ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : องุ่น ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : องุ่น ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : องุ่น ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ด้วยคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร เห็นสมควรกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง องุ่น เป็นมาตรฐานทั่วไป ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 เพื่อส่งเสริม สินค้าเกษตรให้ได้คุณภาพ มาตรฐาน และปลอดภัย อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 มาตรา 15 วรรคสอง และมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ป ระกอบมติคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร ในการประชุม ครั้งที่ 4/2565 เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงออกประกาศกาหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : องุ่น มาตรฐานเลขที่ มกษ. 30 - 2566 ไ ว้เป็นมาตรฐานทั่วไป ดังมีรายละเอียดแนบท้ำยประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 1 0 มกราคม พ.ศ. 25 6 6 ประภัตร โพธสุธน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ้ หนา 25 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 78 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 มีนาคม 2566
มกษ. 30 - 256 6 มาตรฐานสินค้าเกษตร องุ่น 1 . ขอบข่าย มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ให้ข้อกาหนดด้านคุณภาพและความปลอดภัยสาหรับองุ่น ( table grape s ) ที่ มีการจัดเตรียมและบรรจุหีบห่อ 2 . คาอธิบายผลิตผล มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ ใช้กับ องุ่น ( table grape s ) พันธุ์ที่ผลิตเป็นการค้า ซึ่งได้มาจากพืช ที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Vi tis vinifera L . และ พันธุ์ลูกผสมของ V . vinifera อยู่ใน วงศ์ Vi taceae เพื่อจำหน่ายในรูปผลิตผลสด แก่ผู้บริโภค ไม่รวม องุ่น ที่ใช้แปรรูปในอุตสาหกรรม ตัวอย่างพันธุ์องุ่นที่ ผลิตเป็นการ ค้า แสดงในภาคผนวก ก ภาพที่ ก.1 3 . คุณภาพ 3 . 1 ข้อกำหนดขั้นต ่า 3 . 1 . 1 องุ่น ทุกชั้นคุณภาพต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ เว้นแต่จะมีข้อกาหนดเฉพาะของแต่ละชั้นคุณภาพ และเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้มีได้ตามที่ระบุไว้ 1) เป็น องุ่น ทั้งช่อ และ ผลองุ่น มีพัฒนาการ และรูปทรงผล ปกติ 2) สภาพดี ไม่ เน่า ( rotting ) หรือเสื่อมสภาพ ( deterioration ) ที่ทาให้ไม่เหมาะต่อการบริโภค 3) สะอาด ไม่มี สิ่งแปลกปลอม ใดๆ ที่มองเห็นได้ เท่าที่จะเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ 1 / 4) ไม่มีศัตรูพืช เท่าที่จะเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ 1 / 2 / 5) ไม่มีความเสียหายจากศัตรูพืช เท่าที่จะเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ 1 / 6) ไม่มีความชื้นที่ผิดปกติจากภายนอก ทั้งนี้ ไม่รวมถึงหยดน้าที่เกิดหลังจากนา องุ่น ออกจาก ห้องเย็น 7) ผลองุ่นในช่อและก้านผล มีความสด 1 / เมื่อได้มีการปฏิบัติที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการผลิต การจัดการ และการจาหน่ายสินค้าแล้ว 2 / การนาข้อกาหนดนี้ไปปฏิบัติใช้ต้องไม่ขัดกับพระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
