Thu Jan 12 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ คุณลักษณะ และกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการติดตั้งและการรับรองแบบการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ พ.ศ. 2565


ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ คุณลักษณะ และกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการติดตั้งและการรับรองแบบการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ พ.ศ. 2565

ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ คุณลักษณะ และกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การติดตั้งและการรับรองแบบการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ พ.ศ. 2565 เพื่อให้ส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ของรถจักรยานยนต์เกิดความปลอดภัยในการใช้งานและ สอดคล้องกับมาตรฐานสากล อาศัยอานาจตามความในข้อ 10 ข้อ 11 และข้อ 12 แห่งกฎกระทรวง กาหนดส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์สาหรับรถ พ.ศ. 2551 อธิบดีกรมการขนส่งทางบกจึงกาหนดให้ อุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์เป็นส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ที่ต้อง ผ่านการรับรองแบบ และกาหนดคุณสมบัติ คุณลักษณะ และการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์ แสงสัญญาณ และกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อ นไขการรับรองแบบการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่าง และอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณ ( Lighting and light - signalling devices ) ของรถจักรยานยนต์ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) รถจักรยานยนต์ ( L 3) ซึ่งผลิต ประกอบ หรือนำเข้าเพื่อจำหน่าย ( 2 ) รถจักรยานยนต์ ( L 3) ซึ่งผลิต ประกอบ หรือนำเข้ามาเพื่อใช้เองที่มีจานวนเกินกว่า 5 คัน ต่อแบบต่อปี ข้อ 2 ในประกาศนี้ ( 1 ) “ รถจักรยานยนต์ ” ( L 3) หมายความว่า รถจักรยานยนต์สองล้อที่มีขนาดเครื่องยนต์เกิน 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร (กรณีใช้เครื่องยนต์สันดาปภายใน) หรือมีความเร็วสูงสุดที่ออกแบบเกิน 50 กิโลเมตร/ชั่วโมง ( 2 ) “ แบบของรถ ” ( Vehicle type ) หมายความว่า แบบของรถที่ไม่มีความแตกต่างกัน ในสาระสำคัญตามที่ระบุในข้อ 7 (3) “ การรับรองแบบของรถ ” ( Approval of a vehicle ) หมายความว่า การรับรอง แบบของรถที่เกี่ยวข้องกับจานวนและรูปแบบของการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณ ของรถจักรยานยนต์ (4) “ ผู้ผลิต ” หมายความว่า ผู้ผลิตรถ ซึ่งได้แ ก่ ผู้ที่ทาการผลิต ประกอบ หรือนาเข้ารถ ที่ติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ (5) “ หน่วยงานทดสอบ ” หมายความว่า กรมการขนส่งทางบกหรือหน่วยงานที่กรมการขนส่งทางบก ยินยอมให้ทำหน้าที่ทดสอบการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ (6) “ หน่วยงานตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ” ( Conformity of Production : COP ) หมายความว่า กรมการขนส่งทางบกหรือหน่วยงานที่กรมการขนส่งทางบกยินยอมให้ทำหน้าที่ ตรวจประเมินระบบคุณภาพการผลิตและสุ่มตรวจอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณ ของรถจักรยานยนต์ให้เป็นไปตามต้นแบบที่ได้รับการรับรอง ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

(7) ระนาบตามขวาง ( Transverse plane ) รถที่ไม่มีการบรรทุก ( Unladen vehicle ) โคมไฟ ( Lamp ) พื้นผิวเปล่งแสง ( Light - emitting surface ) พื้นผิวส่องสว่าง ( Illuminating surface ) พื้นผิวปรากฏ ( Apparent surface ) แกนอ้างอิง ( Axis of reference หรือ Reference axis ) จุดศูนย์กลางอ้างอิง ( Center of reference ) มุมของการมองเห็นเชิงเรขาคณิต ( Angles of geometric visibility ) ขอบนอกสุด ( Extreme outer edge ) ความกว้างทั้งหมด ( Overall width ) โคมไฟเดี่ยว ( A single lamp ) ระยะห่างระหว่างโคมไฟสองดวง ( Distance between two lamps ) สัญญาณแสดงการทางาน ( Operating tell - tale ) สัญญาณแสดงการทางานแบบวงจรปิด ( Circuit - closed tell - tale ) โคมไฟที่อาจมี ( Optional lamp ) พื้น ( Ground ) อุปกรณ์ ( Device ) สีของแสง ที่เปล่งจากอุปกรณ์ ( Colour of the light emitted from a device ) มวลรถรวม หรือมวลรวม สูงสุด ( Gross vehicle mass ) หรือ ( maximum mass ) การบรรทุก ( Laden ) ความเอียงของเส้น จากัดแสงแนวนอน ( Horizontal inclination ) ระบบการปรับค่าความเอียงของเส้นแนวจากัดแสง แนวนอน ( Horizontal inclination adjustment system ( HIAS )) มุมเอียงของรถ ( Bank angle ) สัญญาณ HIAS ( HIAS signal ) อุปกรณ์สร้างสัญญาณ HIAS ( HIAS signal generator ) มุมทดสอบ HIAS ( HIAS test angle ) ไฟส่องสว่างทางโค้ง ( Bend lighting ) ระนาบ H ( H plane ) การเปล่งแสง ตามลำดับ ( Sequential activation ) สัญญาณหยุดฉุกเฉิน ( Emergency stop signal ) โคมไฟเสริม ขณะเข้าออกรถ ( Exterior courtesy lamp ) ให้มีความหมายตามนิยามศัพท์ที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 1 ท้ายประกาศนี้ หมวด 1 คุณสมบัติ คุณลักษณะ และการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณ ข้อ 3 รถจักรยานยนต์ที่จะขอรับรองแบบต้องมีคุณสมบัติและคุณลักษณะเฉพาะของ อุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โคมไฟแสงพุ่งไกล ( Driving - beam headlamp ) (ก) จำนวน ( Number ) 1) สาหรับรถจักรยานยนต์ที่เครื่องยนต์มีความจุในกระบอกสูบรวมกันน้อยกว่าหรือ เท่ากับ 125 ลูกบาศก์เซนติเมตร 1.1 ) หนึ่ง หรือ สองดวง ที่ได้รับรองแบบตาม 1.1.1 ) ประเภท B C D หรือ E ของข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 113 ( UN R 113 ) 1.1.2 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 112 ( UN R 112 ) 1.1.3 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 1 ( UN R 1 ) 1.1.4 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 8 ( UN R 8) ้ หนา 19 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

1.1.5 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 20 ( UN R 20 ) 1.1.6 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 57 ( UN R 57 ) 1.1.7 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 72 ( UN R 72 ) 1.1.8 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 98 ( UN R 98 ) 1.1.9 ) ประเภท A B D BS CS DS หรือ ES ของข้อกำหนด สหประชาชาติที่ 149 ( UN R 149 ) 2 ) สาหรับรถจักรยานยนต์ที่เครื่องยนต์มีความจุในกระบอกสูบรวมกันเกินกว่า 125 ลูกบาศก์เซนติเมตร 2.1) หนึ่ง หรือ สองดวง ที่ได้รับรองแบบตาม 2.1.1 ) ประเภท B D หรือ E ของข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 113 ( UN R 113 ) 2.1.2 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 112 ( UN R 112 ) 2.1.3 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 1 ( UN R 1 ) 2.1.4 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 8 ( UN R 8 ) 2.1.5 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 20 ( UN R 20 ) 2.1.6 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 72 ( UN R 72) 2.1.7 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 98 ( UN R 98 ) 2.1.8 ) ประเภท A B D BS DS หรือ ES ของข้อกาหนดสหประชาชาติ ที่ 149 ( UN R 149 ) 2.2 ) สองดวง ที่ได้รับรองแบบตาม 2. 2.1 ) ประเภท C ของข้อกำหนดสหประชาชาติที่ 113 ( UN R 113 ) 2.2.2 ) ประเภท CS ของข้อกำหนดสหประชาชาติที่ 149 ( UN R 149 ) (ข) การจัดวาง ( Arrangement ) ไม่มีการกาหนดเป็นพิเศษ (ค) ตาแหน่ง ( Position ) 1 ) ตามความกว้าง 1.1 ) โคมไฟแสงพุ่งไกลอิสระอาจติดตั้งสูงหรือ ต่า กว่าหรืออยู่ด้านข้างกับโคมไฟ ด้านหน้าดวงอื่น ถ้าโคมไฟเหล่านี้หนึ่งดวงอยู่เหนือดวงอื่น จุดศูนย์กลางอ้างอิงของโคมไฟแสงพุ่งไกล ต้องอยู่ภายในระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ ถ้าโคมไฟเหล่ำนี้อยู่ข้างกัน จุดศูนย์กลางอ้างอิงของ โคมไฟเหล่านี้ ต้องอยู่ในตาแหน่งสมมาตรที่สัมพันธ์กับระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ ้ หนา 20 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

1.2 ) โคมไฟแสงพุ่งไกลที่ทำงานร่วมหลายหน้าที่กับโคมไฟด้านหน้าอื่น ๆ ต้องติดตั้ง ในลักษณะที่จุดศูนย์กลางอ้างอิงอยู่ภายในระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ อย่างไรก็ตาม เมื่อรถติดตั้งโคมไฟแสงพุ่ง ต่า หลักอิสระ หรือโคมไฟแสงพุ่ง ต่า หลักที่ทางานร่วมหลายหน้าที่กับโคมไฟ แสดงตาแหน่งด้านหน้าที่อยู่ข้างโคมไฟแสงพุ่งไกล จุดศูนย์กลางอ้างอิงของโคมไฟเหล่า นี้ต้องอยู่ใน ตาแหน่งสมมาตรที่สัมพันธ์กับระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ 1.3 ) โคมไฟแสงพุ่งไกลสองดวง ที่แต่ละดวงหรือทั้งสองดวงทำงานร่วมหลายหน้าที่ กับโคมไฟด้านหน้าอื่นต้องติดตั้งในลักษณะที่จุดศูนย์กลางอ้างอิงของโคมไฟเหล่านี้อยู่ในตาแหน่งสมมาตร ที่สัมพันธ์กั บระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ 2 ) ตามความยาว ที่ด้านหน้าของรถ โดยให้ถือให้เป็นตามประกาศนี้ ถ้าแสงที่ส่องออกมาไม่รบกวน สายตาของผู้ขับรถทั้งโดยตรงหรือโดยอ้อมจากอุปกรณ์มองภาพ หรือผิวสะท้อนบนรถ 3 ) ในกรณีใด ๆ ระยะระหว่างขอบของพื้นผิวส่องสว่างของโคมไฟแสงพุ่งไกลอิสระใด และขอบของพื้นผิวส่องสว่างของโคมไฟที่ให้ลำแสงพุ่ง ต่า หลักต้องไม่เกิน 200 มิลลิเมตร ระยะระหว่าง ขอบของพื้นผิวส่องสว่างของโคมไฟแสงพุ่งไกลอิสระใด ๆ และพื้นถนนต้องอยู่ระหว่าง 500 มิลลิเมตร ถึง 1,3 00 มิลลิเมตร 4 ) ในกรณีของโคมไฟแสงพุ่งไกลสองดวง ระยะระหว่างขอบของพื้นผิวส่องสว่าง ของโคมไฟแสงพุ่งไกลสองดวงต้องไม่เกิน 200 มิลลิเมตร (ง) การมองเห็นเชิงเรขาคณิต ( Geometric visibility ) การมองเห็นพื้นผิวส่องสว่าง รวมถึงการมองเห็นที่ไม่มีการส่องสว่างปรากฏในทิศทางของ การสังเกต ต้องแน่ใจว่าอยู่ภายในพื้นที่ที่แผ่ออกไป ที่กาหนดโดยเส้นเริ่มต้นซึ่งขึ้นอยู่กับเส้นรอบรูป ของพื้นผิว ส่องสว่าง และทำมุมไม่น้อยกว่า 5 องศา กับแกนอ้างอิงของโคมไฟ (จ) ทิศทางของแสง ( Orientation ) 1 ) มีทิศทางไปข้างหน้า โดยโคมไฟอาจเคลื่อนตามองศาของการบังคับเลี้ยวได้ 2 ) ระบบปรับการเอียงในแนวนอน ( Horizontal inclination adjustment system ( HIAS )) อาจติดตั้งสำหรับโคมไฟแสงพุ่งไกล (ฉ) การเชื่อมต่อทางไฟฟ้า ( Electrical connections ) ลำแสงพุ่ง ต่า อาจยังคงส่องสว่างร่วมกับลำแสงพุ่งไกลได้ (ช) สัญญาณแสดง ( Tell - tales ) 1 ) สัญญาณแสดงการทำงานแบบวงจรปิด ต้องมีสัญญาณแสดงการทำงานแบบวงจรปิด ที่เป็นไฟสัญญาณสีฟ้าไม่กระพริบ 2 ) สัญญาณแสดงการไม่ทำงานของระบบปรับการเอียงในแนวนอน ( HIAS ) ้ หนา 21 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

ต้อ งมีสัญญาณแสดงการไม่ทำงาน ที่เป็นไฟสัญญาณสีอำพันกระพริบ ที่อาจอยู่ ร่วมกับสัญญาณแสดงใน (2) (ช) 2) โดยทางานเมื่อตรวจพบการไม่ทางานของสัญญาณ HIAS และยังคงทำงานเมื่อการไม่ทำงานของสัญญาณ HIAS ยังปรากฏอยู่ (ซ) อื่น ๆ ( Other requirements ) 1 ) ความเข้มการส่องสว่างสูงสุดรวมของโคมไฟแสงพุ่งไกลที่เปิดใช้งานพร้อมกัน ต้องไม่เกิน 430,000 แคนเดล่า ซึ่งตรงกับเลขอ้างอิงเท่ากับ 100 (ค่าการรับรอง) 2 ) ในกรณีสัญญาณ HIAS ของโคมไฟแสงพุ่งไกลไม่ทางาน ต้องเป็นไปได้ที่จะทาสิ่ง ต่อไปนี้ได้โดยไม่มีการใช้เครื่องมือพิเศษ 2.1 ) ปิดการทางาน ระบบปรับความเอียงในแนวนอนจนกระทั่งเริ่มตั้งค่า ทำงานใหม่ตามคาแนะนำของผู้ผลิต และ 2.2 ) ปรับตาแหน่งโคมไฟแสงพุ่งไกลใหม่ เพื่อให้การปรับตั้งในแนวนอนและ แนวตั้งเหมือนกับโคมไฟที่ไม่ติดตั้งระบบปรับค วามเอียงในแนวนอน ผู้ผลิตต้องมีคำอธิบายของขั้นตอนสำหรับการตั้งค่าใหม่ของระบบปรับการเอียงใน แนวนอน ในอีกทางเลือก ผู้ผลิตอาจเลือกที่จะติดตั้งระบบอัตโนมัติที่สามารถทางานตามที่ กำหนดข้างต้น หรือเริ่มตั้งค่าทำงานใหม่ได้ทั้งสองอย่าง ในกรณีนี้ ผู้ผลิตต้องจัดหาห้องทดสอบ ที่อธิบายการทำงานของระบบอัตโนมัติ จนกระทั่งเวลาที่ระบบทำงาน สาธิตวิธีการตรวจสอบการทำงาน ของระบบ ( 2 ) โคมไฟแสงพุ่ง ต่า ( Passing - beam headlamp ) (ก) จำนวน ( Number ) 1 ) สาหรับรถจักรยานยนต์ที่เครื่องยนต์มีความจุกระบอกสูบรวมกันน้อยก ว่าหรือ เท่ากับ 125 ลูกบาศก์เซนติเมตร 1.1 ) หนึ่ง หรือ สองดวง ที่ได้รับรองแบบตาม 1.1.1 ) ประเภท B, C D หรือ E ของข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 113 ( UN R 113) 1.1.2 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 112 ( UN R 112 ) 1.1.3 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 1 ( UN R 1 ) 1.1.4 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 8 ( UN R 8 ) 1.1.5 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 20 ( UN R 20 ) 1.1.6 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 57 ( UN R 57 ) 1.1.7 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 72 ( UN R 72) 1.1.8 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 98 ( UN R 98 ) ้ หนา 22 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

1.1.9 ) ประเภท A B D BS CS DS หรือ ES ของข้อกำหนด สหประชาชาติที่ 149 ( UN R 149 ) 2 ) สาหรับรถจักรยานยนต์ที่เครื่องยนต์มีความจุกระบอกสูบรวมกันมากกว่า 125 ลูกบาศ์กเซนติเมตร 2.1 ) หนึ่ง หรือ สองดวง ที่ได้รับรองแบบตาม 2.1.1 ) ประเภท B D หรือ E ของข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 113 ( UN R 113 ) 2.1.2 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 112 ( UN R 112 ) 2.1.3 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 1 ( UN R 1 ) 2.1.4 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 8 ( UN R 8 ) 2.1.5 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 20 ( UN R 20 ) 2.1.6 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 72 ( UN R 72 ) 2.1.7 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 98 ( UN R 98 ) 2.1.8 ) ประเภท A B D BS DS หรือ ES ของข้อกำหนด สหประชาชาติที่ 149 ( UN R 149 ) 2.2 ) สองดวง ที่ได้รับรองแบบตาม 2.2.1 ) ประเภท C ของข้อกำหนดสหประชาชาติที่ 113 ( UN R 113 ) 2.2.2 ) ประเภท CS ของข้อกำหนดสหประชาชาติที่ 149 ( UN R 149 ) (ข) การจัดวาง ( Arrangement ) ไม่มีการกาหนดเป็นพิเศษ (ค) ตาแหน่ง ( Position ) 1 ) ตามความกว้าง 1.1 ) โคมไฟแสงพุ่ง ต่า อิสระอาจติดตั้งสูงหรือ ต่า กว่าหรืออยู่ด้านข้างกับโคมไฟ ด้านหน้าดวงอื่น ถ้าโคมไฟเหล่านี้หนึ่งดวงอยู่เหนือดวงอื่น จุดศูนย์กลางอ้างอิงของโคมไฟแสงพุ่ง ต่า หลัก ต้องอยู่ภายในระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ แต่ถ้าโคมไฟเหล่านี้อยู่ข้างกัน จุดศูนย์กลาง อ้างอิงของโคมไฟเหล่านี้ต้องอยู่ในตาแหน่งสมมาตรที่สัมพันธ์กับระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ 1.2 ) โคมไฟแสงพุ่ง ต่ำ หลักหนึ่งดวงที่ทำงานร่วมหลายหน้าที่กับโคมไฟ ด้านหน้าอื่น ต้องติดตั้งในลักษณะที่จุดศูนย์กลางอ้างอิงอยู่ภายในระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ อย่างไร ก็ตาม เมื่อรถติดตั้งโคมไฟแสงพุ่งไกลอิสระ หรือโคมไฟแสงพุ่งไกลที่ทางานร่วมหลายหน้าที่กับ โคมไฟแสดงตาแหน่งด้านหน้าที่อยู่ข้างโคมไฟแสงพุ่ง ต่า หลัก จุดศูนย์กลางอ้างอิงของโคมไฟเหล่านี้ ต้องอยู่ในตาแหน่งสมมาตรที่สัมพันธ์กับระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ ้ หนา 23 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

1.3 ) โคมไฟแสงพุ่ง ต่า หลักสองดวง ที่แต่ละดวงหรือทั้งสองดวงทางานร่วม หลายหน้าที่กับโคมไฟด้านหน้าอื่น ต้องติดตั้งในลักษณะที่จุดศูนย์กลางอ้างอิงของโคมไฟเหล่านี้อยู่ใน ตาแหน่งสมมาตรที่สัมพันธ์กับระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ 1.4 ) หากติดตั้งหน่วยแสงเพิ่มที่ให้ไฟส่อง สว่างทางโค้ง แบบที่รับรองเป็นส่วน ของลำแสงพุ่ง ต่ำ ตามข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 113 ( UN R 113 ) หรือ 149 ( UN R 149 ) ต้องติดตั้งภายใต้เงื่อนไข ดังต่อไปนี้ ในกรณีของหน่วยแสงเพิ่มเป็นคู่ ต้องติดตั้งเพื่อให้จุดศูนย์กลางอ้างอิงอยู่ใน ตาแหน่งสมมาตรที่สัมพันธ์กับระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ ในกรณีของหน่วยแสงเพิ่มเดี่ยว จุดศูนย์กลางอ้างอิงของโคมไฟต้องอยู่ในระนาบ กึ่งกลางตามความยาวของรถ 2 ) ตามความสูง สูงอย่างน้อย 500 มิลลิเมตรและสูงไม่เกิน 1,200 มิลลิเมตร จากพื้น 3 ) ตามความยาว ที่ด้านหน้าของรถ โดยให้ถือให้เป็นตามประกาศนี้ ถ้าแสงที่เปล่งออกมา ไม่รบกวนสายตาของผู้ขับรถทั้งโดยตรงหรือโดยอ้อมจากอุปกรณ์มองภาพ หรือผิวสะท้อนบนรถ 4 ) ในกรณีของโคมไฟแสงพุ่ง ต่า หลักสองดว ง ระยะระหว่างขอบของพื้นผิวส่องสว่าง ของโคมไฟแสงพุ่งไกลสองดวงต้องไม่เกิน 200 มิลลิเมตร (ง) การมองเห็นเชิงเรขาคณิต ( Geometric visibility ) กำหนดโดยใช้มุม α และมุม β ตามที่ระบุไว้ใน (9) ของภาคผนวก 1 α = มุมเงย 15 องศา และมุมก้ม 10 องศา β = มุมไปทางซ้าย 45 องศา และไปทางขวา 45 องศา สำหรับโคมไฟเดี่ยว β = มุมออกด้านนอก 45 องศา และมุมเข้าด้านใน 10 องศา สาหรับ แต่ละคู่ของโคมไฟ อุปกรณ์กั้นส่วนหรืออุปกรณ์อื่น ๆ ที่อยู่ใกล้กับโคมไฟหน้าต้องไม่เพิ่มผลกระทบ ข้างเคียงที่รบกวนสายตาผู้ใช้ถนนอื่น ๆ (จ) ทิศทางของแสง ( Orientation ) 1 ) มีทิศทางไปข้างหน้า โดยโคมไฟอาจเคลื่อนตามองศาของการบังคับเลี้ยวได้ 2 ) ค่าความเอียงในแนวดิ่งของโคมไฟที่ให้ลำแสงพุ่ง ต่า หลักต้องคงอยู่ระหว่ำงร้อยละ - 0.5 และ - 2.5 เว้นแต่ในกรณีที่มีอุปกรณ์ปรับภายนอก 3 ) สำหรับโคมไฟที่ให้ลาแสงพุ่ง ต่า หลักที่มีแหล่งกำเนิดแสงที่มีฟลักซ์ส่องสว่าง เป้าหมายเกินกว่า 2,000 ลูเมน ค่าความเอียงในแนวดิ่งของโคมไฟต้องคงอยู่ระหว่างร้อยละ - 0.5 และ - 2.5 อุปกรณ์ปรับระดับโคมไฟหน้าอาจใช้เพื่อให้เป็นไปตามที่กำหนดในข้อนี้ แต่ต้องทำงานอัตโนมัติ ้ หนา 24 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

