . 5 เมตร (ช) ในระหว่างการทดสอบตาม ข้อ 5 ( 3 ) (ง) และ 5 ( 3 ) (จ) ระบบบังคับเลี้ยวยังสามารถ ปรับแต่งได้ ถ้ามุมในการควบคุมระบบบังคับเลี้ยวไม่เกิน 120 องศา ภายในช่วงเริ่มต้น 2 วินาทีและไม่เกิน 240 องศา ของช่วงเวลาทั้งหมด นอกจากนี้ ก่อนการทดสอบระนาบ กึ่งกลาง ตามความยาวของรถ จะต้องอยู่บน แนวแบ่งระหว่างพื้นผิวถนนแห้งและพื้นผิวถนนเปียก และในขณะทดสอบต้องไม่มีส่วนใดของยางล้อ ข้าม เส้น แนวแบ่ง นี้ 5 / --------------------------------------------- 1 / ระบบป้องกันล้อล็อก ที่มี ระบบการควบคุมการเลือกสูง ( select - high control ) ให้ ถือว่า รวม ทั้ง ล้อที่ควบคุมโดยตรง และล้อที่ควบคุมโดยอ้อม ; ในระบบการควบคุมเลือกต่ำ ( select - high control ) ล้อ ทั้งหมด ที่รับรู้ จะถือว่าเป็น ล้อที่ถูกควบคุมโดยตรง 2 / สัญญาณเตือนอาจติดขึ้นขณะที่รถไม่มีการเคลื่อนที่ ซึ่งหากไม่มีความบกพร่องเกิดขึ้นสัญญาณจะดับลงก่อนที่รถจะมีความเร็ว 10 หรือ 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 3 / อุปกรณ์ที่เปลี่ยนแปลงโหมดการควบคุมระบบป้องกันล้อล็ อกไม่อยู่ ภายใต้ 4 ( 3 ) หากในสภาวะที่โหมดการควบคุมที่ถูกเปลี่ยน ข้อกาหนดตาม ประเภทของระบบป้องกันล้อล็อกที่ติดตั้งบนรถยังคงมีอยู่ 4 / จนกระทั่งพื้นผิวทดสอบมีใช้โดยทั่วไป ยางที่มีค่าจำกัดของการสึกหรอและค่าการยึดเกาะถนนที่สูงถึง 0.4 อาจจะนามาใช้ทดสอบได้ โดยขึ้นอยู่ กับ ดุลพินิจของ หน่วยงานทดสอบ และให้ทำการบันทึกค่าที่วัดได้ชนิดของยาง และการยึดเกาะถนน 5 / จนกว่ามีการกาหนดกระบวนการทดสอบ เดียวกัน จาเป็นต้องทาการทดสอบตามที่ระบุไว้ใน 5 ( 2 ) (จ) และ 5 (3) (ช) ซ้าสาหรับรถที่ใช้ระบบ ห้ามล้อไฟฟ้าที่มีระบบเก็บพลังงานกลับคืน เพื่อที่จะสามารถหาค่าผลกระทบของค่าการกระจายแรงห้ามล้อที่แตกต่างกัน ที่ได้มาจากอุปกรณ์ อัตโนมัติของ รถยนต์ 6 / ” แรงกระทำเต็มที่ ” หมายถึง แรงกระทำสูงสุด โดยอาจจะใช้แรงกระทำที่สูงกว่านี้ได้ เพื่อให้ระบบป้องกันล้อล็อกทำงาน 7 / จุดประสงค์ของการทดสอบเพื่อเช็คว่าล้อไม่ล็อกและรถยังคงมีการทรงตัวดี ดังนั้น จึงไม่จำเป็นที่จะต้องทำการห้ามล้ออย่างเต็มที่และทำ ให้รถ หยุดบนพื้นผิวที่มีค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะพื้นผิวต่ำ 8 / k H คือ ค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะพื้นผิวสูง k L คือ ค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะพื้นผิวต่ำ k H และ k L วัดตามที่ระบุไว้ไน ภาคผนวก 4 . 2

  • 6 - ภาคผนวก 4 .1 สัญลักษณ์และคำนิยาม ___________ _____________ สัญลักษณ์ คำนิยาม E ระยะฐานล้อ  ค่า การยึดเกาะถนน (  ) : ผลหารของ อัตราการ ห้ามล้อ สูงสุดของรถที่ระบบป้องกันล้อล็อกทางาน ( AL Z ) กับค่าสัมประสิทธิ์ การยึดเกาะ ( k )  i ค่าการยึดเกาะถนนที่วัดได้บนเพลา ล้อ i ( ในกรณีของรถยนต์ที่มีระบบป้องกันล้อ ล็อก ประเภทที่ 3 )  H ค่าการยึดเกาะถนนที่เป็นสมรรถนะการยึดเกาะถนนบนพื้นผิวที่มีการยึดเกาะสูง  L ค่าการยึดเกาะถนนที่เป็นสมรรถนะการยึดเกาะถนนบนพื้นผิวที่มีการยึดเกาะต่ำ F แรงกระทำ (นิวตัน) F dyn แรงปฏิกิริยาของผิวถนนขณะที่รถเคลื่อนตัว และระบบป้องกันล้อล็อกทางาน F idyn แรงปฏิกิริยา F dyn บนเพลา ล้อ i ในกรณีของรถยนต์ ( Power - driven vehicle ) F i แรงปฏิกิริยาของผิวถนนซึ่งกระทำบนเพลา ล้ อ i ขณะที่รถหยุดนิ่ง F M ผลรวมของแรงปฏิกิริยาของผิวถนนซึ่งกระทำบนล้อทุกล้อของรถยนต์ F Mnd 1/ ผลรวมของแรงปฏิกิริยาของผิวถนนกระทาบนเพลา ล้อ ซึ่งไม่ใช่เพลาขับเคลื่อนและไม่มีการ ห้ามล้อ ( Unbraked ) F Md 1/ ผลรวมของแรงปฏิกิริยาของผิวถนนกระทาบนเพลาขับเคลื่อนและไม่มีมีการ ห้ามล้อ F WM 1/ 0.01 F Mnd + 0.015 F Md g ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ( 9. 81 เมตรต่อวินาที 2 ) h ความสูงของจุดศูนย์ถ่วงซึ่งกำหนดโดยผู้ผลิตรถ และหน่วยงานทดสอบที่ทำการทดสอบเพื่อรับรองแบบ k ค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะระหว่างยางรถกับผิวถนน k f ค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะระหว่างยางรถกับผิวถนนของเพลาหน้าหนึ่งเพลา ล้อ k H ค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะระหว่างยางรถกับผิวถนนที่มีการยึดเกาะสูง k i ค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะระหว่างยางรถกับผิวถนนที่วัดได้บนเพลา ล้อ i สำหรับรถยนต์ที่มีระบบ ป้องกันล้อล็อกประเภทที่ 3 k L ค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะระหว่างยางรถกับผิวถนนที่มีการยึดเกาะต่ำ k lock ค่าของการยึดเกาะเมื่อเกิดการลื่นไถลแบบ 100 % ( 100 % slip ) k M ค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะระหว่างยางรถกับผิวถนนที่เป็นตัวแปรของรถยนต์ k peak ค่าสูงสุดของกราฟเส้นโค้ง ( curve ) ที่เปรียบเทียบระหว่าง “ การยึดเกาะกับการลื่นไถล ” k r ค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะระหว่างยางรถกับผิวถนนของเพลาหลังหนึ่งเพลา ล้อ P มวลของรถ ( กิโลกรัม )

  • 7 - สัญลักษณ์ คำนิยาม R อัตราส่วนระหว่าง k peak ต่อ k lock t ช่วงเวลา ( วินาที ) t m ค่าเฉลี่ยของช่วงเวลา t t min ค่าต่ำสุดของของช่วงเวลา t Z อัตราการ ห้ามล้อ Z AL อัตราการ ห้ามล้อ ของรถที่ ระบบป้องกันล้อล๊อก ทำงาน Z m อัตรา ห้ามล้อ เฉลี่ย Z max อัตราการ ห้ามล้อ สูงสุด Z MALS Z AL ของรถยนต์ซึ่งอยู่บน พื้น ผิวแบบแยก (ค่าการยึดเกาะถนน) -------------------------------- 1 / F Mnd และ F Md ในกรณีของรถยนต์ที่มี 2 เพลา ล้ อ : สัญลักษณ์เหล่านี้จึงถูกทำให้ง่ายขึ้นเพื่อสอดคล้องกับสัญลักษณ์ F i