มกษ. 30 - 2566 2 8) ไม่มี ความเสียหายเนื่องจากอุณหภูมิต่า หรืออุณหภูมิสูง 9) ไม่มีกลิ่นหรือรสชาติ แปลกปลอม 10 ) องุ่นต้องมีพัฒนาการและมีสภาพที่: ก ) ทนต่อการจัดการและขนส่ง ข ) อยู่ในสภาพที่ยอมรับได้เมื่อถึงปลายทาง ตัวอย่างองุ่นที่ไม่ผ่านข้อกาหนดขั้นต่า แสดงในภาคผนวก ก ภาพที่ ก. 2 3 . 1 . 2 ข้อกาหนดความอ่อน – แก่ องุ่นต้องอยู่ในระยะการพัฒนาในระดับที่เหมาะสมตามเกณฑ์กาหนด ของ ลักษณะพันธุ์ และ พื้นที่ที่ปลูก และมีปริมาณของแข็ง ทั้งหมด ที่ละลายน้า ได้ หรือมีค่า ดัชนีการหักเห ของแสง ( refractometric index ) ไม่น้อยกว่า 16 ° Brix หากมี ปริมาณของแข็ง ทั้งหมด ที่ละลายน้าได้ น้อยกว่าที่กาหนด จะต้องมีสัดส่วนน้าตาลต่อกรดเป็นไปตามเงื่อนไข ดังนี้ 1) กรณี ปริมาณของแข็ง ทั้งหมด ที่ละลายน้าได้มากกว่าหรือเท่ากับ 12 . 5 ° Brix แต่ น้อยกว่า 14 ° Brix ต้องมีสัดส่วนน้าตาลต่อกรด อย่างน้อย 20 : 1 2) กรณี ปริมาณของแข็ง ทั้งหมด ที่ละลายน้าได้มากกว่าหรือเท่ากับ 14 ° Brix แต่ น้อยกว่า 1 6 ° Brix ต้องมีสัดส่วนน้าตาลต่อกรด อย่างน้อย 18 : 1 3 . 2 การแบ่ง ชั้นคุณภาพ องุ่น ตามมาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ แบ่ง ชั้นคุณภาพ เป็น 3 ชั้น ดังนี้ 3 . 2 . 1 ชั้นพิเศษ ( Extra class ) องุ่น ในชั้นนี้ต้องมีคุณภาพดีที่สุด ลักษณะ ตรงตามพันธุ์ ซึ่งขึ้นอยู่กับ แหล่งปลูก ผล องุ่น มีเนื้อ แน่น ( firm ) ติด แน่น กับก้านผล ผลและการจัดเรียงของผลใน ช่อสมบูรณ์ ตามพันธุ์ มี นวล ( bloom ) บนผิวขององุ่น ทั่วผล ไม่มี ตาหนิ หากมี ตาหนิ ต้องเป็นตาหนิ ที่ มองเห็นไม่ชัดเจน และไม่มี ผลกระทบต่อรูปลักษณ์ทั่วไป คุณภาพของ องุ่น คุณภาพระหว่างการเก็บรักษา และการ จัดเรียง เสนอ ในหีบห่อ ทั้งนี้ ยอมให้มี การเกิดสีที่ไม่เป็นไปตามลักษณะประจำพันธุ์ ที่ผิวองุ่น ( pigmentation ) อันเนื่องมาจากแสงแดด ไม่เกิน 10 % ของช่อผล
3 มกษ. 30 - 256 6 3. 2 . 2 ชั้นหนึ่ง ( Class I ) องุ่น ในชั้นนี้ต้องมีคุณภาพดี ลักษณะตรงตามพันธุ์ ซึ่งขึ้นอยู่กับแหล่งปลูก ผลองุ่นมีเนื้อแน่น ติด แน่น กับก้านผล อาจ มี นวลบนผิวขององุ่น ไม่ ทั่วผล ผลและการจัดเรียงของผลใน ช่อสมบูรณ์ ตามพันธุ์ น้อยกว่า ชั้นพิเศษ ทั้งนี้ อาจ มีตาหนิได้เล็กน้อย หาก ตาหนิดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อ รูปลักษณ์ทั่วไป คุณภาพของ องุ่น คุณภาพระหว่างการเก็บรักษา และ การจัด เรียงเสนอ ในหีบห่อ ตาหนิที่ยอมให้มีได้ มี ดังนี้ 1 ) ตาหนิเล็กน้อยด้านรูปทรงของช่อผล ซึ่งเกิดจากการพัฒนาของช่อผลที่ไม่เต็มรูปทรงของช่อผล โดยไม่ได้เกิดจากการหลุดร่วงของผล 2 ) ตาหนิ เล็กน้อยด้านสี ผิว ของผลองุ่น 3 ) ตาหนิ เล็กน้อย ที่ เป็ น รอยไหม้สีน้าตาล ที่มีผลต่อ ผิว เท่านั้น ซึ่ง เกิดจาก การได้รับ แสงแดด มากเกินไป ( sun scorch ) 3 / ทั้งนี้ ยอมให้มีการเกิดสี ที่ไม่เป็นไปตามลักษณะประจำพันธุ์ ที่ผิวองุ่น ( pigmentation ) อันเนื่องมาจากแสงแดด ไม่เกิน 30 % ของช่อผล 3. 2 . 3 ชั้นสอง ( Class II ) องุ่น ในชั้นนี้รวม องุ่น ที่มีคุณภาพไม่เข้าชั้นที่สูงกว่า แต่มีคุณภาพตามข้อกาหนดขั้นต่าที่กาหนด ในข้อ 3 . 