การทางานอาจปรับได้ด้วยมือโดยไม่ใช้เครื่องมือ ในกรณีนี้ผู้ผลิตต้องจัดทำคำอธิบาย การปรับโคมไฟหน้าด้วยมือไว้ในคู่มือการใช้งานของเจ้าของรถ 4 ) เพื่อให้เป็นไปตามที่กำหนดใ น 3) ให้ทำการทดสอบบนรถภายใต้เงื่อนไข ดังต่อไปนี้ 4.1 ) เงื่อนไข A รถที่มีเพียงผู้ขับรถเท่านั้น ให้จาลองโดยการใช้มวล 75 กิโลกรัม ± 1 กิโลกรัม แทนผู้ขับรถ วางบนรถเพื่อสร้างน้ำหนักลงเพลาตามที่ผู้ผลิตแจ้งสำหรับเงื่อนไขในการบรรทุก ค่าความเอียงในแนวดิ่ง (ปรับตั้งค่าเริ่มต้น) ของโคมไฟที่ให้ลาแสงพุ่ง ต่า หลัก ต้องตั้งให้อยู่ระหว่างร้อยละ - 1.0 และ - 1.5 ตามคาแนะนำของผู้ผลิต 4.2 ) เงื่อนไข B รถที่มีการบรรทุกเต็มอัตราบรรทุก ให้จาลองมวลรวมสูงสุดของผู้ผลิต ต้องวางบนรถเพื่อ สร้างน้าหนักลงเพลา ตามที่ผู้ผลิตแจ้งสำหรับเงื่อนไขในการบรรทุก ก่อนการวัด ให้เตรียมรถโดยการโยกรถขึ้นและลงสามครั้ง และเคลื่อนที่ ไปข้างหน้าและถอยหลัง เพื่อให้อย่างน้อยครบการเคลื่อนที่ของล้อหนึ่งรอบ ( A complete wheel revolution ) 5 ) ระบบปรับการเอี ยงในแนวนอน ( Horizontal inclination adjustment system ( HIAS )) อาจติดตั้งสาหรับโคมไฟแสงพุ่ ง ต่า โดยระบบ HIAS ต้องไม่ปรับการเอียงในแนวนอน เกินกว่ามุมเอียงของรถ ( vehicle ’ s bank angle ) 6 ) เพื่อให้เป็นไปตามที่กาหนดใน 5) ให้ทำการทดสอบภายใต้เงื่อนไข ดังต่อไปนี้ 6.1 ) รถทดสอบต้องตั้งค่าตามที่กาหนดในข้อ 4 ( 4) 6.2 ) เอียงรถและวัดค่ามุมทดสอบ HIAS 6.3 ) รถต้องทำการทดสอบภายใต้ 2 เงื่อนไข ดังต่อไปนี้ 6.3.1 ) มุมการปรับความเอียงในแนวนอนสูงสุดที่ผู้ผลิตแจ้ง (ไปทางซ้าย และทางขวา) 6.3.2 ) ครึ่งหนึ่งของมุมการปรับความเอียงในแนวนอนสูงสุดที่ผู้ผลิตแจ้ง (ไปทางซ้ายและทางขวา) และเมื่อรถทดสอบกลับสู่ตาแหน่งที่กำหนดในข้อ 4 (4) มุมทดสอบ HIAS ต้องกลับไปที่ศูนย์โดยเร็ว 6.4 ) คันบังคับเลี้ยวอาจยึดในตาแหน่งหน้าตรง เพื่อไม่ให้เคลื่อนที่ในระหว่าง กำรเอียงของรถ สำหรับการทดสอบ HIAS ต้องทำงานเมื่อได้รับสัญญาณ HIAS ระบบจะถือว่าเป็นไปตามที่กาหนดใน 5) หากมุมการทดสอบ HIAS ที่วัดได้ทั้งหมด ไม่น้อยกว่าศูนย์ ทั้งนี้ ผู้ผลิตอาจสาธิตวิธีอื่นที่หน่วยงานรับรองแบบยอมรับได้ ้ หนา 25 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

7 ) แหล่งกำเนิดแสงที่เพิ่มหรือหน่วยแสงที่เพิ่มอาจทางานเฉพาะที่เชื่อมต่อกับ ลาแสงพุ่ง ต่า หลักหรือลาแสงพุ่งไกลเพื่อให้ไฟส่องสว่างทางโค้ง การส่องสว่างของไฟส่องสว่างทางโค้ง ต้องไม่ขยายไปเกินกว่าระนาบแนวนอน ซึ่งขนานกับพื้นและมีแกนอ้างอิงของโคมไฟที่ให้ลาแสงพุ่ง ต่า หลัก สำหรับมุมลาดเอียงทั้งหมดตามที่ผู้ผลิตกำหนดในระหว่างการรับรองแบบโคมไฟตามข้อกำหนด สหประชาชาติที่ 113 ( UN R 113 ) หรือ 149 ( UN R 149 ) 8 ) เพื่อให้เป็นไปตามที่กาหนดใน 7) ให้ทำการทดสอบ ดังต่อไปนี้ 8.1 ) รถทดสอบต้องตั้งค่าตามที่กาหนดในข้อ 4 ( 4) 8.2 ) วัดมุมเอียงของรถทั้งสองข้างภายใต้ทุก ๆ เงื่อนไขที่ไฟส่องสว่างทางโค้ง ทางานมุมเอียงของรถที่วัดเป็นมุมเอียงของรถที่ผู้ผลิตกาหนดในระหว่างการรับรองแบบโคมไฟตาม ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 113 ( UN R 113 ) หรือ 149 ( UN R 149 ) 8.3 ) คันบังคับเลี้ยวอาจยึดในตาแหน่งหน้าตรง เพื่อไม่ให้เคลื่อนที่ในระหว่าง การเอียงของรถ สาหรับการทดสอบ ไฟส่องสว่างทางโค้งอาจทางานเมื่อได้รับสัญญาณที่กำหนด โดยผู้ผลิต ระบบจะถือว่าเป็นไปตามที่กาหนดใน 7) หากมุมลาดเอียงทั้งสองข้างของรถ ที่วัดได้ มากกว่าหรือเ ท่ากับมุมลาดเอียง ต่า สุดที่กาหนดในหนังสือรับรองแบบโคมไฟตามข้อกาหนด สหประชาชาติที่ 113 ( UN R 113 ) หรือ 149 ( UN R 149 ) ความสอดคล้องตามที่กาหนดใน 7) ผู้ผลิตอาจสาธิตวิธีอื่นที่หน่วยงานรับรอง แบบยอมรับได้ (ฉ) การเชื่อมต่อทางไฟฟ้า ( Electrical connections ) สวิตช์เปลี่ยนไปสู่ลำแสงพุ่ง ต่า ต้องปิดลำแสงพุ่งไกลในเวลาเดียวกัน โคมไฟแสงพุ่ง ต่า ที่มีแหล่งกาเนิดแสงที่รับรองแบบตามข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 99 ( UN R 99 ) ต้องยังคงเปิดเมื่อลำแสงพุ่งไกลส่องสว่าง 1 ) แหล่งกาเนิดแสงที่เพิ่มหรือหน่วยแสงที่เพิ่มที่ให้ไฟส่องสว่างทางโค้งต้องเชื่อมต่อกัน ในลักษณะที่จะไม่สามารถทำงานได้ หากโคมไฟที่ให้ลำแสงพุ่ง ต่า หลักหรือลำแสงพุ่งไกลไม่ทำงาน 2 ) แหล่งกำเนิดแสงที่เพิ่มหรือหน่วยแสงที่เพิ่มที่ให้ไฟส่องสว่างทางโค้งบนแต่ละข้าง ของรถ อาจทางานอย่างอัตโนมัติ เมื่อมุมเอียงของรถมา กกว่าหรือเท่ากับมุมเอียงของรถ ต่า สุดที่กาหนด ในหนังสือรับรองแบบโคมไฟตามข้อกำหนดสหประชาชาติที่ 113 ( UN R 113 ) หรือ 149 ( UN R 149 ) อย่างไรก็ตาม แหล่งกาเนิดแสงที่เพิ่มหรือหน่วยแสงที่เพิ่มจะต้องไม่ทางานเมื่อมุมเอียงของรถ น้อยกว่า 3 องศา ้ หนา 26 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

แหล่งกาเนิดแสงที่เพิ่มหรือหน่วยแสงที่เพิ่มต้องปิดการทำงานลง เมื่อมุมเอียงของรถ น้อยกว่า มุมเอียงของรถ ต่า สุด ที่กาหนดในหนังสือรับรองแบบโคมไฟตามข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 113 ( UN R 113 ) หรือ 149 ( UN R 149) (ช) สัญญาณแสดง ( Tell - tales ) 1 ) สัญญาณแสดงการทำงานแบบวงจรปิด ( “ Circuit - closed ” tell - tale ) อาจมีเป็นไฟสัญญาณสีเขียวไม่กระพริบ 2 ) สัญญาณแสดงการไม่ทำงานของระบบปรับการเอียงในแนวนอน (“ HIAS failure ” tell - tale ) ต้องมีเป็นไฟสัญญาณสีอาพันกระพริบ ที่อาจอยู่ร่วมกับสัญญาณแสดงใน (1) (ช) 2) โดยทางานเมื่อตรวจพบการไม่ทางานของสัญญาณ HIAS และยังคงทางานเมื่อการไม่ทางาน ของสัญญาณ HIAS ยังปรากฏอยู่ 3 ) ในกรณีระบบควบคุมไม่ทางาน แหล่งกาเนิดแสงที่เพิ่มหรือหน่วยแสงที่เพิ่ม ที่ให้ไฟส่องสว่างทางโค้งต้องถูกปิดโดยอัตโนมัติ (ซ) อื่น ๆ ( Other requirements ) 1 ) ในกรณีสัญญาณ HIAS ของโคมไฟแสงพุ่ง ต่า ไม่ทำงาน ต้องเป็นไปได้ที่จะทำสิ่ง ต่อไปนี้ได้ โดยไม่มีการใช้เครื่องมือพิเศษ 1.1 ) ปิดการทางานของระบบปรับการเอียงในแนวนอน จนกระทั่งเริ่มตั้งค่า ทำงานใหม่ตามคาแนะนำของผู้ผลิต และ 1.2 ) ปรับตาแหน่งโคมไฟแสงพุ่ง ต่า ใหม่ เพื่อให้การปรับตั้งในแนวนอนและแนวตั้ง ให้เหมือนกับโคมไฟที่ไม่ติดตั้งระบบปรับการเอียงในแนวนอน ผู้ผลิตต้องอธิบายอย่างละเอียดถึงวิธีการตั้งค่า HIAS ใหม่ ผู้ผลิตอาจเลือกติดตั้งระบบอัตโนมัติ เพื่อให้ทางานทั้งสองตามที่กาหนดข้างต้น หรือตั้งค่าระบบปรับการเอียงในแนวนอน ในกรณีดังกล่าวผู้ผลิตจะต้ องจัดเตรียมการทดสอบพร้อม คาอธิบายระบบอัตโนมัตินั้นและสาธิตวิธีการตรวจสอบการทางานของระบบอัตโนมัติ จนกว่าจะเป็น ข้อกาหนดที่จัดทำขึ้นเพื่อให้ปฏิบัติไปในแนวทางเดียวกัน ( 3 ) โคมไฟเลี้ยว ( Direction indicator lamp ) (ก) จำนวน ( Number ) สองดวงต่อข้าง (ข) การจัดวาง ( Arrangement ) 1 ) โคมไฟเลี้ยวด้านหน้าสองดวง (ประเภท 1 ตามที่กำหนดในข้อกำหนด สหประชาชาติที่ 6 ( UN R 6 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) หรือประเภท 11 ตามที่กาหนดในข้อกาหนด สหประชาชาติที่ 50 ( UN R 50 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) ้ หนา 27 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

2 ) โคมไฟเลี้ยวด้านท้ายสองดวง (ประเภท 2 ตามที่กำหนดในข้อกำหนด สหประชาชาติที่ 6 ( UN R 6 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) หรือประเภท 12 ตามที่กาหนดในข้อกาหนด สหประชาชาติที่ 50 ( UN R 50 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) (ค) ตาแหน่ง ( Position ) 1 ) ตามความกว้าง 1.1 ) สำหรับโคมไฟเลี้ยวด้านหน้า ให้ติดตั้งตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ 1.1.1 ) ต้องมีระยะระหว่างพื้นผิวส่องสว่างของโคมไฟเลี้ยวหน้าอย่างน้อยที่สุด 240 มิลลิเมตร 1.1.2 ) โคมไฟเลี้ยวต้องติดตั้งนอกระนาบแนวดิ่งตามความยาวที่สัมผัส กับขอบนอกสุดของพื้นผิวส่องสว่างข องโคมไฟแสงพุ่งไกล หรือโคมไฟแสงพุ่ง ต่า หลัก 1.1.3 ) ต้องมีระยะระหว่างพื้นผิวส่องสว่างของโคมไฟเลี้ยวและโคมไฟหน้า ที่ให้ลำแสงพุ่ง ต่า หลักที่อยู่ใกล้สุด ตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 2 ท้ายประกาศนี้ 1.2 ) สาหรับโคมไฟเลี้ยวด้านท้าย ระยะห่างระหว่างขอบในของพื้นผิวส่องสว่าง สองพื้นผิวของโคมไฟเลี้ยวด้านท้าย อย่างน้อยที่สุด 180 มิลลิเมตร โดยใช้เงื่อนไขตามที่กาหนด ไว้ใน (9) ของภาคผนวก 1 แม้ได้ติดตั้งแผ่นป้ายทะเบียนแล้ว 2 ) ตามความสูง ไม่น้อยกว่า 350 มิลลิเมตร และไม่เกินกว่า 1,200 มิลลิเมตร จากพื้น 3 ) ตามความยาว ระยะไปทางด้านหน้าระหว่างจุดศูนย์กลางอ้างอิงโคมไฟเลี้ยวด้านท้าย และระนาบ ตามขวางที่อยู่หลังสุดของความยาวรวมของรถ ต้องไม่เกินกว่า 300 มิลลิเมตร (ง) การมองเห็นเชิงเรขาคณิต ( Geometric visibility ) 1) มุมในแนวนอน มุมเข้าด้านใน 20 องศา มุมออกด้านนอก 80 องศา 2) มุมในแนวตั้ง มุมเงย 15 องศา มุมก้ม 15 องศา จากแนวนอน อย่างไรก็ตาม มุมก้ม 15 องศา อาจลดเป็น 5 องศา ได้ หากโคมไฟติดตั้งที่ความสูงน้อยกว่า 750 มิลลิเมตร เมื่อวัดตามที่กาหนดในข้อ 4 ( 7) (จ) ทิศทางของแสง ( Orientation ) โคมไฟเลี้ยวหน้าอาจเคลื่อนที่ตามมุมของคันบังคับเลี้ยว (ฉ) การเชื่อมต่อทางไฟฟ้า ( Electrical connections ) 1) โคมไฟเลี้ยวต้องเปิดใช้งานเป็นอิสระจากโคมไฟอื่น โคมไฟเลี้ยวทั้งหมดที่อยู่บน ข้างเดียวกันของรถต้องเปิดและปิดการใช้งานด้วยสวิตช์ควบคุมเพียงสวิตช์เดียว ้ หนา 28 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

  1. โคมไฟเลี้ยวอาจถูกเปิดเพื่อแสดงสถานะอุปกรณ์เพื่อปกป้องรถจากการใช้งาน ที่ไม่ถูกต้อง 3) การแสดงตาม 2) โคมไฟเลี้ยวต้องทำงานพร้อมกันและต้องเป็นไปตามเงื่ อนไข ดังต่อไปนี้ ในกรณีของการแสดงครั้งเดียว สูงสุด 3 วินาที ในกรณีของการแสดงอย่างต่อเนื่อง ระยะเวลา สูงสุด 5 นาที ความถี่ 2±1 เฮิร์ตซ์ เวลาเปิด เวลาปิด ± 10 เปอร์เซ็นต์ การแสดงดังกล่าวสามารถทาได้เฉพาะกรณีที่เครื่องมือที่ใช้เปิดหรือปิดเครื่องยนต์ (เครื่องกาเนิดพลังงาน ( propulsion system )) อยู่ในตาแหน่งที่ทำให้เครื่องยนต์ไม่สามารถทำงานได้ (ช) สัญญาณแสดง ( Tell - tales ) ต้องมี โดยเป็นสัญญาณภาพ หรือสัญญาณเสียง หรือทั้งสัญญาณภาพและ สัญญาณเสียง ถ้าเป็นสัญญาณภาพต้องเป็นสัญญาณไฟสีเขียวกระพริบ ซึ่งในกรณีการทางานบกพร่อง ดับไปของโคมไฟเลี้ยวใด ๆ สัญญาณยังคงมีแสงโดยไม่กระพริบหรือแสดงการเปลี่ยนความถี่อย่างชัดเจน (ซ) อื่น ๆ ( Other requirements ) คุณลักษณะที่แสดงข้างล่างต้องวัดโดยไม่มีภาระต่อระบบไฟฟ้ามากกว่าการทางาน ของเครื่องยนต์และอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณที่ต้องการ สำหรับรถทุกคัน 1 ) ความถี่ในการกระพริบเท่ากับ 90 ± 30 ครั้งต่อนาที 2 ) การกระพริบของโคมไฟเลี้ยวบนข้างเดียวกันของรถอาจเ กิดขึ้นในจังหวะเดียวกัน หรือสลับกัน 3 ) การทางานของการควบคุมสัญญาณไฟ ต้องปรากฎสัญญาณไฟภายในไม่เกิน หนึ่งวินาที และสัญญาณไฟดับครั้งแรกภายในหนึ่งวินาทีครึ่ง 4 ) ในกรณีความบกพร่องที่นอกเหนือจากการลัดวงจรของโคมไฟเลี้ยวดวงหนึ่ง โคมไฟเลี้ยวอื่น ๆ ที่แสดงทิศ ทางเดียวกัน ต้องกระพริบอย่างต่อเนื่องหรือยังคงส่องสว่าง แต่ความถี่ ในกรณีนี้อาจแตกต่างจากที่กำหนดไว้ ( 4 ) โคมไฟหยุด ( Stop lamp ) (ก) จำนวน ( Number ) หนึ่ง หรือ สองดวง ที่รับรองแบบในประเภท S 1 ตามข้อกำหนดสหประชาชาติที่ 7 ( UN R 7 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) หรือโคมไฟหยุดตามข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 50 ( UN R 50 ) หรือโคมไฟหยุดสำหรับรถประเภท L ตามข้อกำหนดสหประชาชาติที่ 148 ( UN R 148 ) ้ หนา 29 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

อาจมีหนึ่งดวง ที่รับรองแบบในประเภท S 3 ตามข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 7 ( UN R 7 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) (ข) การจัดวาง ( Arrangement ) ไม่มีการกาหนดเป็นพิเศษ (ค) ตาแหน่ง ( Position ) 1 ) สำหรับประเภท S 1 ตามข้อกำหนดสหประชาชาติที่ 7 ( UN R 7 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) หรือโคมไฟหยุดตามข้อกำหนดสหประชาชาติที่ 50 ( UN R 50 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) 1.1) ตามความสูง ไม่น้อยกว่า 250 มิลลิเมตร และไม่เกินกว่า 1,500 มิลลิเมตรจากพื้น 1.2) ตามความยาว ที่ด้านท้ายของรถ 2 ) สำหรับประเภท S 3 ตามข้อกำหนดสหประชาชาติที่ 7 ( UN R 7 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) 2.1) ตามความสูง ระนาบแนวนอนที่สัมผัสขอบล่างของพื้นผิวปรากฏต้องไม่น้อยกว่า 850 มิลลิเมตร จากพื้น อย่างไรก็ตาม ระนาบแนวนอนที่สัมผัสขอบล่างของพื้นผิวปรากฏต้องอยู่ สูงกว่าระนาบแนวนอนที่สัมผัสขอบบนของพื้นผิวปรากฏของโคมไฟหยุดประเภท S 1 ตามข้อกาหนด สหประชาชาติที่ 7 ( UN R 7 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) หรือโคมไฟหยุดตามข้อกำหนดสหประชาชาติ ที่ 50 ( UN R 50 ) หรือโคมไฟ ห ยุด สาหรับรถประเภท L ตามข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 148 ( UN R 148 ) 2.2) ตามความยาว ที่ด้านท้ายของรถ (ง) การมองเห็นเชิงเรขาคณิต ( Geometric visibility ) 1 ) สำหรับประเภท S 1 ตามข้อกำหนดสหประชาชาติที่ 7 ( UN R 7 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) หรือโคมไฟหยุดตามข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 50 ( UN R 50 ) หรือโคมไฟ ห ยุด สำหรับ รถประเภท L ตามข้อกำหนดสหประชาชาติที่ 148 ( UN R 148 ) 1.1) มุมในแนวนอน 45 องศา ไปทางซ้ายและไปทางขวาสำหรับโคมไฟเดี่ยว 1.2) มุมออกด้านนอก 45 องศา และมุมเข้าด้านใน 10 องศา สำหรับแต่ละคู่ของโคมไฟ 1.3) มุมในแนวตั้ง ้ หนา 30 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

มุมเงย 15 องศา มุมก้ม 15 องศา จากแนวนอน อย่างไรก็ตาม มุมก้ม 15 องศา อาจลดเป็น 5 องศา ได้ หากโคมไฟติดตั้งที่ความสูงน้อยกว่า 750 มิลลิเมตร เมื่อวัดตามที่กาหนดในข้อ 4 (7) 2 ) สำหรับประเภท S 3 ตามข้อกำหนดสหประชาชาติที่ 7 ( UN R 7 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) 2.1) มุมในแนวนอน 10 องศา ไปทางซ้ายและไปทางขวาของแกนตามความยาวของรถ 2.2) มุมในแนวตั้ง มุมเงย 10 องศา มุมก้ม 5 องศา จากแนวนอน (จ) ทิศทางของแสง ( Orientation ) ไปทางด้านท้ายของรถ (ฉ) การเชื่อมต่อทางไฟฟ้า ( Electrical connections ) โคมไฟหยุดทุกดวงต้องสว่างขึ้นพร้อมกันทุกครั้งเมื่อระบบห้ามล้อส่งสัญญาณห้ามล้อ ตามที่กาหนดในข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 78 ( UN R 78 ) โคมไฟหยุดห้ามทางานถ้าที่เครื่องมือที่ใช้เปิดหรือปิดเครื่องยนต์ (เครื่องกาเนิดพลังงาน) อยู่ในตาแหน่งที่ทำให้เครื่องยนต์ไม่สามารถทำงานได้ (ช) สัญญาณการแสดง ( Tell - tale ) อาจมี หากติดตั้งสัญญาณการแสดง ต้องประกอบด้วยสัญญาณไฟเตือนแบบไม่กระพริบ ในกรณีที่โคมไฟหยุดไม่ทำงาน (ซ) อื่น ๆ ( Other requirements ) ไม่มี ( 5 ) โคมไฟส่องป้ายทะเบียนรถด้าน ท้าย ( Rear - registration - plate illuminating device ) (ก) จำนวน ( Number ) หนึ่งดวง เป็นโคมไฟที่ได้รับรองแบบตามประเภทที่ 2 ตามข้อกำหนดสหประชาชาติ ที่ 50 ( UN R 50 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) โคมไฟอาจประกอบด้วยชิ้นส่วนด้านแสงหลายชิ้น ที่ออกแบบให้ส่องสว่างในพื้นที่สำหรับแผ่นป้ายทะเบียนรถ (ข) การจัดวาง ( Arrangement ) ต้องเป็นในลักษณะที่โคมไฟส่องสว่างในพื้นที่สำหรับแผ่นป้ายทะเบียน (ค) ตาแหน่ง ( Position ) 1 ) ตามความกว้าง ต้องเป็นในลักษณะที่โคมไฟส่องสว่างในพื้นที่สำหรับแผ่นป้ายทะเบียน 2 ) ตามความสูง ้ หนา 31 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

