ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติที่ดีสำหรับลานเททะลายปาล์มน้ำมัน ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติที่ดีสำหรับลานเททะลายปาล์มน้ำมัน ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติที่ดีสำหรับลานเททะลายปาล์มนามัน ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 โดยเป็นการสมควรปรับปรุงแก้ไขการกาหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติที่ดี สาหรับลานเททะลายปาล์มนามัน ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ให้เหมาะสมกับ สภาวการณ์ปัจจุบัน อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 มาตรา 15 วรรคสอง และมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ประกอบมติคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร ในการประชุม ครังที่ 4/2565 เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี 1 . ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กาหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติที่ดีสาหรับลานเททะลายปาล์มนามัน ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ลงวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 2 . กาหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติที่ดีสำหรับลานเททะลายปาล์มนามัน มาตรฐานเลขที่ มกษ. 9037 - 2566 ไว้เป็นมาตรฐานทั่วไป ดังมีรายละเอียดแนบท้ายประกาศนี 3 . บรรดาใบรับรองที่ผู้ประกอบการตรวจสอบมาตรฐานได้ออกตามประกาศกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ เรื่อง กาหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติที่ดีสาหรับลานเททะลายปาล์มนามัน ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเ กษตร พ.ศ. 2551 ลงวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ที่ยังมีอายุ อยู่ในวันก่อนที่ประกาศนีใช้บังคับ ให้ยังคงใช้ต่อไปจนกว่าใบรับรองนันจะสินอายุ หรือถูกเพิกถอน หรือมีการขอยกเลิก ทั งนี ให้ใช้บังคับตังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 1 0 มกราคม พ.ศ. 25 6 6 ประภัตร โพธสุธน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ้ หนา 28 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 78 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 มีนาคม 2566
มกษ. 9037 - 256 6 มาตรฐานสินค้าเกษตร การปฏิบัติที่ดีสำหรับลานเททะลายปาล์มน้ามัน 1 . ขอบข่าย 1 . 1 มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ กําหนดการปฏิบัติที่ดีสําหรับ ลานเททะลายปาล์มนํ้ามัน ตาม คํานิยาม ข้อ 2 . 