Fri Mar 31 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : เห็ดหูหนูขาวแห้ง ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551


ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : เห็ดหูหนูขาวแห้ง ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : เห็ดหูหนูขาวแห้ง ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ด้วยคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร เห็นสมควรกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง เห็ดหูหนูขาวแห้ง เป็นมาตรฐานทั่วไป ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 เพื่อส่งเสริมสินค้าเกษตรให้ได้คุณภาพ มาตรฐาน และปลอดภัย อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 มาตรา 15 วรรคสอง และมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ประกอบมติคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร ในการประชุม ครั้งที่ 4/2565 เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงออกประกาศกาหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : เห็ดหูหนูขาวแห้ง มาตรฐานเลขที่ มกษ. 1531 - 2566 ไว้เป็นมาตรฐานทั่วไป ดังมีรายละเอียดแนบท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 1 0 มกราคม พ.ศ. 25 6 6 ประภัตร โพธสุธน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ้ หนา 27 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 78 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 มีนาคม 2566

มกษ. 1531 - 256 6 1 มาตรฐานสินค้าเกษตร เห็ดหูหนูขาวแห้ง 1 . ขอบข่าย มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ ใช้กับ เห็ดหูหนูขาวแห้ง ( dried white jelly mushroom ) ตามนิยาม ผลิตภัณฑ์ข้อ 2.1 ที่บรรจุ เพื่อจาหน่าย สาหรับ นาไป ปรุงอาหาร หรือ แปรรูป เป็นอาหาร 2 . คาอธิบาย สินค้า 2.1 นิยาม ผลิตภัณฑ์ เห็ดหูหนู ขาวแห้ง ในมาตรฐานนี้ ได้มาจากเห็ด หูหนูขาว ที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tremella fuciformis Berk . อยู่ในวงศ์ Tremellaceae ทุกสายพันธุ์ที่บริโภคได้ ที่ สด สะอาด มีคุณภาพดี ไม่เน่าเสีย และผ่านกระบวนการ ดังนี้ 1 ) ทา ความสะอาดและ ตัดแต่ง ทาให้แห้ง ตามธรรมชาติ หรือใช้ อุปก รณ์ให้ ความร้อน ที่ทาให้ เห็ดหูหนูขาว แห้งและคืนรูปได้เมื่อแช่น้า 2 ) บรรจุ ในภาชนะบรรจุที่ป้องกันการปนเปื้อนและความชื้น 2. 2 แบบ แบบของ เห็ดหูหนูขาวแห้ง ตามมาตรฐานนี้ มี ดัง นี้ 1 ) เห็ดหูหนูขาวแห้ง ทั้งดอก ( w hole) ตัวอย่างแสดงในภาคผนวก ก ภาพที่ ก.1 2 ) แบบ อื่น ( ไม่รวมแบบที่ผ่านการบด) ทั้งนี้ ให้ ระบุ ให้ชัดเจนที่ฉลาก 3 . ส่วนประกอบสำคัญและปัจจัย คุณภาพ 3 . 1 ส่วนประกอบสาคัญ เห็ดหูหนูขาวแห้ง ตามคาอธิบาย สินค้า ข้อ 2 ไม่อนุญาตให้มีหรือเติมส่วนประกอบอื่น

