ประกาศคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานด้านการตรวจสอบและรับรอง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2565) ออกตามความในพระราชบัญญัติการมาตรฐานแห่งชาติ พ.ศ. 2551 เรื่อง กำหนดข้อตกลงร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ขวดเครื่องดื่มจากพลาสติกพอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต (Polyethylene Terephthalate PET) ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ประกาศคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานด้านการตรวจสอบและรับรอง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2565) ออกตามความในพระราชบัญญัติการมาตรฐานแห่งชาติ พ.ศ. 2551 เรื่อง กำหนดข้อตกลงร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ขวดเครื่องดื่มจากพลาสติกพอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต (Polyethylene Terephthalate PET) ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ประกาศคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานด้านการตรวจสอบและรับรอง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2565) ออกตามความในพระราชบัญญัติการมาตรฐานแห่งชาติ พ.ศ. 2551 เรื่อง กำหนดข้อตกลงร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ขวดเครื่องดื่มจากพลาสติกพอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต ( Polyethylene Terephthalate ,PET ) ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อาศัยอานาจตามความในมาตรา 13 (1) แห่งพระราชบัญญัติการมาตรฐานแห่งชาติ พ.ศ. 2551 คณะกรรมการกำหนดมาตรฐานด้านการตรวจสอบและรับรอง จึงออกประกาศกำหนดข้อตกลงร่วมการประชุม เชิงปฏิบัติการ ขวดเครื่องดื่มจากพลาสติกพอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต ( Polyethylene Terephthalate ,PET ) ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เลขที่ ข้อตกลงร่วม 4002 - 2565 ดังมีรายละเอียดแนบท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วั นประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 5 ตุลา คม พ.ศ. 25 6 5 บรรจง สุกรีฑา เลขาธิการสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ประธานกรรมการกาหนดมาตรฐานด้านการตรวจสอบและรับรอง ้ หนา 34 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 75 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มีนาคม 2566
ขอมูล ขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ แนบทายประกาศ คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานดานการตรวจสอบและรับรอง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2565 ) ชื่อมาตรฐาน : ขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ขวดเครื่องดื่มจากพลาสติกพอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต ( Polyethylene Terephthalate ,PET) ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม CIRCULAR DESIGN FOR PET BOTTLE เลขที่ : ขอตกลงรวม 400 2 - 256 5 ผู้จัดทํา : สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กรรมการวิชาการ : - ขอบขาย : ขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ นี้ ให้ขอแนะนําสําหรับขวดเครื่องดื่มจากพลาสติก PET ที่เหมาะสมสําหรับการรีไซเคิล โดย ครอบคลุมเฉพาะขวดบรรจุเครื่องดื่ม จากพลาสติก PET และสวนประกอบ ได้แก ฝาขวด และฉลาก ทั้งการผลิตภายในประเทศและการนําเขาจากตางประเทศ เพื่อจําหนายใน ประเทศ ซึ่งต่อไปในขอตกลงนี้จะเรียกวา “ ขวดพลาสติก PET” เนื้อหาประกอบด้วย : บท นํา ขอบขาย มาตรฐาน อางอิง ศัพทและนิยามศัพท แนวทางสําหรับขวดเครื่องดื่ม จากพลาสติ ก PET ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม ภาคผนวก จํานวนหน้า : 18 หน้า ISBN : 978 - 616 - 580 - 980 - 1 ICS : 13.020.01 สถานที่จัดเก็บ : หองสมุดสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0 2430 6834 ต่อ 2 สถานที่จําหนาย : สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพมหานคร 10400 https://www.tisi.go.th
ขอตกลงรวม 4002–2565 TWA 4002-2022 ขวดเครื่องดื่มจากพลาสติก พอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต (Polyethylene Terephthalate ,PET) ที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม CIRCULAR DESIGN FOR PET BOTTLE THAI WORKSHOP AGREEMENT ขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม THAI INDUSTRIAL STANDARDS INSTITUTE กระทรวงอุตสาหกรรม MINISTRY OF INDUSTRY ICS 13.020.01 ISBN 978-616-580-980-1
ขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ขอตกลงรวม 4002 – 2565 สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2430 6815 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับ พิมพฉบับ เลม พิมพเลม ตอน พิมพตอน วันที่ พิมพวันที่ และเดือน พุทธศักราช พิมพป ขวดเครื่องดื่มจากพลาสติกพอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต (Polyethylene Terephthalate ,PET) ที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดลอม
สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) ได้ออกประกาศคณะกรรมการกําหนดมาตรฐานดานการ ตรวจสอบและรับรอง ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2564) เรื่อง กระบวนการและรูปแบบในการจัดทํามาตรฐาน การตรวจสอบและรับรองแห่งชาติ (มตช.) โดยเอกสารนี้ใชกลไกการจัดทําในรูปแบบขอตกลงรวมการประชุม เชิงปฏิบัติการ ซึ่งเป็นรูปแบบที่สามารถตอบสนองต่อความจําเป็นเรงดวนในสถานการณปจจุบันได้ ทั้งนี้ ขอตกลงรวมดังกลาวจะได้รับการทบทวนภายในระยะเวลา 5 ป และนําเสนอคณะกรรมการกําหนดมาตรฐาน ดานการตรวจสอบและรับรองพิจารณารูปแบบมาตรฐานการตรวจสอบและรับรองหรือยกเลิกขอตกลงรวม การประชุมเชิงปฏิบัติการต่อไป ขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ขวดเครื่องดื่มจากพลาสติก พอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต ( Polyethylene Terephthalate ,PET) ที่ เ ป น มิ ต ร ต อ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม ( circular design for PET bottle) ดําเนินการโดยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดทําขอเสนอ และเป็นผู้จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ ซึ่งได้รับความรวมมือจากหนวยงานเครือขายตางๆ ที่เกี่ยวของ ขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการนี้ ระบุแนวทางแกผู้ผลิตขวดเครื่องดื่มจากพลาสติก PET เพื่อผลิต ขวดเครื่องดื่มจากพลาสติก PET เพื่อให้สามารถนํากลับมารีไซเคิล คณะกรรมการ กําหนดมาตรฐานดานการตรวจสอบและรับรอง ได้พิจารณามาตรฐานนี้แล้วเห็นสมควรเสนอ ประธานกรรมการประกาศตามมาตรา 13 (1) แห่งพระราชบัญญัติการมาตรฐานแห่งชาติ พ . ศ . 2551 (2)
ประกาศ คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานดานการตรวจสอบและรับรอง ฉบับที่ 3 9 ( พ . ศ . 2565 ) ออกตามความในพระราชบัญญัติการมาตรฐานแห่งชาติ พ . ศ . 2551 เรื่อง กําหนดขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ขวดเครื่องดื่มจากพลาสติกพอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต ( Polyethylene Terephthalate ,PET) ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 13 (1) แห่งพระราชบัญญัติการมาตรฐานแห่งชาติ พ.ศ. 2551 คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานดานการตรวจสอบและรับรอง จึงออกประกาศกําหนดขอตกลงรวมการประชุม เชิงปฏิบัติการ ขวดเครื่องดื่มจากพลาสติกพอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต (Polyethylene Terephthalate ,PET) ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม เลขที่ ขอตกลงรวม 4002 – 2565 ดังมีรายละเอียดแนบทายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นตนไป ประกาศ ณ วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2565 นายบรรจง สุกรีฑา เลขาธิการสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ประธานกรรมการกําหนดมาตรฐานดานการตรวจสอบและรับรอง (3)
( 4 )
ขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ขวดเครื่องดื่มจากพลาสติกพอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต (Polyethylene Terephthalate ,PET) ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม เป็นความเห็นพองต้องกันของภาคเอกชน ที่จะแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดลอม และริเริ่มดําเนินการโดยสมัครใจ ในการแกไขปญหา ขวด PET สี ที่ไม่เป็นที่ต้องการในการเก็บรวบรวมเขาสูกระบวนการรีไซเคิล เนื่องจากมีมูลคาต่ํา เมื่อเทียบกับ ขวด PET ใส ที่รีไซเคิลกลับมาเป็นผลิตภัณฑที่มีมูลคาสูงกวา กระบวนการการจัดทําขอตกลงรวม เริ่มจากการจัดเสวนา “ จากขวดสี สูขวดใส ความใสใจของแบรนดรักษ์โลก ” เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2564 ซึ่งมีผู้เขารวมจากภาคสวนตางๆ ในหวงโซอุปทานขวด PET ประกอบด้วย ผู้ผลิตเรซินพลาสติก ผู้แปรรูป เจ้าของสินคา (brand owner) กลุ่มผู้จัดเก็บขยะ ธุรกิจรีไซเคิล หนวยงาน ราชการ องคกรวิชาการ และสมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกไทย สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องดื่มไทย และสมาชิก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยที่เกี่ยวของ รวมถึงสื่อ ผู้บริโภค และภาคประชาสังคม โดยที่ประชุมได้มี ความเห็นในการขับเคลื่อนการดําเนินงานด้วยแนวทางการกําหนดมาตรฐานในรูปแบบขอตกลงรวมเชิง ปฏิบัติการของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) ที่สามารถดําเนินการได้รวดเร็ว และไม่มี เงื่อนไขการบังคับ ผานการจัดประชุมรับฟงและทํารายละเอียดขอตกลงรวมกัน นํามาสูการจัดประชุมกลุ่มยอย จํานวน 2 ครั้ง เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2564 และ วันที่ 25 มีนาคม 2565 เพื่อรับความเห็น และจัดทําราง ขอตกลงรวม ให้มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ การจัดทํารางขอตกลงรวมนี้ ได้รับความรวมมืออยางดียิ่งจากทุกภาคสวนขางตน ในการให้ขอเสนอแนะ แนวทางการดําเนินงาน รวมถึงขอมูลเชิงวิชาการ ทั้งจากเวทีสัมมนา และการประชุมกลุ่มยอยที่ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยเป็นหนวยงานกลาง จัดขึ้น รวมถึงจากการสอบถามความเห็นและหารือ โดยตรงไปยังสมาคม และกลุ่มอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ นําไปสูกระบวนการกําหนดเป็นมาตรฐานขอตกลงรวม การประชุมเชิงปฏิบัติการ และการประกาศเจตนารมณให้สังคมได้รับทราบ เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียน ของประเทศให้เกิดขึ้นได้อยางจริงจังและมีประสิทธิภาพ และสงผลดีต่อระบบสิ่งแวดลอมในทายที่สุด (5)
สารบัญ 1. บทนํา --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1 2. ขอบขาย ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 3 3. มาตรฐานอางอิง --------------------------------------------------------------------------------------------------------- 3 4. ศัพทและนิยามศัพท ----------------------------------------------------------------------------------------------------- 3 5 . แนวทางสําหรับขวดเครื่องดื่มจากพลาสติก PET ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม -------------------------------------- 4 5.1 การออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม ------------------------------------------------------------------------ 5 5.2 การใชวัสดุ ------------------------------------------------------------------------------------------------------- 5 5.3 ภายนอก ---------------------------------------------------------------------------------------------------------- 5 5.4 การแสดงฉลาก -------------------------------------------------------------------------------------------------- 5 ภาคผนวก ก. ขอมูลเกี่ยวกับการใชพลาสติกชนิดตางๆ และขวดบรรจุเครื่องดื่มจากพลาสติก PET -------------- 6 ภาคผนวก ข. ผู้เขารวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ --------------------------------------------------------------------- 13 บรรณานุกรม -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 17 ( 6)
ขอตกลงรวม 4002 -2565 ขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ขวดเครื่องดื่มจากพลาสติก พอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต (Polyethylene Terephthalate ,PET) ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม 1. บทนํา พลาสติก มีคุณสมบัติที่เหมาะสมในการนํามาใชเป็นบรรจุภัณฑ เนื่องจากเป็นวัสดุที่ขึ้นรูปงาย น้ําหนักเบา แข็งแรง ทนทาน สามารถปรับแต่งสมบัติได้ตามต้องการ สามารถเก็บรักษาสินคาได้เป็นอยางดี และสามารถใชทดแทน วัสดุอื่นที่มีราคาสูง นอกจากนี้ พลาสติกยังมีคุณสมบัติที่สามารถนํามาแปรรูปหมุนเวียนกลับมาใชได้ใหมได้ (recyclable ) จึงเป็นวัสดุที่สอดคลองกับหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน ( circular economy) ประเทศไทยมีหวงอุปทานของอุตสาหกรรมพลาสติกที่ครบวงจร ตั้งแต่อุตสาหกรรมปโตรเคมีที่เป็นผู้ผลิตเรซิน พลาสติก