1 โดย ครอบคลุม ตั้งแต่การรับทะลายปาล์มนํ้ามัน การเก็บรักษา จน ถึง การขนส่งไปยังโรงงาน สกัดนํ้ามัน ปาล์มดิบ เพื่อให้ ได้ ทะลายปาล์มนํ้ามันที่ มีคุณภาพ ปลอดภัย และ เหมาะสม สําหรับ เป็นวัตถุดิบในการผลิต ของโรงงานสกัดนํ้ามันปาล์มดิบ 1.2 มาตรฐาน สินค้าเกษตรนี้ ไม่ครอบคลุม พื้นที่รับ ซื้อและเก็บรักษา ทะลายปาล์มนํ้ามัน เพื่อรอการผลิต ที่ตั้งอยู่ ภายในโรงงานสกัดนํ้ามันปาล์มดิบ 2 . นิยาม ความหมายของคํา ที่ใช้ในมาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ ให้เป็นไปตาม มกษ . 5702 และดังต่อไปนี้ 2.1 ลานเททะลายปาล์มนํ้ามัน หรือ ศูนย์รวบรวมทะลายปาล์มนํ้ามัน ( oil palm bunch collection center ) หรือมีชื่อเรียกทั่วไปว่า แรมป์ ( ramp ) หมายถึง สถานที่รวบรวม รับซื้อ และขนส่ง ทะลายปาล์มนํ้ามันตามนิยามข้อ 2 . 2 ไปยังโรงงานสกัดนํ้ามันปาล์มดิบ โดยลานเททะลายปาล์มนํ้ามัน ประกอบด้วยอาคารสํานักงาน บริเวณชั่งนํ้าหนัก พื้นที่รับทะลายปาล์มนํ้ามันและเก็บรักษา เพื่อรอขนส่ง 2. 2 ทะลายปาล์มนํ้ามัน ( oil palm bunch ) หมายถึง ผลิตผล ที่ได้มาจาก พืชที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Elaeis guineensis และ E . oleifera วงศ์ Arecaceae ชนิดที่ผลิตเป็นการค้า ได้แก่ ลูกผสม เทเนอรา ( Tenera ) ซึ่ งเป็นปาล์มนํ้ามันชนิดดูราผสมกับชนิดพิสิเฟอรา ( Dura x Pisifera ; D x P ) 3 . ข้อ กำหนด ข้อกําหนดการปฏิบัติที่ดีสําหรับ ลานเททะลายปาล์มนํ้ามัน มีดังนี้
มกษ. 9037 - 256 6 2 3 . 1 สถานประกอบการ มี ทําเล ที่ตั้ง เหมาะสมที่ มีสาธารณูปโภคและการคมนาคมที่สะดวก พื้นที่ปฏิบัติงานมีเพียงพอ และแบ่งเป็นสัดส่วน เพื่อ ทําให้กระบวนการรวบรวมทะลายปาล์มนํ้ามันดําเนินการได้ อย่าง มีประสิทธิภาพ และไม่ส่ง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 3.1.1 ทาเลที่ตั้ง 3 . 1 . 1 . 1 ไม่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เว้นแต่จะมีมาตรการป้องกัน 3 . 1 . 1 . 2 ไม่อยู่ใน สภาพแวดล้อม ที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการปนเปื้อน ในผลิตผล เช่น บริเวณที่มี มลพิษ บริเวณ ที่นํ้าท่วมถึง บริเวณที่นํ้าท่วมขัง เว้นแต่จะมีมาตรการป้องกัน 3.1.1. 3 มีสาธารณูปโภค พื้นฐาน เช่น ไฟฟ้า ถนน ที่ สะดวก ต่อการขนส่ง ทะลายปาล์มนํ้ามัน 3 . 1 . 2 การออกแบบและวาง ผัง 3 . 1 . 2 . 1 ออกแบบและวางผังสถานประกอบการให้ มีพื้ นที่เพียงพอและเหมาะสม ต่อ การ ปฎิบัติงาน ได้แก่ การรับทะลายปาล์มนํ้ามัน การขนถ่าย การคัดแยก การเก็บรักษา 3 . 1 . 2 . 2 ออกแบบและวางผังสถานประกอบการ ให้เอื้อต่อ การบํารุงรักษาและการทําความสะอาด 3 . 1 . 2 . 3 แยก พื้นที่ ออกเป็นสัดส่วน เช่น พื้นที่ปฏิบัติงาน พื้นที่สํานักงาน พื้นที่เก็บรักษาเครื่องมือ และอุปกรณ์ ห้อง สุขา 3.1. 3 พื้นที่ปฏิบัติงาน พื้น ที่ ปฏิบัติงาน มีความ มั่นคง แข็งแรง ไ ม่ทรุด ไม่แยกตัวหรือหดตัวที่จะทํา ให้เกิดการแตกร้าว หรือทรุดตัวได้ง่ำย 3 . 