มกษ. 1531 - 256 6 2 3 .2 เกณฑ์คุณภาพ 3 . 2.1 สี และ กลิ่น สี และ กลิ่น ปกติตามลักษณะเฉพาะของ เ ห็ดหูหนูขาวแห้ง อาจแตกต่างกันตาม ปัจจัยแวดล้อม ของแหล่งผลิตหรือกระบวนการผลิต แต่ต้อง ไม่มีกลิ่นอับ หรือกลิ่นผิดปกติอื่น ตัวอย่างเห็ดหูหนูขาวแห้งที่มีสีผิด ปกติ ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดข้อ 3.2.1 แสดงในภาคผนวก ก ภาพที่ ก. 2 3 .2. 2 ความสม ่าเสมอ เห็ดหูหนูขาวแห้ง มีความสม่า เสมอในรุ่นเดียว กัน ในเรื่องสายพันธุ์ สี แบบ และ ขนาด (ถ้ามี การจัดขนาด ) 3 . 2.3 ปริมาณความชื้น ต้องไม่เกิน 1 2 % โดยมวล 3.2.4 ข้อบกพร่อง และเกณฑ์การยอมรับ ข้อบกพร่อง ใน เห็ดหูหนูขาวแห้ง พบ ได้ไม่เกินปริมาณสูงสุดที่กาหนดไว้ ในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ข้อบกพร่องที่ยอมรับ ได้ (ข้อ 3.2.4 ) ข้อบกพร่อง ปริมาณสูงสุด ( % โดยมวล) 1) สาร แปลก ปน จากแร่ ( mineral impurities) ไม่เกิน 2% 2 ) สิ่งแปลกปลอมที่มาจากพืช และวัสดุปลูก ไม่เกิน 0.02 % 3) ชิ้นที่มีร่องรอยการเข้าทาลายของแมลง ( insect - damaged matter ) หลังการเก็บรักษา ไม่เกิน 1% โดย ชิ้นที่ เสียหายรุนแรงต้องไม่เกิน 0.5% 4) แมลง และไร มีชีวิต (live insect and mite ) ไม่พบ 5 ) ราที่มองเห็นได้ ( visible mold) ตัวอย่างแสดงในภาคผนวก ก ภาพที่ ก. 3 ไม่พบ 3.3 การจัดขนาด กรณีที่ มี การจัดขนาดของเห็ดหูหนูขาวแห้งแบบทั้งดอก ให้ พิจารณาจากเส้นผ่าศู นย์กลาง ณ ส่วนที่กว้างที่สุดของดอก ตัวอย่างแสดงการวัด ขนาด โดยเส้นผ่าศูนย์กลาง ณ ส่วนที่กว้างที่สุดของ ดอก แสดงในภาคผนวก ก ภาพที่ ก . 4

มกษ. 1531 - 256 6 3 ตารางต่อไปนี้ให้ไว้เ ป็นแนวทางและอาจใช้เป็นทางเลือกสา หรับการจัดขนาด ตารางที่ 2 การจัดขนาดของเห็ดหูหนูขาว แห้ง แบบทั้งด อก (ข้อ 3.3) รหัสขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง ( cm) 1  8 2 8 – 1 0 3  1 0 3.4 เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเรื่องขนาด ถ้า มีการจัดขนาด ยอมให้มีเห็ดหูหนูขาว แห้งที่ขนาดใหญ่หรือเล็กกว่าขนาดที่ระบุถัดไปหนึ่งรหัส ขนาด ปนมาได้ ไม่เกิน 10 % โดยจำนวนหรือน้าหนักของเห็ดหูหนูขาว แห้ง 4 . วัตถุเจือปนอาหาร ชนิดและปริมาณสูงสุดของ สารฟอกสี มีดังนี้ ปริมาณสูงสุดของสารกลุ่มซัลไฟต์ ไม่เกิน 500 mg/kg (คานวณเป็นปริมาณซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ที่ตกค้าง) 1 / 5 . สารปนเปื ้อน 5 . 1 โลหะหนัก ปริมาณสูงสุดของตะกั่ว ไม่ เกิน 1 mg/kg 2 / 1 / ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 281 ) พ.ศ. 2547 เรื่อง วัตถุเจือปนอาหาร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศ กระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 418 ) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธีการใช้ และอัตราส่ว นของวัตถุเจือปนอาหาร (ฉบับที่ 2 ) ที่กาหนดในหมวดอาหาร 04.2.2.2 ผัก ( รวมทั้งเห็ดและรา ( Fungi) หัวและรากของพืช พืชตระกูลถั่ว และว่านหางจระเข้) สาหร่ายทะเล นัทและเมล็ด ที่แห้ง 2/ ใช้วิธีคานวณจากปริมาณสูงสุดของตะกั่วในเห็ดสด 0.3 mg/kg และค่าอัตราส่วนการแปรรูปขอ งเห็ดแห้ง 30 โดยอ้างอิง ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 414 ) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง มาตรฐานอาหาร ที่มีสารปนเปื้อน และ ตาม ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง คำชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยมาตรฐานอาหารที่ มีสารปนเปื้อน