ต้องเป็นในลักษณะที่โคมไฟส่องสว่างในพื้นที่สำหรับแผ่นป้ายทะเบียน 3 ) ตามความยาว ต้องเป็นในลักษณะที่โคมไฟส่องสว่างในพื้นที่สำหรับแผ่นป้ายทะเบียน (ง) การมองเห็นทางเรขาคณิต ( Geometric visibility ) ต้องเป็นในลักษณะที่โคมไฟส่องสว่างในพื้นที่สำหรับแผ่นป้ายทะเบียน (จ) ทิศทางของแสง ( Orientation ) ต้องเป็นในลักษณะที่โคมไฟส่องสว่างในพื้นที่สำหรับแผ่นป้ายทะเบียน (ฉ) สัญญาณการแสดง ( Tell - tale ) อาจมี ให้ทำงานโดยสัญญาณการแสดงที่กำหนดไว้สำหรับโคมไฟแสดงตาแหน่ง (ช) อื่น ๆ ( Other requirements ) เมื่อโคมไฟส่องป้ายทะเบียนท้ายรวมอยู่กับโคมไฟแสดงตาแหน่งด้านท้าย ทำงานร่วม หลายหน้าที่ในโคมไฟหยุดหรือในโคมไฟตัดหมอกท้าย คุณลักษณะเชิงแสงของโคมไฟส่องป้ายทะเบียนท้ำย อาจถูกปรับเปลี่ยนในระหว่างการส่องสว่างของโคมไฟหยุดหรือโคมไฟตัดหมอกท้าย ( 6 ) โคมไฟแสดงตาแหน่งด้านหน้า ( Front position lamp ) (ก) จำนวน ( Number ) หนึ่ง หรือ สองดวง ถ้าเป็นสีขาว หรือสองดวง (หนึ่งดวงต่อข้าง) ถ้าเป็นสีอำพัน (ข) การจัดวาง ( Arrangement ) ไม่มีการกาหนดเป็นพิเศษ (ค) ตาแหน่ง ( Position ) 1 ) ตามความกว้าง โคมไฟแสดงตาแหน่งด้านหน้าอิสระอาจติดตั้งสูงหรือ ต่า กว่าหรืออยู่ด้านข้างกับ โคมไฟด้านหน้าดวงอื่น แต่ถ้าโคมไฟเหล่านี้หนึ่งดวงอยู่เหนือดวงอื่น จุดศูนย์กลางอ้างอิงของโคมไฟ แสดงตา แหน่งด้านหน้าจะต้องอยู่ภายในระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ แต่ถ้าโคมไฟเหล่านี้อยู่ข้างกัน จุดศูนย์กลางอ้างอิงเหล่านี้จะต้องอยู่ในตาแหน่งสมมาตรที่สัมพันธ์กับระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ โคมไฟแสดงตำแหน่งด้านหน้าหนึ่งดวงที่ทำงานร่วมหลายหน้าที่กับโคมไฟ ด้านหน้าอื่น ต้องติดตั้งในลักษณะที่จุดศูนย์กลางอ้างอิงต้องอยู่ภายในระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ อย่างไรก็ตาม เมื่อรถติดตั้งโคมไฟด้านหน้าดวงอื่นข้างกันกับโคมไฟแสดงตำแหน่งด้านหน้า จุดศูนย์กลาง อ้างอิงเหล่านี้ต้องอยู่ในตาแหน่งสมมาตรที่สัมพันธ์กับระนาบกึ่งก ลางตามความยาวของรถ โคมไฟแสดงตาแหน่งด้านหน้าสองดวงที่แต่ละดวงหรือทั้งสองดวงทางานร่วม หลายหน้าที่กับโคมไฟด้านหน้าอื่น ต้องติดตั้งในลักษณะที่ศูนย์กลางอ้างอิงของโคมไฟสมมาตรกับ ระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ ้ หนา 32 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

2 ) ตามความสูง ไม่น้อยกว่า 350 มิลลิเมตร และไ ม่เกินกว่า 1,200 มิลลิเมตร จากพื้น 3 ) ตามความยาว ที่ด้านหน้าของรถ (ง) การมองเห็นเชิงเรขาคณิต ( Geometric visibility ) 1) มุมในแนวนอน 80 องศา ไปทางซ้ายและไปทางขวาสำหรับโคมไฟเดี่ยว 2) มุมออกด้านนอก 80 องศา มุมเข้าด้านใน 2 0 องศา สำหรับแต่ละคู่ของโคมไฟ 3) มุมในแนวดิ่ง มุมเงย 15 องศา มุมก้ม 15 องศา จากแนวนอน อย่างไรก็ตาม มุมก้ม 15 องศา อาจลดเป็น 5 องศา ได้ หากโคมไฟติดตั้งที่ความสูงน้อยกว่า 750 มิลลิเมตร เมื่อวัดตามที่กาหนดในข้อ 4 (7) (จ) ทิศทางของแสง ( Orientation ) มีทิศทางไปข้างหน้า โดยโคมไฟอาจเคลื่อนตามองศาของการบังคับเลี้ยวได้ (ฉ) สัญญาณแสดงการทำงานแบบวงจรปิด ( “ Circuit - closed ” Tell - tale ) ต้องมี เป็นไฟสัญญาณสีเขียวไม่กระพริบ แต่อย่างไรก็ตาม สัญญาณการแสดงไม่ต้องมี หากแสงที่ส่องสว่างหน้าปัดสามารถเปิดหรือปิดได้พร้อมกันกับโคมไฟแสดงตาแหน่งเท่านั้น (ช) อื่น ๆ ( Other requirements ) เมื่อโคมไฟแสดงตาแหน่งด้านหน้าทำงานร่วมหลายหน้าที่ในโคมไฟเลี้ยวหน้า การเชื่อมต่อ ทางไฟฟ้าต้องเป็นในลักษณะที่โคมไฟแสดงตาแหน่งที่อยู่ข้างเดียวกับโคมไฟเลี้ยวที่กำลังกระพริบต้องดับลง ( 7 ) โคมไฟแสดงตาแหน่งด้านท้าย ( Rear position lamp ) (ก) จำนวน ( Number ) หนึ่ง หรือ สองดวง (ข) การจัดวาง ( Arrangement ) ไม่มีการกาหนดเป็นพิเศษ (ค) ตาแหน่ง ( Position ) 1 ) ตามความสูง ไม่น้อยกว่า 250 มิลลิเมตร และไม่เกินกว่า 1,500 มิลลิเมตร จากพื้น 2 ) ตามความยาว ที่ด้านท้ายของรถ ้ หนา 33 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

(ง) การมองเห็นเชิงเรขาคณิต ( Geometric visibility ) 1) มุมในแนวนอน 80 องศา ไปทางซ้ายและไปทางขวาสำหรับโคมไฟเดี่ยว มุมออกด้านนอก 80 องศา มุมเข้าด้านใน 20 องศา สำหรับแต่ละคู่ของโคมไฟ 2) มุมในแนวตั้ง มุมเงย 15 องศา มุมก้ม 15 องศา จากแนวนอน อย่างไรก็ตาม มุมก้ม 15 องศา อาจลดเป็น 5 องศา ได้ หากโคมไฟติดตั้งที่ความสูงน้อยกว่า 750 มิลลิเมตร เมื่อวัดตามที่กาหนดในข้อ 4 (7) (จ) ทิศทางของแสง ( Orientation ) มีทิศทางไปด้านท้าย (ฉ) สัญญาณแสดงการทำงานแบบวงจรปิด (“ Circuit - closed ” Tell - tale ) อาจมี ให้ทำงานโดยอุปกรณ์ที่กำหนดไว้สำหรับโคมไฟแสดงตาแหน่งด้านหน้า (ช) อื่น ๆ ( Other requirements ) หากโคมไฟแสดงตาแหน่งด้านท้ายทางานร่วมหลายหน้าที่ในโคมไฟเลี้ยว การเชื่อมต่อ ทางไฟฟ้าของโคมไฟแสดงตาแหน่งด้านท้ายบนข้างที่เกี่ยวข้องของรถ หรือส่วนที่ทำงานร่วมหลายหน้าที่ ของโคมไฟ ต้องเป็นในลักษณะที่ถูกปิดในระหว่างช่วงเวลาทั้งหมด (ทั้งวัฎจักรเปิดและปิด) ของการทำงาน ของโคมไฟเลี้ยว ( 8 ) อุปกรณ์สะท้อนแสงด้านท้าย (ไม่เป็นรูปสามเหลี่ยม) ( Rear retro - reflector, non - triangular ) (ก) จำนวน ( Number ) หนึ่ง หรือ สองดวง ที่ได้รับการรับรองแบบตามข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 3 ( UN R 3 ) หรือ 150 ( UN R 150) (ข) การจัดวาง ( Arrangement ) ไม่มีการกาหนดเป็นพิเศษ (ค) ตาแหน่ง ( Position ) ตามความสูงไม่น้อยกว่า 250 มิลลิเมตร และไม่เกินกว่า 900 มิลลิเมตร จากพื้น (ง) การมองเห็นเชิงเรขาคณิต ( Geometric visibility ) 1) มุมในแนวนอน 30 องศา ไปทางซ้ายและไปทางขวาสำหรับอุปกรณ์สะท้อนแสงเดี่ยว มุมออกด้านนอก 30 องศา มุมเข้าด้านใน 10 องศา สาหรับแต่ละคู่ของ อุปกรณ์สะท้อนแสง ้ หนา 34 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

  1. มุมในแนวดิ่ง มุมเงย 15 องศา มุมก้ม 15 องศา จากระนาบแนวนอน อย่างไรก็ตาม มุมก้ม 15 องศา อาจลดเป็น 5 องศา ได้ หากอุปกรณ์สะท้อนแสงติดตั้งที่ความสูงน้อยกว่า 750 มิลลิเมตร เมื่อวัดตามที่กาหนดในข้อ 4 (7) (จ) ทิศทางของแสง ( Orientation ) มีทิศทางไปข้างหลัง ( 9 ) สัญญาณเตือนอันตราย ( Vehicle - hazard warning signal ) (ก) เป็นสัญญาณจากการทำงานพร้อมกันของโคมไฟเลี้ยวตามที่กาหนดใน (3) (ข) การเชื่อมต่อทางไฟฟ้า ( Electrical connections ) ให้สัญญาณโดยวิธีควบคุมแยกต่างหากที่สามารถโคมไฟเลี้ยวทุกดว งได้รับกระแสไฟฟ้า พร้อมกัน สัญญาณอาจถูกกระตุ้นโดยอัตโนมัติในกรณีที่รถเกิดการชน หรือภายหลังจากการกระตุ้น สัญญาณหยุดฉุกเฉินตามที่ระบุใน (14) ในกรณีดังกล่าวสัญญาณอาจถูกปิดด้วยมือ (ค) สัญญาณแสดงการทำงานแบบวงจรปิด ( “ Circuit - closed ” tell - tale ) ต้องมีไฟสัญญาณสีแดงกระพริบ หรือในกรณีของสัญญาณการแสดงที่แยกกัน การทำงานพร้อมกันของสัญญาณการแสดงตามที่กาหนดไว้ใน (3) (ซ) (ง) อื่น ๆ ( Other requirements ) 1 ) ความถี่ในการกระพริบเท่ากับ 90 ± 30 ครั้งต่อนาที 2 ) การทางานของการควบคุมสัญญาณไฟต้องปราก ฏ สัญญาณไฟภายในไม่เกินหนึ่งวินาที และสัญญาณไฟดับครั้งแรกภายในหนึ่งวินาทีครึ่ง ( 10 ) โคมไฟตัดหมอกด้านหน้า ( Front fog lamp ) (ก) จำนวน ( Number ) หนึ่ง หรือ สองดวง (ข) การจัดวาง ( Arrangement ) ไม่มีการกาหนดเป็นพิเศษ (ค) ตาแหน่ง ( Position ) 1 ) ตามความกว้าง สำหรับโคมไฟเดี่ยว จุดศูนย์กลางอ้างอิงต้องอยูในระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ หรือขอบของพื้นผิวส่องสว่างที่ใกล้ที่สุดกับระนาบนั้นต้องไม่เกินกว่า 250 มิลลิเมตร 2 ) ตามความสูง ไม่น้อยกว่า 250 มิลลิเมตร จากพื้น และไม่มีจุดใดบนพื้นผิวส่องสว่างสูงกว่า จุดสูงสุดบนพื้นผิวส่องสว่างของโคมไฟแสงพุ่ง ต่า ้ หนา 35 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

3 ) ตามความยาว ที่ด้านหน้าของรถ โดยให้ถือให้เป็นตามประกาศนี้ ถ้าแสงที่ส่องออกมาไม่รบกวนสายตา ของผู้ขับรถทั้งโดยตรงหรือโดยอ้อมจากอุปกรณ์มองภาพ หรือผิวสะท้อนบนรถ (ง) การมองเห็นเชิงเรขาคณิต ( Geometric visibility ) กำหนดโดยใช้มุม α และมุม β ตามที่ระบุไว้ใน (9) ของภาคผนวก 1 α = มุมเงย 5 องศา และมุมก้ม 5 องศา β = มุมไปทางซ้าย 45 องศา และไปทางขวา 45 องศา สาหรับโคมไฟเดี่ยว เว้นแต่โคมไฟที่ไม่ได้ ติดตั้งอยู่ตรงกลาง ( off - center light ) ให้มุมเข้าด้านใน β = 10 องศา β = มุมออกด้านนอก 45 องศา และมุมเข้าด้านใน 10 องศา สาหรับแต่ละคู่ ของโคมไฟ (จ) ทิศทางของแสง ( Orientation ) มีทิศทางไปข้างหน้า โดยโคมไฟอาจเคลื่อนตามองศาของการบังคับเลี้ยวได้ (ฉ) อาจไม่รวมกับโคมไฟด้านหน้าอื่น (ช) สัญญาณแสดงการทำงานแบบวงจรปิด ( “ Circuit - closed ” tell - tale ) อาจมีสัญญาณไฟสีเขียว ไม่กระพริบ (ซ) อื่น ๆ ( Other requirements ) ไม่มี (ฌ) การเชื่อมต่อทางไฟฟ้า ( Electrical connections ) ต้องเป็นไปได้ที่การเปิดหรือปิดโคมไฟตัดหมอกหน้าเป็นอิสระจากโคมไฟแสงพุ่งไกล หรือโคมไฟแสงพุ่ง ต่า ( 11 ) โคมไฟตัดหมอกด้านท้าย ( Rear fog lamp ) (ก) จำนวน ( Number ) หนึ่ง หรือ สองดวง (ข) การจัดวาง ( Arrangement ) ไม่มีการกาหนดเป็นพิเศษ (ค) ตาแหน่ง ( Position ) 1 ) ตามความสูง ไม่น้อยกว่า 250 มิลลิเมตร และไม่เกินกว่า 900 มิลลิเมตร จากพื้น 2 ) ตามความยาว ที่ด้านท้ายของรถ 3 ) ระยะระหว่างพื้นผิวส่องสว่างของโคมไฟตัดหมอกหลังและของโคมไฟหยุด ต้องไม่น้อยกว่า 100 มิลลิเมตร ้ หนา 36 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

(ง) การมองเห็นเชิงเรขาคณิต ( Geometric visibility ) กำหนดโดยใช้มุม α และมุม β ตามที่ระบุไว้ใน (9) ของภาคผนวก 1 α = มุมเงย 5 องศา และมุมก้ม 5 องศา β = มุมไปทางซ้าย 25 องศา และไปทางขวา 25 องศา สำหรับโคมไฟเดี่ยว β = มุมออกด้านนอก 25 องศา และมุมเข้าด้านใน 10 องศา สาหรับแต่ละคู่ ของโคมไฟ (จ) ทิศทางของแสง ( Orientation ) มีทิศทางไปด้านท้าย (ฉ) การเชื่อมต่อทางไฟฟ้า ( Electrical connections ) ต้องเป็นในลักษณะที่โคมไฟตัดหมอกด้านท้ายสามารถสว่างขึ้นเมื่อโคมไฟหนึ่งหรือ มากกว่าดังต่อไปนี้เปิดใช้งาน 1 ) โคมไฟแสงพุ่งไกล 2 ) โคมไฟแสงพุ่ง ต่า 3 ) โคมไฟตัดหมอกหน้า ถ้ามีโคมไฟตัดหมอกหน้า เป็นไปได้ที่จะปิดใช้งานโคมไฟตัดหมอกหลังเป็นอิสระจาก โคมไฟตัดหมอกหน้า โคมไฟตัดหมอกหลังอาจยังคงทางานจนกระทั่งโคมไฟแสดงตาแหน่งปิดการใช้งาน และยังคงปิดจนกระทั่งมีการเปิดใช้งานอีกครั้ง (ช) สัญญาณแสดงการทำงานแบบวงจรปิด (“ Circuit - closed ” tell - tale ) ต้องมี เป็นสัญญาณไฟสีอำพัน ไม่กระพริบ (ซ) อื่น ๆ ( Other requirements ) ไม่มี ( 12 ) อุปกรณ์สะท้อนแสงด้านข้าง (ไม่เป็นรูปสามเหลี่ยม) ( Side retro - reflector, non - triangular ) (ก) จำนวนต่อด้าน ( Number per side ) หนึ่ง หรือ สองดวง ที่ได้รับการรับรองแบบตามข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 3 ( UN R 3 ) หรือ 150 ( UN R 150 ) (ข) การจัดวาง ( Arrangement ) ไม่มีการกาหนดเป็นพิเศษ (ค) ตาแหน่ง ( Position ) 1 ) บนด้านข้างของรถ 2 ) ตามความสูง ไม่น้อยกว่า 300 มิลลิเมตร และไม่เกินกว่า 900 มิลลิเมตร จากพื้น ้ หนา 37 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

3 ) ตามความยาว ควรอยู่ในตำแหน่งที่ไม่อาจปิดบังโดยเสื้อผ้าของผู้ขับรถหรือของผู้โดยสาร เมื่อใช้งานปกติ (ง) การมองเห็นเชิงเรขาคณิต ( Geometric visibility ) 1) มุมในแนวนอน β = 30 องศา ไปข้างหน้าและไปข้างหลัง 2) มุมในแนวตั้ง α = มุมเงย 15 องศา มุมก้ม 15 องศา จากระนาบแนวนอน อย่างไรก็ตาม มุมก้ม 15 องศา อาจลดเป็น 5 องศา ได้ หากโคมไฟติดตั้งที่ความสูงน้อยกว่า 750 มิลลิเมตร เมื่อวัดตามที่กาหนดในข้อ 4 (7) (จ) ทิศทางของแสง ( Orientation ) แกนอ้างอิงของอุปกรณ์สะท้อนแสงต้องตั้งฉากกับระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ และมีทิศทางออกนอกตัวรถ อุปกรณ์สะท้อนแสงด้านข้างที่ด้านหน้าของรถอาจเคลื่อนตามองศาของ การบังคับเลี้ยวได้ ( 13 ) โคมไฟใช้งานกลางวัน ( Daytime running lamp ) (ก) อาจมี (ข) จำนวน ( Number ) หนึ่ง หรือ สองดวง ที่ได้รับการรับรองแบบตามข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 87 ( UN R 87 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) (ค) การจัดวาง ( Arrangement ) ไม่มีการกาหนดเป็นพิเศษ (ง) ตาแหน่ง ( Position ) 1 ) ตามความกว้าง 1.1 ) โคมไฟใช้งานกลางวันอิสระอาจติดตั้งสูงหรือ ต่า กว่าหรืออยู่ด้านข้างกับ โคมไฟด้านหน้าดวงอื่น ถ้าโคมไฟเหล่านี้หนึ่งดวงอยู่เหนือดวงอื่น จุดศูนย์กลางอ้างอิงของโคมไฟ ใช้งานกลางวันต้องอยู่ภายในระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ แต่ถ้าโคมไฟเหล่านี้อยู่ข้างกัน ขอบของพื้ นผิวส่องสว่างต้องไม่เกินกว่า 250 มิลลิเมตร จากระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ 1.2 ) โคมไฟใช้งานกลางวันหนึ่งดวงที่ทำงานร่วมหลายหน้าที่กับโคมไฟ ด้านหน้าอื่น (โคมไฟแสงพุ่งไกล หรือโคมไฟแสดงตาแหน่งด้านหน้า) ต้องติดตั้งในลักษณะที่ขอบของ พื้นผิวส่องสว่างต้องไม่ เกินกว่า 250 มิลลิเมตร จากระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ 1.3 ) โคมไฟใช้งานกลางวันสองดวงที่แต่ละดวงหรือทั้งสองดวงทางานร่วม หลายหน้าที่กับโคมไฟด้านหน้าอื่น ต้องติดตั้งในลักษณะที่ศูนย์กลางอ้างอิงของโคมไฟสมมาตรกับระนาบ กึ่งกลางตามความยาวของรถ ้ หนา 38 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

1.4 ) โคมไฟใช้งานกลางวันสองดวง ระยะห่างระหว่างขอบของพื้นผิวส่องสว่าง ต้องไม่เกินกว่า 420 มิลลิเมตร 1.5 ) ระยะห่างระหว่างขอบของพื้นผิวส่องสว่างสูงสุดไม่บังคับใช้ เมื่อโคมไฟ ใช้งานกลางวัน ตามเงื่อนไขต่อไปนี้ 1.5.1 ) เป็นโคมไฟกลุ่ม รวม หรือทางานร่วมหลายหน้าที่กับโคมไฟหน้าอื่น หรือ 1.5.2 ) อยู่ภายในบริเวณการฉายตั้งฉากของตัวถังด้านหน้าของรถไปบนระนาบ ที่ตั้งฉากกับระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ 2 ) ตามความสูง ไม่น้อยกว่า 250 มิลลิเมตร และไม่เกินกว่า 1,500 มิลลิเมตร จากพื้น 3 ) ตามความยาว ที่ด้านหน้าของรถ (จ) การมองเห็นเชิงเรขาคณิต ( Geometric visibility ) 1) มุมในแนวนอน มุมออกด้านนอก 20 องศา และมุมเข้าด้านใน 10 องศา 2) มุมในแนวตั้ง มุมเงย 10 องศา มุมก้ม 10 องศา จากระนาบแนวนอน (ฉ) ทิศทางของแสง ( Orientation ) มีทิศทางไปข้างหน้า โดยโคมไฟอาจเคลื่อนตามองศาของการบังคับเลี้ยวได้ (ช) การเชื่อมต่อทางไฟฟ้า ( Electrical connections ) 1 ) โคมไฟใช้งานกลางวันต้องปิดโดยอัตโนมัติเมื่อโคมไฟหน้าเปิดใช้งาน เว้นแต่เมื่อ โคมไฟหน้าถูกใช้งานเพื่อให้สัญญาณเตือนในชั่ วเวลาสั้น ๆ โคมไฟแสดงตาแหน่งด้านท้ายต้องเปิดเมื่อโคมไฟใช้งานกลางวันเปิด โคมไฟ แสดงตาแหน่งด้านหน้าและโคมไฟส่องป้ายทะเบียนหลังอาจเปิดเป็นอิสระกันหรือเปิดร่วมกัน เมื่อโคมไฟ ใช้งานกลางวันเปิดใช้งาน 2 ) ถ้าระยะระหว่างโคมไฟเลี้ยวหน้าและโคมไฟใช้งานกลางวันเท่ำกับหรือน้อยกว่า 40 มิลลิเมตร การเชื่อมต่อทางไฟฟ้าของโคมไฟใช้งานกลางวันบนด้านเดียวกันของรถอาจเป็น อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 2.1 ) ปิดการใช้งาน หรือ 2.2 ) ความเข้มการส่องสว่างลดลงในระหว่างช่วงเวลา (ทั้งวัฎจักรเปิดและปิด) ของการทำงานของโคมไฟเลี้ยวหน้า ้ หนา 39 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