  • 8 - ภาคผนวก 4 .2 การยึดเกาะถนน ( Utilization of adhesion ) ___________ _____________ 1. วิธีการวัดค่า (1) การหาค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะ ( k ) (ก) ค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะจะถูกกาหนดเป็นผลหารของแรงห้ามล้อสูงสุดที่ไม่ทาให้เกิด การล็อกของล้อกับภาระเชิงพลวัต ( dynamic load ) บนเพลาล้อขณะห้ามล้อ (ข) ในการทดสอบ จะทาการห้ามล้อ เพียงหนึ่งเพลาล้อของรถ ที่ความเร็วเริ่มต้น 50 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง แรงห้ามล้อจะกระจายระหว่างล้อทั้งสองของเพลาล้อเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพการทำงานสูงสุด โดยระบบป้องกันล้อล็อกจะต้องถูกตัดการเชื่อมต่อหรือไม่ทางานขณะอยู่ที่ความเร็วระหว่าง 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และ 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (ค) อัตราการ ห้ามล้อ สูงสุดของรถ ( max Z ) หาได้จากการทดสอบหลายๆ ครั้งตามการเพิ่มขึ้น ของแรงดัน ห้ามล้อ ซึ่งในการทดสอบแต่ละครั้ง จะต้องรักษาแรงกระทาคงที่อย่างต่อเนื่อง โดยอัตราการ ห้ามล้อ สามารถหาได้โดยอ้างอิงเวลาที่ใช้สาหรับลดความเร็วลงจาก 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เหลือ 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยใช้สูตร t z 566 . 0  เมื่อ max Z คือ ค่าสูงสุดของ Z , และ t คือ เวลา ในหน่วยวินาที 1) การล็อกของล้ออาจเกิดขึ้นได้เมื่อมีความเร็วต่ำกว่า 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 2) เริ่มต้นจากวัด ค่าต่าสุดของของช่วงเวลา ( min t ) หลักจากนั้นเลือกค่าสามค่าระหว่าง min t และ 1.05 𝑡 𝑡𝑡𝑡 แล้วทำการคำนวณหา ค่าเฉลี่ยทางคณิตศาสตร์ ( m t ) m m t z 566 . 0  ในกรณีที่ค่าเวลาจานวนสามค่าที่กาหนดไว้ข้างต้นไม่สามารถคานวณได้ สามารถนา ค่า ต่ำสุดของช่วงเวลา ( min t ) มาใช้ได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขตาม ข้อ 1 (3 ) (ง) แรง ห้ามล้อ จะคานวณจากการวัดอัตราการ ห้ามล้อ และความต้านทานการหมุนของเพลา ล้อ ที่ไม่มีการ ห้ามล้อ เท่ากับผลคูณของภาระลงเพลา ล้อ สถิต ( static axle load ) กับ 0 . 015 และ 0 . 010 สำหรับเพลาขับเคลื่อนและสำหรับเพลา ล้อ ซึ่งไม่ใช่เพลาขับเคลื่อน ตามลำดับ (จ) ภาระเชิงพลวัต ( dynamic load ) บนเพลา ล้อ จะหาได้จากสูตรใน ภาคผนวก 4 . 5 (ฉ) ค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะ ( k ) จะต้องปัดให้อยู่ในรูปทศนิยม 3 ตำแหน่ง (ช) การทดสอบจะต้องทำซ้าสำหรับเพลา ล้อ อื่น ๆ ตามที่ได้ระบุไว้ใน ข้อ 1 (1) (ก) - (ฉ)

  • 9 - (ซ) ตัวอย่างเช่นในกรณีที่รถสองเพลาแบบขับเคลื่อนล้อหลัง หากเพลาหน้ามีการห้ามล้อ ค่า สัมประสิทธิ์การยึดเกาะ ( k ) หาได้จาก g P Z E h F F g P Z k m m f         1 2 015 . 0 สัญลักษณ์อื่นๆ ( E h P , , ) ถูกกำหนดไว้ใน ภาคผนวก 4 . 5 (ฌ) หาค่าสัมประสิทธิ์หนึ่งค่าสำหรับเพลาหน้า ( k f ) และอีกหนึ่งค่าสำหรับเพลา ท้าย ( k r ) ( 2 ) การหาค่า การยึดเกาะถนน (  ) (ก) ค่า การยึดเกาะถนน (  ) คือ ผลหารของอัตราการ ห้ามล้อ สูงสุดที่ระบบป้องกันล้อล็อก ทำงาน ( AL Z ) กับค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะ ( k m ) m AL k Z   (ข) รถที่มีความเร็วเริ่มต้นที่ 55 กิโลเมตรต่อชั่วโมง อัตราการห้ามล้อสูงสุด ( AL Z ) จะถูกวัด เมื่อระบบการป้องกันล้อล็อกทางานเต็มรอบวั ฎ จักร และอยู่บนพื้นฐานของค่าเฉลี่ยที่ได้จากการทดสอบทั้งสามครั้ง ซึ่งเป็น ช่วงเวลาที่ใช้ในการลดความเร็วจาก 45 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จนถึง 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ตามที่ระบุใน ข้อ 1 (1) (ค) ตามสูตรดังนี้ m AL t Z 849 . 0  (ค) ค่า สัมประสิทธิ์การยึดเกาะ ( 𝑡 𝑡 ) จะถูกคานวณโดยการถ่วงน้าหนักด้วยภาระลงเพลา ล้อ แบบพลวัต ( dynamic axle load ) 𝐾 𝑀 = 𝐾 𝑓 • 𝐹 𝑓𝑑𝑦𝑛 + 𝑘 𝑟 • 𝐹 𝑟𝑑𝑦𝑛 𝑃 • 𝑔 เมื่อ : g P Z E h F F AL f fdyn      𝐹 𝑟𝑑𝑦𝑛 = 𝐹 𝑟 − ℎ 𝐸 • 𝑍 𝐴𝐿 • 𝑃 • 𝑔

  • 10 - (ง) การยึดเกาะถนน (  ) จะ ต้องปัดให้อยู่ในรูปทศนิยม 2 ตำแหน่ง (จ) ในกรณีที่รถมีการติดตั้งระบบป้องกันล้อล็อกประเภทที่ 1 หรือ 2 ค่าของ AL Z จะพิจารณาจากรถ ทั้งคันในขณะที่ระบบป้องกันล้อล็อกทางาน และค่า การยึดเกาะถนน (  ) ที่กาหนดโดยสูตร เดียวกันกับใน ข้อ 1 (2) (ก) (ฉ) ในกรณีที่รถมีการติดตั้งระบบป้องกันล้อล็อกประเภทที่ 3 ค่าของ AL Z จะพิจารณาจาก แต่ ละเพลาล้อ ซึ่งต้องมีอย่างน้อย 1 ล้อที่ถูกควบคุมโดยตรง ตัวอย่างเช่น รถสองเพลา ล้อ แบบขับเคลื่อนล้อหลัง ที่มี ระบบป้องกันล้อล็อกเฉพาะเพลา ท้าย โดยค่า การยึดเกาะถนน (  ) สามารถคำนวณได้จาก ) ( 010 . 0 2 2 1 2 g P Z E h F K F g P Z AL AL          การคานวณนี้ใช้สาหรับแต่ละเพลา ล้อ ที่มีล้อที่ถูกควบคุมโดยตรงอย่างน้อยหนึ่งล้อ (3) หากค่า การยึดเกาะถนน (  ) มีค่ามากกว่า 1 . 00 จะต้องทำการวัดค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะ ซ้ำอีกครั้ง โดยค่าความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ต้องมีไม่เกินร้อยละ 10

  • 11 - ภาคผนวก 4 .3 ประสิทธิภาพการยึดเกาะของพื้นผิวที่แตกต่างกัน ___________ _____________ 1 . อัตราการห้ามล้อ ที่กาหนดไว้ตาม ข้อ 5 (3) (จ) ของภาคผนวก 4 สามารถคานวณโดยอ้างอิง ค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะของพื้นผิวสองลักษณะที่ทาการทดสอบ ซึ่งพื้นผิวทั้งสองนั้นจะต้องเป็นไปตาม เงื่อนไขใน ข้อ 5 (3) (ง) ของภาคผนวก 4 2. ค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะของพื้นผิวที่มีการยึดเกาะสูง ( k H ) และค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะของ พื้นผิวที่มีการยึดเกาะต่ำ ( k L ) ต้องคำนวณได้ตาม ข้อ 1 ( 1 ) ของ ภาคผนวก 4 .2 3. อัตราการห้ามล้อ ( Z MALS ) สำหรับรถที่มีน้ำหนักบรรทุก ต้องเป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ L MALS H L MALS k ≥ z และ ) 5 k + 4k ( 0 . 75 ≥ z