มกษ. 1531 - 256 6 4 5 . 2 สารพิษตกค้าง ปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง ให้เป็นไปตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วย เรื่อง อาหารที่มีสารพิษตกค้าง และ มกษ. 9002 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง สารพิษตกค้าง : ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุด และ มกษ. 9003 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง สารพิษตกค้าง : ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุด ที่ปนเปื้อนจากสาเหตุที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ 6 . สุขลักษณ ะ 6 .1 การผลิตและการปฏิบัติต่อ เห็ด หู หนูขาว สดที่จะนามาทาให้แห้ง ให้ เป็นไปตาม มกษ. 9001 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสาหรับ พืชอาหาร หรือ มกษ. 2504 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบั ติทางการเกษตรที่ดีสาหรับเห็ดเพาะในถุง หรือได้รับการรับรอง ตาม มกษ. 9001 หรือ มกษ. 2504 หรือมาตรฐานที่เทียบเท่า 6 . 2 การผลิตเห็ดหูหนูขาวแห้ง ต้อง ปฏิบัติ อย่างถูกสุขลักษณะ เป็นไปตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ . 2522 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และเก็บรักษาอาหาร หรือตาม Code of H ygiene P ractice for D ehydrated F ruits and V egetables I ncluding E dible F ungi (CXC 5 - 1971) หรือตาม มกษ. 9023 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง หลักการทั่วไป ด้าน สุขลักษณะอาหาร : การปฏิบัติ ทางสุขลักษณะที่ดี หรือได้รับการรับรองตาม มกษ. 9023 หรือมาตรฐานที่เทียบเท่ำ 7 . การบรรจุและการวัด 7 .1 เห็ดหูหนูขาวแห้ง ต้อง บรรจุใน ภาชนะบรรจุที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ มีคุณสมบัติป้องกันไม่ ให้ เห็ดหูหนูขาวแห้ง เกิดความเสียหาย ทนทานต่อการจัดการ การขนส่ง แ ละการเก็บรักษา 7 . 2 เห็ดหูหนูขาวแห้ง ที่บรรจุในแต่ละหีบห่อ ต้องมี น้าหนัก สุทธิไม่น้อยกว่า ที่ระบุในฉลาก 8 . การแสดงฉลาก การแสดงฉลากให้เป็นไปตามข้อ 3 ของ มกษ. 9060 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การแสดง ฉลากสินค้าเกษตร และมีรายละเอียดข้อกาหนดการแสดงฉลาก สาหรับหีบห่อสาห รับผู้บริโภค และภาชนะบรรจุที่ไม่ได้จาหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค ดังต่อไปนี้