2 เครื่องมือ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวก เครื่องมือ และอุปกรณ์ มีสภาพ ใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ เครื่องชั่งมีความถูกต้อง เที่ยงตรง และเหมาะสมกับการใ ช้งาน และ ได้รับการตรวจสอบให้คํารับรอง เพื่อ ให้มั่ นใจ ในความถูกต้อง แม่นยํา รวมถึง มีสิ่งอํานวยความสะดวก เพีย ง พอ และเหมาะสม ต่อการ ปฏิบัติงาน 3.2.1 เครื่องมือและอุปกรณ์ 3 . 2. 1 . 1 มีเครื่องมือและอุปกรณ์ที่เพียงพอต่อการ ปฏิบัติงาน และอยู่ในสภาพ ใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ 3 . 2. 1 . 2 มีเครื่องชั่งที่ มีความถูกต้องเที่ยงตรงและ เหมาะสมกับการใช้งาน และ ได้รับการตรวจสอบให้คํารับรอง จากกองชั่งตวงวัด ศูนย์ สํานักงานสาขาชั่งตวงวัด หรือหน่วยงาน อื่น ตาม ที่กําหนดโดย พระราชบัญญัติ มาตรา ชั่งตวงวัด พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
มกษ. 9037 - 256 6 3 3.2. 1 . 3 กรณีที่มีรางเทสําหรับลําเลียงทะลายปาล์มนํ้ามันลงรถบรรทุก รางเททะลายปาล์ม นํ้ามัน ต้อง เป็น รางทึบ 3 . 2 . 1 . 4 ไม่ ให้ มีตะแกรงหรืออุปกรณ์ อื่น ๆ สํา หรับแยกผลปาล์ม นํ้ามัน ร่วง 3 . 2 . 2 สิ่งอานวยความสะดวก 3 . 2 . 2 . 1 จัดให้มีแสงจากธรรมชาติหรือแสงจากไฟฟ้าอย่างเพียงพอ เพื่อให้สามารถตรวจรับทะลาย ปาล์มนํ้า มัน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.2.2 .2 มีอุปกรณ์ ป้องกันส่วนบุคคลสําหรับ ความปลอดภัย ของ ผู้ปฏิบัติงาน เช่น ถุงมือ รองเท้าบูท รวมถึง มี สัญลักษณ์หรือป้ายบ่งชี้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํา งาน 3 . 2 . 2 . 3 มี ทาง ระ บายนํ้า ที่ มีความลาด เท เพียง พอ เพื่อให้ระบายนํ้าทิ้ง ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ มีนํ้าขัง และ ไม่มี เศษวัสดุ ตก ค้างในท่อ 3 . 2 . 2 . 4 มี ภาชนะรองรับขยะในจํา นวนที่เพียงพอ และตั้งอยู่ในที่ที่เหมาะสม 3 . 2 . 2 . 5 มีอุปกรณ์สํา หรับการทํา ความสะอาดที่เพียงพอ และจัด เก็บเป็นสัดส่วนในสถานที่เหมาะสม 3 . 2 . 2 . 6 มี ห้องสุขา ที่ ถูกสุขลักษณะ และมี จํานวน เพียงพอสําหรับผู้ปฏิบัติงาน 3 . 3 การควบคุมการปฏิบัติงาน มีการกําหนดเกณฑ์คุณภาพทะลายปาล์มนํ้ามันและตรวจรับตามข้อกําหนด มีการเก็บรักษาทะลาย ปาล์มนํ้ามันให้คงสภาพเดิม ไม่เกิดความเสียหาย และขนส่ง ทะลายปาล์มนํ้ามันไปยังโรงงานสกัด นํ้ามันปาล์มดิบโดยเร็วที่สุด 3 . 3 . 1 การรับทะลายปาล์มน้ามัน 3 .3 . 1 .1 กําหนดเกณฑ์คุณภำพทะลายปาล์มนํ้ามันที่จะรับเข้า ตาม มกษ. 5702 โดยพิจารณาตามข้อกําหนด คุณภาพขั้นตํ่า ดังนี้ 1 ) ลักษณะตรงตามพันธุ์ 2 ) เป็นทะลายปาล์มสุกเต็มที่ และทะลายปาล์มสุก 3 ) ไม่มีทะลายปาล์มไม่สุก หรือ ทะลายปาล์มสุกมากเกินไป 4 ) ไม่มีโคลน ทราย หรือสิ่งสกปรก ปนเปื้อนในทะลายปาล์มนํ้ามันมากกว่า 50 % ของทะลาย และไม่มีการผสมด้วยทรายหรือสิ่งแปลกปลอมอื่นๆ 5 ) ไม่มีความเสียหายจากศัตรูพืชมากกว่า 30 % ของทะลาย 6 ) ไม่มีทะลายปาล์มนํ้ามันที่มีผลลีบ ( parthenocarpic fruits ) หรือมีความผิดปกติ ด้านขนาด และความหนาแน่นของทะลาย มากกว่า 50 % ของทะลาย 3 . 3 . 1 . 2 ตรวจสอบคุณภาพทะลายปาล์มนํ้ามัน ตามข้อ 3 . 3 . 1 . 1 และ คัดแยกทะลายปาล์ มนํ้ามันที่ไม่ได้ คุณภาพ คืนกลับเกษตรกร และให้มีการบันทึกข้อมูลไว้