  • 1 2 - ภาคผนวก 4 .4 วิธีการเลือกพื้นผิวการยึดเกาะต่ำ ___________ _____________ 1 . รายละเอียดของค่าสัมประสิทธิ์การยึดเกาะของพื้นผิวที่เลือก ตามที่ระบุใน ข้อ 5 (1) (ก) 2) ของ ภาคผนวก 4 นี้ ต้องแจ้งให้หน่วยงานทดสอบที่ทาการทดสอบ ( Technical Service ) ทราบ (1) ข้อมูลเหล่านี้จะประกอบด้วย กราฟเส้นโค้ง ( curve ) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าสัมประสิทธิ์ ยึดเกาะกับค่าการลื่นไถล (ค่าการลื่นไถลจาก 0 ถึง 100 %) ที่ความเร็วประมาณ 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (ก) ค่าสูงสุดบนกราฟเส้นโค้ง แทนด้วยสัญลักษณ์ k peak และค่าการยึดเกาะเมื่อเกิดการลื่นไถล 100 % แทนด้วยสัญลักษณ์ k lock (ข) ค่าอัตราส่วน ( R ) หาได้จาก ผลหารของค่าสูงสุดบนกราฟเส้นโค้ง ( k peak ) และค่าการยึดเกาะ เมื่อเกิดการลื่นไถล 100 % ( k lock ) R = k peak k lock (ค) ค่าอัตราส่วน ( R ) ต้องปัดให้เป็นเลขทศนิยม 1 ตำแหน่ง (ง) พื้นผิวที่ใช้ จะต้องมีค่าอัตราส่วน ( R ) อยู่ระหว่าง 1 . 0 และ 2 . 0 . 1/ 2. ก่อนการทดสอบ หน่วยงานทดสอบจะต้องตรวจสอบให้มั่นใจว่าพื้นผิวที่เลือกตรงตามข้อกาหนด และต้องแจ้งข้อมูลดังต่อไปนี้ - วิธีการทดสอบเพื่อหาค่าอัตราส่วน ( R ) - แบบรถ - น้าหนักลงเพลา ล้อ และยาง (น้าหนักลงเพลา ล้อ และยางที่แตกต่างกัน ต้องทาการทดสอบและ แสดงผลการทดสอบต่อหน่วยงานทดสอบซึ่งจะเป็นผู้ตัดสินให้เป็นตัวแทนรถในการรับรองแบบ) (1) ค่าอัตราส่วน ( R ) จะต้องระบุลงในผลทดสอบ การสอบเทียบค่าพื้นผิวสนามอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งด้วยตัวแทนรถ เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรง ของค่า R ------------------------------------- 1 / จนกว่าพื้นผิวทดสอบหาได้ โดยทั่วไป ค่าอัตราส่วน ( R ) อาจเพิ่มถึง 2.5 ได้ หากได้ ทำการ ปรึกษาหารือกับหน่วยงานทดสอบ แล้ว

  • 13 - ภาคผนวก 4 .5 การกระจายแรงห้ามล้อระหว่างเพลาล้อของรถ ___________ _____________ 1. ทั่วไป การทดสอบการกระจายแรงห้ามล้อระหว่างเพลาล้อของรถให้เป็นไปตามที่ระบุไว้ในภาคผนวกนี้ ใน กรณีที่ รถ มีการใช้อุปกรณ์พิเศษ อุปกรณ์นั้นต้องทำงานโดยอัตโนมัติ 2. สัญลักษณ์ i คือ ดัชนีเพลา ล้อ ( i = 1 คือ เพลาหน้า i = 2 คือ เพลาท้าย ) Pi คือ แรงปฏิกิริยาของผิวถนนซึ่งกระทำบนเพลาล้อ i ขณะที่รถหยุดนิ่ง Ni คือ แรงปฏิกิริยาของผิวถนนซึ่งกระทำบนเพลาล้อ i ขณะทำการห้ามล้อ Ti คือ แรงที่เกิดจากการห้ามล้อบนเพลาล้อ i ขณะทำการห้ามล้อแบบปกติบนถนน fi คือ ค่า การยึดเกาะถนน จากเพลาล้อ i ซึ่งมีค่าเท่ากับ Ti / Ni 1/ J คือ ค่าความหน่วงของรถ g คือ ความเร่งจากแรงโน้มถ่วงของโลก มีค่า 9.81 เมตรต่อวินาที 2 z คือ อัตราการ ห้ามล้อ ของรถ ซึ่งมีค่าเท่ากับ J / g P คือ มวลของรถ h คือ ความสูงของจุดศูนย์ถ่วงซึ่งกาหนดโดยผู้ผลิตรถ และหน่วยงานทดสอบที่ทำการทดสอบ เพื่อรับรองแบบเห็นชอบ E คือ ระยะฐานล้อ k คือ ค่าสัมประสิทธิ์ทางทฤษฎีของการยึดเกาะระหว่างยางกับถนน 3. คุณสมบัติตามที่ต้องการ ( 1 ) ในทุกสภาวะการบรรทุกของรถ กราฟการยึดเกาะถนน ( adhesion utilization curve ) ของ เพลาท้ายต้องไม่อยู่ เหนือ กราฟ การยึดเกาะถนน ของเพลาหน้า สำหรับ อัตราการ ห้ามล้อ ในช่วง 0.15 ถึง 0.8 : สำหรับค่า k ในช่วง 0.2 ถึง 0.8 2/ : z  0 . 1 + 0 . 7 ( k - 0 . 2 ) ( ดังรูปที่ 1 ) ---------------------------------------------- 1/ กราฟสมรรถนะของการยึดเกาะถนน หมายถึงกราฟที่แสดงสมรรถนะของการยึดเกาะถนนของแต่ละเพลาล้อเทียบกับอัตราการห้ามล้อของรถ ในกรณีการบรรทุกแบบจาเพาะ 2/ ในกรณีที่ข้อกาหนดตาม 3 (1) ไม่ส่งผลกระทบต่อคุณสมบัติที่ระบุตามภาคผน ว ก 3 ซึ่งเกี่ยวกับสมรรถนะการห้ามล้อ อย่างไรก็ตาม หากการ ทดสอบสมรรถนะตาม 3 (1) ประสิทธิภาพการห้ามล้อที่ได้สูงกว่าที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 3 กราฟสมรรถนะจะนำมาใช้ ภายใต้พื้นที่ของ รูป ที่ 1 ซึ่งกาหนดโดยเส้นตรงที่ค่า k = 0 . 8 และ z = 0 . 8

  • 14 - รูปที่ 1 (2) ในกำร ตรวจสอบคุณสมบัติตาม ข้อ 3 (1) ผู้ผลิตต้อง จัดทากราฟเส้นโค้งของการยึดเกาะถนน ( adhesion utilization curve ) ของเพลาหน้าและเพลาท้าย โดยคำนวณตามสูตรต่อไปนี้ การเขียนกราฟต้องดำเนินการภายใต้สองเงื่อนไข การบรรทุก ดังต่อไปนี้ (ก) ไม่มีการบรรทุก มวลรถพร้อมใช้งานรวมผู้ขับ (ข) มีการบรรทุก โดยกาหนดให้มีการกระจายน้าหนักหลายรูปแบบ หนึ่งในเงื่อนไขที่นามา พิจารณา คือ ให้เพลาหน้ารับน้ำหนักมากที่สุด (ค) สาหรับรถที่ติดตั้งระบบห้ามล้อที่นาพลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่ ( electric regenerative braking system ) ประเภท B เมื่อได้รับผลกระทบจากสถานะของการประจุไฟฟ้า กราฟเส้นโค้งจะต้องถูกกาหนด โดยส่วนประกอบของระบบห้ามล้อที่มีการเปลี่ยนพลังงานจลน์เป็นพลังงานไฟฟ้าขณะลดความเร็ว ภายใต้สภาวะ ต่าสุดหรือสูงสุดของแรงห้ามล้อที่ส่งมา ทั้งนี้ ไม่บังคับใช้กับรถที่มีระบบป้องกันล้อล็อกที่ติดตั้งร่วมกับระบบ ห้ามล้อที่มีการเปลี่ยนพลั งงานจลน์เป็นพลังงานไฟฟ้าขณะลดความเร็ว แต่ให้บังคับใช้ตามที่กำหนดใน ภาคผนวก 4 แทน g • P • E h • z + P T = N T = f 1 1 1 1 1 g • P • E h • z - P T = N T = f 2 2 2 2 2

  • 15 - 4. คุณสมบัติที่ต้องการในกรณีที่ระบบกระจายแรง ห้ามล้อ ขัดข้อง เมื่อได้ คุณสมบัติที่ต้องการของภาคผนวกนี้ ด้วย การใช้อุปกรณ์พิเศษ ( เช่น ควบคุมโดยเชิงกลด้วย ระบบกันสะเทือนของรถ ) ในกรณีที่ มีเหตุขัดข้องในการควบคุม ( เช่น การเชื่อมต่อของการควบคุมชารุดหรือ เสียหาย ) ต้องสามารถหยุดรถได้ในสภาวะการทดสอบ Type - 0 ที่ ตัดการเชื่อมต่อกับเครื่องยนต์ ( engine disconnected ) เพื่อให้ระยะ ทางในการหยุด ไม่เกิน 0 . 1 v + 0 . 0100 v 2 เมตร และ ค่า ความหน่วงสูงสุดเฉลี่ย ต้อง ไม่ น้อยก ว่า 3.86 เมตรต่อวินาที 2 5. การทดสอบรถ ระหว่างการทดสอบเพื่อรับรองแบบรถ ผู้ตรวจสอบต้องตรวจสอบ ความสอดคล้องตามภาคผนวกนี้ โดยทำการทดสอบดังต่อไปนี้ (1) การทดสอบลาดับการล็อกของล้อ ( ดู ภาคผนวก 4 .5.1 ) หากการทดสอบลาดับการล็อกของล้อปรากฏว่าล้อหน้าล็อกก่อนหรือ ล็อก พร้อมกันกับล้อหลัง ให้ถือว่ามีเงื่อนไขเป็นไปตาม ข้อ 3 และ ให้ สิ้นสุดการทดสอบ (2) การทดสอบเพิ่มเติม หากการทดสอบลำดับการล็อกของล้อแสดงให้เห็นว่าล้อหลังเกิดการล็อกก่อนล้อหน้า ให้ ดำเนินการดังนี้ (ก) รถจะต้องถูกทดสอบเพิ่มเติม ดัง นี้ 1 ) การทดสอบลาดับการล็อกของล้อเพิ่มเติม หรือ 2 ) การทดสอบแรงบิดของล้อ ( ดูภาคผนวก 4 .5.2 ) เพื่อระบุค่าตัวประกอบของการห้ามล้อ ( Brake factors ) ในการ จัดทากราฟเส้นโค้งของการยึดเกาะถนน ( adhesion utilization curve ) ต้อง ให้ สอดคล้องกับคุณสมบัติที่ต้องการใน ข้อ 3 ( 1 ) วรรคแรก (ข) ปฏิเสธ การรับรองแบบ (3) ผลการทดสอบภาคปฏิบัติต้องแนบใน หนังสือ รับรองแบบ

