Fri Mar 31 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : บรอกโคลี ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551


ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : บรอกโคลี ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : บรอกโคลี ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ด้วยคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร เห็นสมควรกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง บรอกโคลี เป็นมาตรฐานทั่วไป ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 เพื่อส่งเสริมสินค้าเกษตรให้ได้คุณภาพ มาตรฐาน และปลอดภัย อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 มาตรา 15 วรรคสอง และมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญั ติ มาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ประกอบมติคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร ในการประชุม ครั้งที่ 4/2565 เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงออกประกาศกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : บรอกโคลี มาตรฐานเลขที่ มกษ. 1530 - 2566 ไว้ เป็นมาตรฐานทั่วไป ดังมีรายละเอียดแนบท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 1 0 มกราคม พ.ศ. 25 6 6 ประภัตร โพธสุธน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ้ หนา 26 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 78 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 มีนาคม 2566

มกษ. 1530 - 256 6 มาตรฐานสินค้าเกษตร บรอกโคลี 1 . ขอบข่าย มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ให้ข้อกำหน ดด้านคุณภาพและความปลอดภัยสำหรับ บรอกโคลี ( broccoli ) ที่มีการจัดเตรียมและบรรจุหีบห่อ 2 . คาอธิบายผลิตผล มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ ใช้กับ หัว (ส่วนที่เป็นกลุ่มช่อดอกและลาต้น) ของ บรอกโคลีประเภท หัว ( heading t ype ) 1 / พันธุ์ที่ผลิตเป็นการค้า ซึ่ง ได้มาจาก พืชที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Brassica oleraceae L . var . italica Plenck อยู่ในวงศ์ Brassicaceae เพื่อจาหน่ายในรูปผลิตผลสดแก่ผู้บริโภค ไม่รวมบรอกโคลีที่ใช้แปรรูปในอุตสาหกรรม ตัวอย่าง ภาพแสดงส่วนต่างๆ ของ บรอกโคลี แสดงในภาคผนวก ก ภาพที่ ก. 1 ตัวอย่างบรอกโคลีประเภทหัวที่จาหน่ายเป็นการค้า ที่มีรูปทรงต่างกันตามพันธุ์ แสดงในภาคผนวก ก ภาพที่ ก. 2 3 . คุณภาพ 3 . 1 ข้อกำหนดขั้นต ่า 3 . 1 . 1 บรอกโคลี ทุกชั้นคุณภาพ ต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ เว้นแต่จะ มีข้อกาหนดเฉพาะของแต่ละชั้นคุณภาพ และเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้มีได้ตามที่ระบุไว้ 1 ) เป็นบรอกโคลีทั้งหัวประกอบด้วยกลุ่มช่อดอกและลาต้นที่ตัดแต่งใบขนาดใหญ่ออก โดยโคนก้านใบ ที่เหลือ มีความยาวไม่เกิน 1 cm อาจเหลือใบขนาดเล็กไว้บางส่วนที่อยู่ชิดกลุ่มดอกย่อย เพื่อวัตถุประสงค์ในการนาเสนออาจตัดก้านช่อดอกบางส่วนออกได้ 2 ) สด 3 ) สภาพดี ไม่เน่า ( rotting ) หรือเสื่อมสภาพ ( deterioration ) ที่ทาให้ไม่เหมาะต่อการบริโภค 1 / บรอกโคลีแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1 ) ประเภทหัว ( heading t ype ) หมายถึง บรอกโคลีที่กลุ่มดอกตูมรวมกันเป็นหัวหลักขนาดใหญ่หัวเดียวต่อจากลาต้น 2 ) ประเภทแขนง ( s prouting t ype ) หมายถึง บรอกโคลีที่มีการแตกแขนงจานวนมากดอกตูมรวมกันเป็นหัวขนาดเล็กต่อจากแขนง