มกษ. 1531 - 256 6 5 8 . 1 หีบห่อ สาหรับผู้บริโภค อย่างน้อยต้องมีรายการดังต่อไปนี้ 1) ชื่อ สินค้า “ เห็ดหูหนูขาวแห้ง ” อาจแสดงชื่อ สาย พันธุ์ เพิ่มเติมได้ 2) แบบ (ถ้า มี ) 3 ) ขนาด หรือ รหั สขนาด (ถ้ามี) 4 ) รายการส่วนประกอบ ใ ห้ระบุว่าเป็นเห็ดหูหนูขาวแห้ง 100% 5) วัตถุเจือปนอาหารกลุ่มซัลไฟต์ โดยระบุหน้าที่และชื่อเฉพาะหรือ International Numbering System: INS for Food Additives (ถ้ามี การใช้ ) 6 ) กรณีมีการใช้วัตถุเจือปนอาหารกลุ่มซัลไฟ ต์ และมี ปริมาณ ตกค้าง มากกว่าหรือเท่ากับ 10 mg/kg ให้แสดงข้อความ ดังนี้ “ ข้อมูล สาหรับผู้แพ้อาหาร : มีซัลไฟต์ ” หรือ “ มีซัลไฟต์ ” ไว้ในกรอบ โดยสีของตัวอักษรต้องตัดกับสีพื้นของกรอบและสีของกรอบ ตัดกับสีพื้นของฉลาก 7) น้าหนักสุทธิ ให้ใช้ระบบเมตริก 8 ) ชื่อและที่ อยู่ของผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้กระจายสินค้า หรือผู้นาเข้า หรือผู้ส่งออก หรือผู้จำหน่าย สินค้า 9 ) ประเทศถิ่นกาเนิด ยกเว้นกรณีผลิตเพื่อจาหน่ายในประเทศ อาจแสดงเขตที่ปลูกหรือประเทศ ภูมิภาค หรือชื่อท้องถิ่นของสถานที่เพิ่มเติม 10 ) การระบุรุ่น 1 1 ) การ แสดงวันที่ - วันที่ผลิต 3 / หรือวันที่บรรจุ 4 / - วันที่ควรบริโภคก่อน หรือวันหมดอายุ 1 2 ) คาแนะนาในการเก็บรักษา (ถ้ามี) 3/ วันที่ผลิต ( date of manufacture) หมายถึง วันที่สินค้าเกษตรผ่านกระบวนการตามขั้นตอนต่างๆ จนเป็นสินค้าเกษตรตามที่ได้ระบุ ไว้ที่ ฉ ลาก วันที่ผลิตนี้ไม่ใช่การระบุการคงสภาพของสินค้าเกษตร 4/ วันที่บรรจุหีบห่อ ( date of packaging ) หรือที่แสดงบนฉลากว่ำวันที่บรรจุ ( date of packing) หมายถึง วันที่ บรรจุสินค้าเกษตร ในภาชนะบรรจุที่พร้อมจาหน่าย วันที่บรรจุหีบห่อนี้ไม่ใช่การระบุการคงสภาพของสินค้าเกษตร

มกษ. 1531 - 256 6 6 8 . 2 ภาชนะบรรจุ ที่ไม่ได้จาหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค ต้องแสดงรายการดังนี้บนฉลาก ยกเว้นรายการที่มีเครื่องหมาย * กา กับสามารถแสดงในเอกสาร กำกับหรือวิธีอื่นได้ 1) ชื่อสินค้า เช่น “ เห็ดหูหนูขาวแห้ง ” อาจแสดงชื่อ สายพันธุ์ เพิ่มเติมได้ 2) แบบ (ถ้ามี) * 3 ) ขนาด หรือ รหัสขนาด (ถ้ามี) * 4 ) วัตถุเจือปนอาหารกลุ่มซัลไฟต์ โดยระบุหน้าที่และชื่อเฉพาะหรือ Internat ional Numbering System: INS for Food Additives (ถ้ามีการใช้) 5 ) กรณีมีการใช้วัตถุเจือปนอาหารกลุ่มซัลไฟต์ และมีปริมาณตกค้าง มากกว่าหรือเท่ากับ 10 mg/kg ให้แสดงข้อความ ดังนี้ “ ข้อมูลสาหรับผู้แพ้อาหาร : มีซัลไฟต์ ” หรือ “ มีซัลไฟต์ ” ไว้ในกรอบ โดยสีของตัวอักษร ต้องตัดกับสีพื้นของกรอบและสีของกรอบ ตัดกับสีพื้นของฉลาก 6 ) น้าหนัก สุทธิ ให้ใช้ระบบเมตริก 7 ) ชื่อและที่อยู่ของผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้กระจายสินค้า หรือผู้นาเข้า หรือผู้ส่ งออก หรือผู้จำหน่าย สินค้า 8 ) ประเทศถิ่นกาเนิด ยกเว้นกรณีผลิตเพื่อจาหน่ายในป ระเทศ อาจแสดงเขตที่ปลูกหรือประเทศ ภูมิภาค หรือชื่อท้องถิ่นของสถานที่เพิ่มเติม 9 ) การระบุรุ่น 10 ) การแสดงวันที่ - วันที่ผลิต หรือวันที่บรรจุ - วันที่ควรบริโภคก่อน หรือวันหมดอายุ 11 ) คาแนะนาในการเก็บรักษา (ถ้ามี) * 9 . วิธีวิเคราะห์และ การ ชัก ตัวอย่าง 9.1 วิธีวิเคราะห์ ให้เป็ นไปตามวิธีที่กาหนดในตารางที่ 3