  • 16 - ภาคผนวก 4 . 5 . 1 กระบวนการทดสอบลำดับการล็อกของล้อ ___________ _____________ 1 . ทั่วไป (1) จุดประสงค์ของการทดสอบนี้เพื่อรับรองว่าการล็อกที่เกิดขึ้นของล้อคู่หน้ามีค่าอัตราความหน่วง ที่ต่ากว่าการล็อกที่เกิดขึ้นบนล้อคู่หลัง เมื่อทาการทดสอบบนพื้นผิวถนน ที่ การล็อกของล้อเกิดขึ้นที่อัตรา การห้ามล้อระหว่าง 0.15 และ 0.8 (2) การล็อกของล้อหน้าและล้อหลังที่เกิดขึ้นพร้อมกันอ้างอิงถึง เงื่อนไขเมื่อ ช่วงเวลาระหว่างการล็อก ของล้อสุดท้าย ( ล้อที่สอง ) ของเพลาท้ายและล้อสุดท้าย ( ล้อที่สอง ) ของเพลาหน้าต่ำกว่า 0.1 วินาที ที่ความเร็วรถ มากกว่า 30 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 2 . เงื่อนไขของรถ ( 1 ) การบรรทุกของ รถยนต์ : มี การ บรรทุกและไม่มี การ บรรทุก ( 2 ) ตำแหน่งการขับเคลื่อน : ไม่มีการเชื่อมต่อกับเครื่องยนต์ 3 . เงื่อนไขและกระบวนการทดสอบ (1) อุณหภูมิห้ามล้อเริ่มต้น : อุณหภูมิเฉลี่ยบนเพลาล้อที่ร้อนที่สุดอยู่ระหว่าง 65 ถึง 100 องศา เซลเซียส (2) ความเร็วในการทดสอบ : 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สำหรับอัตราการห้ามล้อที่ไม่เกิน 0.50 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สำหรับอัตราการห้ามล้อที่สูงกว่า 0.50 (3) แรงกดแป้น ห้ามล้อ (ก) แรง กดแป้น ห้ามล้อ ถูกควบคุมโดยคนขับขี่ที่ชานาญหรือโดยอุปกรณ์ควบคุมกลไกการกด แป้น ห้ามล้อ ( mechanical brake pedal actuator ) (ข) แรงกดแป้น ห้ามล้อ เพิ่มขึ้นแบบเชิงเส้น เมื่อเพลาหน้าเกิดการล็อกไม่ต่ากว่า 0.5 วินาที และไม่เกิน 1.5 วินาที หลังจากเริ่ม ทำการห้ามล้อ (ค ) ปล่อยแป้น ห้ามล้อ เมื่อเพลาล้อที่สองเกิดการล็อก หรือเมื่อแรงกดแป้น ห้ามล้อ ถึง 1 กิโลนิวตัน หรือ 0.1 วินาทีหลังจากเกิดการล็อกครั้งแรก แล้วแต่ว่าเหตุการณ์ใดเกิดก่อน (4) ล้อล็อก : พิจารณาเฉพาะการล็อกของล้อที่ความเร็วรถมากกว่า 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (5) พื้นผิวการทดสอบ : การทดสอบต้องดาเนินการบนพื้นผิวถนนที่ทาให้เกิดการล็อกของล้อที่อัตรา การห้ามล้อระหว่าง 0.15 และ 0.8 (6) การบันทึกข้อมูล : ข้อมูล ต้องถูกบันทึกโดยอัตโนมัติอย่างต่อเนื่องในทุก ๆ ครั้งที่ทดสอบ จนกระทั่งจบการทดสอบ แต่ละครั้ง เพื่อให้ ค่าของ ตัวแปร ต่าง ๆ สามารถ อ้างอิง ย้อนกลับตาม เวลาปัจจุบัน (ก) ความเร็วรถยนต์ (ข) อัตราการห้ามล้อ ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ( เช่น คำนวณจากผลต่างของความเร็วรถยนต์ ) (ค) แรงกดแป้น ห้ามล้อ ( หรือแรงดันสายไฮดรอลิก ) (ง) ความเร็วเชิงมุมของแต่ละล้อ (7) ในแต่ละการทดสอบจะต้องทาซ้าอีกครั้ง เพื่อยืนยันลาดับการล็อกของล้อ หากหนึ่งในสอง ผลการ ทดสอบไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนด ต้องมีการทดสอบครั้งที่ 3 ภายใต้เงื่อนไขเดียวกันมาตัดสิน

  • 17 - 4 . คุณสมบัติด้านสมรรถนะที่ต้องการ (1) ล้อคู่หลังจะต้องไม่เกิดการล็อกก่อนที่ล้อคู่หน้าจะล็อกที่อัตราการห้ามล้อระหว่าง 0.15 และ 0.8 (2) หากทาการทดสอบตามเงื่อนไขข้างต้นที่อัตราการ ห้ามล้อ ระหว่าง 0.15 และ 0.8 ผ่านเกณฑ์ ข้อใดข้อหนึ่งดังต่อนี้ ให้ถือว่าผ่านการทดสอบคุณสมบัติลาดับการล็อกของล้อ ( ก ) ไม่มีการล็อกของล้อ ( ข ) ล้อทั้งสองของเพลาหน้า และมีเพียงหนึ่งล้อหรือไม่มีล้อใดๆ ของเพลา ท้าย เกิดการล็อก ( ค ) เพลาล้อทั้งสองล็อกพร้อมกัน ( 3 ) หากล้อเริ่มล็อกที่อัตราการห้ามล้อต่ากว่า 0.15 และสูงกว่า 0.8 ถือว่าการทดสอบ นั้น เป็น โมฆะและต้องทำการทดสอบใหม่ที่พื้นผิวถนนอื่น ( 4 ) ถ้าในกรณีของรถที่มีการบรรทุกหรือรถเปล่า ซึ่งมีอัตราการ ห้ามล้อ ระหว่าง 0.15 และ 0.8 ล้อคู่หลัง และล้อใดล้อหนึ่งหรือไม่มีล้อใดๆ ของล้อคู่หน้าล็อก ให้ถือว่าไม่ผ่านการทดสอบลาดับการล็อกของล้อ ในกรณีที่ล้อใดล้อหนึ่งหรือไม่มีล้อใดๆ ของล้อคู่หน้าล็อกนั้น ต้องนารถมาทดสอบ แรงบิดของล้อตามภาคผนวก 4 .5.2 เพื่อหาค่าของการห้ามล้อเป้าหมาย ( Objective brake force ) สำหรับการทำกราฟเส้นโค้ง ของการยึดเกาะถนน