มกษ. 15 30 - 256 6 2 4 ) ความแน่นของกลุ่มดอก ย่อย เป็นไปตามลักษณะพันธุ์ 5 ) ไม่มีดอกบานปรากฏ ( bloom or opening flower ) 6 ) ความยาวลาต้นไม่เกิน 10 cm โดยวัดจากโคนก้านช่อดอก ( inflorescence stem ) ที่อยู่ล่างสุด ถึงขอบรอยตัดของลาต้น ตัวอย่างการวัดความยาวลาต้น แสดงในภาคผนวก ก ภาพที่ ก. 3 7 ) รอยตัดแต่งอยู่ในสภาพดี เรียบ และสะอาด 8 ) ไม่มีลักษณะลาต้นกลวงที่มีสีผิดปกติซึ่งไม่เหมาะต่อการบริโภค ยกเว้นรอยแตกภายในของลาต้น 9 ) สะอาด ไม่มีสิ่งแปลกปลอมใดๆ ที่ มองเห็นได้เท่าที่จะเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ 2 / 1 0 ) ไม่มี ศัตรูพืชเท่าที่จะเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ 2 / 3 / 1 1 ) ไม่มีความเสียหายจากศัตรูพืชเท่าที่จะเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ 2 / 1 2 ) ไม่มีความชื้นที่ผิดปกติจากภายนอก ทั้งนี้ ไม่รวมถึงหยดน้าที่เกิดหลังจากนา บรอกโคลี ออกจาก ห้องเย็น 1 3 ) ไม่มีกลิ่น หรือ รสชาติ แปลกปลอม 1 4 ) ไม่มี ความเสีย หาย เนื่องจาก อุณหภูมิต่าหรืออุณหภูมิสูง 1 5 ) บรอกโคลี ต้องมี พัฒนา การ และ มีสภาพที่ : ก) ทนต่อการจัดการและขนส่ง ข) อยู่ในสภาพที่ ยอมรับได้เมื่อถึงปลายทาง ตัวอย่าง บรอกโคลีที่ไม่ผ่านข้อกาหนดขั้นต่า แสดงในภาคผนวก ก ภาพที่ ก. 4 3 . 1 . 2 ข้อกาหนดความอ่อน - แก่ บรอกโคลีต้องมีพัฒนาการถึงระยะที่เหมาะสมหรือมีความอ่อน - แก่ ตามเกณฑ์ที่เหมาะสมกับพันธุ์ อายุ เก็บเกี่ยว และพื้นที่ปลูก 3 . 2 การแบ่งชั้นคุณภาพ บรอกโคลี ตามมาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ แบ่ง ชั้นคุณภาพ เป็น 2 ชั้น ดังนี้ 3 . 2 . 1 ชั้นหนึ่ง ( Class I ) บรอกโคลี ในชั้นนี้ต้องมีคุณภาพดี ลักษณะตรงตามพันธุ์ ไม่มีลักษณะลาต้นกลวงหรือรอยแตก ภายในลำต้น กลุ่มช่อดอกเป็นดอกตูมทั้งหมดและกลุ่มดอกย่อยรวมตัวกันแน่น อย่างไรก็ตาม อาจ ยอมให้ มีตาหนิเล็กน้อย หากตาหนิดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อรูปลักษณ์ทั่วไป คุณภาพของ บรอกโคลี คุณภาพระหว่า งการเก็บรักษา และการจัดเรียงเสนอในหีบห่อ ทั้งนี้ ตาหนิที่ยอมให้มีได้ มีดังนี้ 2 / เมื่อได้มีการปฏิบัติที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิบัติที่ดี ในการผลิต การจัดการ และการจาหน่ายสินค้าแล้ว 3 / การนาข้อกาหนดนี้ไปปฏิบัติใช้ต้องไม่ขัดกับพระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม

3 มกษ. 15 30 - 256 6 1 ) ตาหนิ เล็กน้อย ด้ำนรูปทรง 2 ) ตาหนิเล็กน้อยด้านสี 3 . 2 . 2 ชั้นสอง ( Class II ) บรอกโคลี ในชั้นนี้รวม บรอกโคลีที่ มีคุณภาพไม่เข้าชั้นที่สูงกว่า แต่มีคุณภาพตามข้อกาหนดขั้นต่า ที่กาหนดในข้อ 3 . 1 กลุ่มช่อดอกเป็นดอกตูมและกลุ่มดอกย่อยรวมตัวกันหลวมเล็กน้อย โดยกลุ่มช่อดอกยังรวมตัวกันเป็นหัว บรอกโคลี ในชั้นนี้มีตาหนิได้ หากยังคงลักษณะที่สาคัญ ในเรื่องคุณภาพ ของบรอกโคลี คุณภาพระหว่างการเก็บรักษา และการจัดเรียงเสนอในหีบห่อ ทั้งนี้ ตาหนิที่ยอมให้มีได้ มีดังนี้ 1 ) ตาหนิ ด้านรูปทรง 2 ) ตาหนิด้านสี 3 ) รอยช้าและ รอยแผล เล็กน้อย 4 ) หากพบลาต้นกลวงหรือแกนกลางมีรอยแตก ต้องมีสภาพดี ไม่มีสีผิดปกติที่ทาให้ไม่เหมาะ ต่อการบริโภค บรอกโคลีในชั้นนี้ยอมให้มีใบที่มีความยาวเกินกว่าความสูงของกลุ่มช่อดอกและอยู่ชิดกับกลุ่มดอกย่อย แต่ ต้องเป็นใบที่ยังสด มีสีเขียวและมีสภาพดี ตัวอย่างลักษณะ ของบรอกโคลี ตามชั้นคุณภาพ แสดงในภาคผนวก ก ภาพที่ ก. 5 ตัวอย่างลักษณะตาหนิ ของบรอกโคลี ตามชั้นคุณภาพ แสดงในภาคผนวก ก ภาพที่ ก. 6 4 . การจัดขนาด การจัดขนาดของบรอกโคลีพิจารณาจากน้าหนักของหัว หรือเส้นผ่าศูนย์กลาง ณ ส่วนที่กว้างที่สุด ของหัว ทั้งนี้ ขนาดของบรอกโคลีทุกชั้นคุณภาพ จะต้องมี น้าหนักของหัวไม่น้อยกว่า 100 g หรือ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ณ ส่วนที่กว้างที่สุ ดของหัว ไม่น้อยกว่า 6 cm ตัวอย่างแสดงการวัดโดยเส้นผ่าศูนย์กลาง ณ ส่วนที่กว้างที่สุดของหัวบรอกโคลี แสดงในภาคผนวก ก ภาพที่ ก. 7