และผู้ใชเรซินพลาสติกเพื่อแปรรูปเป็นผลิตภัณฑพลาสติก ซึ่งในมิติของผู้ผลิตเรซินพลาสติกที่มีความ เขมแข็งและมีศักยภาพอันสะทอนได้จากความสามารถในการผลิตเม็ดพลาสติกที่สูงถึง 9.0 ลานตัน และนําเขา เรซินพลาสติกเพียง 2.2 ลานตัน นอกจากนี้ตลาดของเรซินพลาสติกสวนใหญเนนการสงออกนอกประเทศใน สัดสวนรอยละ 56 ของเม็ดพลาสติกทั้งหมด และอีกรอยละ 44 ถูกใชงานเพื่อแปรรูปเป็นผลิตภัณฑสนับสนุน อุตสาหกรรมการผลิตตางๆ ภายในประเทศ (สถาบันพลาสติก , 2564) คุณคาทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมพลาสติกไทย ดังแสดงในรูปที่ 1 รูปที่ 1 การสรางคุณคาทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมพลาสติกของไทย ป 2562 (สถาบันพลาสติก, 2564) -1-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 ขอมูลจากการสํารวจในป 2562 ประเทศไทยมีมูลคาจากอุตสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑพลาสติกเพื่อใชงาน ภายในประเทศกวา 7.4 แสนลานบาท โดยใชเรซินพลาสติกในกระบวนการแปรรูปทั้งสิ้นกวา 4.9 ลานตัน โดย อุตสาหกรรมแปรรูปหลักของประเทศไทย คือ อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑพลาสติกที่มีมูลคากวา 179 , 640 ลานบาท คิดเป็นรอยละ 24.1 ของมูลคารวม รองลงมาคืออุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสที่มีมูลคากวา 171, 631 ลานบาท และอุตสาหกรรมกอสรางที่มีมูลคากวา 84 , 968 ลานบาท ตามลําดับ (สถาบันพลาสติก , 2564) ดังแสดงในรูปที่ 2 รูปที่ 2 มูลคาของอุตสาหกรรมแปรรูป เรซิน พลาสติกเป็นผลิตภัณฑตางๆ ของไทย ป 2562 (สถาบันพลาสติก, 2564) ขอมูลเกี่ยวกับการใชพลาสติกชนิดตางๆ และขวดบรรจุเครื่องดื่มจากพลาสติก PET ของประเทศไทย และ สวนประกอบ รวมถึงตัวอยางแนวทางการใชบรรจุภัณฑพลาสติก PET ในตางประเทศ แสดงรายละเอียด ดังภาคผนวก ก ขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการฉบับนี้ เป็นความเห็นพองของผู้ประกอบการตลอดทั้งหวงโซของบรรจุภัณฑ พลาสติก PET ซึ่งประกอบด้วย ผู้ผลิตเม็ดพลาสติก ผู้แปรรูป เจ้าของสินคา (brand owner) ผู้นําเขา ไปจนถึง ผู้ประกอบการซาเลงและรานรับซื้อของเกา ผู้ประกอบการธุรกิจรีไซเคิล และสมาคมที่เกี่ยวของ ในการรวมกําหนด แนวทางสําหรับบรรจุภัณฑอาหารและเครื่องดื่มจากพลาสติก PET ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอมบนหลักเศรษฐกิจ หมุนเวียน ตั้งแต่กระบวนการออกแบบ การผลิต การใชประโยชน ไปถึงการเก็บกลับมาหมุนเวียนใชให้เกิด ประโยชนสูงสุด โดยขอตกลงรวมนี้ มุงเนนการปรับเปลี่ยนขวดพลาสติก PET ให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอมกอน เนื่องจาก มีปริมาณการใชงานที่สูงกวาบรรจุภัณฑอื่นที่ทําจากพลาสติก PET แต่อยางไรก็ตาม บรรจุภัณฑอื่นที่ทําจาก พลาสติก PET อาทิ แกวเครื่องดื่ม ถาดบรรจุอาหาร เป็นตน สามารถประยุกตใชแนวทางตามขอตกลงรวมฯ นี้ ใน การออกแบบผลิตภัณฑ ที่เอื้อต่อการรีไซเคิล และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอมได้ โดยมีวัตถุประสงค ดังนี้ -2-
ขอตกลงรวม 4002 -2565 1) เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนใชทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน ( circular economy) 2) เพื่อสรางความตระหนักและขยายขอบเขตความรับผิดชอบของทุกภาคสวนตลอดหวงโซคุณคา (value chain) ของขวดเครื่องดื่ม จากพลาสติก PET 3) เพื่อยกระดับมาตรฐานบรรจุภัณฑพลาสติก PET ของไทย ให้สอดคลองกับสากล 2. ขอบขาย ขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการนี้ ให้ขอแนะนําสําหรับขวดเครื่องดื่มจากพลาสติก PET ที่เหมาะสมสําหรับ การรีไซเคิล โดยครอบคลุมเฉพาะขวดบรรจุเครื่องดื่ม จากพลาสติก PET และสวนประกอบ ได้แก ฝาขวด และ ฉลาก ทั้งการผลิตภายในประเทศและการนําเขาจากตางประเทศ เพื่อจําหนายในประเทศ ซึ่งต่อไปในขอตกลงนี้จะ เรียกวา “ ขวดพลาสติก PET” 3. มาตรฐานอางอิง ไม่มี 4. ศัพทและนิยามศัพท ความหมายของคําที่ใชในเอกสารนี้ มีดังต่อไปนี้ 4.1 ขวดพลาสติก PET หมายถึง ขวดบรรจุเครื่องดื่ม ทําจากพลาสติกชนิดพอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต (Polyethylene Terephthalate, PET ) ซึ่งอาจจะเป็น PET บริสุทธิ์ (virgin PET) หรือ Bio-PET หรือ rPET หรือผสมรวมกัน ก็ได้ 4.2 พลาสติกชนิด Bio-PET หมายถึง พลาสติก PET ที่ทั้งหมดหรือบางสวนผลิตจากวัตถุดิบชีวภาพ 4.3 พลาสติก rPET หมายถึง พลาสติก PET แปรใชใหม (recycle PET) ครอบคลุม 1 ) การแปรใชใหมแบบปฐมภูมิ ( primary recycling: pre-consumer scrap) คือ การแปรรูปชิ้นสวน พลาสติกหรือเศษพลาสติก ( scrap) ภายในโรงงาน ซึ่งเหลือจากกระบวนการผลิตภาชนะบรรจุ อาหาร เพื่อนํามาหมุนเวียนกลับมาผลิตใหม โดยชิ้นสวนพลาสติกหรือเศษพลาสติกดังกลาวต้องไม่ เคยใชสัมผัสอาหารมากอน 2) การแปรใชใหมแบบทุติยภูมิ (secondary recycling: physical reprocessing: mechanical recycling) คือ การแปรรูปภาชนะพลาสติกที่ผานการบรรจุอาหารแล้วด้วยวิธีทางกายภาพ รวมทั้ง วิธีทางกล 3) การแปรใชใหมแบบตติยภูมิ ( tertiary recycling: chemical reprocessing) คือ การแปรรูปภาชนะ พลาสติกที่ผานการบรรจุอาหารแล้วให้กลับไปอยู่ในรูปของวัสดุตั้งตน โดยใชกระบวนการทางเคมี 4.4 วัสดุประเภทเดียว ( mono-material) หมายถึง วัสดุพลาสติกประเภทเดียวกันทั้งหมดที่นํามาผลิตเป็น บรรจุภัณฑชั้นเดียวทั้งชิ้น 4.5 เครื่องดื่มฟงกชั่น (functional drink) หมายถึง เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล และมีคุณคาทางโภชนาการ หรือมีผลต่อสุขภาพสูงกวาเครื่องดื่มทั่วๆ ไป ด้วยการเติมสารที่มีประโยชนต่อรางกาย -3-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 5. แนวทาง สําหรับ ขวดเครื่องดื่ม จากพลาสติก PET ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม แนวทางสําหรับขวดเครื่องดื่มจากพลาสติก PET ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม ดังแสดงในรูปที่ 3 รูปที่ 3 แนวทางสําหรับขว ด เครื่องดื่มจากพลาสติก PET ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม การใชวัสดุ + Mono-material + ไม่มีการผสมสี หรือ วัสดุอื่นที่จะเป็นอุปสรรคต่อ กระบวนการรีไซเคิล ภายนอก + หลีกเลี่ยงการเคลือบสี หรือการพิมพ / สกรีนหมึกสีลง บนขวดพลาสติก PET + อาจพิจารณาใชเทคนิคการพิมพด้วยเลเซอร แทนการ ใชหมึกสี ฉลาก + หากมีฉลาก จะต้องสะดวกต่อการแยกออกจากขวด พลาสติก PET เชน การทํารอยปรุ + หลีกเลี่ยงการใชวัสดุที่ยากต่อการกําจัด เชน พอลิไว นิลคลอไรด (Poly Vinyl Chloride, PVC) + ใชสีชั้นคุณภาพสําหรับอาหาร ไม่ควรมีสวนผสมของ สารเคมีหรือสารโลหะหนักที่ตกคาง การออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม “ คงความใสและไม่มีสีของขวดพลาสติก PET เพื่อคงมูลคาของ พลาสติก PET ให้มากที่สุด เพื่อประโยชนในการเก็บกลับเขาสู กระบวนการรีไซเคิล ” - 4 -
ขอตกลงรวม 4002 -2565 5.1 การออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม 5.1.1 คงความใสและไม่มีสีของขวดพลาสติก PET เพื่อคงมูลคาของพลาสติก PET ให้มากที่สุด เพื่อประโยชนในการเก็บกลับเขาสูกระบวนการรีไซเคิล 5.1.2 สะดวกต่อการใชงาน และจูงใจให้เกิดการนําขวดพลาสติก PET เขาสูกระบวนการรีไซเคิล 5.1.3 คํานึงถึงความบางของขวดที่เหมาะสม หากขวดน้ําหนักเบา หรือมีความบางมากเกินไป แมจะได้ประโยชนในการลดใชทรัพยากรและวัตถุดิบในการผลิต จะมีปญหาในการเก็บและ กระบวนการการรีไซเคิล ซึ่งจะต้องมีการศึกษาถึงความบางของขวดที่เหมาะสมตลอดทั้ง วงจรชีวิตต่อไป 5.2 การใชวัสดุ 5.2.1 ขวดพลาสติก PET ควรใชวัสดุประเภทเดียว ( mono-material) ซึ่งอาจจะประกอบด้วย พลาสติก PET หรือ Bio-PET ใหมทั้งหมด หรือมีสวนผสมพลาสติก PET รีไซเคิล ( rPET) 5.2.2 ไม่มีการผสมสี หรือ วัสดุอื่นที่จะเป็นอุปสรรคต่อกระบวนการรีไซเคิล อาทิ แปง ฟางขาว หรือพลาสติกประเภทอื่น เป็นตน ลงในเนื้อของขวดพลาสติก PET 5.3 ภายนอก 5.3.1 หลีกเลี่ยงการเคลือบสี หรือการพิมพ สกรีนหมึกสี ลงบนขวดพลาสติก PET แต่หากมีความ จําเป็น ควรเป็นหมึกสีฟา หรือสีฟาออน ไม่ควรใชสีอื่น 5.3.2 กรณีที่ต้องแสดงขอมูลตามขอกําหนดของกฎหมาย เชน รหัสวันที่ ( date code) เป็นตน อาจพิจารณาใชเทคนิคการพิมพด้วยเลเซอร แทนการใชหมึกสี 5.4 ฉลาก 5.4.1 หากมีการหุมฉลากบนขวดพลาสติก PET ฉลากนั้นควรสะดวกต่อการแยกออกจากขวด พลาสติก PET เชน การทํารอยปรุ เป็นตน ควรหลีกเลี่ยงการใชฉลากสติกเกอร หรือใชกาว ที่แกะออกยาก 5.4.2 หลีกเลี่ยงการใชวัสดุที่ยากต่อการกําจัด หรือวัสดุที่ไม่สามารถรีไซเคิลได้ เชน PET 5.4.3 หลีกเลี่ยงการใชวัสดุที่ไม่ลอยน้ํา อาทิ พอลิไวนิลคลอไรด (Poly Vinyl Chloride, PVC) และ PET ในการทําฉลาก ควรเป็นพลาสติกที่ลอยน้ําได้ เชน พอลิสไตรีน ( Polystyrene, PS) พอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต (Polypropylene, PP) พอลิเอทิลีน ( Polyethylene, PE) เป็นตน เพื่อประโยชนในการแยกฉลากในขั้นตอนรีไซเคิล 5.4.4 การแสดงขอมูลบนฉลาก ควรใชสีที่เป็นชั้นคุณภาพสําหรับอาหาร ไม่มีสวนผสมของสารเคมี