  • 18 - ภาคผนวก 4 .5.2 กระบวนการทดสอบแรงบิดของล้อ ___________ _____________ 1. ทั่วไป จุดประสงค์ของการทดสอบนี้เพื่อวัดค่าของการห้ามล้อ และกาหนดความสามารถในการยึดเกาะ ถนนของเพลาหน้าและเพลาท้าย นอกเหนือจากช่วงอัตราการห้ามล้อระหว่าง 0.15 และ 0.8 2. เงื่อนไขของรถยนต์ (1) น้ำหนักรถยนต์ : มีการบรรทุกและไม่มีการบรรทุก (2) ตำแหน่งเกียร์ : ไม่มีการเชื่อมต่อกับเครื่องยนต์ 3. เงื่อนไขและกระบวนการทดสอบ (1) อุณหภูมิห้ามล้อ เริ่มต้น : อุณหภูมิเฉลี่ยบนเพลาล้อที่ร้อนที่สุดระหว่าง 65 องศาเซลเซียส และ 100 องศาเซลเซียส (2) ความเร็วในการทดสอบ : 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมงและ 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (3) แรงกดแป้นห้ามล้อ : แรงกดแป้นห้ามล้อจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่เป็นแนวเส้นตรงระหว่าง 100 และ 150 นิ วตันต่อวินาที สาหรับการทดสอบความเร็วที่ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หรือระหว่าง 100 และ 200 นิวตันต่อวินาที สาหรับการทดสอบความเร็วที่ 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จนกระทั่งเพลาล้อแรกล็อก หรือ จนกระทั่งแรงกดแป้นห้ามล้อมีค่าเท่ากับ 1 กิโลนิวตัน แล้วแต่ว่าเหตุการณ์ใดเกิดก่ อน (4) อุณหภูมิระบบห้ามล้อ : ระหว่างการห้ามล้อ ให้ขับรถยนต์จนมีความเร็ว 100 กิโลเมตรต่อ ชั่วโมง จนกระทั่งอุณหภูมิห้ามล้อเริ่มต้นเป็นไปตามที่ถูกระบุใน 3 ( 1 ) ข้างต้น (5) จำนวนรอบการวิ่ง : รถยนต์ที่ไม่มีน้าหนักบรรทุกให้วิ่งแล้วหยุด 5 ครั้งที่ความเร็ว 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และหยุดอีก 5 ครั้งที่ความเร็ว 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยให้สลับระหว่างสองความเร็ว หลังจากการหยุดแต่ละครั้ง ส่วนรถยนต์ที่มีการบรรทุกให้ทดสอบซ้าโดยการหยุด 5 ครั้งในแต่ละความเร็ว ทดสอบ และให้สลับระหว่างสองความเร็ว (6) พื้นผิวการทดสอบ : ต้องทำ การทดสอบบนพื้นผิวของถนนที่มีการยึดเกาะที่ดี (7) การบันทึกข้อมูล : ต้องบันทึกข้อมูลดังต่อไปนี้โดยอัตโนมัติอย่างต่อเนื่องตลอดการทดสอบ แต่ละครั้ง เพื่อให้ค่าของตัวแปรต่าง ๆ สามารถอ้างอิงย้อนกลับตามเวลาปัจจุบัน : (ก) ความเร็วของรถยนต์ (ข) แรงกดแป้นห้ามล้ อ (ค) ความเร็วเชิงมุมของแต่ละล้อ ( ง ) แรงบิดของห้ามล้อ แต่ละล้อ (จ) แรงดันในสายไฮดรอลิกของแต่ละวงจรห้ามล้อ รวมถึงเครื่องเปลี่ยนความถี่ ( transducers ) บนล้อหน้าอย่างน้อยหนึ่งล้อและบนล้อหลังอย่างน้อยหนึ่งล้อ ที่มีการไหลของวาล์วที่เป็นสัดส่วนหรือวาล์วที่ จำกัดความดันใด ๆ (ฉ) ความหน่วงของรถยนต์ (8) ค่าตัวอย่าง ( Sample Rate ) : ข้อมูล ที่ต้องการทั้งหมด และอุปกรณ์ที่ใช้บันทึกจะต้องรองรับ การทำงานที่ค่าตัวอย่างขั้นต่ำ 40 เฮิรตซ์ บนทุกช่องความถี่

  • 19 - (9) การหาค่าแรงดันห้ามล้อด้านหน้าเปรียบเทียบกับแรงดันห้ามล้อด้านหลัง : หาค่าความสัมพันธ์ ของ แรงดันห้ามล้อด้านหน้ากับแรงดันห้ามล้อด้านหลังตลอดทั้งช่วงของสายแรงดันห้ามล้อ หากรถไม่มีระบบแปรผัน ที่เป็นสัดส่วนของแรงดันห้ามล้อ ให้ทาการทดสอบขณะหยุดนิ่ง แต่หากรถมีระบบแปรผันที่เป็นสัดส่วนของ แรงดันห้ามล้อ ให้ทาการทดสอบแบบพลวัตสาหรับรถที่มีการบรรทุกและไม่มีการบรรทุก โดยให้วิ่งแล้วหยุด 15 ครั้ง ที่ความเร็ว 50 กิโลเมตรต่อชั่ วโมง สาหรับแต่ละเงื่อนไขการบรรทุก และให้เงื่อนไขเริ่มต้นเดียวกันที่ กำหนด ในภาคผนวกนี้ 4. การลดข้อมูล (1) ข้อมูลจากการทดสอบห้ามล้อแต่ละครั้งที่กาหนดใน ข้อ 3 (5) จะถูกคัดเลือกโดยใช้ห้าจุด จาก ค่า ความเฉลี่ยเคลื่อนที่สำหรับข้อมูลแต่ละช่องความถี่ (2) ในการใช้ห้ามล้อแต่ละครั้งตามที่กาหนดใน ข้อ 3 (5) เพื่อหาความลาดชัน (ค่าของการห้ามล้อ ( Brake factor ) ) กับจุดตัดแกนของแรงดัน (ห้ามล้อแบบหน่วงแรงดัน) ของสมการยกกาลังสองต่าสุดเชิงเส้น ( Linear least s quare equation ) ที่อธิบายแรงบิดที่วัดได้ดีที่สุดที่แต่ละล้อที่ห้ามล้อถือเป็นฟังก์ชันของแรงดัน สายไฮดรอลิกที่ใช้ในล้อเดียวกัน ค่าแรงบิดที่ได้จากข้อมูลที่เก็บได้เมื่อความหน่วงของรถอยู่ในช่วง 0 . 15g ถึง 0 . 8g เท่านั้น ที่จะใช้ในการวิเคราะห์ความถดถอย (3) ค่าเฉลี่ยผลตาม (2) ข้างต้น เพื่อคานวณค่าของการห้ามล้อเฉลี่ย ( Average brake factor ) และแรงกดเพื่อหยุดของห้ามล้อ ( Brake hold - off pressure ) สำหรับ การใช้ห้ามล้อของเพลาหน้า ทุกครั้ง (4) ค่าเฉลี่ยผล ตาม (2) ข้างต้น เพื่อคานวณค่าของการห้ามล้อเฉลี่ย ( Average brake factor ) และ แรงกดเพื่อหยุดของห้ามล้อ ( Brake hold - off pressure ) สำหรับ การ ใช้ห้ามล้อของเพลาท้าย ทุกครั้ง (5) การใช้ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันสายห้ามล้อ ( Brake line pressure ) ด้านหน้าและด้านหลัง ที่กาหนดไว้ใน ข้อ 3 (9 ) ข้างต้น และรัศมีกลิ้งยางแบบพลวัต ( Dynamic tyre rolling ) เพื่อคำนวณแรงห้ามล้อ แต่ละเพลาล้อ ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของแรงดันสายห้ามล้อหน้า (6) การคานวณอัตราการห้ามล้อของรถ ที่เป็นฟังก์ชันของแรงดันดันสายเบรกหน้า โดยใช้สมการ ต่อไปนี้ : z = T 1 + T 2 P ∙ g โดย Z คือ อัตราการห้ามล้อที่ได้แรงดันสายห้ามล้อหน้า ( Front Brake Line Pressure ) T 1 , T 2 คือ แรงห้ามล้อที่เพลาหน้าและเพลาท้าย ตามลำดับ ที่ตรงกับแรงดันสายห้ามล้อหน้า P คือ มวล ของ รถยนต์

  • 20 - (7) คานวณการยึดเกาะที่ใช้ในแต่ละเพลาล้อซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอัตราการห้ามล้อ โดยใช้สูตร ต่อไปนี้ : สัญลักษณ์ต่างๆ ถูกกาหนดไว้ ใน ภาคผนวก 4 .5 (8) กำหนดจุด f 1 และ f 2 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ z ทั้งรถที่มีการบรรทุกและไม่มีการบรรทุก และเส้น โค้งยึดเกาะสำหรับรถยนต์จะต้องเป็นไปตามที่กาหนด ไว้ ใน ภาคผนวก 4 .5 ________ __ __________ E g • P • h • z + P T = f 1 1 1 E g • P • h • z - P T = f 2 2 2

ภาคผนวก 5 เอกสารแสดงข้อมูลสำหรับ การรับรองแบบระบบห้ามล้อของรถยนต์ ___________ _____________ เอกสารแสดงข้อมูลสาหรับรับรองแบบรถที่ผลิต ประกอบหรือนำเข้า 1. ข้อมูลทั่วไป : General : (1) ชื่อทางการค้าหรือเครื่องหมายทางการค้าของรถ : … .. … . … Trade name or mark of the vehicle : (2) แบบรถ : … … … Type / Commercial name ( state any possible variants and versions : each variant and each version must be identified by a code consisting of numbers or a comb ination of letters and numbers ) : ( ก ) แบบย่อย : … … … Variant ( s ) , Version ( s ): ( ข ) เลขชี้บ่งยานยนต์ (เฉพาะกรณีรับรองแบบรายคัน) : … … … Vehicle Identification Number ( In case of submitting for single vehicle approval ) : ( 3 ) ชื่อและที่อยู่ของผู้ผลิต : … Name and address of manufacturer : ( 4 ) ชื่อและที่อยู่ ของโรงงานประกอบ : … .. … … … Name and Address of assembly plant ( s ) : ( 5 ) ชื่อและที่อยู่ของผู้ที่ได้รับมอบอานาจจากผู้ผลิต (ถ้ามี) : … Name and address of manufacturer’s authorized representative, if any : ( 6 ) รูป หรือ รูปวาดของแบบรถ : … … Photos and / or drawings of a typical vehicle : 2. มวลของรถและการกระจายมวลลงบนเพลาล้อ : Mass of Vehicle and Distribution of mass on each axle : ( 1 ) มวลสูงสุดของรถ : … … … Maximum mass of vehicle : ( 2) มวลของรถเปล่า : … . … Minimum mass of vehicle : ( 3 ) การกระจายของมวลลงบนเพลาล้อ (ค่าสูงสุด) : … … … Distribution of mass on each axle ( maximum value ) :