3 ) ถ้าโคมไฟเลี้ยวทางานร่วมหลายหน้าที่กับโคมไฟใช้งานกลางวัน การเชื่อมต่อ ทางไฟฟ้าของโคมไฟใช้งานกลางวันบนด้านเดียวกันของรถ ต้องเป็นในลักษณะที่โคมไฟใช้งานกลางวัน ปิดในระหว่างช่วงเวลา (ทั้งวัฎจักรเปิดและปิด) ของการทำงานของโคม ไฟเลี้ยว (ซ) สัญญาณการแสดง ( Tell - tale ) อาจมีสัญญาณแสดงการทำงานแบบวงจรปิดสีเขียว (ฌ) อื่น ๆ ( Other requirements ) สัญลักษณ์ DRL ใน ISO 2575 : 2004 - Road vehicles ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ สำหรับปุ่มควบคุม ชี้บ่ง และสัญญาณแสดงการทำงานอาจใช้แจ้งผู้ขับรถว่าโคมไฟใช้งานกลางวันเปิดใช้งานอยู่ ( 14 ) สัญญาณหยุดฉุกเฉิน ( Emergency stop signal ) (ก) อาจมี โดยสัญญาณหยุดฉุกเฉินมาจากการทางานพร้อมกันของโคมไฟหยุดและ โคมไฟเลี้ยวทุกดวงของรถที่ติดตั้ง ตามที่ระบุใน (ช) (ข) จำนวน ( Number ) ตามที่กาหนดใน (3) (ก) หรือ (4) (ก) (ค) การจัดวาง ( Arrangement ) ตามที่กาหนดใน (3) (ข) หรือ (4) (ข) (ง) ตาแหน่ง ( Position ) ตามที่กาหนดใน (3) (ค) หรือ (4) (ค) (จ) การมองเห็นเชิงเรขาคณิต ( Geometric visibility ) ตามที่กาหนดใน (3) (ง) หรือ (4) (ง) (ฉ) ทิศทางของแสง ( Orientation ) ตามที่กาหนดใน (3) (จ) หรือ (4) (จ) (ช) การเชื่อมต่อทางไฟฟ้า ( Electrical connections ) 1 ) โคมไฟทุกดวงที่ให้สัญญาณหยุดฉุกเฉินต้องกระพริบด้วยเฟสเดียวกันที่ความถี่ 4.0 ± 1.0 เฮิรตซ์ อย่างไรก็ตาม ถ้าโคมไฟดวงใดดวงหนึ่งที่ให้สัญญาณหยุดฉุกเฉินที่อยู่ด้านท้าย ของรถเป็นแหล่งกำเนิดแสงชนิดไส้ขดลวด ความถี่ต้องเท่ากับ 4.0 + 0.0/ - 1.0 เฮิรตซ์ 2 ) สัญญาณหยุดฉุกเฉินต้องทำงานอย่างอิสระจากโคมไฟอื่น ๆ 3 ) สัญญาณหยุดฉุกเฉินต้องทำงานและหยุดทางานโดยอัตโนมัติ โดยจะทำงานเฉพาะ เมื่อความเร็วของรถมากกว่า 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และระบบห้ามล้อส่งสัญญาณการห้ามล้อฉุกเฉิน ตามที่กาหนดไว้ในข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 78 ( UN R 78 ) และจะหยุดทำงานโดยอัตโนมัติเมื่อไม่มี สัญญาณกำรห้ามล้อฉุกเฉินตามที่กาหนดไว้ในข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 78 ( UN R 78 ) ส่งมา หรือเมื่อสัญญาณเตือนอันตรายของรถเริ่มทำงาน ้ หนา 40 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

(ซ) สัญญาณแสดง ( Tell - tale ) อาจมี (ฌ) อื่น ๆ ( Other requirements ) ไม่มี ( 15 ) โคมไฟเสริมขณะเข้าออกรถ ( exterior courtesy lamp ) (ก) อาจมี (ข) จำนวน ( Number ) หนึ่ง หรือ สองดวง อย่างไรก็ตามอนุญาตให้ใช้โคมไฟเสริมขณะเข้าออกรถเพิ่มเติมเพื่อส่องที่วางเท้าได้ โดยที่วางเท้าแต่ละด้านจะต้องส่องสว่างด้วยโคมไฟไม่เกินกว่าหนึ่งดวง (ค) การจัดวาง ( Arrangement ) ไม่มีการกาหนดเป็นพิเศษ แต่ต้องเป็นไปตามที่กาหนดใน (ฌ) 3) (ง) ตาแหน่ง ( Position ) ไม่มีการกาหนดเป็นพิเศษ (จ) การมองเห็นเชิงเรขาคณิต ( Geometric visibility ) ไม่มีการกาหนดเป็นพิเศษ (ฉ) ทิศทางของแสง ( Orientation ) ไม่มีการกาหนดเป็นพิเศษ (ช) การเชื่อมต่อทางไฟฟ้า ( Electrical connections ) ไม่มีการกาหนดเป็นพิเศษ (ซ) สัญญาณแสดง ( Tell - tale ) ไม่มีการกาหนดเป็นพิเศษ (ฌ) อื่น ๆ ( Other requirements ) 1 ) โคมไฟต้องไม่ทำงาน หากรถไม่หยุดนิ่ง และอยู่ภายใต้เงื่อนไขอย่างน้อยหนึ่งข้อ ดังต่อไปนี้ 1.1) อุปกรณ์ที่สตาร์ท หรือหยุดเครื่องยนต์ (ระบบขับเคลื่อน) ตั้งอยู่ในตาแหน่ง ที่ทำให้เครื่องยนต์ (ระบบขับเคลื่อน) ทำงานไม่ได้ หรือ 1.2) ช่องส่วนเก็บของถูกเปิดขึ้นเพื่อให้เข้าถึงได้ ต้องเป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 4 (9) ในตาแหน่งคงที่ทุกตาแหน่งที่ใช้ ้ หนา 41 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

2 ) โคมไฟที่ได้รับการรับรองแบบที่เปล่งแสงสีขาว (ยกเว้นของโคมไฟแสงพุ่งไกล และโคมไฟใช้งานกลางวัน) อาจทำหน้าที่เป็นเป็นโคมไฟเสริมขณะเข้าออกรถ โคมไฟเหล่านั้นอาจทำงานร่วมกับโคมไฟเสริมขณะเข้าออกรถ และอาจไม่เป็นไปตาม เงื่อนไขในข้อ 4 (10) และ (11) 3 ) หน่วยงานทดสอบต้องทาการทดสอบด้วยการพินิจเพื่อตรวจสอบว่าไม่มีการมองเห็น โดยตรงของพื้นผิวปรากฏของโคมไฟเสริมขณะเข้าออกรถหากผู้สังเกตการณ์มองจากการเคลื่อนที่ในพื้นที่ แนวระนาบขวาง 10 เมตรจากหน้ารถ ระนาบขวาง 10 เมตรจากหลังรถ และระนาบตามยาวของ รถสองระนาบ 10 เมตรจากแต่ละด้านข้างของรถ โดยระนาบทั้งสี่นี้ขยายจาก 1 เมตร ถึง 3 เมตร และตั้งฉากกับพื้นตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 5 นอกเหนือจากสภาวะที่ระบุตามข้อ 4 (4) แล้ว ข้อกาหนดที่กล่าวถึงข้างต้น จะต้องถูกทวนสอบ ในสภาวะของรถ ดังต่อไปนี้ 3.1) ขาตั้ง ( Stand ) บนขาตั้งไม้ค้ำยัน หรือขาตั้งที่ตำแหน่งตรงกลาง หรือทั้งสองอย่าง (หากใช้) 3.2) ตาแหน่งคันบังคับเลี้ยว ( Steering ) หน้าตรง และล็อคในแต่ละตาแหน่ง ที่มีให้ ตามการร้องขอของผู้ผลิตและด้วยการยินยอมของหน่วยงานทดสอบอาจตรวจสอบ ความสอดคล้องนี้จากรูปวาดหรือแบบจำลอง ( simulation ) ได้ ข้อ 4 อุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณที่จะติดตั้งบนรถจักรยานยนต์ต้องเป็นไปตาม เงื่อนไข ดังต่อไปนี้ ( 1 ) อุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณต้องติดตั้งให้ทางานได้ดีในการใช้งานปกติ และภายใต้การสั่นสะเทือน อุปกรณ์ดังกล่าวยังคงต้องเป็นไปตามคุณสมบัติและคุณลักษณะเฉพาะ ที่กำหนดไว้ในประกาศนี้ รวมทั้งทำให้รถเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในประกาศนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโคมไฟ ซึ่งจะต้องไม่ถูกปรับตาแหน่งอย่างผิดพลาดโดยไม่ตั้งใจ ( 2 ) โคมไฟส่องสว่างต้องติดตั้งเพื่อให้สามารถทำการปรับทิศทางการส่องสว่างได้อย่างถูกต้อง โดยง่าย ( 3 ) สำหรับอุปกรณ์แสงสัญญาณ แกนอ้างอิงของอุปกรณ์เมื่อติดตั้งกับรถต้องขนานกับระนาบ ของรถบนถนน นอกจากนี้ในกรณีของ อุปกรณ์สะท้อนแสงด้านข้างต้องตั้งฉากกับระนาบกึ่งกลาง ตามความยาวของรถ และในกรณีของอุปกรณ์แสงสัญญาณทั้งหมดต้องขนานกับระนาบดังกล่าว ทั้งนี้ ให้มีค่าความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ในแต่ละทิศทางได้ ± 3 องศา นอกจากนี้ หากมีรายละเอียด การติดตั้งที่ผู้ผลิตกาหนดไว้ ให้ดาเนินการตามนั้น ้ หนา 42 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

( 4 ) หากไม่มีคาแนะนาในการติดตั้งเฉพาะ การตรวจสอบความสูงและทิศทางของโคมไฟ ต้องทาในขณะที่รถไม่มีการบรรทุกและอยู่บนพื้นราบ โดยระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถต้องเป็น แนวดิ่งและคันบังคับเลี้ยวต้องอยู่ในตาแหน่งที่จ ะเคลื่อนที่ตรงไปด้านหน้า และความดันของลมยาง เป็นไปตามที่ผู้ผลิตกำหนดไว้สำหรับเงื่อนไขของการบรรทุกในประกาศนี้ ( 5 ) ในกรณีที่ไม่มีคำแนะนำในการติดตั้งโดยเฉพาะ (ก) โคมไฟเดี่ยวหรืออุปกรณ์สะท้อนแสง ต้องติดตั้งในลักษณะที่จุดศูนย์กลางอ้างอิง วางอยู่ในระนาบกึ่งกลา งตามความยาวของตัวรถ (ข) โคมไฟที่เป็นคู่และทำงานหน้าที่เดียวกันต้อง 1 ) ติดตั้งอย่างสมมาตร โดยสัมพันธ์กับระนาบกึ่งกลางตามความยาวของตัวรถ 2 ) สมมาตรซึ่งกันและกัน กับระนาบกึ่งกลางตามความยาวของตัวรถ 3 ) มีคุณลักษณะเชิงสีเหมือนกัน 4 ) มีคุณลักษณะเชิงแสงเ หมือนกัน 5 ) เปิดและปิดพร้อมกัน ( 6 ) กรณีโคมไฟกลุ่ม โคมไฟรวม หรือโคมไฟร่วมหลายหน้าที่ หรือโคมไฟเดี่ยว (ก) โคมไฟอาจเป็นกลุ่ม รวม หรือร่วมหลายหน้าที่ซึ่งกันและกัน หากคุณสมบัติและ คุณลักษณะด้านสี ตาแหน่ง ทิศทาง การมองเห็นเชิงเรขาคณิต การเชื่อมต่อทางไฟฟ้า และอื่น ๆ (ถ้ามี) เป็นไปตามที่กาหนดไว้ ดังต่อไปนี้ 1) คุณลักษณะเชิงแสงและคุณลักษณะเชิงสีของโคมไฟต้องเป็นไปตามที่กาหนด เมื่อหน้าที่อื่นทั้งหมดของโคมไฟกลุ่ม โคมไฟรวมหรือโคมไฟร่วมหลายหน้าที่ ปิดการใช้งาน ( OFF ) แต่โคมไฟแสดงตาแ หน่งด้านหน้าหรือด้านท้าย ทางานร่วมหลายหน้าที่กับหน้าที่อื่น ๆ หนึ่งหน้าที่หรือ มากกว่านั้น ซึ่งสามารถทางานร่วมกันได้ คุณลักษณะเชิงสีของของโคมไฟในแต่ละหน้าที่ต้องเป็นไปตาม ที่ กำหนด เมื่อโคมไฟทำงานร่วมกันหลายหน้าที่และโคมไฟแสดงตำแหน่งด้านหน้าหรือด้านท้าย เปิดการใช้งาน ( ON ) 2) โคมไฟหยุดและโคมไฟเลี้ยวต้องไม่เป็นโคมไฟร่วมหลายหน้าที่ 3) หากโคมไฟหยุดและโคมไฟเลี้ยวเป็นโคมไฟกลุ่ม เส้นตรงแนวนอนหรือแนวดิ่ง ที่ผ่านไปยังพื้นผิวปรากฎของหน้าที่เหล่านี้บนระนาบตั้งฉากกับแกนอ้างอิง ต้องไม่ตัดกับเส้นขอบมากก ว่า สองเส้นที่แยกพื้นที่ข้างเคียงของสีที่ต่างกัน (ข) โคมไฟเดี่ยว 1) โคมไฟเดี่ยวตามที่กาหนดไว้ใน (12) (ก) ของภาคผนวก 1 ท้ายประกาศนี้ ประกอบด้วยส่วนที่แตกต่างกันสองส่วนหรือมากกว่านั้น ที่ติดตั้งในลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ้ หนา 43 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

1 .1) พื้นที่รวมข องการฉายของส่วนที่แตกต่างกันบนระนาบที่สัมผัสกับพื้นผิว ภายนอกของเลนส์ด้านนอก และตั้งฉากกับแกนอ้างอิง ต้องครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 เมื่อเอา สี่เหลี่ยมใด ๆ ที่เล็กที่สุด มาครอบการฉายนั้น หรือ 1 .2) ระยะที่น้อยที่สุดระหว่างส่วนที่แตกต่างกันที่ใกล้หรือสัมผัส ต้องไม่เกิน 75 มิลลิเมตร เมื่อวัดตั้งฉากกับแกนอ้างอิง ข้อกาหนดเหล่านี้ ไม่ให้บังคับใช้กับอุปกรณ์สะท้อนแสงเดี่ยว 2) โคมไฟเดี่ยวตามที่กำหนดไว้ใน (12) (ข) หรือ (ค) ของภาคผนวก 1 ท้ายประกาศนี้ ประกอบด้วยโคมไฟสองดวงที่มีเครื่องหมาย D หรืออุปกรณ์สะท้อนแสงอิสระสองดวง ซึ่งจะต้องติดตั้งในลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 2 .1) พื้นที่รวมของการฉายของพื้นผิวปรากฏในทิศทางของแกนอ้างอิงของ โคมไฟ สองดวง หรืออุปกรณ์สะท้อนแสงสองดวง ต้องครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของพื้นที่ทั้งหมด เมื่อเอาสี่เหลี่ยมใด ๆ ที่เล็กที่สุด มาครอบการฉายของพื้นผิวปราก ฏ ดังกล่าวนั้นในทิศทางของแกนอ้างอิง หรือ 2 .2) ระยะที่น้อยที่สุดระหว่างขอบของพื้นผิวปรากฏในทิศทางแกนอ้างอิง ของโคมไฟสองดวง หรืออุปกรณ์สะท้อนแสงสองดวง ต้องไม่เกิน 75 มิลลิเมตร เมื่อวัดตั้งฉากกับ แกนอ้างอิง 3) โคมไฟเดี่ยว ที่กาหนดไว้ใน (12) (ง) ของภาคผนวก 1 ท้ายประกาศนี้ ต้องเป็นไปตามที่กาหนดใน 1) เมื่อโคมไฟสองดวงหรือมากกว่า หรือพื้นผิวปรากฏที่กันสองพื้นผิวหรือมากกว่า รวมอยู่ในตัวโคมไฟเดียวกัน หรือมีเลนส์ภายนอกร่วมกัน ไม่ถือว่าเป็นระบบโคมไฟพึ่งพา อย่างไรก็ตาม โคมไฟที่อยู่ในรูปของแถบหรือสายคาด อาจถือว่าเป็นส่วนหนึ่ง ของระบบโคมไฟพึ่งพา ( 7 ) ความสูงสูงสุดต้องวัดจากจุดสูงสุด และความสูง ต่า สุดต้องวัดจากจุด ต่า สุดของพื้นผิว ปราก ฏ ในทิศทางของแกนอ้างอิงจากพื้น สาหรับโคมไฟแสงพุ่ง ต่า ความสูง ต่า สุดจากพื้นต้องวัดจากจุด ต่า สุดของช่องทางออก ที่มีผลของ ระบบแสง (เช่น จานฉาย เลนส์ เลนส์ฉาย) ซึ่งเป็นอิสระจากการใช้งาน เมื่อความสูงจากพื้ น (สูงสุดและ ต่า สุด) เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในประกาศนี้ ขอบที่ชัดเจน ของพื้นผิวใด ๆ ไม่จำเป็นต้องกาหนด เมื่ออ้างถึงระยะห่างระหว่างโคมไฟ ตาแหน่งตามความกว้างต้องกาหนดจากขอบด้านใน ของพื้นผิวปราก ฏ ในทิศทางของแกนอ้างอิง เมื่อตำแหน่งตามความกว้างเป็นไปตามที่กำหนด ขอบที่ชัดเจนของพื้นผิวใด ๆ ไม่จำเป็นต้องกาหนด ้ หนา 44 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

เพื่อวัตถุประสงค์ของการลดมุมการมองเห็นเชิงเรขาคณิตลง ตำแหน่งของโคมไฟ ในส่วนความสูง จากพื้นต้องวัดจากระนาบ H ( 8 ) หากไม่มีคาแนะนาเฉพาะ ต้องไม่มีโคมไฟอื่นที่นอกเหนื อจากโคมไฟเลี้ยว โคมไฟสัญญาณ เตือนอันตราย และสัญญาณหยุดฉุกเฉินที่เป็นโคมไฟกระพริบ คุณลักษณะเชิงแสงของโคมไฟเลี้ยว ยกเว้นไฟเลี้ยว ประเภท 5 และ 6 ตามข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 6 ( UN R 6 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) และโคมไฟเลี้ยวที่ระบุ ในข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 50 ( UN R 50 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) อาจถูกแปรเปลี่ยนขณะ กระพริบโดยการเปล่งแสงตามลาดับ (ตามข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 6 ( UN R 6 ) ข้อ 5.6 หรือ ข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 148 ( UN R 148 ) ข้อ 5.6.11 หรือข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 50 ( UN R 50 ) ข้อ 6.8) ข้อกำหนดนี้ไม่บังคับใช้กับโคมไฟเลี้ยวด้านท้ายของรถ ประเภท 2 a และ 2 b ตามข้อกำหนดสหประชาชาติที่ 6 ( UN R 6 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) หรือประเภท 12 ตามข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 50 ( UN R 50 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) เมื่อทางานเป็นสัญญาณ หยุดฉุกเฉินตามข้อ 3 (14) ( 9 ) ต้องไม่เห็นแสงสีแดงจากโคมไฟที่อาจทาให้เกิดความเข้าใจผิดจากด้านหน้า และไม่เห็น แสงสีขาวจากโคมไฟที่อาจทาให้เกิดความเข้าใจผิดจากด้านหลัง ไม่ต้องทดสอบสาหรับโคมไฟที่ติดตั้ง ด้านในตัวรถ กรณีที่มีข้อสงสัย ให้ทา การตรวจสอบ ดังต่อไปนี้ ตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 6 ท้ายประกาศนี้ (ก) การเห็นแสงสีแดงจากด้านหน้า โคมไฟสีแดงต้องไม่สามารถถูกมองเห็นได้โดยตรง จากผู้สังเกตซึ่งเคลื่อนที่อยู่ในพื้นที่ 1 ของระนาบแนวขวางที่อยู่ด้านหน้า 25 เมตรจากจุดหน้าสุด ของรถ (ข) การเห็นแสงสีขาวจากด้านหลัง โคมไฟสีขาวต้องไม่สามารถถูกมองเห็นได้โดยตรงจาก ผู้สังเกตซึ่งเคลื่อนที่อยู่ในพื้นที่ 2 ของระนาบแนวขวางที่อยู่ด้านหลัง 25 เมตรจากจุดหลังสุดของรถ (ค) ในระนาบที่เกี่ยวข้อง พื้นที่ 1 และพื้นที่ 2 ที่สายตาของผู้สังเกตจะมองเห็น อยู่ใน ขอบเขต ดังต่อไปนี้ 1) ความสูง ระนาบแนวนอนสูงจากพื้น 1 เมตร และ 2.2 เมตร 2) ความกว้าง ระนาบแนวดิ่งสองระนาบ จากด้านหน้าและด้านหลังทำมุม 15 องศา ออกจากระนาบกึ่งกลางตามความยาวของรถ ผ่านไปยังจุดที่สัมผัสระนาบแนวดิ่งที่ขนานกับระนาบ กึ่งกลางตามความยาวของรถและกาหนความกว้างของรถ หากมีจุดที่สัมผัสหลายจุด จุดที่อยู่หน้าสุด ที่ระนาบหน้าและจุดที่อยู่หลังสุดที่ระนาบหลัง ตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 6 ท้ายประกาศนี้ ้ หนา 45 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