มกษ. 1531 - 256 6 7 ตารางที่ 3 วิธีวิเคราะห์ เห็ดหูหนูขาวแห้ง รายการ วิธีวิเคราะห์ 5 / 6 / หลักการ 1 . สีและ กลิ่น (ข้อ 3.2.1 ) ตรวจโดยวิธีทางประสาทสัมผัส Sensory A nalysis 2 . ความสม่าเสมอ (ข้อ 3.2.2 ) ตรวจพินิจ Visual E xamination 3 . ปริมาณความชื้น (ข้อ 3.2.3 ) ISO 939 หรือ AOAC 934.06 Distillation หรือ Gravimetry 4 . ข้อบกพร่อง (ข้อ 3.2. 4 ) ตรวจพินิจบนกระดาษสีขาว ขนาดตัวอย่างไม่น้อยกว่า 3 00 g Gravimetry 5 . ขนาด (ข้อ 3.3 ) วัดเส้นผ่าศูนย์กลาง ณ ส่วนที่กว้างที่สุด ข องดอก เห็ด Length Measurement 6 . ปริมาณซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่ตกค้าง (ข้อ 4 ) AOAC 990.28 Optimized Monier - Williams Method 7 . น้าหนัก สุทธิ (ข้อ 7.2 ) ชั่งน้าหนัก Weighing 9.2 การ ชักตัวอย่าง การชักตัวอย่าง ให้เป็นไปตามภาคผนวก ข 9.3 เกณฑ์ตัดสิน รุ่น ( lot ) ข อง เห็ดหูหนูขาวแห้ง จะยอมรับได้เมื่อผ่านเกณฑ์ที่กาหนด ตาม ข้อ 3 ถึง ข้อ 8 5/ วิธีวิเคราะห์ให้อ้างอิงเอกสารฉบับล่าสุด 6/ กรณีไม่สามารถใช้วิธีวิเคราะห์ตามตารางที่ 3 ให้เลือกวิธีอื่นที่ พิจารณาแล้วว่าเป็นวิธีวิเคราะห์ที่มีคุณสมบัติการใช้งาน ( performance characteristics ) เหมาะสม และเป็นไปตามหลักเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1) เป็นวิธีวิเคราะห์ที่ประกาศโดยองค์การแห่งชาติ หรือองค์การระหว่างประเทศด้านมาตรฐาน หรือตีพิมพ์ในเอกสาร คู่มือ หรือ สิ่งตีพิมพ์ที่เป็นที่ยอมรับระดับสากล 2) เป็นวิธีวิเคราะห์ที่มีผลการประเมินความใช้ได้ ( validation ) ของผลการทดสอบว่ามีความถูกต้องและเหมาะสม โดยห้องปฏิบัติการที่มีการร่วมศึกษากับเครือข่าย ( collaborative study ) ตามหลักเกณฑ์ที่สอดคล้องกับองค์การนานาชาติ ซึ่งเป็น ที่ยอมรับทั่วไป 3) กรณีไม่มีวิธีวิเคราะห์ตามข้อ 1) หรือ 2 ) ให้ใช้วิธีวิเคราะห์ที่ได้ประเมินความใช้ได้ของผลการทดสอบว่ามีความถูกต้อง และเหมาะสม โดยห้องปฏิบัติการแห่งเดียวที่มีระบบคุณภาพ ( single laboratory validation ) ตามหลักเกณฑ์ที่เป็นที่ยอมรับ ในระดับสากล