หรือ สารโลหะหนัก ที่ตกคางซึ่งทําให้เกิดปญหาต่อระบบนิเวศ -5-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 ภาคผนวก ก (ขอมูล) ขอมูลเกี่ยวกับการใชพลาสติกชนิดตางๆ และขวดบรรจุเครื่องดื่มจากพลาสติก PET ก .1 พลาสติกชนิดพอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต (Polyethylene Terephthalate, PET) พอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต เป็นเทอรมอพลาสติกสังเคราะหจากปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอรของไดเมทิล เทเรฟแทเลต และเอทิลีนไกลคอล มีสมบัติกั้นการซึมผานของกาซออกซิเจนและคารบอนไดออกไซดได้ดี มีความ แข็ง โปรงแสง ( translucent) ทนสารเคมี มีการคงสภาพเชิงมิติ มีสมบัติทางไดอิเล็กทริกดี โดยพีอีทีชนิดที่มีการ จัดเรียงตัว ( oriented PET) จะมีความแข็งแรง มีความเหนียว ( toughness) และมีความใส ( clarity) ดีขึ้น และทน ตัวทําละลายชนิดตางๆ รวมถึงกรดและดางได้ดี นิยมผลิตขวดน้ําดื่มและเครื่องดื่ม บรรจุภัณฑสําหรับอาหารและ ยา ขึ้นรูปเป็นเสนใย (บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) , 2554) ขอมูลป 2563 มีปริมาณการใช PET ในประเทศ 1.4 ลานตัน แบงเป็น บรรจุภัณฑ 40% เสนใย 55% และอื่นๆ อีก 5% (สถาบันพลาสติก, 2564 ) โดย PET สามารถนําไปผลิตเป็นผลิตภัณฑตางๆ ดังแสดงในรูปที่ ก .1 รูปที่ ก.1 ผลิตภัณฑจากพลาสติกชนิด พอลิเอทิลีน เทเรฟทาเลต (Ryan, 2021) -6-
ขอตกลงรวม 4002 -2565 ก .2 พลาสติกชีวภาพพอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต ( Bio-Polyethylene Terephthalate, Bio-PET) พลาสติกชีวภาพพอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต มีโครงสรางและคุณสมบัติ เหมือน PET ทุกประการ แต่สามารถสังเคราะหได้จากวัตถุดิบทางธรรมชาติหรือ วัตถุดิบที่ปลูกทดแทนใหมได้ (non-compostable biobased) คือโมโนเอทิลีน ไกลคอลชีวภาพ ( Bio-Monoethylene Glycol : Bio- MEG) 30% และกรด เทเรฟทาลิกบริสุทธิ์ (Purified Terephthalic A cid : PTA) 70% ถึงแมวา Bio-PET จะไม่ถือเป็นพอลิเมอร ที่สามารถยอยสลายได้ทางชีวภาพ ( non-biodegradable) แต่สามารถนํากลับมาใชใหมได้ จึงถือเป็นอีกทางเลือก ที่ดีสําหรับกระบวนการผลิตพลาสติกชีวภาพในอนาคต (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ , 2560) กระบวนการผลิตขวดพลาสติกจาก 100 % Bio -based แสดงในรูปที่ ก. 2 รูปที่ ก.2 แผนผังกระบวนการผลิตขวดพลาสติกจาก 100% Bio-based (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2560) จากแผนผัง แสดงให้เห็นวาพลาสติกชีวภาพชนิด Bio-PET สามารถนํากลับมารีไซเคิลหมุนเวียนใชประโยชนได้ เชนเดียวกันกับพลาสติก PET โดยบทความในเว็บไซต์ Greenblue (greenblue.org, 2021) ได้อางถึงขอมูลจาก The Biodegradable Products Institute (BPI) ที่ระบุวาพลาสติกชีวภาพ ( Bio-based plastics) เชน Bio-PET มีโครงสรางทางเคมีเหมือนกันกับพลาสติกจากปโตรเลียม ซึ่งโครงสรางที่เหมือนกันนี้ทําให้ Bio-PET สามารถ รีไซเคิลรวมกับพลาสติก PET จากปโตรเลียมได้ ซึ่งสอดคลองกับขอมูลของ European bioplastics ที่ระบุเชนกัน วา Bio-PET สามารถรีไซเคิลรวมกับพลาสติก PET จากปโตรเลียมได้อยางเต็มประสิทธิภาพ จากการศึกษาวงจร ชีวิต (Life Cycle Assessment, LCA) ของการรีไซเคิลพลาสติกชีวภาพชนิด Bio-PET พบวา สามารถลด การปลดปลอยกาซเรือนกระจกลงได้รอยละ 10 และลดการใชเชื้อเพลิงปโตรเลียมลงได้รอยละ 20 เมื่อเทียบขวด พลาสติกที่ผลิตจาก PET จากปโตรเลียม (ITSUBO & SHOBATAKE, 2015) -7-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 ก. 3 ขวดบรรจุเครื่องดื่มจากพลาสติก PET และสวนประกอบ รายงานสถานการณตลาดน้ําดื่ม พบวา ในป 2563 ตลาดน้ําดื่มบรรจุขวดในประเทศไทยมีมูลคา 56, 303.7 ลานบาท (สถาบันอาหาร , 2564) โดยแบงเป็น 1) น้ําดื่มบรรจุขวดทั่วไป (still bottled water) มีมูลคาอยู่ที่ 44 ,805.2 ลานบาท คิดเป็นสวนแบง ตลาดรอยละ 80 ได้แก น้ําเปลา น้ําแร 2) น้ําโซดาบรรจุขวด (carbonated bottled water) มีมูลคาอยู่ที่ 9, 063.0 ลานบาท คิดเป็นสวนแบง ตลาดรอยละ 16 ได้แก โซดาน้ําเปลา และโซดาน้ําแร 3) น้ําดื่มฟงกชั่นบรรจุขวด (functional bottled water) มีมูลคาอยู่ที่ 2 , 429.5 ลานบาท คิดเป็นสวน แบงการตลาดรอยละ 4 ซึ่งขวดบรรจุน้ําดื่ม รวมถึงน้ําดื่มฟงกชั่นสวนใหญ จะใชขวดจากพลาสติก PET โดยมีสวนประกอบที่สําคัญ ดังนี้ 1) ขวด ( bottle ) ผลิตจากพลาสติก PET ซึ่งในการผลิตมีความจําเป็นต้องใช