มกษ. 15 30 - 256 6 4 ตารางต่อไปนี้ให้ไว้เป็นแนวทางและอาจใช้เป็นทางเลือกสาหรับการจัดขนาด ตารางที่ 1 การจัด ขนาดของ บรอกโคลี โดยน้าหนัก ต่อหัว รหัสขนาด น้าหนัก ( g ) 1 > 400 2 > 300 - 400 3 > 200 - 300 4 10 0 – 200 ตารางที่ 2 การจัด ขนาดของ บรอกโคลีโดยเส้นผ่าศูนย์กลาง ณ ส่วนที่กว้างที่สุดของ หัว รหัสขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง ( cm ) 1 > 14 2 > 12 - 14 3 > 10 – 12 4 > 8 – 10 5 6 - 8 หมายเหตุ การแบ่งชั้นคุณภาพ (ข้อ 3 . 2 ) และการจัดขนาด (ข้อ 4 ) ในมาตรฐานนี้ ใช้ในการพิจารณา ทางการค้าโดยนาข้อกาหนดการแบ่งชั้นคุณภาพไปใช้ร่วมกับข้อกาหนดการจัดขนาด เพื่อกำหนดเป็นชั้นทางการค้า ซึ่งคู่ค้าอาจมีการเรียกชื่อชั้นทางการค้าที่แตกต่างกัน ขึ้นกับความต้องการ ของคู่ค้าหรือตามข้อจำกัดที่มีเนื่องมาจากฤดูกาล 5 . เกณฑ์ความคลาดเคลื่อน เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเรื่องคุณภาพและขนาดที่ยอมให้มีได้ในแต่ละ หีบห่อหรือ รุ่นที่ส่งมอบ สาหรับ บรอกโคลี ที่ไม่เป็นไปตามชั้นคุณภาพและขนาดที่ระบุไว้ ดังนี้ 5 . 1 เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเรื่องคุณภาพ 5 . 1 . 1 ชั้นหนึ่ง ( Class I ) ควำมคลาดเคลื่อนไม่เกิน 5 % โดยจานวนหรือน้าหนักของ บรอกโคลี ที่มีคุณภาพไม่เป็นไปตาม ข้อกำหนดของชั้นหนึ่ง (ข้อ 3 . 2 . 1 ) แต่เป็นไปตามคุณภาพของชั้นสอง (ข้อ 3 . 2 . 2 ) หรือ คุณภาพยังอยู่ในเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนของคุณภาพชั้นสอง (ข้อ 5 .1. 2 )