1 อาจมีตาหนิเล็กน้อย แต่ต้องไม่ทาให้ ผิดไปจากลักษณะประจาพันธุ์ ซึ่งขึ้นอยู่กับ แหล่งปลูก ผลองุ่น ยัง มีเนื้อ แน่นและติดอยู่กับก้านผล มี นวล บนผิวขององุ่น บ้าง ผล และการจัดเรียงของผล ใน ช่อสมบูรณ์ตามพันธุ์ น้อยกว่าชั้นหนึ่ง องุ่น ในชั้นนี้มีตาหนิได้ หากยังคงลักษณะที่สาคัญใน เรื่อง คุณภาพ ขององุ่น คุณภาพระหว่างการเก็บรักษา และการจัด เรียงเสนอ ในหีบห่อ ทั้งนี้ ตาหนิ ที่ยอม ให้มีได้ มีดังนี้ 1) ตาหนิ ด้านรูปทรงของช่อผล ซึ่งเกิดจากการพัฒนาของช่อผลที่ไม่เต็มรูปทรงของช่อผล โดยไม่ได้เกิดจากการหลุดร่วงของผล 2) ตาหนิ ด้านสีผิว ของผลองุ่น 3) ตาหนิเล็กน้อยที่เป็นรอยไหม้สีน้าตาลที่มีผลต่อผิวเท่านั้น ซึ่งเกิดจากการได้รับแสงแดดมาก เกินไป 4) รอยช้าเล็กน้อย 5) ตาหนิ เล็กน้อย ที่ผิว เช่น รอยแผลแห้ง 3 / s un scorch คือ ผลองุ่นที่มีรอยไหม้สีน้าตาลบนผิวของผลองุ่น ซึ่งมีสาเหตุจากการได้รับแสงแดดมากเกินไปในขณะที่ การดูดน้าของรากต้นองุ่นที่ไม่มีประสิทธิภาพ ทาให้ต้นองุ่นได้รับปริมาณน้าไม่เพียงพอต่อความต้องการของต้นองุ่น ในช่วงที่มีอากาศร้อนจัด
มกษ. 30 - 2566 4 ตัวอย่าง ตาหนิด้าน รูปทรงของช่อผล ตามชั้นคุณภาพ แสดงในภาคผนวก ก ภาพที่ ก. 3 ตัวอย่างลักษณะตาหนิ ด้านสีผิวตามชั้นคุณภาพ แสดงในภาคผนวก ก ภาพที่ ก.4 ตัวอย่างลักษณะ รอยช้าและตาหนิที่ผิวขององุ่น แสดงในภาคผนวก ก ภาพที่ ก. 5 4 . การจัด ขนาด กรณีมี การจัด ขนาดของ องุ่น ให้ พิจารณาจาก น้าหนักต่อ ช่อ ผล ขนาดช่อ ผล เล็กสุดจะต้องมี น้าหนัก ไม่น้อยกว่า 75 g หรือเป็นไปตามข้อกาหนดของคู่ค้า 5 . เกณฑ์ความคลาดเคลื่อน เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเรื่องคุณภาพและขนาดที่ยอมให้มีได้ในแต่ละ หีบห่อ หรือรุ่นที่ส่งมอบ สาหรับ องุ่น ที่ไม่เป็นไปตามคุณภาพและขนาดที่ระบุไว้ มีดังนี้ 5 . 1 เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเรื่องคุณภาพ 5 . 1 . 1 ชั้นพิเศษ ( Extra class ) ความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 5 % โดย จานวนหรือ น้าหนักของ องุ่น ที่มีคุณภาพไม่เป็นไปตาม ข้อกาหนดของชั้นพิเศษ (ข้อ 3 . 2 . 1 ) แต่เป็นไปตามคุณภาพของชั้นหนึ่ง (ข้อ 3 . 2 . 2 ) หรือ คุณภาพยังอยู่ในเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนของคุณภาพชั้นหนึ่ง (ข้อ 5 . 1 . 2 ) 5 . 1 . 2 ชั้นหนึ่ง ( Class I ) ความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 10 % โดย จานวนหรือ น้าหนักของ องุ่น ที่มีคุณภาพไม่เป็นไปตาม ข้อกำหนดของชั้นหนึ่ง (ข้อ 3 . 2 . 2 ) แต่เป็นไปตามคุณภาพของชั้นสอง (ข้อ 3 . 2 . 3 ) หรือ คุณภาพยังอยู่ในเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนของคุณภาพชั้นสอง (ข้อ 5 . 1 . 3 ) ทั้งนี้ ในความคลาดเคลื่อนดังกล่าว ยอมให้มี ผลองุ่นที่หลุดจากช่อได้ ไม่เกิน 10 % โดยน้าหนัก ของผลองุ่น ต่อหน่วยบรรจุ แต่ต้องเป็นผล ที่มีสภาพดี และสมบูรณ์ 5 . 1 . 3 ชั้นสอง ( Class II ) ความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 10 % โดย จานวนหรือ น้าหนักของ องุ่น ที่มีคุณภาพไม่เป็นไปตาม ข้อกาหนดของชั้นสอง (ข้อ 3 . 2 . 3 ) หรือไม่ได้ข้อกาหนดขั้นต่า (ข้อ 3 . 1 ) แต่ต้องไม่มีรอยช้า เน่าเสีย หรือเสื่อมสภาพที่ไม่เหมาะสาหรับการ บริโภค ทั้งนี้ ในความคลาดเคลื่อนดังกล่าว ยอมให้มี ผลองุ่นที่หลุดจากช่อได้ ไม่เกิน 10 % โดยน้าหนัก ของผลองุ่น ต่อหน่วยบรรจุ แต่ต้องเป็นผลที่มีสภาพดี