( 10 ) การเชื่อมต่อทางไฟฟ้าต้องเป็นในลักษณะที่โคมไฟแสดงตาแหน่งด้านหน้า หรือโคมไฟ แสงพุ่ง ต่า ถ้าไม่มีโคมไฟแสดงตาแหน่งด้านหน้า โคมไฟแสดงตาแหน่งด้านหลังและอุปกรณ์ส่องป้ายทะเบียนหลัง ต้องเปิดหรือปิดพร้อมกัน หากไม่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น ในกรณีของระบบโคมไฟพึ่งพา แหล่งกำเนิดแสงทั้งหมดต้องเปิดพร้อมกันและปิดพร้อมกัน ( 11 ) ในกรณีที่ไม่มีคาแนะนาเฉพาะ การเชื่อมต่อทางไฟฟ้าต้องเป็นในลักษณะที่โคมไฟแสงพุ่งไกล โคมไฟแสงพุ่ง ต่า และโคมไฟตัดหมอก ไม่สามารถเปิดใช้งานได้ หากโคมไฟตาม (10) ไม่เปิดใช้งาน เช่นกัน อย่างไรก็ตาม ความข้างต้นนี้จะไม่จาเป็นในกรณีที่โคมไฟแสงพุ่งไกลและโคมไฟแสงพุ่ง ต่า ที่ให้ สัญญาณเตือนด้วยแสงโดยการเปิดโคมไฟแสงพุ่ง ต่า เป็นจังหวะในช่วงเวลาสั้น หรือโดยการเปิดโคมไฟ แสงพุ่งไกลเป็นจังหวะ หรือโดยการเปิดโคมไฟแสงพุ่งไกลและโคมไฟแสงพุ่ง ต่า สลับกันในช่วงเวลาสั้น ถ้า มีการติดตั้งโคมไฟใช้งานกลางวันต้องเปิดใช้โดยอัตโนมัติเมื่อเครื่องยนต์กาลังทางาน ถ้าโคมไฟหน้าเปิดใช้งาน โคมไฟใช้งานกลางวันจะไม่เปิดขึ้น เมื่อเครื่องยนต์กำลังทำงาน ถ้าไม่ได้มีการติดตั้งโคมไฟใช้งานกลางวัน โคมไฟหน้าจะต้องเปิดใช้งานโดยอัตโนมัติ เมื่อเครื่องยนต์กำลังทำงาน ( 12 ) สัญญาณแสงแสดงการทำงาน ( Tell - tale lamps ) (ก) สัญญาณแสงแสดงการทำงานทุกดวง ต้องมองเห็นได้ง่ายจากผู้ขับรถในตาแหน่ง การขับรถปกติ (ข) สัญญาณแบบวงจรปิด ( Circuit - closed tell - tale ) ตามประกาศนี้ อาจใช้แทนด้วย สัญญาณแสดงการทำงาน ( Operating tell - tale ) ( 13 ) สีของแสง สีของแสงในประกาศนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ (ก) โคมไฟแสงพุ่งไกล สีขาว (ข) โคมไฟแสงพุ่ง ต่า สีขาว (ค) โคมไฟเลี้ยว สีอำพัน (ง) โคมไฟหยุด สีแดง (จ) โคมไฟส่องแผ่นป้ายทะเบียนรถด้านท้าย สีขาว (ฉ) โคมไฟแสดงตาแหน่งด้านหน้า สีขาว หรือสีอำพัน (ช) โคมไฟแสดงตาแหน่งด้านท้าย สีแดง (ซ) อุปกรณ์สะท้อนแสงด้านท้าย (ไม่เป็นรูปสามเหลี่ยม) สีแดง (ฌ) อุปกรณ์สะท้อนแสงด้านข้าง (ไม่เป็นรูปสามเหลี่ยม) สีอำพัน ที่ด้านหน้า สีอำพัน หรือสีแดงที่ด้านท้าย (ญ) สัญญาณเตือนอันตราย สีอำพัน (ฎ) โคมไฟตัดหมอกด้านหน้า สีขาว หรือสีเหลืองอ่อน (ฏ) โคมไฟตัดหมอกด้านท้าย สีแดง ้ หนา 46 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

(ฐ) โคมไฟใช้งานกลางวัน สีขาว (ฑ) สัญญาณหยุดฉุกเฉิน สีอำพัน หรือสีแดง (ฒ) โคมไฟเสริมขณะเข้าออกรถ สีขาว ( 14 ) รถจักรยานยนต์ที่ยื่นขอรับรองแบบ ต้องติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณ ดังต่อไปนี้ (ก) โคมไฟแสงพุ่งไกล (ข) โคมไฟแสงพุ่ง ต่า (ค) โคมไฟเลี้ยว (ง) โคมไฟหยุด ประเภท S 1 ตามข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 7 ( UN R 7 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) หรือโคมไฟหยุดตามข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 50 ( UN R 50 ) หรือโคมไฟ ห ยุด สำหรับ รถประเภท L ตามข้อกำหนดสหประชาชาติที่ 148 ( UN R 148 ) (จ) โคมไฟส่องแผ่นป้ายทะเบียนด้านท้าย (ฉ) โคมไฟแสดงตาแหน่งด้านหน้า (ช) โคมไฟแสดงตาแหน่งด้านท้าย (ซ) อุปกรณ์สะท้อนแสงด้านท้าย (ไม่เป็นสามเหลี่ยม) (ฌ) อุปกรณ์สะท้อนแสงด้านข้าง (ไม่เป็นสามเหลี่ยม) ( 15 ) อุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณที่อาจติดตั้งเพิ่ม มีดังต่อไปนี้ (ก) สัญญาณเตือนอันตราย (ข) โคมไฟตัดหมอก 1 ) โคมไฟตัดหมอกด้านหน้า 2 ) โคมไฟตัดหมอกด้านท้าย (ค) โคมไฟใช้งานกลางวัน (ง) โคมไฟหยุด ประเภท S 3 ตามข้อกาหนดสหประชาชาติที่ 7 ( UN R 7 ) หรือ 148 ( UN R 148 ) (จ) สัญญาณหยุดฉุกเฉิน (ฉ) โคมไฟเสริมขณะเข้าออกรถ ( 16 ) การติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณระบุใน (14) และ (15) ต้องสอดคล้องกับคุณสมบัติและคุณลักษณะที่เกี่ยวข้องตามที่กาหนดในข้อ 3 ( 17 ) ห้ามทาการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณ นอกเหนือจากที่ระบุใน (14) และ (15) สำหรับวัตถุประสงค์เพื่อการรับรองแบบ ( 18 ) อุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณที่รับร องแบบสาหรับรถประเภทรถยนต์นั่ง ( M 1) และรถยนต์บรรทุก ( N 1) และเป็นไปตาม (14) และ (15) อาจติดตั้งกับรถจักรยานยนต์ได้ ้ หนา 47 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

( 19 ) โคมไฟแสดงตาแหน่งด้านท้าย โคมไฟเลี้ยวด้านท้าย และอุปกรณ์สะท้อนแสงด้านท้าย อาจติดตั้งบนส่วนประกอบของรถที่เคลื่อนที่ได้ ในกรณีดังต่อไปนี้เท่านั้น (ก) ในกรณีทุกตาแหน่งคงที่ของส่วนประกอบที่เคลื่อนที่ได้ โคมไฟบนส่วนประกอบที่ เคลื่อนที่ได้ มีตาแหน่งมุมของการมองเห็นเชิงเรขาคณิตและคุณสมบัติเชิงแสง สอดคล้องตามที่กาหนดไว้ สำหรับโคมไฟนั้น ๆ (ข) ในกรณีการทางานของการทางานของโคมไฟ แสดงตาแหน่งด้านท้าย โคมไฟเลี้ยว ด้านท้าย และอุปกรณ์สะท้อนแสงด้านท้าย ที่ได้จากชุดโคมไฟของโคมไฟสองดวงที่มีเครื่องหมาย D ที่กาหนดไว้ใน (12) ของภาคผนวก 1 ท้ายประกาศนี้ ให้โคมไฟดวงเดียวเท่านั้นที่ต้องมีตาแหน่งมุม ของการมองเห็นเชิงเรขาคณิตและคุณสมบัติเชิงแสง สอดคล้องตามที่กาหนดไว้สำหรับโคมไฟที่ตำแหน่ง ยึดติดทั้งหมดของส่วนประกอบที่เคลื่อนที่ได้ (ค) เมื่อมีโคมไฟเพิ่มเติมสาหรับที่ทาหน้าที่ข้างต้นได้ถูกติดตั้งและทางาน เมื่อส่วนประกอบ ที่เคลื่อนที่ได้อยู่ในตาแหน่งเปิดที่ ซึ่งคงที่ใด ๆ หากโคมไฟเพิ่มเติมเหล่านี้มีตาแหน่งมุมของการมองเห็น เชิงเรขาคณิตและคุณสมบัติเชิงแสง สอดคล้องตามที่กาหนดไว้สาหรับโคมไฟที่ติดตั้งบนส่วนประกอบ ที่เคลื่อนที่ได้นั้น ในทุกตาแหน่งเปิดที่คงที่ (ง) ในกรณีการทางานของโคมไฟแสดงตาแหน่งด้านท้าย โคมไฟเลี้ยวด้านท้าย และ อุปกรณ์สะท้อนแสงด้านท้าย ที่มาจากระบบโคมไฟพึ่งพาให้ใช้เงื่อนไข ดังต่อไปนี้ 1 ) ถ้าระบบโคมไฟพึ่งพาทั้งระบบติดตั้งบนส่วนประกอบที่เคลื่อนที่ได้ ต้องเป็นไปตาม ที่กาหนดใน (ก) อย่างไรก็ตาม โคมไฟที่เพิ่มเติมสาหรับทาหน้าที่ข้างต้นอาจทางานได้ เมื่อส่วนประกอบ ที่เคลื่อนที่ได้อยู่ในตาแหน่งเปิดที่ซึ่งคงที่ใด ๆ ถ้าโคมไฟเพิ่มเติมเหล่านี้มีตาแหน่งมุมของการมองเห็น เชิงเรขาคณิต คุณสมบัติเชิงสีและคุณสมบัติเชิงแสง สอดคล้องตามที่กาหนดไว้สาหรับโคมไฟที่ ติดตั้ง บนส่วนประกอบที่เคลื่อนที่ได้ หรือ 2 ) ถ้าระบบโคมไฟพึ่งพาที่บางส่วนติดตั้งบนส่วนประกอบที่คงที่ และบางส่วนติดตั้ง บนส่วนประกอบที่เคลื่อนที่ได้ ระบบโคมไฟพึ่งพาที่ผู้ผลิตอยู่ระหว่างยื่นขอรับรองแบบมีตาแหน่ง การมองเห็นเชิงเรขาคณิตออกด้านนอก คุณสมบัติเชิงสี และคุณสมบัติเชิงแสง สอดคล้องตามที่กาหนดไว้ สาหรับโคมไฟนั้นที่ตาแหน่งคงที่ทั้งหมดของส่วนประกอบที่เคลื่อนที่ได้ การมองเห็นเชิงเรขาคณิต เข้าด้านในถือว่าเป็นไปตามที่กาหนดหากระบบโคมไฟพึ่งพายังมีค่าคุณสมบัติเชิงแสงที่กาหนดในพื้นที่ การกระจายแส งสำหรับการรับรองแบบของโคมไฟ ที่ตำแหน่งคงที่ทั้งหมดของส่วนประกอบที่เคลื่อนที่ได้ การมองเห็นเชิงเรขาคณิตเข้าด้านในจะถือว่าเป็นไปตามที่กาหนด ถ้าโคมไฟพึ่งพายังคงมีคุณสมบัติ ค่าเชิงแสงตามที่กาหนดในพื้นที่กระจายแสงสาหรับการรับรองแบบของอุปกรณ์ที่ทุกตาแหน่งคงที่ ของ ส่วนประกอบที่เคลื่อนที่ได้ ้ หนา 48 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

( 20 ) ข้อกาหนดทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็นเชิงเรขาคณิต (ก) ต้องไม่มีสิ่งบดบังภายในมุมของการมองเห็นเชิงเรขาคณิตต่อการกระจายแสง จากส่วนใดส่วนหนึ่งของพื้นผิวปราก ฏ ของโคมไฟที่สังเกตจากระยะอนันต์ ( Infinity ) อย่างไรก็ตาม จะไม่ถือว่าเป็นสิ่งบดบัง หากสิ่งนั้นมีอยู่ก่อนแล้วเมื่อโคมไฟได้รับการรับรองแบบ (ข) ถ้าการวัดเข้าใกล้โคมไฟ ทิศทางของการสังเกตย่อมต้องเลื่อนให้ขนานเพื่อให้ได้ ความแม่นยำเช่นเดียวกัน (ค) ในกรณีที่โคมไฟติดตั้งแล้ว ถ้าส่วนใด ๆ ของพื้นผิวปรากฏของโคมไฟซ่อนไ ว้ด้วย ส่วนใดของตัวรถ ต้องพิสูจน์ให้ได้ว่าส่วนของโคมไฟที่ไม่ถูกบังจากสิ่งบดบังนั้นยังคงมีค่าเชิงแสง สอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในการรับรองแบบของโคมไฟ (ง) เมื่อมุมในแนวดิ่งของมุมของการมองเห็นเชิงเรขาคณิต ต่า กว่าระนาบแนวนอนอาจลด เป็น 5 องศา ได้ (โคมไฟที่ติดตั้งสูงจากพื้นที่น้อยกว่า 750 มิลลิเมตร เมื่อวัดตาม (7)) บริเวณ การวัดแสงของหน่วยแสง ที่ติดตั้งอาจลดเป็น 5 องศา ที่ ต่า กว่าระนาบแนวนอน (จ) ในกรณีระบบโคมไฟพึ่งพา การมองเห็นเชิงเรขาคณิตต้องเป็นไปตามที่กาหนด เมื่อโคมไฟพึ่งพาทั้งหมดทำงานพร้อมกัน หมวด 2 การรับรองแบบ ส่วนที่ 1 การยื่นคำขอ ข้อ 5 ผู้ผลิตรถที่ประสงค์ขอรับรองแบบการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณ ของรถจักรยานยนต์ ให้ยื่นคาขอ ณ สานักวิศวกรรมยานยนต์ กรมการขนส่งทางบก พร้อมด้วย เอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) บุคคลธรรมดา (ก) บัตรประจำตัวประชาชน ในกรณีผู้ขอเป็นคนต่างด้าวตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง ให้ยื่นใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวพร้อมทั้งหลักฐานแสดงที่พักอาศัยในราชอาณาจักรที่ทางราชการหรือ หน่วยงานของรัฐบาลต่างประเทศหรือองค์ การระหว่างประเทศออกให้ (ข) หนังสือมอบอำนาจในกรณีมีการมอบอำนาจ พร้อมภาพถ่ายบัตรประจำตัวประชาชน ของผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ (ค) เอกสารหลักฐานแสดงข้อมูลประกอบการพิจารณาตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 7 จำนวน 3 ชุด ดังต่อไปนี้ 1 ) คำอธิบายอย่างละเอียดของแบบรถ ตามที่กาหนดในข้อ 7 (1) ถึงข้อ 7 (3) ้ หนา 49 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

2 ) รายการอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ที่ผู้ผลิต กำหนดรายการที่อาจรวมแบบของอุปกรณ์หลายแบบที่ทำงานแต่ละหน้าที่ โดยแต่ละแบบต้อง ระบุรายละเอียดอย่างเหมาะสม ได้แก่ เครื่องหมายรับรองแบบในประเทศหรือระหว่างประเทศ (ถ้าได้รับการรับรอง) ชื่อผู้ผลิต และอื่น ๆ นอกจากนี้ รายการที่อาจหมายรวมถึงแต่ละหน้าที่หรือ อุปกรณ์ที่เทียบเท่า 3) รูปภาพหรือรูปวาดของการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณ ของรถจักรยานยนต์ทั้งหมดที่แสดงอุปกรณ์ต่าง ๆ บนรถจักรยานยนต์ 4 ) หากจาเป็น เพื่อแสดงการสอดคล้องตามประกาศนี้ รูปภาพหรือรูปวาดของ แต่ละอุปกรณ์ (โคมไฟ) ที่แสดงพื้นผิวส่องสว่างตามที่กาหนดใน (5) (ก) พื้นผิวเปล่งแสงตาม (4) แกนอ้างอิงตาม (7) และจุดศู นย์กลางอ้างอิงตาม (8) ของภาคผนวก 1 ท้ายประกาศนี้ แต่ข้อมูล เหล่านี้ไม่จาเป็นสาหรับอุปกรณ์ส่องแผ่นป้ายทะเบียนรถด้านท้ายตาม (3) (จ) ของภาคผนวก 1 ท้ายประกาศนี้ 5 ) ให้ระบุข้อมูลวิธีการที่ใช้ในการกาหนดพื้นผิวปรากฏตาม (6) ของภาคผนวก 1 ท้ายประกาศนี้ 6 ) รถเปล่าที่ติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณตาม 2) ที่เป็นตัวแทน ของแบบรถจักรยานยนต์ (ง) หลักฐานผลการทดสอบหรือผลการตรวจสอบการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์ แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ (ถ้ามี) (จ) หลักฐานการประเมินระบบควบคุมคุณภาพการผลิตตามขั้นตอนการผลิตให้เป็นไป ตามต้นแบบ (ถ้ามี) (ฉ) หลักฐานการผ่านการรับรองมาตรฐานหรือข้อกำหนดทางเทคนิคของการติดตั้ง อุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ (ถ้ามี) ( 2 ) ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน ห้างหุ้นส่ วนจำกัด บริษัทจำกัด (ก) หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (ข) ภาพถ่ายบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มีอานาจลงนาม ในกรณีผู้มีอำนาจลงนามเป็น คนต่างด้าวตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองให้ยื่นใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว พร้อมทั้งหลักฐานแสดง ที่พักอาศัยในราชอาณาจักรที่ ทางราชการหรือหน่วยงานของรัฐบาลต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ ออกให้ (ง) เอกสารตาม (1) (ข) (ค) (ง) (จ) และ (ฉ) ้ หนา 50 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

( 3 ) ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือสถาบันการศึกษา (ก) หนังสือมอบอานาจของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือสถาบันการศึกษา ให้ดาเนินการ ยื่นคำขอหนังสือรับรองแบบ พร้อมภาพถ่ายบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ (ข) เอกสารตาม (1) (ค) (ง) (จ) และ (ฉ) ส่วนที่ 2 การตรวจสอบ ข้อ 6 เมื่อได้รับคาขอแล้ว ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับคาขอตรวจสอบเอกสารหลักฐานให้ครบถ้วน ถูกต้อง ในกรณีที่เอกสารไม่ครบถ้วนถูกต้อง ให้แจ้งให้ผู้ยื่นคาขอไปดาเนินการแก้ไขภายใน 45 วัน ในกรณีที่เอกสารครบถ้วนถูกต้องให้ดาเนินการ ต่อไปนี้ ( 1 ) ตรวจสอบคุณสมบัติ คุณลักษณะ และการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณ ของรถจักรยานยนต์ (ก) ดาเนินการตรวจสอบคุณสมบัติ คุณลักษณะ และการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและ อุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ ตามที่กาหนดไว้ในหมวด 1 (ข) ตรวจสอบผลการทดสอบหรือตรวจสอบคุณสมบัติ คุณลักษณะ และการติดตั้ง อุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ตาม (ก) ของผู้ผลิตหรือหน่วยงาน ทดสอบอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1) ผลการทดสอบหรือตรวจสอบของผู้ผลิตที่เป็นหน่วยงานทดสอบตามที่กาหนดไว้ ในภาคผนวก 8 ท้ายประกาศนี้ 2) ผลการทดสอบหรือตรวจสอบของหน่วยงานทดสอบตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 8 ท้ายประกาศนี้ 3) ผลการทดสอบหรือตรวจสอบของหน่วยงานทดสอบท้ายความตกลงว่าด้วย การรับรองข้อกำหนดทางเทคนิคของยานยนต์ อุปกรณ์และส่วนควบที่ติดตั้งหรือใช้ในยานยนต์ และเงื่อนไขสาหรับการยอมรับร่วมกันของการให้ความเห็นชอบในข้อกาหนดทางเทคนิค ค.ศ. 1958 ของคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจแห่ง ยุโรป องค์กรสหประชาชาติ 4) ผลการทดสอบหรือตรวจสอบของผู้ผลิตที่มีวิศวกรที่ได้รับมอบหมายจาก กรมการขนส่งทางบกเป็นพยานในการทดสอบหรือตรวจสอบตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในหมวด 1 ในกรณีที่กรมการขนส่งทางบกยอมรับผลการทดสอบหรือตรวจสอบคุณสมบัติ คุณลักษณะและการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ตาม (ข) ให้ยกเว้นการทดสอบหรือตรวจสอบตามที่กาหนดไว้ในหมวด 1 ้ หนา 51 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

(2) ตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ( Conformity of Prod uction : COP ) (ก) ดาเนินการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 9 ท้ายประกาศนี้ เว้นแต่กรณีการขอรับรองแบบการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของ รถจักรยานยนต์เป็นรายคัน โดยระบุตัวเลขบ่งชี้ยานยนต์ ( Vehicle Identification Number : VIN ) ให้ยกเว้นการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบดังกล่าว (ข) ตรวจสอบผลการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบของผู้ผลิตหรือหน่วยงาน ทดสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1) ผลการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบของผู้ผลิตที่เป็นหน่วยงาน ท ดสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 8 ท้ายประกาศนี้ 2) ผลการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบของหน่วยงานทดสอบการผลิต ให้เป็นไปตามต้นแบบตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 8 ท้ายประกา ศนี้ 3) ผลการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบของหน่วยงานตรวจสอบการผลิต ให้เป็นไปตามต้นแบบท้ายความตกลงว่าด้วยการรับรองข้อกำหนดทางเทคนิคของยานยนต์ อุปกรณ์และ ส่วนควบที่ติดตั้ง หรือใช้ในยานยนต์ และเงื่อนไขสาหรับการยอมรับร่วมกันของการให้ความเห็นชอบ ในข้อกาห นดทางเทคนิค ค.ศ. 1958 ของคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจแห่งยุโรป องค์การสหประชาชาติ 4) ผลการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบของหน่วยงานตรวจสอบการผลิต ให้เป็นไปตามต้นแบบที่ได้รับอนุญาตจากสานักงานคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการรับรองระบบงาน โดยต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดในประเภทของหน่วยงานตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 8 ท้ายประกาศนี้ ในกรณีที่กรมการขนส่งทางบกยอมรับผลการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบตาม (ข) ให้ยกเว้นการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบตามที่กาห นดไว้ในภาคผนวก 9 ท้ายประกาศนี้ ส่วนที่ 3 เงื่อนไขและเกณฑ์การรับรองแบบ ข้อ 7 การขอรับรองแบบของรถจักรยานยนต์ที่เกี่ยวข้องกับการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและ อุปกรณ์แสงสัญญาณ ที่ถือว่าเป็นแบบเดียวกัน ต้องไม่มีความแตกต่างในสาระสาคัญอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ขนาดและรูปร่างภายนอกของรถ ( 2 ) จำนวนและตาแหน่งของอุปกรณ์ ( 3 ) รถในกรณีดังต่อไปนี้ ไม่ถือว่าเป็นรถที่ต่างแบบ (ก) รถที่แตกต่างกันตามคานิยามใน (1) และ (2) แต่ไม่ใช่ในลักษณะของการเปลี่ยน ประเภท จำนวน ตาแหน่ง และการมองเห็นทางเรขาคณิตของโคม ไฟสำหรับแบบรถจักรยานยนต์นั้น ้ หนา 52 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