มกษ. 1531 - 256 6 8 ภาคผนวก ก ( ให้ไว้เป็นข้อมูล ) ภาพแสดง ตัวอย่าง เห็ดหูหนูขาวแห้ง ภาพที่ ก. 1 ตัวอย่าง เห็ดหูหนูขาวแห้ง ทั้งดอก (ข้อ 2.2) ภาพที่ ก. 2 ตัวอย่าง เห็ดหูหนูขาวแห้ง ที่ มีสีผิดปกติ ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด (ข้อ 3.2.1 )

มกษ. 1531 - 256 6 9 ภาพที่ ก. 3 ข้อบกพร่ อง จาก ราที่มองเห็นได้ (ข้อ 3.2.4 ) ภาพที่ ก. 4 ตัวอย่าง แสดงการวัดขนาดโดยเส้นผ่าศูนย์กลาง ณ ส่วนที่กว้างที่สุดของ ดอก (ข้อ 3.3 )

มกษ. 1531 - 256 6 10 ภาคผนวก ข ( เป็นส่วนหนึ่งของ ข้อกาหนด ) การชัก ตัวอย่าง ข. 1 นิยาม ความหมายของคาที่ใช้มีดังต่อไปนี้ ข. 1.1 รุ่น ( lot) หมายถึง ปริมาณที่แน่นอนของสินค้าที่ผลิตแบบอุตสาหกรรม ( manufactured) หรือผลิต ภายใต้เงื่ อ นไขต่างๆ ที่สันนิษฐานว่ากระบวนการผลิตมี ความสม่า เสมอ ( uniform of process) ข. 1.2 ตัวอย่างขั้นต้น ( pr imary sample) หมายถึง ส่วนหนึ่งของสิ นค้า ( portion of product) ที่เก็บ รวบรวมจากรุ่นในระยะ ที่ 1 ของกระบวนการชัก ตัวอย่าง และตามปก ติจะอยู่ ในรูป ของชิ้น (ถ้าเก็บรวบรวมจากรุ่นของสินค้าที่บรรจุหีบห่อแล้ว) หรือในรูปของอินคริเมนต์ (ถ้าเก็บรวบรวม จากรุ่นที่เป็นบัลก์) ( อาจพิจารณา “ อินคริ เมนต์ ” ว่าเป็น “ ชิ้ น ” ได้ ถ้าการวัดทาที่แต่ละอินคริเมนต์) ควรเก็บตัวอย่าง ข้ันต้น จากทั่ ว ทั้งรุ่นถ้าสามารถทาได้ ในทางปฏิบัติ และการปฏิบัติที่ แตกต่าง จากข้อ กำหนดนี้ควรมีการบันทึกไว้ ข. 1. 3 ตัวอย่างแบบผสมรวม ( composite sample) หมายถึง เมื่อแผน การชั ก ตัวอย่างกำหนดให้ เตรียมตัวอย่างแบบผสมรวม ต้องผสมตัวอย่างขั้นต้นที่เป็นชิ้นอย่างระมัดระวังจากรุ่นของสินค้า ที่บรรจุในหีบห่อ หรือต้องผสมอินคริเมนต์จากสินค้า/บัลก์ในบรรจุภัณฑ์อย่างระมัดระวัง ข. 2 การชักตัวอย่าง ข . 2.1 การชักตัวอย่างสาหรับการตรวจ ภาชนะ บรรจุ และการบรรจุ ความสม ่าเสมอ ขนาด น้าหนักสุทธิ และการแสดงฉลาก ข. 2.1.1 ให้ชักตัวอย่าง ขั้นต้นแบบสุ่มจากรุ่น ให้ ได้ขนาดตัวอย่าง ตามตารางที่ ข. 1 โดยชักตัวอย่าง ทั้งภาชนะบรรจุสาหรับการตรวจสอบ ทั้งนี้ ตัวอย่างรวมต้องไม่น้อยกว่า 300 g