5 มกษ. 15 30 - 256 6 5 . 1 . 2 ชั้นสอง ( Class II ) ความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 10 % โดยจานวนหรือน้าหนักของ บรอกโคลี ที่มีคุณภาพไม่เป็นไปตาม ข้อกำหนดของชั้นสอง (ข้อ 3 . 2 . 2 ) หรือตามข้อกำหนดขั้นต่า (ข้อ 3 . 1 . 1 ) 5 . 2 เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเรื่องขนาด ถ้ามีการจัดขนาด บรอกโคลีทุกชั้นคุณภาพ ที่ มี ขนาดใหญ่กว่าหรือเล็กกว่ารหัสขนาดถัดไปหนึ่งรหัส ปนมาได้ ไม่เกิน 10 % โดยจำนวนหรือน้าหนัก ของบรอกโคลี 6 . การ จัดเรียงเสนอ 6 . 1 ความสม ่าเสมอ บรอกโคลี ที่บรรจุในแต่ละหีบห่อต้องมีความสม่าเสมอ และบรรจุเฉพาะ บรอกโคลี ที่มี พันธุ์ ถิ่น กำเนิด และคุณภาพเดียวกัน รวมทั้งต้องมีขนาดเดียวกันด้วย ถ้ามีการจัดขนาด กรณีที่มองเห็น บรอกโคลี จากภายนอกหีบห่อ ส่วนที่มองเห็นต้องเป็นตัวแทนของผลิตผลทั้งหมด 6 . 2 การบรรจุหีบห่อ 6 . 2 . 1 ต้องบรรจุ บรอกโคลี ในลักษณะที่สามารถป้องกัน บรอกโคลี ไม่ให้เกิดความเสียหาย วัสดุที่ใช้ ภายในหีบห่อต้องใหม่ สะอาด และมีคุณภาพที่จะไม่ก่อให้เกิดความเสียหายทั้งภายนอกและ ภายใน ผลิต ผล หากมีการใช้กระดาษหรือตราประทับที่มีข้อมูลทางการค้าต้องใช้หมึกพิมพ์หรือ กาวที่ไม่เป็นพิษ การบรรจุ บรอกโคลี ในแต่ละภาชนะบรรจุต้องเป็นไปตาม ข้อ 3 . 1 การบรรจุหีบห่อเพื่อรักษา คุณภาพของผลิตผลระหว่างการขนส่งและการจาหน่าย และ ข้อ 3 . 2 วิธีปฏิบัติในการลดอุณหภูมิ เบื้องต้น ของ มกษ. 90 5 9 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง แนวทางปฏิบัติสาหรับการบรรจุหีบห่อ และการขนส่งผักและผลไม้สด 6 . 2 . 2 ภาชนะบรรจุต้องมีคุณภาพ ถูกสุขลักษณะ และทนทานต่อการ ปฏิบัติต่อผลิตผล ( handling ) การขนส่ง และ เก็บ รักษา บรอกโคลีไว้ได้ 6.2.3 หีบห่อต้องไม่มีสิ่งแปลกปลอม และกลิ่นแปลกปลอม 7 . การแสดงฉลาก การแสดงฉลากให้เป็นไปตามข้อ 3 ของ มกษ. 9060 และมีรายละเอียดข้อกาหนดการแสดงฉลาก สาหรับหีบห่อสาหรับผู้บริโภค และภาชนะบรรจุที่ไม่ได้จาหน่าย โดย ตรงต่อผู้บริโภค ดัง ต่อไป นี้

มกษ. 15 30 - 256 6 6 7 . 1 หีบห่อ สาหรับผู้บริโภค อย่างน้อยต้องมีรายการดังนี้ 1) ชื่อสามัญของผลิตผล เช่น บรอกโคลี 2) อาจแสดงชื่อพันธุ์ ชนิด หรือชื่อทางการค้าเพิ่มเติมได้ 3) ชั้นคุณภาพ (ถ้ามี) 4) ขนาด หรือ รหัสขนาด (ถ้ามี) 5) น้าหนักสุทธิ ให้ใช้ระบบเมตริ ก 6) ชื่อและที่อยู่ ของผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้กระจายสินค้า หรือผู้นาเข้า หรือผู้ส่งออก หรือ ผู้ จำหน่ายสินค้า 7) เลขสถานที่ผลิตหรือเลขสถานที่นาเข้า 8) ประเทศถิ่นกาเนิด ยกเว้นกรณีปลูกเพื่อจาหน่ายในประเทศ 9) อาจแสดงเขตที่ปลูกหรือประเทศ ภูมิภาคหรือชื่อท้องถิ่นของสถานที่เพิ่มเติม 10) การระบุรุ่น 11) แสดงรหัสสัญลักษณ์หรือรูปแบบใดๆ ที่บ่งชี้รุ่นการผลิตเพิ่มเติม ทั้งนี้ อาจใช้การแสดง วันที่แทนการระบุรุ่นก็ได้ 12) วัน เดือน ปี ที่บรรจุ 4 / 7 . 2 ภาชนะบรรจุที่ไม่ได้จาหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค ต้องแสดงรายการดังนี้บนฉลาก ยกเว้นรายการที่มีเครื่องหมาย * กากับ สามารถแสดงในเอกสารกากับ หรือวิธีอื่นได้ 1) ชื่อสามัญของผลิตผล เช่น บรอกโคลี 2) อาจแสดงชื่อพันธุ์ ชนิด หรือชื่อทางการค้าเพิ่มเติมได้ 3) ชั้นคุณภาพ (ถ้ามี)* 4) ขนาด หรือ รหัสขนาด (ถ้ามี)* 5) น้าหนักสุทธิ ให้ใช้ระบบเมตริก 6) ชื่อและที่อยู่ ของผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้กระจายสินค้า หรือผู้นาเข้า หรือผู้ส่งออก หรือ ผู้จำหน่ายสินค้า 7) เลขสถานที่ผลิตหรือเลขสถานที่นาเข้า 4 / วันที่บรรจุหีบห่อ ( date of packaging ) หรือที่แสดงบนฉลากว่าวันที่บรรจุ ( date of packing ) หมายถึง วันที่บรรจุสินค้าเกษตร ใน ภาชนะบรรจุที่พร้อมจาหน่าย วันที่บรรจุ หีบห่อ นี้ไม่ใช่การระบุ การคงสภาพ ของสินค้าเกษตร