5 มกษ. 30 - 256 6 5 . 2 เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเรื่องขนาด กรณี มีการจัดขนาด องุ่น ที่ มี ขนาด ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดของการจัดขนาด (ข้อ 4 ) ปนมาได้ ไม่เกิน 10 % โดยน้าหนัก ของ องุ่น ทั้งหมด ทั้งนี้ ในแต่ละหีบห่อ สาหรับผู้บริโภค หากจำเป็นต้องมี การปรับน้าหนัก สามารถใช้ องุ่นที่มี น้าหนักช่อ ผล น้อย กว่า 75 g แต่ ต้องมีคุณภาพ เป็นไปตาม ข้อกาหนดของชั้นคุณภาพเดียวกัน 6 . การ จัดเรียงเสนอ 6 . 1 ความสม ่าเสมอ องุ่น ที่บรรจุในแต่ละ หีบห่อ ต้องมี ความ สม่าเสมอ และบรรจุเฉพาะองุ่น ที่ เป็น พันธุ์ เดียวกัน มา จาก ถิ่น กำเนิด คุณภาพ และ ระ ดับ ความอ่อน - แก่ เดียวกัน กรณี องุ่นที่ อยู่ ใน ชั้นพิเศษ ต้องมีขนาดและสี สม่าเสมอ หีบห่อ สาหรับผู้บริโภคที่มี น้าหนักไม่เกิน 1 kg อาจมี การบรรจุ องุ่นต่างพันธุ์ ไว้ในหีบห่อเดียวกันได้ แต่ต้องมี ความสม่าเสมอด้าน คุณภาพ ความ อ่อน - แก่ ในแต่ละ ถิ่น กำเนิด กรณีที่มองเห็น องุ่น จากภายนอก หีบห่อ ส่วนที่มองเห็นต้องเป็นตัวแทนของผลิตผลทั้งหมด 6 . 2 การบรรจุหีบห่อ 6 . 2 . 1 ต้องบรรจุองุ่นในลักษณะที่สามารถป้องกันผลองุ่นไม่ให้เกิดความเสียหาย วัสดุที่ใช้ภายในหีบห่อ ต้องใหม่ สะอาด และมีคุณภาพที่จะไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย ทั้งภายนอกและภายในผลิตผล หากมีการใช้กระดาษหรือ ตราประทับที่มีข้อมูลทางการค้า ต้องใช้หมึกพิมพ์หรือกาวที่ไม่เป็นพิษ การบรรจุองุ่นในแต่ละภาชนะบรรจุต้องเป็นไปตาม ข้อ 3 . 1 การบรรจุหีบห่อเพื่อรักษาคุณภาพ ของผลิตผลระหว่างการขนส่งและการจาหน่าย และ ข้อ 3 . 2 วิธีปฏิบัติในการลดอุณหภูมิ เบื้องต้น ของ มกษ. 9059 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง แนวทางปฏิบัติสาหรับการบรรจุหีบห่อ และการขนส่ง ผักและผลไม้สด องุ่นชั้นพิเศษ ต้องบรรจุในหีบห่อเพียงชั้นเ ดียว 6 . 2 . 2 ภาชนะบรรจุต้องมีคุณภาพ ถูกสุขลักษณะ ระบายอากาศได้ และทนทานต่อการปฏิบัติต่อ ผลิตผล ( handling ) การขนส่ง และเก็บรักษาองุ่นไว้ได้ 6.2.3 หีบห่อต้องไม่มีสิ่งแปลกปลอมและกลิ่นแปลกปลอม ทั้งนี้ ยอมให้มี ส่วนของ เถาองุ่น ยาว ไม่เกิน 5 cm ติดอยู่ ที่ ก้าน ช่อ เพื่อนาเสนอรูปแบบพิเศษ
มกษ. 30 - 2566 6 7 . การแสดงฉลาก การแสดงฉลากให้เป็นไปตาม ข้อ 3 ข้อกาหนดการแสดงฉลากสินค้าเกษตร ของ มกษ. 9060 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การแสดงฉลากสินค้าเกษตร และมีรายละเอียดข้อกาหนดการ แสดงฉลาก สาหรับ หีบห่อ สาหรับผู้บริโภค และภาชนะบรรจุที่ไม่ได้จาหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค ดังนี้ 7 . 1 หีบห่อ สาหรับผู้บริโภค อย่างน้อยต้องมีรายการดังนี้ 1 ) ชื่อ ผลิตผล อาจแสดง ชื่อพันธุ์ หรือชนิดเพิ่มเติมได้ 2 ) ชั้นคุณภาพ (ถ้ามี) 3 ) ขนาด (ถ้ามี) 4 ) น้าหนักสุทธิ ให้ใช้ระบบเมตริก 5 ) ชื่อและที่อยู่ ของผู้ผลิต หรือ ผู้บรรจุ หรือ ผู้กระจายสินค้า หรือ ผู้นำเข้า หรือ ผู้ส่งออก หรือผู้ จำหน่ายสินค้า (แล้วแต่กรณี) 4 / 6 ) เลขสถานที่ผลิตหรือเลขสถานที่นาเข้า (แล้วแต่กรณี) 7 ) ประเทศถิ่นกาเนิด ยกเว้นกรณี ปลูก เพื่อจาหน่ายในประเทศ อาจแสดงเขตที่ปลูกหรือประเทศ ภูมิภาคหรือชื่อท้องถิ่นของสถานที่เพิ่มเติม 8 ) การระบุรุ่น แสดงรหัสสัญลักษณ์หรือรูปแบบใดๆ ที่บ่งชี้รุ่นการผลิต ทั้งนี้ อาจใช้การแสดงวันที่แทนการระบุ รุ่น ก็ ได้ 9 ) วัน เดือน ปี ที่บรรจุ หรือที่เก็บเกี่ยว 7 . 