มกษ. 9037 - 256 6 4 3 . 3 . 2 การเก็บรักษา 3 . 3 .2 . 1 เก็บรักษาทะลายปาล์มนํ้า มัน อย่างเหมาะสม ให้ คง สภาพเดิม ระหว่าง รอการขนส่ง 3 . 3 . 2 . 2 ไม่ ปฏิบัติการ ใดๆ ที่ทําให้ผลปาล์มนํ้ามันร่วงอย่างไม่เป็นธรรมชาติ 3 . 3 . 2 . 3 ไม่มีการผสมด้วยทราย สิ่งแปลกปลอมอื่นๆ หรือ รด นํ้าเพื่อ เพิ่มนํ้าหนัก 3.3 .3 การขนส่ง 3 . 3 . 3 .1 การขนส่งทะลายปาล์มนํ้า มันไปยังโรงงานสกัดนํ้ามันปาล์ม ดิบ ต้องดําเนินการโดยเร็วที่สุด ทั้งนี้ ระยะเวลา รวม นับตั้งแต่ รับทะลายปาล์มนํ้ามัน เก็บรักษา จนขนส่งถึง โรงงานสกัดนํ้ามันปาล์มดิบ ต้องไม่เกิน 24 ชั่วโมง 3 . 3 . 3 . 2 ต้อง หลีกเลี่ยงการใช้พาหนะที่ขนส่งวัตถุอันตรายทางการเกษตร ปุ๋ย หรือสารปรับปรุงดิน ในการขนส่งทะลายปาล์มนํ้ามัน เพื่อป้องกันการปนเปื้อนต่อทะลายปาล์มนํ้ามัน ในกรณี ที่ไม่สามารถแยกพาหนะในการขนส่งได้ ต้องทําความสะอาดพาหนะ ก่อนการใช้ 3 . 4 การบารุงรักษาและการ ทาความสะอาด มี การ บํารุงรักษาและ การ ทําความสะอาด สถานประกอบการ เครื่องมือและอุปกรณ์ รวมทั้ง มี การป้องกันสัตว์ เลี้ยง เข้าในบริเวณปฏิ บัติงาน มี การจัดการ ขยะ อย่างเหมาะสม เพื่อ ช่วย ป้องกันการปนเปื้อนต่อทะลายปาล์มนํ้ามัน 3 . 4 . 1 ทําความสะอาด สถานประกอบการ เครื่องมือและอุปกรณ์ อย่างเหมาะสม 3 . 4 . 2 ดูแล รักษา ซ่อมแซม สถาน ประกอบการ เครื่องมือ และอุปกรณ์ ให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 3 . 4 . 3 มีมาตรการป้องกันไม่ให้สัตว์ เลี้ยง เช่น สุนัข แมว ไก่ เข้า มา ใน พื้น ที่ปฏิบัติงาน 3 . 4 . 4 มีวิธีการกําจัด ขยะอย่างเหมาะสม ไม่มี การสะสมของขยะ ในพื้นที่ปฏิบัติงาน และบริเวณโดยรอบ 3. 5 บุคลากร ผู้ประกอบ การ และ ผู้ปฏิบัติงาน ต้อง มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะการปฏิบัติงาน เพื่อ ให้ ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และ ผู้ประกอบการ จัด ให้มี สิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อ สวัสดิ ภาพ ของ ผู้ปฏิบัติงานอย่าง เหมาะสม รวมถึงผู้ปฏิบัติงานต้อง ปฏิบัติตามข้อ บังคับ ที่กําหนดไว้ ใน พื้นที่ ปฏิบัติงาน 3 . 5 . 1 ผู้ประกอบการ ผู้ควบคุแ ผู้ปฏิบัติงาน ต้องมีความรู้ ความเข้าใ จ และ มี ทักษะการปฏิบัติงาน โดยได้รับการฝึกอบรมหรือ สอนงาน และ การอบรมฟื ้ นฟู อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อ ให้ ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง
มกษ. 9037 - 256 6 5 3 . 5 . 2 มี สิ่งอํานวยความสะดวก เพื่อสวัสดิภาพ ของผู้ปฏิบัติงานอย่างเหมาะสม เช่น จัด ให้มี ที่พัก นํ้า ดื่ม ชุด ปฐม พยาบาลเบื้องต้น 3 . 5 . 3 ห้าม ดื่มสุรา สูบบุหรี่ หรือ รับประทานอาหาร ใน พื้นที่ ปฏิบัติงาน 3.6 เอกสารและบันทึกข้อมูล มี การบันทึก ข้อมูล และเก็บรักษาเอกสาร เพื่อ การตามสอบสินค้าและ ใช้เป็นแนวทางการปรั บปรุง และพัฒนาการปฏิบัติงาน 3 . 6 . 1 บันทึกข้อมูลและรวบรวมเอกสารหลักฐานให้ครบถ้วน และลงชื่อผู้ปฏิบัติงาน ตัวอย่างเอกสาร และบันทึกข้อมูล ได้แก่ 1 ) หนังสือสําคัญแสดงการให้คํารับรองประจําเครื่องชั่งตวงวัด (ข้อ 3 . 2 . 1 . 2 ) 2 ) เอกสารเกณฑ์คุณภาพทะลายปาล์มที่รับเข้ามา (ข้อ 3 . 3 . 1 . 1 ) 3 ) บันทึกข้อมูลการรับ ซื้อ ทะลายปาล์มนํ้ามัน โดยระบุวันที่ รับซื้อ ชื่อ ผู้ส่งมอบ (เกษตรกร) นํ้าหนัก ราคา รับซื้อ และ การประเมินคุณภาพทะลายปาล์มนํ้ามัน ดังตัวอย่า ง ใน ภาคผนวก ก แบบ บันทึก ก .1 ( ข้อ 3 . 3 . 1 . 2 ) 4 ) บันทึกข้อมูลการจําหน่ายทะลายปาล์มนํ้ามัน โดยระบุวันที่จําหน่าย ชื่อโรงงานสกัดนํ้ามัน ปาล์มดิบ นํ้าหนัก ราคา จําหน่าย และ การประเมินคุณภาพทะลายปาล์มนํ้ามัน ดังตัวอย่าง ใน ภาคผนวก ก แบบบันทึก ก. 2 (ข้อ 3 . 3 . 1 . 2 ) รวมทั้งเอกสาร ผลการ ประเมินคุณภาพ ทะลายปาล์มนํ้ามัน ที่ได้รับจากโรงงานสกัดนํ้ามันปาล์มดิบ 5 ) ประวัติการฝึกอบรม (ข้อ 3 . 5 . 1 ) 3 . 6 . 2 เก็บรักษา เอกสารและ บันทึกข้อมูลไว้อย่างน้อย 3 ปี
มกษ. 9037 - 256 6 6 ภาคผนวก ก (ให้ไว้เป็นข้อมูล) ตัวอย่างแบบบันทึก ก.1 ตัวอย่าง แบบบันทึกการรับซื้อทะลายปาล์มน้ามัน ชื่อลานเททะลายปาล์มน้ามัน ชื่อ - สกุลเจ้าของลานเททะลายปาล์มน้ามัน วัน / เดือน / ปี และ เวลาที่รับ ชื่อ - สกุล ผู้ส่งมอบ (เกษตรกร) นํ้าหนัก (กิโลกรัม) ราคารับซื้อ (บาท/ กิโลกรัม ) ชื่อ ผู้ปฏิบัติงาน การประเมินคุณภาพทะลายปาล์มนํ้ามัน ชื่อผู้ ปฏิบัติงาน รถเข้า รถออก สุทธิ สัดส่วนทะลายปาล์มนํ้ามัน (ร้อยละ หรือ นํ้าหนัก) ทะลายปาล์มนํ้ามัน ที่ไม่ได้คุณภาพ (จํานวนทะลายหรือ กิโลกรัม ) ลักษณะของทะลายปาล์มนํ้ามันที่ไม่ได้ คุณภาพ (จํานวนทะลายหรือกิโลกรัม) ทะลายปาล์มสุกเต็มที่ ทะลายปาล์มสุก ดิบ เน่าเสีย เสียหาย ทะลายปาล์ม ช นิ ด ดู รา อื่นๆ (ระบุ) ผู้ควบคุม ( )
มกษ. 9037 - 256 6 7 ก.2 ตัวอย่าง แบบบันทึกการจาหน่ายทะลายปาล์มน้ามัน ชื่อลานเททะลายปาล์มน้ามัน ชื่อ - สกุลเจ้าของลานเททะลายปาล์มน้ามัน วัน/เดือน/ปี และ เวลาที่ส่ง ชื่อโรงงานสกัด นํ้ามันปาล์มดิบ นํ้าหนัก (กิโลกรัม) ราคา จําหน่าย (บาท/ กิโลกรัม ชื่อ ผู้ปฏิบัติงาน การประเมินคุณภาพทะลายปาล์มนํ้ามัน* ชื่อ ผู้ปฏิบัติงาน รถเข้า รถออก สุทธิ ทะลายปาล์ม นํ้ามัน ที่ไม่ได้ คุณภาพ (จํานวน ทะลายหรือ กิโลกรัม ) ลักษณะของทะลายปาล์ม นํ้ามัน ที่ไม่ได้คุณภาพ (จํา นวนทะลายหรือกิโลกรัม) อัตรา การสกัดนํ้ามัน ( Oil Extraction Rate; OER ) เปียก/รดนํ้า ดิบ เน่าเสีย เสียหาย ทะลายปาล์มชนิด ดู รา อื่นๆ (ระบุ) *จากการประเมินของโรงงานสกัดนํ้ามันปาล์มดิบ ผู้ควบคุม ( )