7 มกษ. 15 30 - 256 6 8) ประเทศถิ่นกาเนิด ยกเว้นกรณีผลิตเพื่อจาหน่ายในประเทศ 9) อาจแสดงเขตที่ปลูกหรือประเทศ ภูมิภาคหรือชื่ อท้องถิ่นของสถานที่เพิ่มเติม 10) การระบุรุ่น 11) แสดงรหัสสัญลักษณ์หรือรูปแบบใดๆ ที่บ่งชี้รุ่นการผลิตเพิ่มเติม ทั้งนี้ อาจใช้การแสดง วันที่แทนการระบุรุ่นก็ได้ 12) วัน เดือน ปี ที่บรรจุ 4 / 8 . วัตถุเจือปนอาหาร ไม่อนุญาตให้ใช้วัตถุเจือปนอาหาร 9 . สารปนเปื ้อน ปริมาณสารปนเปื้อนให้เป็นไปตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วย เรื่อง มาตรฐาน อาหารที่มีสาร ปนเปื้อน และ ข้อกาหนดในมาตรฐานสินค้าเกษตรที่เกี่ยวข้อง 10 . สารพิษตกค้าง ปริมาณสารพิษตกค้าง สูงสุด ให้เป็นไปตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่อง อาหารที่มี สารพิษตกค้าง และ มกษ. 9002 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง สารพิษตกค้าง: ปริมาณสารพิษ ตกค้างสูงสุด และ มกษ. 9003 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง สารพิษตกค้าง: ปริมาณสารพิษ ตกค้างสูงสุดที่ปนเปื้อนจากสาเหตุที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ 1 1 . สุขลักษณะ การผลิตและการปฏิบัติต่อบรอกโคลี ต้องปฏิบั ติอย่างถูกสุขลักษณะอย่างถูกต้องตามข้อกาหนด ดังต่อไปนี้ 1 ) มกษ. 9001 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสาหรับพืชอาหาร หรือได้รับการรับรองตาม มกษ. 9001 หรือมาตรฐานที่เทียบเท่า 2 ) กรณีบรอกโคลีที่มีการบรรจุในโรงคัดบรรจุ ต้องได้การรับรองตาม มกษ. 9035 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติที่ดีสาหรับโรงคัดบรรจุผักและผลไม้สด หรือมาตรฐานที่เทียบเท่า 1 2 . วิธีวิเคราะห์และการชักตัวอย่าง 1 2 . 1 วิธีวิเคราะห์ ให้เป็นไปตาม ภาคผนวก ข (ข้อ ข . 2 )

มกษ. 15 30 - 256 6 8 1 2 . 2 การชักตัวอย่าง ให้เป็นไปตามภาคผนวก ข (ข้อ ข . 1 ) 12 . 3 เกณฑ์การตัดสิน รุ่น ( lot ) ของ บรอกโคลี จะยอมรับได้เมื่อผ่านเกณฑ์ที่กาหนดตามข้อ 3 ถึงข้อ 11

9 มกษ. 15 30 - 256 6 ภาคผนวก ก (ให้ไว้เป็นข้อมูล) ภาพแสดงตัวอย่าง บรอกโคลี 1) ภาพ กลุ่มช่อดอกและลำต้นของ บรอกโคลี 2) ภาพบรอกโคลี ผ่าตามยาว ภาพที่ ก. 1 ตัวอย่างภาพแสดงส่วนต่าง ๆ ของบรอกโคลี (ข้อ 2 ) ลา ต้น ( stem ) กลุ่ม ช่อดอก ( inflorescence s ) ใบ ( leaf ) ลาต้น ( stem ) กลุ่ม ดอกย่อย ( floret cluster ) ก้าน ช่อ ดอก ( inflorescence stem ) ด้านกว้างของ กลุ่มช่อดอก ( width of inflorescences ) ด้าน ยาว ของ หัว ( length of h ead ) ดอกตูม ( bud ) ก้าน ช่อ ดอก ( inflorescence stem )