  • 2 - 3. รายละเอียดของระบบห้ามล้อ : Description of braking system : (1) รายละเอียดโดยย่อของอุปกรณ์ในระบบห้ามล้อ * : … … … … … Brief description of braking equipment * : (2) ผู้ผลิตและแบบผ้าเบรก : … … … … … … … Make and type of brake linings ( including any possible brake linings ) : (3) การติดตั้งระบบป้องกันล้อล็อก : … … … … … Vehicle is equipped with an anti - lock คำอธิบายการทำงานของระบบ รวมถึงส่วนที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ใดๆ และผังวงจร … … … Brief description of system including any electronic parts and diagram : ประเภทของระบบป้องกันล้อล็อก : ประเภท 1 / 2 / 3 … … … Category of anti - lock system : category 1 / 2 / 3 ( 4 ) การติดตั้งระบบควบคุมการทรงตัวด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (มี/ไม่มี) : … … … … The vehicle is equipped with an ESC system ( Yes / No ) : ( 5) รถติดตั้งระบบเสริมแรงเบรก : (มี/ไม่มี) … … … … The vehicle is fitted with a Brake Assist System ( Yes / No ) : 4. เครื่องยนต์และระบบส่งกาลัง : Engine and transmission : (1) แบบเครื่องยนต์ : … … … … … Engine type : (2) จำนวนและอัตราทดเกียร์ : … … … Number and ratios of gears : (3) อัตราทดสุดท้าย : … … … Final drive ratio ( s ) : (4) ขนาดยาง : … … … . Tyre dimension ( including any possible tyre dimensions ) : (5) ความเร็วสูงสุดที่ออกแบบโดยผู้ผลิต : … … … Maximum design speed : ___________ ______ ___ ------------------------------------- * กรอกข้อมูลให้มากที่สุด (เฉพาะกรณีรับรองแบบรายคัน) Provide information as much as possible ( In case of submitting for single vehicle approval ) .

ภาคผนวก 6 เงื่อนไขการยอมรับผลการทดสอบหรือตรวจสอบ หรือผลการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ___________ _____________ กรมการขนส่งทางบกจะยอมรับผลการทดสอบหรือตรวจสอบ หรือผลการตรวจสอบการผลิตให้ เ ป็นไป ตามต้นแบบ ตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ 1 . หน่วยงานทดสอบ ( 1 ) ประเภทของ หน่วยงานทดสอบ มีดังนี้ ( ก ) หน่วยงานทดสอบประเภท 1 เป็นหน่วยงานที่ทาการทดสอบ โดยใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ ในการทดสอบของตนเอง ( ข ) หน่วยงานทดสอบประเภท 2 เป็นหน่วยงานที่กากับดูแลการทดสอบ โดยใช้เครื่องมือ และ อุปกรณ์ในการทดสอบของผู้ผลิต หรือหน่วยงานเอกชนอื่น ( Third Party ) หน่วยงานทดสอบอาจเป็นหน่วยงานทดสอบประเภท 1 หรือประเภท 2 ก็ได้ ( 2 ) หน่วยงานทดสอบ ต้องมีมาตรฐานที่กาหนดในประเภทของหน่วยงานทดสอบ ดัง ต่อไป นี้ ( ก ) หน่วยงานทดสอบประเภท 1 ต้องเป็นไปตามมาตรฐานอย่าง ใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 1) มาตรฐานขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ( International Organization for Standardization ) General requirements for the competence of testing and calibration laboratories มาตรฐานเลขที่ ISO 17025 - 2005 ขึ้นไป 2) มาตรฐานข้อกำหนดทั่วไปว่าด้วยความสามารถของห้องปฏิบัติการทดสอบ และ ห้องปฏิบัติการสอบเทียบ ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มาตรฐานเลขที่ มอก . 17025 - 2548 ขึ้นไป หน่วยงานทดสอบประเภทที่ 1 อาจทาการทดสอบหรือกากับดูแลการทดสอบ ณ ที่ทาการ ทดสอบ ของผู้ผลิต หรือที่ทาการทดสอบของตัวแทนผู้ผลิตที่ได้รับมอบอำนาจก็ได้ ( ข ) หน่วยงานทดสอบประเภท 2 ต้องเป็นไปตามมำตรฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง ดัง นี้ 1) มาตรฐานขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ( International Organization for Standardization ) General criteria for the operation of various types of bodies performing inspection มาตรฐานเลขที่ ISO 17020 - 1998 ขึ้นไป 2) มาตรฐานข้อกำหนดทั่วไปสำหรับหน่วยตรวจ ตาม มาตรฐาน ผ ลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มาตรฐานเลขที่ มอก . 1702 0 - 2542 ขึ้นไป 2 . หน่วยงานตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ( 1 ) ประเภทของหน่วยงานตรวจสอบการผลิต ให้ เป็นไปตามต้นแบบ ( ก ) หน่วยงานตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบประเภท 1 เป็นหน่วยงานที่ทาการประเมิน และติดตามประสิทธิผลของระบบควบคุมคุณภาพการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบของผู้ผลิต ( ข ) หน่วยงานตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบประเภท 2 เป็นหน่วยงานที่กากับดูแล หรือทำการทดสอบ หรือตรวจสอบ ให้เป็นไปตาม การตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ หน่วยงานตรวจสอบการผลิต ให้ เป็นไปตามต้นแบบอาจเป็นหน่วยงานตรวจสอบการผลิต ให้ เป็นไป ตามต้นแบบประเภท 1 หรือประเภท 2 ก็ได้

  • 2 - ( 2 ) หน่วยงานตรวจสอบการผลิต ให้ เป็นไปตามต้นแบบจะต้องมีมาตรฐานที่กาหนดในประเภทของ หน่วยงานตรวจสอบการผลิตเป็นไปตามต้นแบบ ดังนี้ ( ก ) หน่วยงานตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบประเภท 1 ต้องเป็นไปตามมาตรฐา น อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1) มาตรฐานขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ( International Organization for Standardization ) Conformity assessment - requirement for bodies providing audit and certification of management systems มาตรฐานเลขที่ ISO 17021 - 2006 ขึ้นไป 2) มาตรฐานการตรวจสอบและรับรอง ข้อกาหนดสาหรับหน่วยตรวจประเมินและให้ การ รับรองระบบการจัดการ ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มาตรฐานเลขที่ มอก . 17021 - 2550 ขึ้นไป ( ข ) หน่วยงานตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบประเภท 2 ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1) มาตรฐานขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ( International Organization for Standardization ) General criteria for the operation of various types of bodies performing inspection มาตรฐานเลขที่ ISO 17020 - 1998 ขึ้นไป 2 ) มาตรฐานข้อกำหนดทั่วไปสำหรับหน่วยตรวจ ตาม มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มาตรฐานเลขที่ มอก . 17020 - 2542 ขึ้นไป _________ _ __________