มกษ. 1531 - 256 6 11 ตารางที่ ข. 1 จา นวนหีบห่อที่ต้องชักตัวอย่าง จานวนหีบห่อในรุ่น จานวนหีบห่อที่ต้องชักตัวอย่าง สูงสุด 100 5 101 ถึง 300 7 301 ถึง 500 9 501 ถึง 1 000 10 1 001 ถึง 3 000 13 มากกว่า 1 000 15 (ขั้นต่า) ที่มา : UNECE Sampling Plan for Tree Nuts and Dried Produce , 2021 ข. 2 .1.2 หากผลการตรวจสอบตัวอย่างขั้นต้นทุกตัวอย่าง เป็นไปตามเกณฑ์กาหนด ข้อ 3.2.2 ข้อ 3.3 ข้อ 3.4 ข้อ 7 และข้อ 8 ให้ถือว่า เห็ดหูหนูขาวแห้ง รุ่นนั้นเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด หากพบว่าตัวอย่างขั้นต้น ไม่เป็น ไปตามข้อกาหนด ให้ส่งคืนตัวอย่าง โดยไม่ต้องทดสอบต่อ ข. 2 .2 การชักตั วอย่างสาหรับการตรวจด้าน คุณภาพและ ความปลอดภัย ข. 2.2.1 ให้ชักตัวอย่าง เห็ดหูหนูขาวแห้ง แบบสุ่มกระจายอย่างทั่วถึง จากตัวอย่างขั้นต้นแต่ละหีบห่อนามาผสม รวมกัน เป็นตัวอย่างแบบผสมรวม ทั้งนี้ จานวนรวม ต้อง ไม่น้อยกว่า 300 g (หากมีจานวนตัวอย่าง ขั้นต้นไม่พอสาหรับส่งวิเครา ะห์ให้ชักตัวอย่างเพิ่มได้ และกรณีหีบห่อมีขนาดเล็กอาจชักตัวอย่าง ทั้งภาชนะบรรจุได้ ) เพื่อเป็นตัวอย่างสาหรับ ส่ง ห้องปฏิบัติการ ในการ วิเคราะห์ สีและกลิ่น (ข้อ 3.2.1) ปริมาณความชื้น (ข้อ 3.2. 3 ) และข้อบกพร่องที่ยอมรับได้ (ข้อ 3.2.4 ) ข . 2.2.2 การชักตัวอย่าง เพื่อตรวจหำ สารพิษตกค้าง ให้เป็นไปตามข้อกาหนด มกษ. 9025 มาตรฐาน สินค้าเกษตร เรื่อง วิธีชักตัวอย่างเพื่อตรวจหาสารพิษตกค้าง ข. 2.2.3 การชักตัวอย่างเพื่อตรวจหาวัตถุเจือปนอาหารและสารปนเปื้อน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ยอมรับ โดยสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ข. 2.2. 4 หากผลการตรวจสอบตัวอย่าง สาหรับห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ ทุกตัวอย่าง เป็นไปตามเกณฑ์กาหนด ข้อ 3.2.1 ข้อ 3.2.3 ข้อ 3.2.4 ข้อ 4 และ ข้อ 5 ให้ถือว่า เห็ดหูหนูขาวแห้ง รุ่นนั้นเป็นไปตามเกณฑ์ ที่กาหนด

มกษ. 1531 - 256 6 12 ภาคผนวก ค (ให้ไว้เป็นข้อมูล) หน่วย หน่วยและสัญลักษณ์ที่ใช้ในมาตรฐานนี้ และหน่วย SI ( International System of Units หรือ Le Syst è me International d’ Unit é s ) ที่ยอมรับให้ใช้ได้ มีดังนี้ รายการ ชื่อหน่วย สัญลักษณ์หน่วย ความยาว เซนติเมตร ( centimeter ) cm ความเข้มข้น มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ( milligram/kilogram) mg/kg มวล กรัม (gr am) g