มกษ. 15 30 - 256 6 10 ภาพที่ ก. 2 ตัวอย่างบรอกโคลีประเภทหัวที่จาหน่ายเป็นการค้า ที่มีรูปทรง ต่างกันตามพันธุ์ (ข้อ 2 ) ที่มา : มูลนิธิโครงการหลวง และผู้ทรงคุณวุฒิ ภาพที่ ก. 3 ตัวอย่างแสดงการวัดความยาวลำต้น (ข้อ 3 . 1 . 1 )

11 มกษ. 15 30 - 256 6 1 ) เน่า ( rotting ) 2 ) พบสิ่งแปลกปลอม (ดิน) 3 ) มี ศัตรูพืช (หนอน) 4 ) มีความเสียหายจาก ศัตรูพืช (รา) 5 ) ลำต้น กลวง ที่มีสีผิดปกติ 6 ) ดอกบาน ภาพที่ ก. 4 ตัวอย่าง บรอกโคลี ที่ไม่ผ่านข้อกำหนดขั้นต ่า (ข้อ 3 . 1 . 1 ) ที่มา : กรมวิชาการเกษตรและมูลนิธิโครงการหลวง

มกษ. 15 30 - 256 6 12 1 ) กลุ่มดอกย่อยรวมตัวกันแน่น (ชั้นหนึ่ง) 2 ) กลุ่มดอกย่อยรวมตัวกันหลวมเล็กน้อย (ชั้นสอง) 3 ) ใบที่มีความยาวเกินกว่าความสูงของกลุ่มช่อดอกและอยู่ชิดกับกลุ่มดอกย่อย (ชั้นสอง) ภาพที่ ก. 5 ตัวอย่างลักษณะของบรอกโคลีตามชั้นคุณภาพ ( ข้อ 3 . 2 ) ที่มา : กรมวิชาการเกษตรและมูลนิธิโครงการหลวง

13 มกษ. 15 30 - 256 6 ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง 1) ตาหนิด้านรูปทรงซึ่งยอมให้มีได้จากัดตามชั้นคุณภาพ ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง 2) ตาหนิด้านสีซึ่งยอมให้มีได้จากัดตามชั้นคุณภาพ 3 ) รอยช้าเล็กน้อย (ชั้นสอง) 4 ) รอยแผลเล็กน้อย (ชั้นสอง) ภาพที่ ก. 6 ตัวอย่างลักษณะตาหนิของบรอกโคลีตามชั้นคุณภาพ ( ข้อ 3 . 2 ) ที่มา : มูลนิธิโครงการหลวง

มกษ. 15 30 - 256 6 14 ภาพที่ ก. 7 ตัวอย่างแสดงการวัดโดยเส้นผ่าศูนย์กลาง ณ ส่วนที่กว้างที่สุดของหัวบรอกโคลี (ข้อ 4 )

15 มกษ. 15 30 - 256 6 ภาคผนวก ข (เป็นส่วนหนึ่งของข้อกาหนด) การชักตัวอย่างและวิธีวิเคราะห์ ข. 1 การชักตัวอย่าง ข. 1 . 1 ข้อกาหนด ด้านคุณภาพ ให้ใช้ การชักตัวอย่าง ตามตารางที่ ข . 1 ตารางที่ ข . 1 การชักตัวอย่างสาหรับ การ ตรวจสอบ การแสดงฉลาก น้าหนักสุทธิ การจัดขนาด และคุณภาพ ขนาดรุ่น ( lot size ) (จานวนหีบห่อในรุ่น) ขนาดตัวอย่าง ( sample size ) (จานวนหีบห่อที่ต้องชักตัวอย่าง)  100 5 101 - 300 7 301 - 500 9 501 - 1 , 000 10  1,0 00 ≥ 15 ที่มา : ดัดแปลงจาก ISO 874 - 1980 . Fresh fruits and vegetables - Sampling ข. 1 . 2 ข้อกาหนด ด้านความปลอดภัย ข. 1 . 2 . 1 การชักตัวอย่าง สาหรับตรวจวิเคราะห์ สารปนเปื้อน ให้เป็นไปตามข้อกาหนดของกฎหมายหรือ มาตรฐานสินค้าเกษตร ที่ เกี่ยวข้อง หรือ ตามตารางที่ ข . 2 และ ข. 3 ข. 1 . 2 . 2 การชักตัวอย่าง สาหรับตรวจวิเคราะห์ สารพิษตกค้าง ให้เป็นไปตามข้อกาหนด มกษ. 9 0 25 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง วิธีชักตัวอย่างเพื่อตรวจหาสารพิษตกค้าง หรือตามตารางที่ ข . 2 และ ข. 3