ภาคผ น วก 7 การตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ( Conformity of Production : COP ) ___________ _____________ เพื่อให้มั่นใจว่าผู้ผลิตจะดำเนินการผลิต ประกอบ หรือนำเข้าส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ให้เป็นไป ตาม ต้นแบบอย่างมีมาตรฐานสม่าเสมอ ทั้งก่อนและหลังจากได้รับหนังสือรับรอง แบบ จึงต้องมีขั้นตอน การตรวจสอบ โดยประเมินระบบควบคุมคุณภาพการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ดังนี้ 1. ขั้นตอน ตรวจสอบ ก่อนได้รับหนังสือรับรอง แบบ ให้ดำเนินการ ดังนี้ ( 1 ) ตรวจสอบขั้นตอนและการเตรียมการควบคุมระบบคุณภาพการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ส่วน ควบและเครื่องอุปกรณ์ที่ขอรับรองแบบ เช่น ตรวจคู่มือควบคุมคุณภาพการผลิต ตรวจแผนการทดสอบ หรือตรวจสอบที่จำเป็น ( 2 ) พิจารณา การตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ของผู้ผลิต หรือ จาก หน่วยงานตรวจสอบ ตามที่กำหนดไว้ใน ภาคผนวก 6 อย่าง ใดอย่างหนึ่ง ( 3 ) ให้ยอมรับหนังสือรับรอง การผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ตามมาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่ง ดังนี้ ( ก ) มาตรฐานขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ( International Organization for Standardization ) Quality management systems - Requirements มาตรฐานเลขที่ ISO 9001 - 2008 ขึ้นไป หรือ มาตรฐาน ระบบการบริหารงานคุณภาพ : ข้อกาหนด ตาม มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก . 9001 - 2542 ขึ้นไป ( ข ) มาตรฐานขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ( International Organization for Standardization ) Quality management systems – Particular requirements for the application of ISO 900 1 - 20 08 for automotive production and relevant service part organizations มาตรฐานเลขที่ ISO / TS 16949 - 2009 ขึ้นไป หรือมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมมาตรฐานเลขที่ มอก. 16949 - 2009 ขึ้นไป 2 . ตรวจสอบภายหลังที่ได้รับหนังสือรับรอง แบบ ให้ดำเนินการ ดังนี้ ( 1 ) ตรวจสอบโดยติดตามประสิทธิผลการควบคุมระบบคุณภาพการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ก่อน ได้รับหนังสือรับรอง แบบตาม ข้อ 1 ( 2 ) ให้พิจารณา การดำเนินการของผู้ผลิต ดังนี้ ( ก ) แนบรายละเอียดหนังสือรับรองการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบในการยื่น ขอรับ รองแบบ และแจ้งการแก้ไขหรือเพิ่มเติมหนังสือรับรองการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบให้ กรมการขนส่งทางบกทราบทุกครั้ง ( ข ) มีขั้นตอนสำหรับการประเมิน การผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ของส่วนควบแ ละเครื่องอุปกรณ์ ที่ได้รับรองแบบในแต่ละโรงงานการผลิต ( ค ) จั ดให้มีการดำเนินการตรวจติดตามการทดสอบที่จำเป็นต่อการ ผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ( ง ) มีข้อมูลที่เป็นผลการทดสอบหรือตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ โดยการบันทึก และเก็บเอกสารข้อมูล สำหรับใช้ในการประเมินตามช่วงเวลาในแต่ละส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ที่ กรมการขนส่งทางบกกาหนด แต่ต้องไม่เกิน 1 0 ปี

  • 2 - ( จ ) วิเคราะห์ผลของการทดสอบหรือการตรวจสอบความเสถียรของแบบในแต่ละส่วนควบ และ เครื่องอุปกรณ์ เพื่อกำหนดความแปรผันที่ยอมรับได้ของการผลิตส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ทางอุตสาหกรรม ( 3 ) ให้ทาการตรวจ การผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ของผู้ผลิตตามระยะเวลาที่กาหนด หากไม่มี การกาหนดระยะเวลา ไว้ ให้มีการตรวจ สอบ การผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ดังกล่าวเป็นจานวน 1 ครั้งต่อ สอง ปี ( 4 ) กรณีที่พบว่าการผลิตไม่เป็น ไปตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในประกาศนี้ ให้กรมการขนส่งทางบกกาหนดมาตรการบังคับที่จาเป็น เพื่อให้ผู้ผลิตทาการผลิตให้เป็นไปตามแบบที่รับรองไว้ โดยไม่ชักช้า เช่น การให้ผู้ผลิตส่งแผนการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องในการผลิต โดยทาเป็นหนังสือหรือแจ้ง ให้ ผู้ผลิตชี้แจงและดำเนินการให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่กำหนด ( 5 ) ทำการตรวจสอบระบบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ หรือการนาเข้าส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ ตามกฎหมาย ระเบียบ ประกาศที่เกี่ยวข้องกับการรับรองแบบ ณ โรงงานผลิต โรงงานประกอบ หรือคลังสินค้า รวมทั้งสถานที่ทำการทดสอบ ________ _ ___________

ภาคผนวก 8 หนังสือรับรองแบบ ___________ _____________ ภาคผนวก 8 . 1 แบบ หนังสือรับรองแบบ ที่ … กรมการขนส่งทางบก ถนนพหลโยธิน กทม . 10900 วันที่ … เดือน .. … .. พ.ศ. … กรมการขนส่งทางบกได้ออกหนังสือนี้ เพื่อยืนยัน Department of Land Transport certifies for ประเภทของการรับรองแบบ : Category of Type Approval : การรับรองแบบสาหรับการผลิต ประกอบ หรือนำเข้า National Type Approval for Mass Production ของแบบ ของส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ตามประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนด คุณสมบัติ คุณลักษณะ ระบบการทางาน และสมรรถนะ และกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการรับรองแบบระบบห้ามล้อ ของ รถยนต์ พ . ศ . … of a type of a vehicle parts with regard to Department of Land Transport ’ s Notification on Properties, Characteristics and Performance of braking system for vehicle เ ลขที่การรับรองแบบ : Approval No . : การขยายการรับรองแบบ : Extension No . : 1. ชื่อทางการค้าหรือเครื่องหมายการค้าของ รถ : Trade name or mark of the vehicle : 2. แบบรถ : Vehicle Type : 3. ชื่อและที่อยู่ของผู้ผลิต : Manufacturer ’ s name and address : 3 .1 ที่อยู่ของโรงงานประกอบ : Address of assembly plant ( s ) 4. ชื่อและที่อยู่ของ ตัวแทน ที่ได้รับมอบอำนาจจากผู้ผลิต : Name and address of manufacturer ’ s representative : 5. มวลของรถ Mass of vehicle 5.1 มวลสูงสุดของรถ : Maximum mass of vehicle : 5.2 มวล รถเปล่า : Minimum mass of vehicle : 13 T หรือ 13 - H T

  • 2 - 6. การกระจายของมวลลงบนเพลาล้อ (ค่าสูงสุด) : Distribution of mass of each axle ( maximum value ) : 7. แบบ เครื่องยนต์ : Engine type : 8. จำนวนและอัตราทดเกียร์ : Number and ratios of gears : 9. อัตราทด สุดท้าย : Final drive ratio ( s ) : 10. ขนาดยาง : Tyre dimension : 11. ความเร็วสูงสุดที่ออกแบบโดยผู้ผลิต : Maximum design speed : 12. รายละเอียดของระบบห้ามล้อ : Brief description of braking equipment : 12.1. ชนิดและแบบผ้าเบรก : Make and type of brake linings : 12.2. ชนิดและแบบ ดิสก์เบรกและดรัมเบรก : Make and type of discs and drums : 13. การติดตั้งระบบป้องกันล้อล็อก : Vehicle is equipped with an anti - lock : 13.1 ชนิดและแบบของระบบป้องกันล้อล็อก : Category of anti - lock system : 1 / 2 / 3 1 / 2 / 3 14. การติดตั้งระบบควบคุมการทรงตัวด้วยอิเล็กทรอนิกส์ Vehicle is equipped with an ESC system : มี / ไม่มี yes / no 15. การติดตั้งระบบ เสริมแรงเบรก The vehicle is fitted with a Brake Assist System : มี / ไม่มี yes / no 16. ผลการทดสอบสมรรถนะ : Result of tests : 16.1 มวลรถขณะทดสอบ : Mass of vehicle when tested : มวลสูงสุด ( กิโลกรัม) Laden ( kg ) มวลรถเปล่า (กิโลกรัม) Unladen ( kg ) เพลาล้อที่ 1 Axle No . 1 เพลาล้อที่ 2 Axle No . 2 รวม Total

  • 3 - 16.2. ผลการทดสอบสมรรถนะระบบห้ามล้อหลัก ( แบบไม่มีการต่อกำลังจากเครื่องยนต์ ) : Test result of service brake ( Type - 0 ( A )) Engine - Disconnected : ความเร็วทดสอบ ( กิโลเมตรต่อชั่วโมง ) Test speed ( km / h ) วิธีการวัด ( Measure Performance ) แรงที่ใช้ควบคุมห้ามล้อ (เดคานิวตัน) Force applied to the control ( daN ) 16.3. ผลการทดสอบสมรรถนะระบบห้ามล้อ ขณะจอด : Dynamic parking brake performance : 17. รถที่เสนอให้รับรองเมื่อ : Vehicle submitted for approval on : 18. หน่วย งาน ทดสอบ : Technical Service responsible for conducting approval test : 19. วันที่ ออกรายงาน ผลการทดสอบ : Date of report issued by that service : 20. หมายเลข รายงานผลการทดสอบ : Number of report issued by that service : 21. การรับรอง แบบ / ขยาย / ปฏิเสธ / เพิกถอน : Approval granted / extended / refused / withdrawn : 22. เหตุผลการขยายการรับรองแบบ (ถ้ามี) : Reason ( s ) of extension ( if applicable ) : 23. หน่วยงานรับรอง : Authority : 24. ลงชื่อ : Signature : รายการ เอกสารแนบท้าย โดยแสดงเลขที่การรับรองแบบ : The following documents, bearing the approval number shown above, are annexed to this communication : 1 . แบบแสดงข้อมูลของรถ ชนิด … … แบบ … … จำนวน … … แผ่น Technical Information for … Type : … … (… … Pages ) 2 . ผลการทดสอบ เลขที่ . … . ออกโดย … … จำนวน … … แผ่น Test Report No . … … issued by … .. ( … … Pages )