2 ภาชนะบรรจุ ที่ไม่ได้จาหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค ให้แสดงรายการ บนฉลาก ดังนี้ ยกเว้นรายการที่ มี เครื่องหมาย * กากับ สามารถแสดงใน เอกสารกำกับหรือใช้สื่ออื่นได้ 1 ) ชื่อ ผลิตผล อาจแสดง ชื่อพันธุ์ หรือชนิดเพิ่มเติมได้ 2 ) ชั้นคุณภาพ (ถ้ามี) * 3 ) ขนาด (ถ้ามี) * 4 ) น้าหนักสุทธิ ให้ใช้ระบบเมตริก 5 ) ชื่อและที่อยู่ ของผู้ผลิต หรือ ผู้บรรจุ หรือ ผู้กระจายสินค้า หรือ ผู้นำเข้า หรือ ผู้ส่งออก หรือผู้ จำหน่ายสินค้า (แล้วแต่กรณี) 4 / กรณีสินค้านาเข้ามาแบ่งบรรจุ เ พื่อจาหน่าย จะถือว่าเป็นผู้ผลิต ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฯ ฉบับที่ 386 โดย ต้อง ปฏิบัติตำมข้อ 6 ข้อย่อย ( 1 . 1 ) ของประกาศดังกล่าว
7 มกษ. 30 - 256 6 6 ) เลขสถานที่ผลิตหรือเลขสถานที่นาเข้า (แล้วแต่กรณี) 7 ) ประเทศถิ่นกาเนิด ยกเว้นกรณีปลูกเพื่อจา หน่ายในประเทศ อาจแสดงเขตที่ปลูกหรือประเทศ ภูมิภาคหรือชื่อท้องถิ่นของสถานที่เพิ่มเติม 8 ) การระบุรุ่น แสดงรหัสสัญลักษณ์หรือรูปแบบใดๆ ที่บ่งชี้รุ่นการผลิต ทั้งนี้ อาจใช้การแสดงวันที่แทนการระบุ รุ่น ก็ ได้ 9 ) วัน เดือน ปี ที่บรรจุ หรือที่เก็บเกี่ยว 8 . วัตถุเจือปนอาหาร ชนิดและปริมาณสูงสุดของ สารกันเสีย ( p reservative ) ที่ใช้ ให้เป็นไปตามประกาศกระทรวง สาธารณสุขว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหาร ในหมวดอาหาร 04 . 1 . 1 . 2 ผลไม้สดเคลือบหรือปรับ สภาพผิว กรณีองุ่นที่ผลิตเพื่อส่งออก การใช้วัตถุเจือปนอาหารให้เป็นไปตามข้อกาหนดของ ประเทศคู่ค้า 9 . สารปนเปื ้อน ปริมาณสารปนเปื้อนให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่อง มาตรฐานอาหาร ที่มีสารปนเปื้อน และข้อกาหนดในมาตรฐานสินค้าเกษตรที่เกี่ยวข้อง 10 . สารพิษตกค้าง ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่อง อาหารที่มี สารพิษตกค้าง และ มกษ. 9002 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง สารพิษตกค้าง: ปริมาณสารพิษ ตกค้างสูงสุด และ มกษ. 9003 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง สารพิษตกค้าง: ปริมาณสารพิษ ตกค้างสูงสุดที่ปนเปื้อนจากสาเหตุที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ 1 1 . สุขลักษณะ การผลิตและการปฏิบั ติต่อ องุ่น ต้องปฏิบัติอย่างถูกสุขลักษณะอย่างถูกต้อง โดย องุ่น ต้องเป็น ไปตามข้อกาหนด ดังต่อไปนี้ 1 ) มกษ. 9001 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสาหรับพืชอาหาร หรือได้รับการรับรองตาม มกษ. 9001 หรือมาตรฐานที่เทียบเท่า 2 ) กรณี องุ่น ที่มีการบรรจุในโรงคัดบรรจุ ต้องได้การรับรองตาม มกษ. 9035 มาตรฐานสินค้า เกษตร เรื่อง การปฏิบัติที่ดีสาหรับโรงคัดบรรจุผักและผลไม้สด หรือมาตรฐานที่เทียบเท่า
มกษ. 30 - 2566 8 1 2 . วิธีวิเคราะห์และ การชักตัวอย่าง 12 . 1 วิธีวิเคราะห์ ให้เป็นไปตามภาคผนวก ข (ข้อ ข. 2 ) 12 . 2 การชักตัวอย่าง ให้เป็นไปตามภาคผนวก ข (ข้อ ข. 1 ) 12 . 3 เกณฑ์การตัดสิน รุ่น ( lot ) ของ องุ่น จะยอมรับได้เมื่อผ่านเกณฑ์ที่กาหนดตามข้อ 3 ถึงข้อ 11