(ข) รถที่โคมไฟรับรองแบบตามข้อกาหนดสหประชาชาติที่แนบท้ายความตกลงว่าด้วย การรับรองข้อกำหนดทางเทคนิคของยานยนต์ อุปกรณ์และส่วนควบที่ติดตั้งหรือใช้ในยานยนต์ และเงื่อนไขสาหรับการยอมรับร่วมกันของการให้ความเห็นชอบในข้อกาหนดทางเทคนิ ค ค.ศ. 1958 หรือโคมไฟที่บางประเทศยอมให้รถจดทะเบียนติดตั้ง หรือไม่มีในกรณีที่เป็นอุปกรณ์ที่อาจมี ข้อ 8 การพิจารณารับรองแบบการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณ ของรถจักรยานยนต์ ต้องมีคุณสมบัติและคุณลักษณะเป็นไปตามที่กาหนดไว้ในหมวด 1 และผ่าน การตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบตามที่กำหนดไว้ในภาคผนวก 8 ท้ายประกาศนี้ หรือกรมการขนส่งทางบกยอมรับผลการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ แล้วแต่กรณี ข้อ 9 ในกรณีที่แบบการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ ผ่านการรับรองตามมาต รฐานหรือข้อกาหนดทางเทคนิคดังต่อไปนี้ ให้ถือว่ามีคุณสมบัติและคุณลักษณะ เป็นไปตามประกาศนี้ ( 1 ) มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมของสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 2343 - 2561 ว่าด้วยการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ ขึ้นไป ( 2 ) ข้อกาหนดสหประชาชาติว่าด้วยการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของ รถจักรยานยนต์ อนุกรมที่ 01 ( United Nations Regulation : UN R 53.01 ) ขึ้นไป ส่วนที่ 4 การออกหนังสือรับรองแบบ ข้อ 10 เมื่อดาเนินการตามข้อ 8 เรียบร้อยแล้ว ปรากฏว่าการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและ อุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์มีคุณสมบัติ คุณลักษณะ และการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและ อุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในหมวด 1 และผู้ยื่นคาขอผ่าน การประเมินระบบคุณภาพการผลิต หรือกรมการขนส่งทางบก ยอมรับผลการตรวจประเมินคุณภาพการผลิต ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบนำเสนออธิบดีหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย เพื่อออกหนังสือรับรองแบบให้กับ ผู้ยื่นคำขอภายใน 30 วัน หนังสือรับรองแบบให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 10 ท้ายประกาศนี้ เครื่องหมายรับรองแบบในหนังสือรั บรองแบบให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 11 ท้ายประกาศนี้ ข้อ 11 ในกรณีคุณสมบัติ คุณลักษณะ และการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณ ของรถจักรยานยนต์ที่ขอรับรองแบบ ไม่เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในหมวด 1 หรือไม่ผ่านการตรวจสอบ การผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 8 ท้ายประกาศนี้ ให้ถือว่าไม่ผ่านการรับรองแบบ ตามประกาศนี้ และให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบแจ้งให้ผู้ยื่นคำขอทราบ ้ หนา 53 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

ส่วนที่ 5 การตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบที่ได้รับหนังสือรับรองแบบ ข้อ 12 การติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ที่ได้รับ การรับรองแบบแล้ว ให้มีการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบที่ได้รับการรับรองตามที่กาหนด ไว้ในภาคผนวก 9 ท้ายประกาศนี้ และต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (1) โคมไฟที่ได้รับการรับรองแบบต้องมีคุณสมบัติและคุณลักษณะเป็นไปตามที่กาหนดไว้ใน หมวด 1 ( 2 ) ขั้นตอนการควบคุมการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบตามที่กาหนดไว้ใน ภาคผนวก 12 ท้ายประกาศนี้ กรมการขนส่งทางบกอาจสุ่มตัวอย่างรถที่ได้รับรองแบบการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่า งและอุปกรณ์ แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์แล้ว ให้มีกระบวนการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ โดยให้ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างและดาเนินการตรวจสอบตามที่กำหนดไว้ในหมวด 1 โดยให้ตรวจสอบการผลิต ปีละครั้ง ส่วนที่ 6 การแก้ไขหรือเพิ่มเติมการรับรองแบบ ข้อ 1 3 ในกรณีที่ผู้ผลิตได้รับหนังสือรับรองแบบประสงค์จะขอแก้ไขหรือเพิ่มเติมแบบของ การติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ หรือรายละเอียดของ หนังสือรับรองแบบ ให้ยื่นคาขอแก้ไขหรือเพิ่มเติม ณ สานักวิศวกรรมยานยนต์ กรมการขนส่งทางบก พร้อมด้ว ยเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี้ (1) หนังสือรับรองแบบฉบับเดิม ( 2 ) เอกสารแสดงข้อมูลการแก้ไขเพิ่มเติม และรายงานผลการทดสอบหรือผลการตรวจสอบ รูปวาดหรือรูปภาพ ในกรณีที่ขอแก้ไขเพิ่มเติมรายละเอียดที่เกิดการลงรายการในหนังสือรับรองแบบผิดพลาด คลาดเคลื่อนให้ใช้เฉพาะหลักฐานตาม (1) หรือในกรณีการขอแก้ไขเพิ่มเติมตามวรรคหนึ่ง ที่ไม่จาเป็นต้องพิจารณาผลทดสอบ รูปวาดหรือรูปภาพ ให้ได้รับการยกเว้นหลักฐานรายงานผลการทดสอบ รูปวาดหรือรูปภาพตาม (2) ข้อ 1 4 เมื่อได้รับคาขอตามข้อ 1 3 แล้ว ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับคาขอตรวจสอบเอกสารหลักฐาน ให้ครบถ้วนถูกต้อง ในกรณีที่เอกสารไม่ครบถ้วนถูกต้อง ให้แจ้งให้ผู้ยื่นคาขอไปดาเนินการแก้ไข ภายใน 30 วัน ในกรณีเอกสารครบถ้วนถูกต้องให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้ ้ หนา 54 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

( 1 ) การขอแก้ไขเพิ่มเติมข้อผิดพลาดในการออกหนังสือรับรองแบบ เช่น ลงรายละเอียด ผิดพลาดให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบข้อผิดพลาดตามคาขอ หากเห็นว่ามีรายการผิดพลาดจริงให้แก้ไขรายการ ในหนังสือรับรองแบบให้ถูกต้องพร้อมลงลายมือชื่อผู้ทำการแก้ไขและวันที่กำกับไว้ใน รายการที่มีการแก้ไข หากเห็นว่ารายละเอียดของหนังสือรับรองถูกต้องแล้ว ให้ชี้แจงหรือแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ยื่นคำขอทราบ ( 2 ) การขอแก้ไขหรือเพิ่มเติมแบบของการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณ ของรถจักรยานยนต์ ให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบการขอแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าวว่าจำเป็นต้องดาเนินการทดสอบ หรือไม่แล้วดาเนินการ ดังต่อไปนี้ (ก) กรณีการขอแก้ไขเพิ่มเติมที่ไม่ต้องทาการทดสอบ ให้พิจารณาความถูกต้องของ เอกสารแสดงข้อมูลประกอบการขอแก้ไขเพิ่มเติม หากเห็นว่าถูกต้อง ให้ดาเนินกา รแก้ไขเพิ่มเติมเอกสาร ท้ายหนังสือรับรองแบบ พร้อมจัดทาเครื่องหมายการรับรองแบบในส่วนที่มีการเปลี่ยนแปลง ตามที่ กาหนดไว้ในภาคผนวก 11 ท้ายประกาศนี้ พร้อมทั้งลงลายมือชื่อผู้ทาการแก้ไขและวันที่กากับไว้ใน รายการที่มีการแก้ไข (ข) กรณีการขอแก้ไขเพิ่มเติมที่ต้องทา การทดสอบ ให้พิจารณาความถูกต้องของเอกสาร แสดงข้อมูลประกอบการขอแก้ไขเพิ่มเติม หากเห็นว่าถูกต้อง ให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการตามข้อ 10 และเมื่อดาเนินการเรียบร้อยแล้วปรากฏว่า เอกสารและผลการทดสอบครบถ้วนถูกต้อง ให้ดาเนินการ ออกหนังสือรับรองแบบฉบับใหม่ให้กับผู้ ยื่นคำขอต่อไป หมวด 3 การเลิกการผลิต ประกอบ หรือนำเข้า ข้อ 1 5 ในกรณีผู้ผลิตที่ได้รับหนังสือรับรองแบบประสงค์จะเลิกการผลิต ประกอบ หรือนำเข้ารถที่มีการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ตามแบบ ที่ได้รับการรับรองไว้แล้ว ให้แจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับการเลิกการผลิต ประกอบ หรือนาเข้ารถที่ติดตั้ง ดังกล่าวเป็นหนังสือให้กรมการขนส่งทางบกทราบ หมวด 4 การกำกับดูแลผู้ได้รับหนังสือรับรองแบบ ข้อ 1 6 ผู้ผลิตที่ได้รับหนังสือรับรองแบบต้องอานวยความสะดวกให้แก่อธิบดีหรือผู้ที่อธิบดี มอบหมาย เข้าทำการตรวจสอบกระบวนการผลิต ทำการทดสอบ หรือทาการติดตั้ง ตลอดจน ตรวจสอบการปฏิบัติตามประกาศนี้ ณ โรงงานผลิต โรงงานประกอบ คลังสินค้า สถานที่ติดตั้ง หรือสถานที่ทำการทดสอบหรือตรวจสอบ ้ หนา 55 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

ข้อ 1 7 เมื่อปรากฏว่าผู้ผลิตที่ได้รับหนังสือรับรองแบบผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในประกาศนี้ หรือเจตนาทุจริตหรือจงใจยื่นเอกสารแสดงข้อมูลที่เป็นเท็จ หรือปลอมแปลงหลักฐานหรือเอกสารแสดงข้อมูลในการขอรับรองแบบ ให้กรมการขนส่งทางบกมีอานาจ ตัก เตือน ระงับใช้หนังสือรับรองแบบชั่วคราว หรือเพิกถอนหนังสือรับรองแบบ ตามควรแต่กรณี หมวด 5 การอุทธรณ์ ข้อ 1 8 ผู้ผลิตที่ได้รับหนังสือรับรองแบบซึ่งถูกระงับใช้หนังสือรับรองแบบชั่วคราว หรือถูกสั่ง เพิกถอนหนังสือรับรองแบบ มีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือต่ออธิบดีได้ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้ง การระงับใช้หนังสือรับรองแบบชั่วคราวหรือถูกเพิกถอนหนังสือรับรองแบบ โดยระบุข้อโต้แย้ง ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายที่อ้างอิงประกอบด้วย และให้นาหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับ กา รอุทธรณ์ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับ ทั้งนี้ การอุทธรณ์ดังกล่าว ไม่เป็นการทุเลาการบังคับตามคาสั่งระงับใช้หนังสือรับรองแบบชั่วคราว หรือคาสั่งเพิกถอนหนังสือ รับรองแบบ หมวด 6 การใช้บังคับ ข้อ 19 ประกาศนี้ใช้บังคับกับแบบของรถจักรยานยนต์ที่เกี่ยวข้องกับการติดตั้งอุปกรณ์ ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณแบบใหม่ และแบบที่มีความแตกต่างกันในสาระสาคัญตามที่ระบุ ในข้อ 7 ที่ผลิต ประกอบ หรือนำเข้าตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2567 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 256 5 จิรุตม์ วิศาลจิตร อธิบดีกรมการขนส่งทางบก ้ หนา 56 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 8 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มกราคม 2566

ภาคผนวก 1 นิยามศัพท์ __________________ (1) “ ระนาบตามขวาง ” ( Transverse plane) หมายค วามว่า ระนาบแนวดิ่งที่ตั้งฉากกับระนาบ กึ่งกลางตามยาวของตัวรถ (2) “ รถที่ไม่มีการบรรทุก ” ( Unladen vehicle ) หมายความว่า รถที่ไม่มีคนขับ คนโดยสาร และ ไม่มีการบรรทุก แต่บรรจุเชื้อเพลิงเต็มและมีอุปกรณ์มาตรฐานครบถ้วน ( 3 ) “ โคมไฟ ” ( Lamp ) หมำยความว่า อุปกรณ์ที่ถูกออกแบบมาเพื่อให้ส่องสว่างถนน หรืออุปกรณ์ ที่ให้สัญญาณแสงแก่ผู้ใช้รถใช้ถนนอื่น ทั้งนี้ โคมไฟส่องแผ่นป้ายทะเบียน รถ ด้านท้าย ( Rear registration plate illuminating lamp ) และอุปกรณ์สะท้อนแสง ( Retro reflector ) ให้ถื อเป็นโคมไฟเช่นกัน และได้แก่ (ก) “ โคมไฟแสงพุ่งไกล ” ( Driving - beam ( main - beam ) headlamp ) หมายความว่า โคมไฟที่ มีทิศทางส่องสว่างถนนไปด้านหน้ารถเป็นระยะทางยาว (ข) “ โคมไฟแสงพุ่งต่่า ” ( Passing - beam ( dipped - beam ) headlamp ) หมายความว่า โคมไฟที่มีทิศทางส่องสว่างถนนไปด้านหน้ารถ โดยปราศจากการรบกวนสายตาที่เป็นเหตุให้เกิดความร่าคาญต่อผู้ ขับรถ และผู้ใช้รถใช้ถนนอื่นที่สวนทางมา โดย โคมไฟแสงพุ่งต่่าหลัก ” ( Principal Passing - beam ( principal dipped - beam ) headlamp ) ล่าแสงพุ่งต่่าที่ได้โดยปราศจากการช่วยเหลือของตัวจ่ายแสงอินฟาเรด ( Infrared ( IR ) emitters ) หรือแหล่งก่าเนิดแสงเพิ่มส่าหรับไฟส่องสว่างทางโค้ง ( Bend lighting ) (ค) “ โคมไฟเลี้ยว ” ( Direction indicator lamp ) หมายความว่า โคมไฟที่ใช้แสดงต่ อผู้ใช้ รถ ใช้ถนนอื่นว่าผู้ขับรถจะเปลี่ยนทิศทางไปทางขวาหรือทางซ้าย โดยโ คมไฟเลี้ยวอาจใช้ตามที่ก่าหนดใน ข้อก่าหนดสหประชาชาติที่ 97 (UN Regulation No. 97 ) (ง) “ โคมไฟหยุด ” ( Stop lamp ) หมายความว่า โคมไฟที่ใช้แสดงต่อผู้ใช้รถ ใช้ถนนอื่นที่ด้าน ท้ายรถ ว่า การเคลื่อนที่ตามแนวยาวของรถถูกท่าใช้ช้าลงโดยตั้งใจ (จ) “ อุปกรณ์ส่องแผ่นป้ายทะเบียน รถ ด้านท้าย ” ( Rear - registration - plate illuminating device ) หมายความว่า อุปกรณ์ที่ใช้ส่องสว่างพื้นที่ส่าหรับติดแผ่นป้ายทะเบียน ร ถ ด้านท้ายรถ ซึ่งอุปกรณ์ดังกล่าว อาจประกอบด้วยหน่วยแสงหลายหน่วย (ฉ) “ โคมไฟแสดงต่าแหน่งด้านหน้า ” ( Front position lamp ) หมายความว่า โคมไฟที่ใช้ แสดงการมีตัวตนของรถเมื่อมองจากด้านหน้า (ช) “ โคมไฟแสดงต่าแหน่งด้านท้าย ” ( Rear posit ion lamp ) หมายความว่า โคมไฟที่ใช้ แสดงการมีตัวตนของรถเมื่อมองจากด้านหลัง (ซ) “ อุปกรณ์สะท้อนแสง ” ( Retro - reflector ) หมายความว่า อุปกรณ์ที่ใช้แสดงการมีตัวตน ของรถ โดยการสะท้อนแสง ซึ่งที่มาจากแหล่งก่าเนิดแสงที่ไม่ได้เชื่อมต่อกับตัวรถ และผู้สั งเกตอยู่ใกล้กับ แหล่งก่าเนิดแสงนั้น ทั้งนี้ แผ่นป้ายทะเบียนแบบสะท้อนแสงกลับ ( Retro - reflecting number plates ) ไม่ถือ ว่าเป็นอุปกรณ์สะท้อนแสง ตามประกาศนี้ (ฌ) “ สัญญาณเตือนอันตราย ” ( Hazard warning signal ) หมายความว่า การท่างานพร้ อม กันของโคมไฟเลี้ยวทุกดวงของรถ เพื่อแสดงว่ารถนั้นเป็นอันตรายชั่วคราวต่อผู้ใช้รถใช้ถนนอื่น (ญ) “ โคมไฟตัดหมอกหน้า ” ( Front fog lamp ) หมายความว่า โคมไฟที่ใช้เพื่อเพิ่มการ ส่องสว่างของถนน ในกรณีที่มีหมอกหนา หิมะตก พายุฝน หรือเมฆฝุ่น

  • 2 - (ฎ) “ โคมไฟตัดหมอก ด้านท้าย ” ( Rear fog lamp ) หมายความว่า โคมไฟที่ใช้เพื่อท่าให้ มองเห็นรถนั้นได้ง่ายขึ้นจากทางด้าน ท้าย เมื่อมีหมอกหนา (ฏ) “ โคมไฟใช้งานกลางวัน ” ( Daytime running lamp ) หมายความว่า โคมไฟที่มีทิศทาง ส่องสว่างไปทางด้านหน้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและทัศนวิสัยในการขับขี่ท่าให้ผู้ใช้รถใช้ถนนอื่นสามารถสังเกต เห็นรถได้ง่ายเมื่อขับในตอนกลางวัน (ฐ) “ โคมไฟเทียบเท่า ” ( Equivalent lamps ) หมายความว่า โคมไฟที่ท่างานในลักษณะ เช่นเดียวกั น และบังคับในประเทศที่รถนั้นได้จดทะเบียน โคมไฟดังกล่าวอาจมีคุณลักษณะที่แตกต่างจากโคมไฟที่ ติดตั้งมาพร้อมรถเมื่อขอการรับรองแบบ ภายใต้เงื่อนไขว่าโคมไฟนั้นต้องเป็นไปตามที่ก่าหนดไว้ในประกาศนี้ (ฑ) “ โคมไฟอิสระ ” ( Independent lamp ) หมายความ ว่า อุปกรณ์ที่มีพื้นผิว ปรากฏ ( Apparent surfaces ) แยกกัน แหล่งก่าเนิดแสงแยกกัน และตัวโคมไฟแยกกัน (ฒ) “ โคมไฟกลุ่ม ” ( Grouped lamps ) หมายความว่า อุปกรณ์ที่มีพื้น ผิวปรากฏ แยกกัน และแหล่งก่าเนิดแสงแยกกัน แต่ใช้ตัวโคมไฟร่วมกัน (ณ) “ โคมไฟรวม ” ( Combined ) หมายความว่า อุปกรณ์ที่มีพื้นผิว ปรากฏ แยกกัน แต่มี แหล่งก่าเนิดแสงร่วมกันและใช้ตัวโคมไฟร่วมกัน (ด) “ โคมไฟร่วมหลายหน้าที่ ” ( Reciprocally incorporated ) หมายความว่า อุปกรณ์ที่มี แหล่งก่าเนิดแสงแยก ออ กจา กกัน หรือมีแหล่งก่าเนิดแสงเดียว ท่างานภายใต้สภาวะ ที่ แตกต่างกัน (ตัวอย่าง เช่น ความแตกต่างเชิงแสง เชิง กล และ เชิง ไฟฟ้า ) ใช้พื้นผิว ปรากฏ ร่วมกันทั้งหมดหรือบางส่วนและใช้ตัวโคมไฟร่วมกัน (ต) “ ระบบโคมไฟพึ่งพา ” ( Interdependent lamp system ) หมายความว่า การประกอบ เข้าด้วยกัน ของโคมไฟพึ่งพาจ่านวนสองหรือสามดวง ที่ท่างานหน้าที่เดียวกัน โดย โ คมไฟพึ่งพาที่มีเครื่องหมาย Y ถือเป็น อุปกรณ์ที่ท่างานเป็นส่วนหนึ่งของระบบโคมไฟพึ่งพา โดย โคมไฟพึ่งพานี้จะท่างานร่วมกันเมื่อเปิดใช้งาน มีพื้นผิวปรำกฎแยกกันในทิศทางของแกนอ้างอิงและตัวโคมไฟแยกกัน และอาจมีแหล่งก่าเนิดแสงแยกกันด้วย (ถ) “ โคมไฟที่มีเครื่องหมาย D ” หมายความว่า โคมไฟอิสระที่ได้รับการรับรองแบบในลักษณะ เป็นโคมไฟ ที่แยกต่างหากจากกัน และได้รับอนุญาตให้ใช้อย่างอิสระหรือประกอบ เข้าด้วยกันของโคมไฟจ่านวนสอง ดวง ในลักษณะที่เป็นโคมไฟเดี่ยว ( 4 ) “ พื้นผิวเปล่งแสง ” ( Light - emitting surface ) หมายความว่า พื้น ผิว ด้านนอกทั้งหมดหรือ บางส่วนของวัสดุโปร่งใส ของอุปกรณ์ส่องสว่าง อุปกรณ์แสงสัญญาณ หรืออุปกรณ์สะท้อนแสง ที่แสดงไว้ในรูป วาด ( Drawing ) ซึ่งผู้ผลิตอุปกรณ์ระบุไว้ในการยื่นขอรับรองแบบ ตัวอย่างรูปวาดแสดง พื้นผิวเปล่งแสง ตามที่ ก่าหนดไว้ใน ภาคผนวก 2 ท้าย ประกาศนี้ ( 5 ) “ พื้นผิวส่องสว่าง ” ( Illuminating surface ) หมายความว่า พื้นผิวส่องสว่างของอุป กรณ์ ดังต่อไปนี้ ตาม ตัวอย่างรูปวาดแสดง พื้นผิวส่องสว่าง ตามที่ก่าหนดไว้ใน ภาคผนวก 2 ท้าย ประกาศนี้ (ก) พื้นผิวส่องสว่างของอุปกรณ์ส่องสว่าง ( Illuminating surface of a lighting device ) หมายความว่า พื้นที่ ที่ฉายในแนวตั้งฉาก ( Orthogonal projection ) ของโคมไฟแสงพุ่งไกล โคมไฟแสงพุ่งต่่า โคมไฟตัดหมอกหน้า ออกมา จากบริเวณทั้งหมดของจานฉาย ( Reflector ) หรือในกรณีของโคมไฟหน้ากับจานฉาย ซึ่งเป็นรูปวงรี ( Ellipsoidal ) ของเลนส์ฉาย ( Projection lens ) ของโคมไฟ ที่ฉายไปบนระนาบตามขวาง (หรือ บนระนาบที่ตั้งฉากกับแกนยาว) ถ้าอุปกรณ์ไฟส่องสว่างไม่มีจานฉาย ให้ใช้ค่าจ่ากัดความตาม ( ข) ถ้าพื้นผิว เปล่งแสงบางส่วนของโคมไฟยื่นเข้าไปในบริเวณของจานฉาย ให้พิจารณาเฉพาะพื้นที่ฉายในแนวตั้งฉากออกมาจาก บริเวณจานฉายส่ว นที่เหลือนั้น