มกษ. 15 30 - 256 6 16 ตารางที่ ข . 2 จำนวนต่าสุดของการชักตัวอย่างขั้นต้น ( primary sample ) ของแต่ละรุ่นการผลิต น้าหนักส่งออก ( ต่อ Lot ) ( กิโลกรัม) จานวนจุดที่สุ่มเก็บ (จุด) น้าหนักต่อจุด (กรัม) จานวนตัวอย่าง ที่ ส่งทดสอบ น้อยกว่า 50 50 – 50 0 501 – 1 , 000 มากกว่า 1 , 000 3 5 10 15 ไม่น้อยกว่า 100 ไม่น้อยกว่า 100 ไม่น้อยกว่า 100 ไม่น้อยกว่า 100 1 1 1 1 ที่มา : คู่มือการให้บริการตรวจสอบและออกใบรับรองคุณภาพสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออก, กอง พัฒนาระบบและรับรองมาต รฐานสินค้าพืช กรมวิชาการเกษตร ( 2 5 6 0) ตารางที่ ข. 3 ลักษณะ ขนาด และปริมาณต่าสุดของตัวอย่างขั้ น ต้น ( primary sample ) ที่ใช้ในการทดสอบ ที่มา : ดัดแปลงจากคู่มือการให้บริการตรวจสอบและออกใบรับรองคุณภาพสินค้าเกษตร เพื่อ การส่งออก, กองพัฒนาระบบและรับรองมาต รฐานสินค้าพืช กรมวิชาการเกษตร ( 2 5 6 0) ข. 1 . 3 การเตรียมตัวอย่างส่งห้องปฏิบัติการ กรณีส่งห้องปฏิบัติการต้องเก็บใน ภาชนะที่ปิด ได้ ระบุข้อมูลชัดเจน อ่านได้ และติดแน่น ดังนี้ 1 ) ชื่อตัวอย่าง พันธุ์ (ถ้ามี) ชั้นคุณภาพ 2 ) ชื่อผู้ส่งสินค้า ( consignor ) 3 ) สถานที่ชักตัวอย่าง 4 ) วัน เวลาที่ชักตัวอย่าง 5 ) รหัสตัวอย่างและรุ่น 6 ) ลายมือชื่อของผู้ชักตัวอย่าง 7 ) วิธีการชักตัวอย่าง 8 ) สภาพแวดล้อมขณะชักตัวอย่างที่จะมีผลต่อการวิเคราะห์ 9 ) ชื่อห้องปฏิบัติการทดสอบ (กรณีที่จาเป็น) ควรส่งตัวอย่างให้ถึงปลายทางเร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้เพื่อป้องกันไม่ให้ตัวอย่างเสียหาย ขนาดและน้าหนัก ปริมาณต ่าสุดของตัวอย่างที่ทดสอบ ขนาดกลาง น้าหนักต่อหัว 25 – 250 กรัม 1,000 กรัม (ไม่น้อยกว่า 10 หัว) ขนาดใหญ่ น้าหนักต่อหัวมากกว่า 250 กรัม 2,000 กรัม (ไม่น้อยกว่า 5 หัว)

17 มกษ. 15 30 - 256 6 ข. 2 วิธีวิเคราะห์ ข. 2 . 1 ข้อกาหนดด้าน คุณภาพ ข. 2 . 1 . 1 การตรวจพินิจ และการตรวจทางประสาทสัมผัส ให้นาตัวอย่างที่ชักตัวอย่างมาตามตารางที่ ข. 1 มาทั้งหีบห่อ นาตัวอย่างมาตรวจสอบการแสดงฉลาก (ข้อ 7 ) การจัดเรียงเสนอ (ข้อ 6 ) คุณภาพตามข้อกำหนดขั้นต่า ( ข้อ 3 . 1 . 1 ) ข้อกำหนดความอ่อน - แก่ (ข้อ 3 . 1 . 2 ) การแบ่งชั้นคุณภาพ (ข้อ 3 . 2 ) และเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเรื่องคุณภาพ ( ข้อ 5 . 1 ) โดยวิธีการตรวจพินิจและตรวจสอบทางประสาทสัมผัส โดยผู้ตรวจสอบที่ผ่านการอบรมหรือ มีประสบการณ์อย่างน้อย 3 คน และต้องผ่านความเห็นชอบจากผู้ตรวจสอบไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 จึง จะถือว่าผ่านตามเกณฑ์ข้อกำหนด ข. 2 . 1 . 2 น้าหนักสุทธิหรือจานวนที่บรรจุ ให้นาตัวอย่างที่ผ่านการตรวจสอบตามข้อ ข. 2 . 1 . 1 ทั้งหีบห่อ ไปชั่งน้าหนักเพื่อหาน้าหนักสุทธิ หรือนับจานวนหัวบรอกโคลีที่บรรจุในแต่ละหีบห่อ เปรียบเทียบกับข้อมูลที่ระบุในฉลากหรือ ใบกากับสินค้า (ข้อ 7 ) ข. 2 . 1 . 3 การจัดขนาด (ข้อ 4 ) และเกณฑ์ ความคลาดเคลื่อนเรื่อง ขนาด (ข้อ 5 . 2 ) ให้นาตัวอย่างที่ผ่านการตรวจสอบตามข้อ ข. 2 . 1 . 1 มาตรวจสอบขนาดในแต่ละหีบห่อโดยใช้วิธี สุ่มวัดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ของหัวบรอกโคลี หรือชั่งน้าหนักแยกแต่ละหัวและ บันทึกข้อมูลไว้ เพื่อหาค่าเฉลี่ยเปรียบเทียบกับข้อมูลที่ระบุในฉลากหรือ ใบกากับสินค้า (ถ้ามี) ข. 2 . 1 . 4 การจาแนกผลิตภัณฑ์บกพร่อง ด้านการแสดงฉลาก น้าหนักสุทธิ การจัดขนาด และคุณภาพ ตัวอย่างถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์บกพร่องเมื่อผลการวิเคราะห์ตามข้อ ข. 2 . 1 . 1 ถึง ข. 2 . 1 . 3 ไม่ เป็นไปตามข้อใดข้อหนึ่งของข้อกาหนดข้อ 3 ถึง 7