มกษ. 30 - 256 6 9 ภาคผนวก ก (ให้ไว้เป็นข้อมูล) ภาพแสดงตัวอย่าง องุ่น 1) พันธุ์เรด โกลบ (จีน) ( Red Globe ) 2) พันธุ์เรด โกลบ (อเมริกา) ( Red Globe ) 3) พันธุ์คริม ซั น ซีดเลส ( Crimson Seedless ) 4) พันธุ์ออทัม น์ รอยัล ( Autumn Royal ) 5 ) พันธุ์บิวตี ซีดเลส ( Beauty Seedless ) 6 ) พันธุ์แบล็ ก โอ พ อล ( Black Opal ) ภาพที่ ก. 1 ตัวอย่างพันธุ์องุ่นที่ผลิตเป็นการค้า (ข้อ 2 )
มกษ. 30 - 256 6 10 7) พันธุ์ไว ต์ มะละกา ( White Mala g a ) 8) พันธุ์ไชน์ มัสแ ก็ต ( Shine Muscat ) ภาพที่ ก. 1 ตัวอย่างพันธุ์องุ่นที่ผลิตเป็นการค้า (ข้อ 2 ) (ต่อ) 1) ผลเน่า ( rotting ) 2) ร่องรอยความเสียหายจากศัตรูพืช ภาพที่ ก. 2 ตัวอย่างองุ่นที่ไม่ผ่านข้อกำหนดขั้นต ่า (ข้อ 3 . 1 . 1 )
11 มกษ. 30 - 256 6 ชั้นพิเศษ ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง 1) ตัวอย่าง ตาหนิด้านรูปทรง ของ องุ่น พันธุ์เรดโกลบ (จีน) ( Red Globe ) ชั้นพิเศษ ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง 2) ตัวอย่าง ตาหนิด้านรูปทรง ของ องุ่น พันธุ์คริมซันซีดเลส ( Crimson Seedless ) ชั้นพิเศษ ชั้นหนึ่ ง ชั้นสอง 3) ตัวอย่าง ตาหนิด้านรูปทรง ของ องุ่น พันธุ์ออทัม น์ รอยัล ( A u tumn Royal ) ภาพที่ ก. 3 ตัวอย่าง ตาหนิด้านรูปทรงของช่อผล ตาม ชั้นคุณภาพ (ข้อ 3 . 2 . 1 – 3 . 2 . 3 )
มกษ. 30 - 256 6 12 ชั้นพิเศษ ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง 1 ) ตัวอย่างตาหนิด้านสีผิวของ องุ่น พัน ธุ์ เรดโกลบ (จีน) ( Red Globe ) ชั้นพิเศษ ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง 2 ) ตัวอย่างตาหนิด้านสีผิวของ องุ่น พัน ธุ์ เรดโกลบ (อเมริกา) ( Red Globe ) ชั้นพิเศษ ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง 3 ) ตัวอย่างตาหนิด้านสีผิวขององุ่นพันธุ์คริมซันซีดเลส ( Crimson Seedless ) ภาพที่ ก. 4 ตัวอย่างลักษณะ ตาหนิด้านสีผิวตามชั้นคุณภาพ (ข้อ 3 . 2 . 2 และ 3.2.3)
13 มกษ. 30 - 256 6 ชั้นพิเศษ ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง 4 ) ตัวอย่างตาหนิด้านสีผิวขององุ่น พันธุ์ออทัม น์ รอยัล ( A u tumn Royal ) ภาพที่ ก. 4 ตัวอย่างลักษณะ ตาหนิด้านสีผิว ตาม ชั้นคุณภาพ (ต่อ) 1 ) ลักษณะรอยช้า เล็กน้อย (ข้อ 3 . 2 . 3 ข้อ 4 ) ) 2 ) ตาหนิที่ผิว ( ข้อ 3 . 2 . 3 ข้อ 5) ) ภาพที่ ก. 5 ตัวอย่างลักษณะ รอยช้าและ ตาหนิ ที่ผิว ขององุ่น ( ข้อ 3 . 2 . 3 )
มกษ. 30 - 256 6 14 ภาคผนวก ข (เป็นส่วนหนึ่งของข้อกำหนด) การชักตัวอย่างและวิธีวิเคราะห์ ข. 1 การชักตัวอย่าง ข. 1 . 1 ข้อกาหนด ด้านคุณภาพ ให้ใช้การชักตัวอย่าง ตามตารางที่ ข . 1 ตารางที่ ข . 1 การชักตัวอย่างสาหรับ การแสดงฉลาก น้าหนักสุทธิ การจัดขนาด และ คุณภาพ ขนาดรุ่น ( lot size ) (จานวนหีบห่อในรุ่น) ขนาดตัวอย่าง ( sample size ) (จานวนหีบห่อที่ต้องชักตัวอย่าง) 100 5 101 - 300 7 301 - 500 9 501 - 1 , 000 10 1,000 อย่างน้อย 15 ที่มา: ดัดแปลงจาก ISO 874 - 1980 . Fresh fruits and vegetables - Sampling ข. 1 . 2 ข้อกาหนด ด้านความปลอดภัย ข. 1 . 2 . 1 การชักตัวอย่าง สาหรับตรวจวิเคราะห์ สารปนเปื้อน ให้เป็นไปตามข้อกาหนดของกฎหมายหรือ มาตรฐานสินค้าเกษตร ที่ เกี่ยวข้อง หรือ ตามตารางที่ ข . 2 และ ข. 3 ข. 1 . 2 . 2 การชักตัวอย่าง สาหรับตรวจวิเคราะห์ สารพิษตกค้าง ให้เป็นไปตามข้อกาหนด มกษ. 9 0 25 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง วิธีชักตัวอย่างเพื่อตรวจหาสารพิษตกค้าง หรือตามตารางที่ ข . 2 และ ข. 3