  • 3 - ในกรณีของโคมไฟแสงพุ่งต่่า พื้นผิวส่องสว่างถูกจ่ากัดโดยแนวจ่ากัดแสง ( Apparent trace of cut - off ) ที่ปรากฏ บนเลนส์ ถ้าจานฉายและเลนส์สามารถปรับได้โดยสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ให้ใช้ค่ากลางของ การปรับในการพิจารณาพื้ นผิวส่องสว่าง ในกรณีมีการรวมโคมไฟหน้าที่ให้ล่าแสงพุ่งต่่าหลักและหน่วยแสงหรือแหล่งก่าเนิดแสงเพิ่มที่ได้ ออกแบบเพื่อให้ล่าแสงส่องสว่างทางโค้งที่ท่างานด้วยกัน แต่ละพื้นผิวส่องสว่าง ให้พิจารณารวมกันเป็น พื้นผิวส่องสว่าง ( ข) พื้นผิวส่องสว่างของอุปกรณ์ แสง สั ญญาณ นอกเหนือจากอุปกรณ์สะท้อนแสง ( Illuminating surface of a light - signalling device other than a retro - reflector ) หมายความว่า พื้นที่ฉายในแนวตั้งฉาก ของ โคมไฟ เลี้ยว โคมไฟหยุด โคมไฟแสดง ต่าแหน่งด้านหน้า โคมไฟแสดงต่าแหน่งด้านท้าย สัญญาณเตือนอันตราย โคมไฟตัดหมอกด้านท้าย ในระนาบตั้งฉากกับแกนอ้างอิง และสัมผัสกับพื้นผิวเปล่งแสง ด้านนอกของโคมไฟ พื้นที่ฉายนี้ถูกก่าหนดโดยขอบของฉากในระนาบนี้ โดยในแต่ละแนวยอมให้ได้ ร้อยละ 98 ของควำมเข้มในการส่องสว่างของแสงทั้งหมด เพื่อเน้นไปในทิศทางของแกนอ้างอิง ในการที่จะก่าหนดขอบเขตของ พื้นผิวส่องสว่างด้านล่าง ด้านบน และด้านข้าง ให้ใช้ฉากที่มีขอบในแนวนอนหรือแนวดิ่งเท่านั้น (ค) พื้นผิวส่องสว่างของอุปกรณ์สะท้อนแสง ( Illuminating surface of a retro - reflector ) หมายความว่า พื้นที่ฉายในแนวตั้งฉากของ อุปกรณ์สะท้อนแสง ในระนาบตั้งฉากกับแกนอ้างอิง และ ถูกก่าหนด ขอบเขตโดยระนาบที่สัมผัสส่วนนอกสุดของระบบแสงของอุปกรณ์สะท้อนแสงและขนานกับแกนนั้น ส่าหรับ วัตถุ ประสงค์ในการก่าหนดขอบด้านล่าง ด้านบน และด้านข้างของอุปกรณ์ ให้พิจารณาเพียงระนาบแนวนอนและ ระนาบแนวดิ่งเท่านั้น (6) “ พื้นผิวปรากฏ ” ( Apparent surface ) ส่าหรับในทิศทางของการสังเกต หมายความว่า (ตาม ค่าร้องขอ ของผู้ผลิตหรือผู้แท นที่ได้รับการแต่งตั้ง) พื้นที่ฉายในแนวตั้งฉากของขอบเขตของพื้นผิวส่องสว่างที่ฉายไป บน พื้นผิวด้านนอกของเลนส์ ( a - b ) หรือ พื้นผิวเปล่งแสง ( c - d ) ในระนาบที่ตั้งฉากกับทิศทางของการสังเกต และ การสัมผัสกับจุดนอกสุดของเลนส์ ตัวอย่างรูปวำดแสดง พื้นผิวปรากฏ ตามที่ก่าหนดไว้ใน ภาคผนวก 2 ท้าย ประกาศนี้ ( 7 ) “ แกนอ้างอิง ” ( Axis of reference หรือ Reference axis ) หมายความว่า แกน ลักษณะเฉพาะ ( Characteristic axis ) ของโคมไฟที่ก่าหนดโดยผู้ผลิตโคมไฟ เพื่อใช้เป็นทิศทางอ้างอิ ง ( H = 0 องศา , V = 0 องศา) ส่าหรับ มุมในบริเวณการวัดความเข้มของแสง ( Photometric measurements ) และส่าหรับ การติดตั้งโคมไฟบนรถ ( 8 ) “ จุดศูนย์กลางอ้างอิง ” ( Center of reference ) หมายความว่า จุดตัดของแกนอ้างอิงกับ พื้นผิวเปล่งแส งด้านนอก ( Exterior light - emitting surface ) ซึ่งก่าหนดโดยผู้ผลิตโคมไฟ ( 9 ) “ มุมของการมองเห็นเชิงเรขาคณิต ” ( Angles of geometric visibility ) หมายความว่า มุม ที่ก่าหนดบริเวณของมุมสามมิติ ( Solid angle ) ที่ต่่าสุดซึ่งสามารถมองเห็นพื้นผิ วปรากฏของโคมไฟได้ บริเวณ ของมุมสามมิติก่าหนดโดยส่วนของทรงกลม ซึ่งมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดศูนย์กลางอ้างอิงของโคมไฟและมีเส้นศูนย์ สูตร ( Equator ) ขนานกับพื้น ส่วนของทรงกลมเหล่านี้ถูกก่าหนดโดยสัมพันธ์กับแกนอ้างอิง มุมในแนวนอนเบต้า ( β ) อ้างอิงจากเส้ นรอบแนวดิ่ง ( Longitude ) และมุมในแนวดิ่งแอลฟ่า ( α ) อ้างอิงจากเส้นรอบแนวนอน ( Latitude ) ( 10 ) “ ขอบนอกสุด ” ( Extreme outer edge ) หมาย ความว่า ระนาบที่ขนานกับระนาบ แนวดิ่ง ตามยาวที่ผ่านกึ่งกลางของรถ และสัมผัสกับขอบนอกด้านข้าง ของแต่ละข้า งของรถ โดยไม่ค่านึงถึงส่วนยื่น ( Projection ) ของ (ก) กระจกมองหลัง (ข) โคมไฟเลี้ยว (ค) โคมไฟแสดงต่าแหน่งด้านหน้าและด้านหลัง และอุปกรณ์สะท้อนแสง

  • 4 - (1 1 ) “ ความกว้างทั้งหมด ” ( Overall width ) หมายความว่า ระยะห่างระห ว่างระนาบแนวดิ่งสอง แนว ที่ก่าหนดใน ( 10 ) (1 2 ) “ โคมไฟเดี่ยว ” ( A single lamp ) หมายความว่า (ก) อุปกรณ์หรือส่วนของอุปกรณ์ที่มีหน้าที่ในการส่องสว่างหรือให้แสงสัญญาณเดียว และมี พื้นผิวปรากฏเดียวในทิศทางของแกนอ้างอิง ซึ่งอาจเป็นพื้นผิวที่ต่อเนื่องกันหรือพื้นผิวที่แยกกันสองส่วนหรือ มากกว่า และมีแหล่งก่าเนิดแสงแหล่งเดียวหรือมากกว่า หรือ (ข) การประกอบขึ้นใดๆ ของโคมไฟสองดวง ที่มีเครื่องหมาย D ไม่ว่าเหมือนกันหรือไม่ ที่ท่า หน้าที่เหมือนกัน หรือ (ค) กำรประกอบขึ้นใดๆ ของอุปกรณ์สะท้อนแสงอิสระ ไม่ว่าเหมือนกันหรือไม่ ที่ได้รับรองแบบ แยกต่างหาก หรือ (ง) ระบบโคมไฟพึ่งพา ประกอบด้วยโคมไฟพึ่งพาที่มีเครื่องหมาย Y จ่านวนสองหรือสามดวง ที่รับรองแบบด้วยกัน และที่ท่าหน้าที่เหมือนกัน (1 3 ) “ ระยะห่างระหว่างโคมไฟสองดวง ” ( Distance between two lamps ) หมายความว่า ระยะที่สั้นที่สุดระหว่างพื้นผิวปรากฏสองพื้นผิวในทิศทางของแกนอ้างอิง เมื่อระยะระหว่างโคมไฟ สองดวงที่มี ทิศทางเดียวกัน เป็นไปตามประกาศนี้อย่างชัดเจน ไม่จ่าเป็นต้องก่าหนดขอบเขตที่แน่นอนของพื้นผิวปรากฏ (1 4 ) “ สัญญาณแสดงการท่างาน ” ( Operating tell - tale ) หมายความว่า สัญญาณภาพ หรือ สัญญาณเสียง (หรือสัญญาณที่เทียบเท่าใดๆ) ที่แสดงให้เห็นว่าอุปกรณ์ได้เปิดใช้งาน และแสดงว่าอุปกรณ์นั้นก่าลัง ท่างานอ ย่างถูกต้องหรือไม่ ( 15 ) “ สัญญาณแสดงการท่างานแบบวงจรปิด ” ( C ircuit - closed tell - tale ) หมายความว่า สัญญาณ ภาพ (หรือสัญญาณที่เทียบเท่าใดๆ) ที่แสดงว่าอุปกรณ์ได้เปิดใช้งาน แต่ไม่ได้แสดงว่าอุปกรณ์นั้นก่าลังท่างานอย่าง ถูกต้องหรือไม่ (1 6 ) “ โคมไ ฟที่อาจมี ” ( Optional lamp ) หมายความว่า โคมไฟที่ผู้ผลิตอาจติดตั้งเพิ่มเติมขึ้นมาได้ (1 7 ) “ พื้น ” ( Ground ) หมายความว่า พื้นผิว ที่จอดรถ ซึ่งควรเป็นพื้นราบในแนวนอน (1 8 ) “ อุปกรณ์ ” ( Device ) หมายความว่า ชิ้นส่วนหรือการรวมชิ้นส่วน ที่ใช้เพื่อท่างานหนึ่งหน้าที่ หรือมากกว่า (1 9 ) “ สีของแสงที่เปล่งจากอุปกรณ์ ” ( Colour of the light emitted from a device ) หมายความว่า สี ของแสงที่เปล่งจากอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณตามที่ก่าหนดใน ภาคผนวก 3 ท้าย ประกำศนี้ หรือตามที่ก่าหนดใน ข้อก่าหนดทางเทคนิคของคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจของยุโรปแห่ง สหประชาชาติข้อที่ 48 ว่าด้วยการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถยนต์ (United Nations/Economic Commission for Europe, Regulation No. 48 : In stallation of Lighting and Light - Signaling Devices ) ( 2 0 ) “ มวลรถรวม ” ( Gross vehicle mass ) หรือ มวล รวม สูงสุ ด ( maximum mass ) หมายความว่า มวลที่มีการบรรทุกสูงสุดที่รับอนุญาตทางเทคนิค ที่ก่าหนดโดยผู้ผลิต (2 1 ) “ การบรรทุก ” ( Laden ) หมายความว่า มีการบรรทุกจนถึง มวลรถรวม ตามที่ก่าหนดใน ( 20 ) (2 2 ) “ ความเอียงของเส้นจ่ากัดแสงแนวนอน ” ( Horizontal inclination ) หมายความว่า มุมที่ เกิดขึ้นระหว่างรูปแบบของล่าแสงเมื่อรถจักรยานยนต์อยู่ในต่าแหน่ง ตาม ที่ก่าหนดในข้อ 4 ( 4 ) ของประกาศนี้ และรูปแบบของล่าแสงเมื่อรถจักรยานยนต์อยู่ต่าแหน่งเอียง ( Banked ) ตัวอย่างรูปวาดแสดง ความเอียงของเส้น จ่ากัดแสงแนวนอน ตามที่ ก่าหนดไว้ใน ภาคผนวก 4 ท้าย ประกาศนี้ (2 3 ) “ ระบบการปรับค่าความเอียงของเส้นแนวจ่ากัดแสงแนวนอน ” ( Horizont al inclination adjustment system ( HIAS )) หมายความว่า อุปกรณ์ที่มีไว้ปรับการเอียงในแนวนอนของโคมไฟหน้าไปที่ศูนย์

  • 5 - (2 4 ) “ มุมเอียงของรถ ” ( Bank angle ) หมายความว่า มุมที่กระท่าในแนวดิ่งโดยระนาบกึ่งกลาง ตามยาวในแนวดิ่งของรถจักรยา นยนต์ เมื่อรถจักรยานยนต์หมุนรอบแกนตามยาว ตัวอย่างรูปวาดตามที่ก่าหนดไว้ใน ภาคผนวก 4 ท้าย ประกาศนี้ (2 5 ) “ สัญญาณ HIAS ” ( HIAS signal ) หมายความว่า สัญญาณควบคุมหรือข้อมูลการควบคุมเพิ่มเติม ใดๆ ที่ส่งให้ระบบ ( Control input ) หรือข้อมูล การควบคุมจากระบบไปยังรถจักรยานยนต์ ( Control output ) (2 6 ) “ อุปกรณ์สร้างสัญญาณ HIAS ” ( HIAS signal generator ) หมายความว่า อุปกรณ์ที่ส่ง สัญญาณ HIAS ซ้่าหนึ่งสัญญาณหรือมากกว่า ส่าหรับการทดสอบระบบ (2 7 ) “ มุมทดสอบ HIAS ” ( HIAS te st angle ) หมายความว่า มุม เดลต้า ( δ ) ที่เกิดจาก เส้นแนวจ่ากัดแสงของโคมไฟและเส้น HH (ในกรณีของโคมไฟที่มีล่าแสงแบบ อ สมมาตร ให้ใช้ส่วนแนวนอนของ เส้นแนวจ่ากัดแสง) ตัวอย่างรูปวาด ตามที่ ก่าหนดไว้ใน ภาคผนวก 4 ท้าย ประกาศนี้ (2 8 ) “ ไฟส่องสว่างทางโค้ ง ” ( Bend lighting ) หมายความว่า ลักษณะการท่างานของไฟส่องสว่าง ที่ ช่วยเพิ่มความสว่างในทางโค้ง (2 9 ) “ ระนาบ H ” ( H plane ) หมายความว่า ระนาบตามแนวนอนที่มีจุดศูนย์กลางอ้างอิงของโคม ไฟอยู่ ( 30 ) “ การเปล่งแสงตามล่าดับ ” ( Sequential activation) หมายความว่า การเชื่อมต่อทางไฟฟ้า ซึ่งแหล่งก่าเนิดแสงเฉพาะใดๆ ของโคมไฟถูกเชื่อมต่อ โดยที่จะถูกกระตุ้นตามล่าดับที่ก่าหนดไว้ ( 31 ) “ สัญญาณหยุดฉุกเฉิน ” ( Emergency stop signal) หมายความว่า สัญญาณที่ใช้แสดงต่อ ผู้ใช้ร ถ ใช้ถนนอื่น ทางด้านท้ายของรถ ว่ากรณีมีแรงหน่วงสูงกระท่ากับตัวรถเมื่อเทียบกับสภาพถนนโดยรอบ (เกิดในกรณีที่ผู้ขับเบรกอย่างแรง) ( 3 2 ) “ โคมไฟเสริมขณะเข้าออกรถ ” ( Exterior courtesy lamp) หมายความว่า โคมไฟที่เพิ่ม ความสว่าง ขณะ ผู้ขับขี่และผู้ โดยสารเข้าและออกจากรถหรือ ขณะบรรจุ สัมภาระ _____________________

ภาคผนวก 2 พื้นผิว แกน และจุดศูนย์กลางอ้างอิงของโคมไฟ และมุมการมองเห็นเชิงเรขาคณิต _____________________ รูปที่ 1 1 . พื้น ผิว ส่องสว่าง ( Illuminating su rface ) 2 . แกนอ้างอิง ( Axis of reference ) 3 . จุดศูนย์กลางการอ้างอิง ( Center of reference ) 4 . มุมการมองเห็นเชิงเรขาคณิต ( Angle of geometric visibility ) 5 . พื้นผิวเปล่งแสง ( Light - emitting surface ) 6 . พื้นผิวปราก ฏ จาก พื้น ผิว ส่องสว่าง ( Apparent surface based on illuminating surface ) 7 . พื้นผิวปราก ฏ จากพื้นผิวเปล่งแสง ( Apparent surface based on Light - emitting surface ) 8 . ทิศทางของการมองเห็น ( Direction of visibility ) หมายเหตุ : โ ดยไม่ค่านึงถึงรูปวาด พื้นผิวปรากฏต้องสัมผัสกับพื้นผิวเปล่งแสง

  • 2 - พื้น ผิว ส่องสว่างเปรียบเทียบกับพื้นผิวเปล่งแสง รูปที่ 2 รูปที่ 3 แกนอ้างอิง พื้นผิวของเลนส์ที่แสดงเป็นพื้นราบ เพื่อให้ง่ายแก่การเข้าใจ ภาพที่ฉาย แกนอ้างอิง พื้นผิวของเลนส์ที่แสดงเป็นพื้นราบ เพื่อให้ง่ายแก่การเข้าใจ ภาพที่ฉาย

  • 3 - ตาราง 1 ขอบพื้นผิวส่องสว่างและพื้นผิวเปล่งแสง พื้นผิว ส่องสว่าง พื้นผิวเปล่งแสง ขอบคือ a และ b c และ d ตาราง 2 ระยะระหว่างพื้นผิวส่องสว่างของโคมไฟเลี้ยวและโคมไฟหน้าที่มีล่าแสงพุ่งต่่าหลักที่อยู่ใกล้สุด ความเข้มการส่องสว่างต่่าสุดของโคมไฟเลี้ยว (แคนเดล่า) ระยะที่ห่างกันต่่าสุด (มิลลิเมตร) 90 75 175 40 250 20 400 ≤ 20 _____________________

ภาคผนวก 3 สีของแสงที่เปล่งจากอุปกรณ์ ( Colour of the light emitted from a device ) _____________________ สีของแสงที่เปล่งจากอุปกรณ์ ( Colour of the light emi tted from a device ) ที่ สอดคล้องกับข้อก่าหนดสหประชาชาติที่ 48 ว่าด้วยการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณ ของรถยนต์ ( UN R 48 ) และฉบับแก้ไข ให้ใช้บังคับในประกาศฯ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) สีขาว หมายถึง จุดพิกัดภาวะสีของแสงที่ เปล่งออกมาต้องอยู่ภายในขอบเขต ดังต่อไปนี้ W 12 เขตสีเขียว y = 0 . 150 + 0 . 640 x W 23 เขตสีเขียวเหลือง y = 0 . 440 W 34 เขตสีเหลือง x = 0 . 500 W 45 เขตสีม่วงแดง y = 0 . 382 W 56 เขตสีม่วง y = 0 . 050 + 0 . 750 x W 61 เขตสีน้่าเงิน x = 0 . 310 ที่มีจุดตัด : x y W1 : 0 . 310 0 . 348 W2 : 0 . 453 0 . 440 W3 : 0 . 500 0 . 440 W4 : 0 . 500 0 . 382 W5 : 0 . 443 0 . 382 W6 : 0 . 310 0 . 283 ( 2 ) สีเหลืองอ่อน ( Selective yellow ) หมายถึง จุดพิกัดภาวะสีของแสงที่เปล่งออกมาต้องอยู่ ภายในขอบเขต ดังต่อไปนี้ SY 12 เขตสีเขียว y = 1 . 290x - 0 . 100 SY 23 เส้นแนวสเปคตรัม ( the spectral locus ) SY 34 เขตสีแดง y = 0 . 138 + 0 . 580x SY45 เขตสีขาวเหลือง y = 0 . 440 SY 51 เขตสีขาว y = 0 . 940 - x ที่มีจุดตัด : x y SY1 : 0 . 454 0 . 486 SY2 : 0 . 480 0 . 519 SY3 : 0 . 545 0 . 454 SY4 : 0 . 521 0 . 440 SY5 : 0 . 500 0 . 44 0

  • 2 - ( 3 ) สีอ่าพัน หมายถึง จุดพิกัดภาวะสีของแสงที่เปล่งออกมาต้องอยู่ภายในขอบเขต ดังต่อไปนี้ A 12 เขตสีเขียว y = x - 0 . 120 A 23 เส้นแนวสเปคตรัม A 34 เขตสีแดง x = 0 . 390 A 41 เขตสีขาว y = 0 . 790 - 0 . 670 x ที่มีจุดตัด : x y A1 : 0 . 545 0 . 425 A2 : 0 . 560 0 . 440 A3 : 0 . 609 0 . 390 A4 : 0 . 597 0 . 390 ( 4 ) สีแดง หมายถึง จุดพิกัดภาวะสีของแสงที่เปล่งออกมาต้องอยู่ภายในขอบเขต ดังต่อไปนี้ R 12 เขตสีเหลือง y = 0 . 335 R 23 เส้นแนวสเปคตรัม R34 เส้นสีม่วง (ส่วนขยายข้ามช่วงสีม่วงของสีระหว่างสีแดงสุดและสี น้่าเงินสุดของ เส้นแนวสเ ปคตรัม R 41 เขตสีม่วง y = 0 . 980 - x ที่มีจุดตัด : x y R1 : 0 . 645 0 . 335 R2 : 0 . 665 0 . 335 R3 : 0 . 735 0 . 265 R4 : 0 . 721 0 . 259 _____________________

ภาคผนวก 4 มุมลาดเอียงในแนวนอน มุมเอียงของรถ และมุมเดลต้า ( δ ) _____________________ หมายเหตุ : รูปนี้แสดงรถจักรยานยนต์ที่เอียงไปทางขวา _____________________ มุมเอียงของรถ ( The b ank angle ) ค่า การปรับมุ มลาดเอียงในแนวนอน มุมลาดเอียงในแนวนอน เส้นแนวจำกัดแสง ( Cut - off )

ภาคผ นวก 5 พื้นที่ของการสังเกตไปยังพื้นผิว ปรากฏ ของโคมไฟเสริมขณะเข้าออกรถ ____________________ บริเวณต่างๆ ของการสังเกต (Zones of observation) รูปวาดนี้แสดงบริเวณจากด้านหนึ่งด้าน บริเวณอื่นๆเป็นการสังเกตจาก ด้านหน้า ด้านท้าย และด้านอื่นของรถ _____________________

ภาคผนวก 6 การมองเห็นแสงสีแดงไป ทาง ด้านหน้าและการมองเห็นแสงสีขาวไป ทาง ด้านหลัง _____________________ รูปที่ 1 การมองเห็นแสงสีแดงไป ทาง ด้านหน้า รูป ที่ 2 การมองเห็นแสงสีขาวไป ทาง ด้านหลัง _____________________ พื้นที่ 2 25 เ ม ตร 25 เมตร พื้นที่ 1