PET ที่มีน้ําหนักโมเลกุลสูง และมีคาความหนืด IV > 0.7 dl/g โดยทั่วไปการผลิตขวดพลาสติก PET มักใชกระบวนการเปาแบบ ดึงยืด (stretch blow molding) ซึ่งเป็นการผลิต 2 ขั้นตอน โดยเริ่มจากกระบวนการฉีดเม็ด พลาสติกให้เป็นพรีฟอรม (preform) และเปาพรีฟอรมให้เป็นขวดน้ํา ตามลําดับ (ศูนยเทคโนโลยี โลหะและวัสดุแห่งชาติ , 2564) 2) ฝาพลาสติก ( cap & closure ) สําหรับขวดเครื่องดื่ม แมจะมีขนาดเล็กๆ แต่มีความละเอียดและ ความสําคัญมาก เพราะหน้าที่หลักคือ ปดขวดสําหรับปองกันไม่ให้แกส หรือเครื่องดื่มในขวดรั่วไหล ออกมา นอกจากนี้ฝาพลาสติก ต้องไม่ทําให้รสชาติและกลิ่นของเครื่องดื่มผิดเพี้ยนไป และไม่มี สารเคมีตกคางเจือปนลงไปในเครื่องดื่ม โดยปจจุบันการผลิตฝาพลาสติก HDPE ชิ้นเดียว มาใช ทดแทนฝาพลาสติก PP มีแนวโนมสูงขึ้นในกลุ่มเครื่องดื่มน้ําอัดลม เนื่องจากสามารถรองรับการ ออกแบบให้บางและมีน้ําหนักเบาลงได้ (กลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติก , 2011) 3) ฉลาก ( labels) มีหลากหลายประเภท หลากหลายวัสดุ อาทิ ฉลากกระดาษ ฉลากกาวในตัว (self adhesive labels ) หรือสติ๊กเกอร ( sticker ) ฉลากฟลมรัด ( shrink sleeve labels) เป็นตน สําหรับ ขวดบรรจุน้ําดื่ม นิยมใชฉลากฟลมรัด โดยทั่วไปมักทําจากฟลมพลาสติกที่หดตัวได้เมื่อให้ความรอน ได้แก PVC หรือ PS ซึ่งเป็นวัสดุที่หดตัวได้มากที่สุด ใชงานและออกแบบได้หลากหลาย มักถูก นํามาใชกับขวด PET งายต่อการตกแต่งรวมทั้งการปดซีลฝา โดยทั่วไปจะมีความหนา 50 ไมครอน (สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม , 2564) การใชประเภทพลาสติกของขวดบรรจุเครื่องดื่มและ สวนประกอบดังแสดงในรูปที่ ก. 3 -8-
ขอตกลงรวม 4002 -2565 รูปที่ ก. 3 ประเภทพลาสติกของขวดบรรจุเครื่องดื่มและสวนประกอบ ก.4 การรีไซเคิลขวดบรรจุเครื่องดื่มจากพลาสติก PET พลาสติกชนิด PET ถูกนําไปใชประโยชนเป็นขวดบรรจุเครื่องดื่มเป็นสวนใหญ ด้วยคุณสมบัติที่โดดเดน คือ มีความเหนียว แข็งแรง ใส และรีไซเคิลได้ โดยบรรจุภัณฑ PET ใส สามารถรีไซเคิลกลับมาใชใหมเป็นผลิตภัณฑที่มีมูลคาสูง เชน ขวดบรรจุภัณฑ เสื้อผา ชิ้นสวนยานยนต เสนใยสําหรับบรรจุภายในเสื้อกันหนาวหรือถุงนอน ฉนวน สําหรับผนัง แต่สําหรับบรรจุภัณฑ PET สี หรือที่มีการเคลือบหรือพิมพสี จะแปรรูปได้ ผลิตภัณฑที่มีมูลคาต่ํา เชน พรม สายรัด เชือก เสนใย เป็นตน จึงไม่เป็นที่ต้องการของ ตลาดรีไซเคิล ไม่จูงใจในการรับซื้อและการเก็บรวบรวม เนื่องจากมีมูลคาต่ํา ไม่คุมคา เมื่อรวมกับตนทุนการขนสง สงผลให้เกิดการตกคางของขวด PET สี ที่อาจจะนําไปสูการจัดการที่ไม่เหมาะสม หรือไม่สอดคลองกับหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน และเป็นภาระต่อสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ การผสมวัสดุอื่น เชน แปง ฟางขาว หรือพลาสติกประเภทอื่น ลงในเนื้อ PET สงผลโดยตรงต่อการรีไซเคิล เนื่องจากไม่สามารถแยกวัสดุ เหลานั้นออกจากเนื้อพลาสติกในกระบวนการรีไซเคิลได้ วงจรชีวิตของขวดพลาสติก PET ดังแสดงในรูปที่ ก.4 และราคารับซื้อขวดพลาสติกจาก PET ดังแสดงในตารางที่ ก. 1 ฝาพลาสติก (cap & closure) – HDPE , PP ขวด พลาสติก ( bottle ) – PET ฉลากฟิล์มรัด ( shrink sleeve labels) – PVC , PS -9-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 รูปที่ ก.4 วงจรชีวิตของขวดพลาสติก PET ตารางที่ ก. 1 ราคารับซื้อสินคา วันพุธที่ 8 กันยายน 2564 (ราคาคาปลีก) (วงษพาณิชย , 2564) ชนิดสินคา ราคา / หนวย ขวดน้ํา PET ใสในเครือเปปซี่ 7.00.- No.1 ขวดน้ํา PET ใส 6.00.- No.2 ขวดน้ํา PET ( สีเขียว) 1.00.- No.3 ขวดน้ํา PET ใส (สกรีน) 1.00.- กระบวนการรีไซเคิลขวดพลาสติก PET จะเริ่มจากกระบวนการเก็บรวบรวมขวดพลาสติกที่ใชแล้วนําเขาสู กระบวนการรีไซเคิล ผานการนําพลาสติกที่คัดแยกแล้วมาเขาเครื่องบดทําให้พลาสติกมีขนาดเล็กลงและนําไปลาง เพื่อทําความสะอาด ซึ่งจะได้เศษพลาสติกสะอาดที่บดเรียบรอยแล้วและจะนําเอาเศษพลาสติกเหลานี้ไปผาน กระบวนการหลอมและตัดเรซินพลาสติกใหมจนกลายเป็นเรซินพลาสติกรีไซเคิลเพื่อเขาสูกระบวนการขึ้นรูป ผลิตภัณฑชนิดตางๆ (สถาบันพลาสติก , 2013) กระบวนการรีไซเคิลขวดพลาสติก PET ดังแสดงในรูปที่ ก. 5 และ ผลิตภัณฑที่ได้จากการรีไซเคิลขวดพลาสติก PET ดังแสดงในรูปที่ ก. 6 -10-