15 มกษ. 30 - 256 6 ตารางที่ ข . 2 จำนวนต่าสุดของการชักตัวอย่างขั้นต้น ( primary sample ) ของแต่ละรุ่นการผลิต ขนาดรุ่น ( kg ) จานวนจุด ที่สุ่มเก็บ (จุด) น้าหนักต่อจุด ( g ) ปริมาณต ่าสุดที่ส่ง ทดสอบ จานวน ตัวอย่างที่ส่ง ทดสอบ น้อยกว่า 50 3 ≮ 100 2 ,000 g ( ≮ 5 ช่อ ) 1 50 - 500 5 ≮ 100 2,000 g ( ≮ 5 ช่อ ) 1 501 - 1,000 10 ≮ 100 2,000 g ( ≮ 5 ช่อ ) 1 มากกว่า 1, 000 15 ≮ 100 2,000 g ( ≮ 5 ช่อ ) 1 ที่มา: คู่มือการให้บริการตรวจสอบและออกใบรับรองคุณภาพสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออก, กองพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าพืช กรมวิชาการเกษตร ( 2 560) ข. 1 . 3 การเตรียมตัวอย่างส่งห้องปฏิบัติการ กรณีส่งห้องปฏิบัติการต้องเก็บในภาชนะที่ปิดได้ ระบุข้อมูลชัดเจน อ่านได้ และติดแน่ น ดังนี้ 1) ชื่อตัวอย่าง พันธุ์ (ถ้ามี) ชั้นคุณภาพ (ถ้ามี) 2) ชื่อผู้ส่งสินค้า ( consignor ) 3) สถานที่ชักตัวอย่าง 4) วัน เวลาที่ชักตัวอย่าง 5) รหัสตัวอย่างและรุ่น 6) ลายมือชื่อของผู้ชักตัวอย่าง 7) วิธีการชักตัวอย่าง 8) สภาพแวดล้อมขณะชักตัวอย่างที่จะมีผลต่อการวิเคราะห์ 9) ชื่อห้องปฏิบัติการทดสอบ (กรณีที่จาเป็น) ควรส่งตัวอย่างให้ถึงปลายทางเร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้เพื่อป้องกันไม่ให้ตัวอย่างเสียหาย
มกษ. 30 - 256 6 16 ข. 2 วิธีวิเคราะห์ ข. 2 . 1 ข้อกาหนดด้าน คุณภาพ ข. 2 . 1 . 1 การตรวจพินิจ และตรวจสอบทางประสาทสัมผัส ให้สุ่มตัวอย่างอย่างน้อย 2 kg จากตัวอย่างที่ชักตัวอย่างมาตามตารางที่ ข. 1 (หากมีตัวอย่าง ไม่ถึง 2 kg ให้ชักตัวอย่างเพิ่มได้) และนาไปตรวจสอบการแสดงฉลาก (ข้อ 7 ) การจัดเรียงเสนอ (ข้อ 6 ) เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเรื่องคุณภาพและขนาด (ข้อ 5 . 1 และ ข้อ 5 . 2 ) การแบ่งชั้น คุณภาพ (ข้อ 3 . 3 ) แล ะคุณภาพตามข้อกาหนดขั้นต่า (ข้อ 3 . 1 ) โดยวิธีการตรวจพินิจและ ตรวจสอบทางประสาทสัมผัส โดยผู้ตรวจประเมินที่ผ่านการอบรมหรือมีประสบการณ์อย่างน้อย 3 คน และต้องผ่านความเห็นชอบจากผู้ตรวจสอบไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 จึงจะถือว่าผ่านตาม เกณฑ์ข้อกาหนด ข. 2 . 1 . 2 ข้อกาหนดความอ่อน – แก่ ข. 2 . 1 . 2 . 1 การตรวจวิเคราะห์ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้าได้ โดยใช้ refractometer มีขั้นตอน ดังนี้ 1 ) การเตรียมตัวอย่างองุ่น คั้นน้าองุ่นจากผลองุ่น ที่ชักตัวอย่างแบบสุ่มกระจายอย่างทั่วถึงจากตัวอย่างทั้งหมด โดยใช้ ตัวอย่าง น้าคั้นจากผลองุ่น ที่ทดสอบ ปริ มา ต ร 1 ml ถึง 5 ml 2) การวัดปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้าได้ ให้ใช้วิธีที่กาหนดใน AOAC 932 . 12 หรือ ISO 2 17 3:2003 5 / บันทึกค่าที่ได้ (ทศนิยม 1 ตาแหน่ง) นาค่าที่อ่านได้มาหาค่าเฉลี่ย ซึ่งค่าวัดที่ได้มีหน่วยเป็นองศาบริกซ์ ข. 2 . 1 . 2 . 