  • 4 - ภาคผนวก 8.2 แบบหนังสือรับรองแบบรายคัน ที่ … กรมการขนส่งทางบก ถนนพหลโยธิน กทม . 10900 วันที่ . … … เดือน .. . … … .. พ.ศ. … … . กรมการขนส่งทางบกได้ออกหนังสือนี้ เพื่อยืนยัน Department of Land Transport certifies for ประเภทของการรับรองแบบ : Category of Type Approval : การรับรองแบบสาหรับการผลิต ประกอบหรือนำเข้า รายคัน National Type Approval for single vehicle ของแบบ ของส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ตามประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนด คุณสมบัติ คุณลักษณะ ระบบการทางาน และสมรรถนะ และกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการรับรองแบบระบบห้ามล้อ ของ รถยนต์ พ . ศ . … of a type of a vehicle parts with regard to Department of Land Transport ’ s Notification on Properties, Characteristics and Performance of braking system for vehicle เลขที่การรับรองแบบ : Approval No . : การขยายการรับรองแบบ : Extension No . : 1 . ชื่อทางการค้าหรือเครื่องหมายทางการค้าของ รถ : Trade name or mark of the vehicle : 2 . แบบรถ : Vehicle Type : ตัวเลขชี้บ่งยานยนต์ : Vehicle Identification Number ( VIN ) : 3 . ชื่อและที่อยู่ของผู้ผลิต : Manufacturer ’ s name and address : 3 .1 ที่อยู่ของโรงงานประกอบ : Address of assembly plant ( s ) : 4 . ชื่อและที่อยู่ของ ตัวแทน ที่ได้รับมอบอำนาจจากผู้ผลิต : Name and address of manufacturer ’ s representative : 5. มวลของรถ Mass of vehicle 5.1 มวลสูงสุดของรถ : Maximum mass of vehicle : 13 T หรือ 13 - H T

  • 5 - 5.2 มวล รถเปล่า : Minimum mass of vehicle : 6. การกระจายของมวลลงบนเพลาล้อ (ค่าสูงสุด) : Distribution of mass of each axle ( maximum value ) : 7. แบบ เครื่องยนต์ : Engine type : 8. จำนวนและอัตราทดเกียร์ : Number and ratios of gears : 9. อัตราทด สุดท้าย : Final drive ratio ( s ) : 10. ขนาดยาง : Tyre dimension : 11. ความเร็วสูงสุดที่ออกแบบโดยผู้ผลิต : Maximum design speed : 12. รายละเอียดของระบบห้ามล้อ : Brief description of braking equipment : 12.1 ชนิดและแบบผ้าเบรก : Make and type of brake linings : 12.2 ชนิดและแบบ ดิสก์เบรกและดรัมเบรก : Make and type of discs and drums : 13. การ ติดตั้งระบบป้องกันล้อล็อก : Vehicle is equipped with an anti - lock : 13.1 ชนิดและแบบของระบบป้องกันล้อล็อก : Category of anti - lock system : 1 / 2 / 3 1 / 2 / 3 14. การติดตั้งระบบควบคุมการทรงตัวด้วยอิเล็กทรอนิกส์ Vehicle is equipped with with an ESC system : มี / ไม่มี yes / no 15. การติดตั้งระบบเสริมแรงเบรก The vehicle is fitted with a brake Assist System : มี / ไม่มี yes / no 16. ผลการทดสอบสมรรถนะ : Result of tests : 16.1 มวลรถขณะทดสอบ : Mass of vehicle when tested : มวลสูงสุด ( กิโลกรัม) Laden ( kg ) มวลรถเปล่า (กิโลกรัม) Unladen ( kg ) เพลาล้อที่ 1 Axle No . 1 เพลาล้อที่ 2 Axle No . 2 รวม Total

  • 6 - 16.2 ผลการทดสอบสมรรถนะระบบห้ามล้อหลัก โดยใช้เครื่องทดสอบห้ามล้อ แบบลูกกลิ้ง : Test result of service brake ( Roller Brake Tester ) : ห้ามล้อหลัก S ervice b rake แรงห้า มล้อ ( กิโลกรัม) B rake force ( kg ) น้ำหนักลงเพลา ( กิโลกรัม) Mass ( kg ) ประสิทธิภาพ (ร้อยละ) Efficiency ( % ) ผลต่าง (ร้อยละ) Difference ( %) ล้อซ้าย left ล้อขวา right เพลาล้อที่ 1 Axle No . 1 เพลาล้อที่ 2 Axle No . 2 รวม Total 16.3 ผลการทดสอบสมรรถนะระบบห้ามล้อ ขณะจอด : Dynamic parking brake performance : ห้ามล้อ ขณะจอด P arking b rake แรงห้ามล้อ ( กิโลกรัม) B rake force ( kg ) น้ำหนักลงเพลา ( กิโลกรัม) Mass ( kg ) ประสิทธิภาพ (ร้อยละ) Efficiency ( %) ผลต่าง (ร้อยละ) Difference ( %) ล้อซ้าย left ล้อขวา right เพลาล้อที่ 1 Axle No . 1 เพลาล้อที่ 2 Axle No . 2 รวม Total 17. รถที่เสนอให้รับรองเมื่อ : Vehicle submitted for approval on : 18 . หน่วย งาน ทดสอบ : Technical Service responsible for conducting approval test : 19 . วันที่ ออกรายงาน ผลการทดสอบ : Date of report issued by that service : 20 . หมายเลข รายงานผลการทดสอบ : Number of report issued by that service : 21 . การรับรอง แบบ / ปฏิเสธ / เพิกถอน : Approval granted / refused / withdrawn :

  • 7 - 22. หน่วยงานรับรอง : Authority : 23. ลง ชื่อ : Signature : รายการ เอกสารแนบท้าย โดยแสดงเลขที่การรับรองแบบ : The following documents, bearing the approval number shown above, are annexed to this communication : 1 . แบบแสดงข้อมูลของรถ ชนิด … … แบบ … … จำนวน … … แผ่น Technical Information for … … Type : … … (… … Pages ) 2 . ผลการทดสอบ เลขที่ .. .. ออกโดย … … จำนวน … … แผ่น Test Report No . … … issued by … … (… … … Pages ) ________ ______ ________

ภาคผนวก 9 เครื่องหมายการรับรองแบบระบบห้ามล้อ ________________ เครื่องหมายการรับรองแบบระบบห้ามล้อของรถยนต์ในหนังสือรับรองแบบ ประกอบด้วย 1 . สัญลักษณ์ประเทศไทยแทนด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ “ T ” ตัวพิมพ์ใหญ่ ( capital ) ที่ไม่มี ส่วนงอนโค้ง ที่ปลายสุดของตัวอักษร ( san serif ) อยู่ภายในวงกลมที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 8 มิลลิเมตร และอักษร “ T ” มีความสูงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของเส้นผ่าศูนย์กลางของวงกลม 2 . หมายเลขข้อกาหนดทางเทคนิคที่ 13 - H หรือ 13 ขององค์การสหประชาชาติอยู่ในวงกลม โดยมี ความสูง ของตัวเลขไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของเส้นผ่าศูนย์กลางของวงกลม หรือ 3. เ ลขที่การรับรองแบบที่มีขนาดความสูงของตัวเลขไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของเส้นผ่าศูนย์กลางของ วงกลมเป็นตัวเลขอารบิก โดยเรียงลำดับเลขที่ตามลำดับ ดังต่อไปนี้ ลาดับที่ 1 ปีที่ออกหนังสือรับรองแบบ โดยระบุเพียงตัวเลขของปีพุทธศักราชสองตัวหลัง เช่น สองตัว หลังของปี พ . ศ . 256 7 ให้ระบุเพียง 67 ลำดับที่ 2 เลขที่การรับรองแบบสี่ตัวที่กาหนดไว้ในหนังสือรับรองแบบ เช่น เลขที่การ รับรองแบบ 2439 ในกรณีการรับรองแบบรายคัน ที่ระบุตัวเลขชี้บ่งยานยนต์ ให้ตาแหน่งที่หนึ่งเป็นอักษรภาษาอังกฤษ (เริ่มต้นด้วย A, B, C, … ตามลำดับ) และตำแหน่งที่สองถึงสี่เป็นเลขที่การรับรองแบบ เช่น การรับรองแบบ 001 ซึ่งเมื่อถึง 999 แล้ว จึงเปลี่ยนอักษรภาษาอังกฤษในตำแหน่งที่หนึ่งเป็นลำดับต่อไป ลาดับที่ 3 เลขที่การดาเนินการขอแก้ไขเพิ่มเติมการรับรองแบบ ( การขอขยายการรับรองแบบ ) โดย กำหนด – เลขที่ 00 คือ หมายเลขที่ได้รับหนังสือรับรองแบบครั้งแรก – เลขที่ 01 02 03 และตามลำดับตัวเลขต่อไป แล้วแต่การรับรองการขอแก้ไขเพิ่มเติมแบบในแต่ละครั้ง 13 - H T 13 T

  • 2 - ตัวอย่าง 6 7 2439 00 หรือ 6 7 2439 00 การรับรองแบบ 6 7 A001 00 หรือ 6 7 A001 00 การรับรองแบบรายคัน ______ ___ __________ 13 - H T 13 T 13 - H T 13 T