ภาคผนวก 7 เอกสาร แสดง ข้อมูล สำหรับ การรับรองแบบการติดตั้ง อุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของรถจักรยานยนต์ _____________________ 1 . ข้อมูลทั่วไป General information 1 . 1 ชื่อการค้าของผู้ผลิต : … … .. … … Make : 1 . 2 แบบ : … … … Type : 1 . 2 . 1 ชื่อทางการค้า (ถ้ามี) : … … . Commercial name ( where applicable ) : 1 . 3 ประเภทรถ : … … .. Category of vehicle : 1 . 4 ชื่อและที่อยู่ของผู้ผลิต : … .. Name and address of manufacturer : 1 . 5 ที่อยู่ของโรงงาน ประกอบ : … . Address ( es ) of production plant ( s ) : 1 . 6 ชื่อและที่อยู่ของผู้ที่ ได้รับมอบอ่านาจจากผู้ผลิต (ถ้ามี) : Name and address of manufacturer’s authorised representative, if any : 2 . อุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณ : Lighting and light - signalling devices : 2 . 1 รายการอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณทั้งหมด (ให้ระบุจ่านวน ผู้ผลิต ชื่อรุ่น เครื่องหมายรับรองแบบ ความเข้มการส่องสว่างสูงสุดของโคมไฟแสงพุ่งไกล สี สัญญาณแสดงการท่างาน ที่เกี่ยวข้อง) List of all devices ( mentioni ng the number, make ( s ) , model, component type - approval mark ( s ) , the maximum intensity of the main - beam headlamps, colour, the corresponding tell - tale ) : 2 . 2 รูป ภาพหรือรูปวาดแสดงต่าแหน่งของอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสั ญญาณ : Diagram showing the location of the lighting and light - signalling devices : _____________________

ภาคผนวก 8 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการยอมรับ ผลการทดสอบเพื่อทำการผลิตหรือผลการต รวจประเมินระบบคุณภาพการผลิต ให้เป็นไปตามต้นแบบ _____________________ กรมการขนส่งทางบกจะยอมรับผลการทดสอบเพื่อท่าการผลิต หรือผลการตรวจประเมินระบบ คุณภาพการผลิต ให้เป็นไปตามต้นแบบ ดังต่อไปนี้ 1. หน่วยงานทดสอบ (1) ประเภทของหน่วยงานทดสอบ มี ดังนี้ ป ระเภท 1 เป็นหน่วยงานที่ท่าการทดสอบ โดยใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทดสอบ ของตนเอง ประเภท 2 เป็นหน่วยงานที่ก่ากับดูแลการทดสอบ โดยใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการ ทดสอบของผู้ผลิต หรือหน่วยงานเอกชนอื่น ( Third Party ) หน่วยงานทดสอบอาจจะเป็นหน่วยงำนทดสอบประเภท 1 หรือประเภท 2 ก็ได้ (2) หน่วยงานทดสอบจะต้องมีมาตรฐานที่ก่าหนดในประเภทของหน่วยงานทดสอบ ดังนี้ ประเภท 1 ต้องเป็นไปตามมาตรฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ (ก) มาตรฐานขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ( Internati onal Organization for Standardization ) General requirements for the competence of testing and calibration laboratories มาตรฐานเลขที่ ISO 17025 - 2005 ขึ้นไป (ข) มาตรฐานของส่านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มา ตรฐานเลขที่ มอก. 17025 - 2548 ข้อก่าหนดทั่วไปว่าด้วยความสามารถของห้องปฏิบัติการทดสอบ และห้องปฏิบัติการ สอบเทียบ ขึ้นไป หน่วยงานทดสอบประเภทที่ 1 อาจท่าการทดสอบหรือก่ากับดูแลการทดสอบ ณ ที่ท่าการ ทดสอบของผู้ผลิต หรือที่ท่าการทดสอบของตัวแท นผู้ผลิตที่ได้รับมอบอ่านาจก็ได้ ประเภท 2 ต้องเป็นไปตามมาตรฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (ก) มาตรฐานขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ( International Organization for Standardization ) General criteria for the operatio n of various types of bodies performing inspection มาตรฐานเลขที่ ISO 17020 - 1998 ขึ้นไป (ข) มาตรฐานของส่านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มาตรฐานเลขที่ มอก. 17020 - 25 56 ข้อก่าหนดทั่วไปส่าหรับหน่วยตรวจ ขึ้นไป 2. หน่วยงานตรวจสอบการผลิตเป็นไปตามต้นแบบ (1) ประเภทของหน่วยงานตรวจสอบการผลิตเป็นไปตามต้นแบบ มีดังนี้ ประเภท ก เป็นหน่วยงานที่ท่าการประเมินและติดตามประสิทธิผลของระบบควบคุม คุณภาพการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบของผู้ผลิต ประเภท ข เป็นหน่วยงานที่ ก่ากับดูแล หรือท่าการทดสอบ หรือตรวจสอบ ให้เป็นไป ตาม การตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ

  • 2 - หน่วยงานตรวจสอบการผลิตเป็นไปตามต้นแบบอาจจะเป็นหน่วยงานตรวจสอบการผลิต ให้ เป็นไปตามต้นแบบประเภท ก หรือประเภท ข ก็ได้ (2) หน่วยงานตรวจสอ บการผลิตเป็นไปตามต้นแบบจะต้องมีมาตรฐานที่ก่าหนดในประเภทของ หน่วยงานตรวจสอบการผลิตเป็นไปตามต้นแบบ ดังนี้ ประเภท ก ต้องเป็นไปตามมาตรฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (ก) มาตรฐานขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ( International Orga nization for Standardization ) Conformity assessment - requirement for bodies providing audit and certification of management systems มาตรฐานเลขที่ ISO 17021 - 2006 ขึ้นไป (ข) มาตรฐานของส่านักงานมาตรฐานผลิต ภัณฑ์อุตสาหกรรม มาตรฐานเลขที่ มอก. 17021 - 2550 การตรวจสอบและรับรอง ( ข้อก่าหนดส่าหรับหน่วยตรวจประเมินและให้การรับรอง ระบบการจัดการ ) ขึ้นไป ประเภท ข ต้องเป็นไปตามมาตรฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (ก) มาตรฐานขององค์การระหว่างป ระเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ( International Organization for Standardization ) General criteria for the operation of various types of bodies performing inspection มาตรฐานเลขที่ ISO 17020 – 1998 ขึ้นไป (ข) มาตรฐา นของส่านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มาตรฐานเลขที่ มอก. 17020 – 25 56 ข้อก่าหนดทั่วไปส่าหรับหน่วยตรวจ ขึ้นไป _____________________

ภาคผนวก 9 ขั้นตอนการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ( Conformity of Production : CO P ) _____________________ เพื่อให้มั่นใจว่าผู้ผลิตจะด่าเนินการผลิต ประกอบ หรือน่าเข้าส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ ให้เป็นไปตามต้นแบบอย่างมีมาตรฐานสม่่าเสมอ ทั้งก่อนและหลังจากได้รับหนังสือรับรอง แบบ จึงต้องมี ขั้นตอนการตรวจสอบโดยประเมินระบบควบคุมคุณภาพการผลิ ตให้เป็นไปตามต้นแบบ ดังนี้ 1. ตรวจสอบก่อนได้รับหนังสือรับรอง แบบ ให้ด่าเนินการ ดังนี้ (1) ตรวจสอบขั้นตอนและการเตรียมการควบคุมระบบคุณภาพการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ที่ขอรับรองแบบ เช่น ตรวจคู่มือควบคุมคุณภาพการผลิต ตรวจแผนการ ทดสอบ หรือตรวจสอบที่จ่าเป็น เป็นต้น (2) ให้พิจารณาตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ต้องมีการประเมินระบบควบคุม คุณภาพการผลิตของผู้ผลิต หรือหน่วยงานตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ตามที่ก่าหนดไว้ใน ภาคผนวก 6 อย่างใดอย่างหนึ่ง (3) ให้ยอมรับหนังสื อรับรองระบบควบคุมคุณภาพการผลิตตามมาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่ง ดังนี้ (ก) มาตรฐานขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ( International Organization for Standardization ) Quality management systems - Requirements มาตรฐานเลขที่ ISO 90 01 - 2008 ขึ้นไป หรือ มาตรฐานของส่านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มาตรฐานเลขที่ มอก. 9001 - 2552 ระบบการบริหารงานคุณภาพ ( ข้อก่าหนด ) (ข) มาตรฐานขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ( International Organization for Standa rdization ) Quality management systems - Particular requirements for the application of ISO 9001 : 2008 for automotive production and relevant service part organizations มาตรฐานเลขที่ ISO / TS 16949 - 2009 ขึ้นไป หรือ มาตรฐานของส่านักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มาตรฐานเลขที่ มอก. 16949 - 2009 ขึ้นไป 2. ตรวจสอบภายหลังที่ได้รับหนังสือรับรอง แบบ ให้ด่าเนินการ ดังนี้ (1) ตรวจสอบโดยติดตามประสิทธิผลของขั้นตอนการควบคุมระบบคุณภาพการผลิตให้เป็ นไป ตามต้นแบบก่อนได้รับหนังสือรับรอง แบบ ที่ก่าหนดไว้ตามข้อ 1 (2) ให้พิจารณา การด่าเนินการของ ผู้ผลิต ดังนี้ (ก) แนบรายละเอียดหนังสือรับรองระบบควบคุมคุณภาพการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ ในการยื่นขอรับรองแบบ และแจ้งการแก้ไขหรือเพิ่มเติมหนังสือรับรองระบ บคุณภาพการผลิตให้เป็นไปตาม ต้นแบบ ให้กรมการขนส่งทางบกทราบทุกครั้ง (ข) มีขั้นตอนส่าหรับการประเมินระบบควบคุมคุณภาพการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบของ ส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ที่ได้รับรองแบบในแต่ละโรงงานการผลิต (ค) จัดให้มีการด่าเนินการตรวจติดตามการทดสอบที่จ่า เป็นต่อการประเมินระบบควบคุม คุณภาพการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ

  • 2 - (ง) มีข้อมูลที่เป็นผลการทดสอบหรือตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ โดยการ บันทึกและเก็บเอกสารข้อมูล ส่าหรับใช้ในการประเมินตามช่วงเวลาในแต่ละส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ที่ กรมการ ขนส่งทางบกก่าหนด แต่ต้องไม่เกิน 10 ปี (จ) วิเคราะห์ผลของการทดสอบ หรือการตรวจสอบความเสถียรของแบบในแต่ละส่วน ควบ และเครื่องอุปกรณ์ เพื่อก่าหนดความแปรผันที่ยอมรับได้ของการผลิตส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ทาง อุตสาหกรรม (3) ให้ท่าการตรวจประเมินระบบควบคุ มคุณภาพการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบของผู้ผลิตตาม ระยะเวลาที่ก่าหนดในประกาศนี้ หากไม่มีการก่าหนดระยะเวลาการตรวจประเมินระบบควบคุมคุณภาพการ ผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบไว้ ให้มีการตรวจประเมินดังกล่าวเป็นจ่านวน 1 ครั้งต่อปี (4) กรณีที่พบว่า การผลิตไม่เป็นหลักเก ณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก่าหนดไว้ในประกาศนี้ ให้กรมการขนส่งทางบกก่าหนดมาตรการบังคับที่จ่าเป็น เพื่อให้ผู้ผลิตท่าการผลิตให้เป็นไปตามแบบที่รับรอง ไว้ โดยไม่ชักช้า เช่น การให้ผู้ผลิตส่งแผนการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องในการผลิต เป็นต้น โดยท่าเป็นหนังสื อ หรือแจ้ง ให้ผู้ผลิตชี้แจงและด่าเนินการให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่ก่าหนด (5) ท่าการตรวจสอบระบบควบคุมคุณภาพการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ หรือการน่าเข้าส่วน ควบ และเครื่องอุปกรณ์ตามกฎหมาย ระเบียบ ประกาศที่เกี่ยวข้องกับการรับรองแบบ ณ โรงงานผลิต โรงงานประก อบ หรือคลังสินค้า รวมทั้งสถานที่ท่าการทดสอบ _____________________

ภาคผนวก 10 แบบของหนังสือรับรองแบบ _____________________ หนังสือรับรองแบบ ที่ … กรมการขนส่งทางบก ถน นพหลโยธิน กทม. 10900 วันที่ .. เดือน … พ.ศ. … กรมการขนส่งทางบกได้ออกหนังสือนี้ เพื่อยืนยัน Department of Land Transport certifies for ประเภทของการรับรองแบบ : Category of Type Ap proval : การรับรองแบบ การขยายการรับรองแบบ National Type Approval Extension of National Type Approval ของแบบของส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ตามประกาศกรมการขนส่งทางบก ก่าหนด คุณสมบัติ คุณลักษณะ และ การติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณ และก่าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการรับรองแบบ การติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างและอุปกรณ์แสงสัญญาณของร ถจักรยานยนต์ พ.ศ. … ( Of a type of a vehicle parts with regard to DLT Notification on Installation of Lighting and light - signalling devices ) เลขที่การรับรองแบบ : เลขที่การขยายการรับรองแบบ : Approval No . : Extension No . : 1. ชื่อ ทางการค้าหรือเครื่องหมายการค้าของ ผู้ผลิต : Trade name or mark of the device : 2. ชื่อแบบรถ : Manufacturer ’ s name for the type of vehicle : 3. ชื่อและที่อยู่ของผู้ผ ลิต : Manufacturer ’ s name and address : 4. ชื่อและที่อยู่ของตัวแทนที่ได้รับมอบอ่านาจจากผู้ผลิต (ถ้ามี) : Name and address of manufacturer ’ s representative ( if applicable ) : 5 . ยื่นขอการรับรอง แบบ เมื่อ : Submitted for approval on : T 5 3

  • 2 - 6 . หน่วยทดสอบที่ท่าการทดสอบ : Technical service responsible for conducting approval tests : 7 . วันที่รายงานผลทดสอบ : Date of test report : 8 . จ่านว นหน้าของรายงานผลทดสอบ : Number of test report : 9 . ค่าอธิบายที่ชัดเจน : Concise description : อุปกรณ์ที่ต้องมีบนรถ : Lighting devices on the vehicle : 9 . 1 โคมไฟแสงพุ่งไกล : มี/ไม่มี 1 Driving lamps : yes / no 1 9 . 2 โคมไฟแสงพุ่งต่่า : มี/ไม่มี 1 Passing lamps : yes / no 1 9 . 3 โคมไฟเลี้ยว : มี/ไม่มี 1 Direction indicators : yes / no 1 9 . 4 โคมไฟหยุด : มี/ไม่มี 1 Stop lamps : yes / no 1 9 . 5 โคมไฟส่องแผ่นป้ายทะเบียนด้านท้าย : มี/ไม่มี 1 Rear - registration - plate illuminating device : yes / no 1 9 . 6 โคมไฟแสดงต่าแหน่งด้านหน้า : มี/ไม่มี 1 Front position ( side ) lamps : yes / no 1 9 . 7 โคมไฟแสดงต่าแหน่ง ด้าน ท้าย : มี/ไม่มี 1 Rear position ( side ) lamps : yes / no 1 9 . 8 อุปกรณ์สะท้อนแสงด้านท้าย : มี/ไม่มี 1 Rear retro - reflectors, non - triangular : yes / no 1 9 . 9 อุปกรณ์สะท้อนแสงด้านข้าง : มี/ไม่มี 1 Side retro - reflectors, non - triangular : yes / no 1 อุปกรณ์ที่อาจมีบนรถ : 9 . 10 สั ญญาณเตือนอันตราย : มี/ไม่มี 1 Hazard warning signal : yes / no 1 9 . 11 โคมไฟตัดหมอกหน้า : มี/ไม่มี 1 Front fog lamps : yes / no 1 9 . 12 โคมไฟตัดหมอก ด้านท้าย : มี/ไม่มี 1 Rear fog lamps : yes / no 1 9.13 โคมไฟใช้ งาน กลางวัน : มี/ไม่มี 1 Daytime running lamps : yes / no 1 9 . 14 โคมไฟ เลี้ยวด้านข้าง : มี/ไม่มี 1 Repeating side direction indicator : yes / no 1

  • 3 - 9 . 15 โคมไฟที่เทียบเท่า : มี/ไม่มี 1 Equivalent lamps : yes / no 1 9.16 สัญญาณหยุดฉุกเฉิน : มี/ไม่มี 1 Emergency stop signal : yes/ no 1 9.17 โคมไฟเสริมขณะเข้าออกรถ : มี/ไม่มี 1 Exterior courtesy lamp : yes/ no 1 10 . ข้อสังเกต : Any comments : 11 . มวลรถที่ก่าหนดโดยผู้ผลิต 2 : Masses as declared by the manufacturer 2 11 . 1 มวลรถพร้อมใช้งาน : Mass in running order : มวลรถรวมทั้งหมด : Total mass : มวลรถบนล้อหน้า : Mass on the front wheel : มวลรถบนล้อหลัง : Mass on the rear wheel : 11 . 2 มวลรถรวม : Gross vehicle mass : มวลรถรวมทั้งหมด : Total mass : มวลรถบนล้อหน้า : Mass on the front wheel : มวลรถบนล้อหลัง : Mass on the rear wheel : 12 . ต่าแหน่งของเครื่องหมายรับรองแบบ : Position of the approval mark : 13 . เหตุผลในการขอขยาย (ถ้ามี) Reason ( s ) for extension ( if applicable ) : 14 . รับรองแบบ/ขยายการรับรอง แบบ : 1 Approval granted / refused / extended / withdrawn : 1 15 . สถานที่ : Place :

4 - 16 . วันที่ : Date : 17 . ลายมือชื่อ : Signature : 18 . เอกสารแน บที่มีเลขที่การรับรองแบบ The following documents, bearing the approval number shown above, are available on request : _____________________ __________ 1 / ขีดทิ้ง หากไม่ใช่ 2 / ให้กรอก หากท่าการทดสอบตาม ข้อ 3 ( 2 ) (จ) 4 ) ของประกาศนี้

ภาคผนวก 1 1 เครื่องหมายการรับรองแบบ _____________________ เครื่องหมายการรับรองแบบการ ติดตั้งอุปกรณ์ ส่องสว่างและอุปกรณ์ แสงสัญญาณของ รถ จักรยานยนต์ ประกอบด้วย 1. สัญลักษณ์ประเทศไทยแทนด้วย ตัวอักษรภาษาอังกฤษ “ T ” ตัวพิมพ์ใหญ่ ( capital ) ที่ไม่มี ส่วนงอนโค้งที่ปลายสุดของตัวอักษร ( san serif ) อยู่ภายในวงกลมที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 8 มิลลิเมตร และอักษร “ T ” มีความสูงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ งของเส้นผ่าศูนย์กลางของวงกลม 2. หมายเลข ข้อก่าหนด ทางเทคนิค ที่ 5 3 ของ องค์การ สหประชาชาติ อยู่ในวงกลม โดยมี ขนาด ความสูงของตัวเลข ไม่น้อยกว่า หนึ่งในสามของเส้นผ่าศูนย์กลางวงกลม 3. เลขที่การรับรองแบบที่มีขนาดความสูงของตัวเลข ไม่น้อยกว่า หนึ่ งในสองของเส้นผ่าศูนย์กลาง วงกลม เป็นตัวเลขอารบิค โดยเรียงล่าดับเลขที่ตามล่าดับ ดังต่อไปนี้ ล่าดับที่ 1 ปีที่ออกหนังสือรับรองแบบ โดยระบุเพียงตัวเลขสองตัวหลังของปีพุทธศักราช เช่น สองตัวหลังของปี พ.ศ. 25 60 ให้ระบุเพียง 60 ล่าดับที่ 2 เลขที่การรับรองแบบสี่ตัวที่ก่าหนดไว้ในหนังสือรับรองแบบ เช่น เลขที่การ รับรอง แบบ 2439 ล่าดับที่ 3 เลขที่การด่าเนินการขอแก้ไขเพิ่มเติมการรับรองแบบ (การขอขยายการรับรองแบบ) โดยก่าหนด – เลขที่ 00 คือ ห มายเลขที่ได้รับหนังสือรับรองแบบครั้งแรก – เลขที่ 01 02 03 และตามล่าดับตัวเลขต่อไป แล้วแต่การรับรองการขอแก้ไข เพิ่มเติมแบบในแต่ละครั้ง ตัวอย่าง T 53 60 2439 00 _____________________ T 53

ภาคผนวก 1 2 ขั้นตอนการควบคุมการตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามต้นแบบ _____________________ 1 . การทดสอบ ( 1 ) ต่าแหน่งของโคมไฟ ( Position of lamps ) ให้ตรวจสอบต่าแหน่งของโคมไฟตามที่ก่าหนดในข้อ 3 โดยต้อง เป็นไป ตามที่ ก่าหนด ในข้อ 4 ของประกาศนี้ ค่าที่วัดได้ส่าหรับระยะทางต้องเป็นไปตามที่ก่าหนดของแต่ละโคมไฟ ( 2 ) การมองเห็นโคมไฟ ( Visibility of lamps ) (ก) ให้ตรวจสอบมุม ของ การมองเห็น เชิง เรขาคณิตตามที่ก่าหนดในข้อ (9) ของภา คผนวก 1 ค่าที่วัดได้ส่าหรับมุมต่างๆ ต้องเป็นไป ตาม ที่ก่าหนดของแต่ละโคมไฟ เว้นแต่ขีดจ่ากัดของมุมอาจยอมให้มี ค่าแปรผันได้ ± 3 องศา ตามที่ก่าหนดไว้ในข้อ 4 ( 3 ) ของประกาศนี้ในการติดตั้งอุปกรณ์แสงสัญญาณ (ข) ให้ตรวจสอบการมองเห็นแสงสีแดงไปทางด้านหน้า และแสงสีขาวไปทางด้านหลัง ตามที่ก่าหนดในข้อ 4 ( 9 ) ของประกาศนี้ ( 3 ) ทิศทางการส่องสว่างโคมไฟแสงพุ่งต่่าไปทางด้านหน้า ( Alignment of passing - beam headlamps towards the front ) (ก) ค่ามุมเอียงลงเริ่มต้น (ค่ามุมเอียงลงเริ่มต้นของเส้นแนวจ่ากัดแสงของโคมไฟแสงพุ่งต่่าต้องตรวจสอบตามที่ ก่าหนดในข้อ 3 ( 2 ) (จ) ของประกาศนี้) ( 4 ) การเชื่อมต่อทางไฟฟ้าและสัญญาณแสดงการท่างาน ( Elect rical connections and tell - tales ) ให้ตรวจสอบการเชื่อมต่อทางไฟฟ้าโดยการเปิดใช้งานโคมไฟทุกดวงที่ใช้ระบบไฟฟ้าของ รถจักรยานยนต์ โคมไฟและสัญญาณแสดงการท่างานต้องท่างานตามที่ก่าหนดในข้อ 4 ( 10 ) ถึงข้อ 4 ( 12 ) ของประกาศนี้ และตามที่ก่าหนดของแต่ละโคมไฟที่เกี่ยวข้อง ( 5 ) ความเข้มของ แสง ( Light intensities ) (ก) โคมไฟแสงพุ่งไกล ความเข้มการส่องสว่างสูงสุด รวมของโคมไฟแสงพุ่งไกลต้องเป็นไปตามที่ก่าหนด ในข้อ 3 ( 1 ) (ซ) 1) ของประกาศนี้ ( 6 ) ให้ตรวจพินิจโคมไฟ การมี จ่านวน สี การจัดวาง และประเภทของโคมไฟ (ถ้ามี) และ เครื่องหมาย ตามที่ก่าหนดไว้ในแต่ละโคมไฟ และตามที่ก่าหนดไว้ในข้อ 4 ( 13 ) ของประกาศนี้ _____________________