2 การหาสัดส่วนน้าตาลต่อกรด ให้ใช้ ค่า ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้าได้ จากข้อ ข. 2 . 1 . 2 . 1 เปรียบเทียบกับ ปริมาณกรดที่ไทเทรตได้ ดังนี้ 1 ) การวัดปริมาณกรดที่ไทเทรตได้ ( titratable acidity ) ให้ใช้วิธีที่กำหนดใน AOAC 910 . 03 บันทึกค่า ปริมาณกรดทาร์ ทาริก ( tartaric aci d ) ที่ ใช้ (ทศนิยม 1 ตาแหน่ง) นาค่าที่อ่านได้มาหาค่าเฉลี่ย 2) นาค่าปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้าได้จากข้อ ข. 2 . 1 . 2 . 1 มาเปรียบเทียบสัดส่วนกับ ปริมาณกรดที่ ใช้จากการไทเทรต ข. 2 . 1. 3 น้าหนักสุทธิ ให้นาตัวอย่างที่ ได้จากการชักตัวอย่าง ตามตารางที่ ข. 1 ไปชั่งน้าหนักเพื่อหาน้าหนักสุทธิของแต่ละ หีบห่อ เปรียบเทียบกับข้อมูลที่ระบุในฉลากหรือใบกากับสินค้า (ข้อ 7 ) 5 / วิธีวิเคราะห์ให้อ้างอิงเอกสารล่าสุด
17 มกษ. 30 - 256 6 ข. 2 . 1. 4 การจัดขนาด นาตัวอย่างที่ผ่านการตรวจสอบจากข้อ ข. 2 . 1 . 1 มาตรวจสอบขนาด โดยใช้วิธี สุ่มองุ่นที่มีขนาด ช่อผล เล็กที่สุดมา ชั่ง น้าหนัก ทั้งช่อ และบันทึกข้อมูลไว้ ข. 2 .1. 5 การจาแนกผลิตภัณฑ์บกพร่องด้านการแสดงฉลาก น้าหนักสุทธิ การจัดขนาด และคุณภาพ ตัวอย่างถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์บกพร่อง เมื่อผลการวิเคราะห์ตามข้อ ข. 2 . 1 . 1 ถึง ข. 2 . 1. 4 ไม่เป็นไปตามข้อใดข้อหนึ่งของข้อกาหนดข้อ 3 ถึง 7 ข. 2 . 2 ข้อกาหนด ด้านความปลอดภัย 6 / 7 / ข. 2 . 2 . 1 สารปนเปื้อน (ข้อ 9 ) วิธีวิเคราะห์ปริมาณสารปนเปื้อน ให้เป็นไปตามข้อกาหนดของกฎหมาย มาตรฐานสินค้าเกษตร ที่ เกี่ยวข้อง หรือวิธีที่เทียบเท่า ข. 2 . 2 . 2 สารพิษตกค้าง (ข้อ 10 ) วิธีวิเคราะห์ปริมาณสารพิษตกค้างให้เป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมาย หรือมาตรฐานสินค้าเกษตร ที่เกี่ยวข้อง 6 / วิธีวิเคราะห์ให้อ้างอิงเอกสารฉบับล่าสุด 7 / ให้เลือกวิธีอื่นที่พิจารณาแล้วว่าเป็นวิธีวิเคราะห์ที่มีคุณสมบัติการใช้งาน ( performance characteristics ) เหมาะสม และ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1) เป็นวิธีวิเคราะห์ที่ประกาศโดยองค์การแห่งชาติ หรือองค์การระหว่างประเทศด้านมาตรฐาน หรือตีพิมพ์ใ นเอกสารคู่มือ หรือสิ่งตีพิมพ์ที่เป็นที่ยอมรับระดับสากล 2) เป็นวิธีวิเคราะห์ที่มีผลการประเมินความใช้ได้ ( validation ) ของผลการทดสอบว่ามีความถูกต้องและเหมาะสมโดย ห้องปฏิบัติการที่มีการร่วมศึกษากับเครือข่าย ( collaborative study ) ตามหลักเกณฑ์ที่สอดคล้องกับองค์กา รนานาชาติ ซึ่งเป็นที่ยอมรับทั่วไป 3) กรณีไม่มีวิธีวิเคราะห์ตามข้อ 1) หรือ 2) ให้ใช้วิธีวิเคราะห์ที่ได้ประเมินความใช้ได้ของผลการทดสอบว่ามีความถูกต้อง และเหมาะสมโดยห้องปฏิบัติการแห่งเดียวที่มีระบบคุณภาพ ( single laboratory validation ) ตามหลักเกณฑ์ที่เป็นที่ ยอมรั บในระดับสากล
มกษ. 30 - 256 6 18 ภาคผนวก ค (ให้ไว้เป็นข้อมูล) หน่วย หน่วยและสัญลักษณ์ที่ใช้ในมาตรฐานนี้ และหน่วย ที่ SI ( International System of Units หรือ Le Systè me International d’Unité s ) ยอมให้ใช้ได้ มีดังนี้ รายการ ชื่อหน่วย สัญลักษณ์หน่วย ความยาว เซนติเมตร ( centimeter ) cm มวล 8 / กรัม ( gram ) g กิโลกรัม ( kilogram ) k g ปริมาตร มิลลิลิตร ( milliliter ) ml 8 / ในมาตรฐานนี้ หมายถึง น้าหนักของ องุ่น