มกษ. 15 30 - 256 6 18 ข. 2 . 2 ข้อกาหนด ด้านความปลอดภัย 5 / 6 / ข. 2 . 2 . 1 สารปนเปื้อน (ข้อ 9 ) วิธีวิเคราะห์ ปริมาณ สารปนเปื้อน ให้เป็นไปตาม ข้อกาหนดของ กฎหมาย มาตรฐานสินค้าเกษตร ที่ เกี่ยวข้อง หรือ วิธีที่เทียบเท่า ข. 2 . 2 . 2 สารพิษ ตกค้าง (ข้อ 10 ) วิธีวิเคราะห์ปริมาณสารพิษตกค้างให้เป็นไปตาม ข้อกำหนดของกฎหมาย หรือมาตรฐานสินค้าเกษตร ที่เกี่ยวข้อง 5 / วิธีวิเคราะห์ให้อ้างอิงเอกสารฉบับล่าสุด 6 / ให้เลือกวิธีอื่นที่พิจารณาแล้วว่าเป็นวิธีวิเคราะห์ที่มีคุณสมบัติการใช้งาน ( performance chara cteristics ) เหมาะสม และ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1) เป็นวิธีวิเคราะห์ที่ประกาศโดยองค์การแห่งชาติ หรือองค์การระหว่างประเทศด้านมาตรฐาน หรือตีพิมพ์ในเอกสารคู่มือ หรือสิ่งตีพิมพ์ที่เป็นที่ยอมรับระดับสากล 2) เป็นวิธีวิเคราะห์ที่มีผลการประเมินความใช้ได้ ( validation ) ของผลการทดสอบว่ามีความถูกต้องและเหมาะสมโดย ห้องปฏิบัติการที่มีการร่วมศึกษากับเครือข่าย ( collaborative study ) ตามหลักเกณฑ์ที่สอดคล้องกับองค์การนานาชาติ ซึ่งเป็นที่ยอมรับทั่วไป 3) กรณีไม่มีวิธีวิเคราะห์ ตามข้อ 1) หรือ 2) ให้ใช้วิธีวิเคราะห์ที่ได้ประเมินความใช้ได้ของผลการทดสอบว่ามีความถูกต้อง และ เหมาะสมโดยห้องปฏิบัติการแห่งเดียวที่มีระบบคุณภาพ ( single laboratory validation ) ตามหลักเกณฑ์ที่เป็นที่ยอมรับใน ระดับสากล

19 มกษ. 15 30 - 256 6 ภาคผนวก ค ( ให้ไว้เป็นข้อมูล ) หน่วย หน่วยและสัญลักษณ์ที่ใช้ในมาตรฐานนี้ และหน่วย SI ( International System of Units หรือ Le Systè me International d’Unité s ) ที่ ยอม ให้ใช้ได้ มีดังนี้ รายการ ชื่อหน่วย สัญลักษณ์หน่วย ความยาว เซนติเมตร ( centimeter ) cm มวล 7 / กรัม ( gram ) g กิโลกรัม ( kilogram ) kg 7 / ในมาตรฐานนี้ หมายถึง น้าหนักของ หัวบรอกโคลี