ขอตกลงรวม 4002 -2565 รูปที่ ก.5 กระบวน การรีไซเคิลพลาสติก ขวด PET ( ขวดน้ําดื่มชนิดใส) (สถาบันพลาสติก, 2013) รูปที่ ก.6 ผลิตภัณฑที่ได้จากการรีไซเคิลขวดพลาสติก PET (CBC/Redio-Canada, 2020) -11-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 ก .7 ตัวอยางแนวทางการใชบรรจุภัณฑพลาสติก PET ในตางประเทศ ในตางประเทศ อาทิ เกาหลีใต ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ได้มีการกําหนดระเบียบ หรือ ขอตกลง เพื่อการรีไซเคิลบรรจุภัณฑพลาสติก PET ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด (วาสนาดํารงดี , 2564) เกาหลีใต : ได้ออกกฏหมาย Act on the promotion of saving and recycling resources (recycling act) บังคับใชในป 2018 ซึ่งได้กําหนดแนวทางการออกแบบและ การใชวัตถุดิบ สําหรับบรรจุภัณฑที่ยากต่อการรีไซเคิล ซึ่งรวมถึงการยกเลิกขวดพลาสติก PET สี ด้วย (U.S. Department of Commerce, 2020) ญี่ปุน : มีกฎหมาย EPR บรรจุภัณฑ 1997 ให้ผู้ผลิตจัดระบบ Take-back และ สภารีไซเคิลขวด PET ได้มีมาตรฐานภาคสมัครใจการออกแบบขวด PET โดย “ หามใชขวด PET สี ขวดต้องเป็นขวดใสเทานั้น ” เนื่องจากการรีไซเคิล PET ซึ่งสวนใหญจะถูกแปรรูป เป็นเสนใย พลาสติก PET สี จะทําให้เสนใยที่ได้มีสีไปด้วย (The Council for PET Bottle Recycling, 2016) สหรัฐอเมริกา : The Association of Plastics Recyclers สมาคมผู้ประกอบการรีไซเคิล พลาสติก ( APR) ระบุวา ขวด PET แบบใสมีประสิทธิภาพในการรีไซเคิลมากที่สุด ในขณะ ที่ขวด PET สีนั้น เม็ดสีจะทําให้เกิดการปนเปอน และทําให้การรีไซเคิลไม่มีประสิทธิภาพ (The Association of Plastic Recyclers, 2021) สหภาพยุโรป : กลุ่มผู้ผลิตและรีไซเคิลขวด PET ยุโรป ( The European PET Bottle Platform -EPBP) ระบุวา ควรลดการผลิตขวด PET สี ให้ได้มากที่สุด เนื่องจากจะทําให้ การรีไซเคิลไม่ได้ประสิทธิภาพ และควรหลีกเลี่ยงการผลิตขวด PET สีแดงเขมเนื่องจาก สงผลต่อคุณสมบัติของสีของผลิตภัณฑ สงผลให้รีไซเคิลยากเชนกัน และควรหลีกเลี่ยง ขวดสีดําด้วย เนื่องจากมีการดูดกลืนแสงเนียรอินฟราเรดสเปกโทรสโกป (Near Infrared Spectroscopy ,NIRS) มาก ทําให้กระบวนการคัดแยกด้วยเครื่องอัตโนมัติเกิดปญหา (The European PET Bottle Platform, 2021) -12-
ขอตกลงรวม 4002 -2565 ภาคผนวก ข (ขอมูล) ผู้เขารวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ตาราง ข. 1 รายชื่อผู้เขารวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1 วันที่ 29 กันยายน 2564 ชื่อ หนวยงาน 1. Aungkana Chartchaianan AB Food and Beverages (Thailand) Ltd. 2. Chanvuth Hankunaseth Majend Makcs co., ltd. 3. Dr.Nattawut Charumekin Sappe Public Company Limited 4. คุณกรัณย เตชะเสน SCG Packaging 5. คุณกริช สุขอุดม CPF 6. คุณกัลยา นิมมาณวัฒนา สมาคมอุตสาหกรรมพลาสตอกชีวภาพไทย 7. คุณกิตติพร พันธุวิจิตรศิริ บริษัท เปปซี่โค เซอรวิสเซส เอเชีย จํากัด 8. คุณเกรียงศักดิ์ พันธรัตนมงคล บริษัท อิมโก ฟูดแพ็ค จํากัด 9. คุณเพลินใจ นอยศิริพันธ บริษัท อิมโก ฟูดแพ็ค จํากัด 10. คุณวิบูลย พึงประเสริฐ สมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ 11. คุณจินดาหรา ปรุงเจริญกิจ บริษัท ปตท.น้ํามันและการคาปลีก จํากัด (มหาชน) 12. คุณฉัตรศนัน มาสวางไพโรจน GooGreens18 จํากัด 13. คุณชาญวุฒิ หาญคุณะเศรษฐ บริษัท มาเจนด แม็คซิส จํากัด 14. คุณชุติรัตน์ มัญจาวงศ DKSH (Thailand) Limited 15. ดร พรรษชล ลิมธงขัย บริษัท คอนิเมก จํากัด 16. ดร.เกรียงศักดิ์ วงศพรอมรัตน์ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) 17. คุณดิษพงศ ทองรวย Nestle Thai 18. คุณถิรเดช จิระประกอบชัย Thai Packaging Manufacturer co., ltd. 19. คุณธารทิพย์ โพธิตันติมงคล บริษัท ซันโทรี่ เปปซี่โค เบเวอเรจ (ประเทศไทย) จํากัด 20. คุณธีรวิทย บุษยโภคะ บมจ. พลาสติคและหีบหอไทย 21. คุณพงษดิศวร วัชรเมธีวรนันท บริษัท ปตท.น้ํามันและการคาปลีก จํากัด (มหาชน) 22. คุณสมภพ สุขพัลลภรัตน์ บริษัท ปตท.น้ํามันและการคาปลีก จํากัด (มหาชน) 23. คุณอภิสิทธิ์ ธรรมแกว สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องดื่มไทย 24. คุณบัณฑิต วชิรปราการสกุล ไออารพีซี 25. คุณพงษศักดิ์ ลิขิตหัตถศิลป บริษัท ไทยพลาสติกรีไซเคิล กรุป จํากัด 26. คุณพลางคสิทธิ์ สุทธปรียาศรี Nestle (Thai) Ltd 27. คุณพิชญานิน สุคนธมาน บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) 28. คุณเพ็ญลักษณ จันทร์สุเทพ บริษัท คาราบาว ตะวันแดง จํากัด 29. คุณภัทรวรินทร แสนหลา บริษัท อิชิตัน กรุป จํากัด 30. คุณมนตรี เดชะบุญชนะ พลาสติกและหีบหอไทย จํากัด (มหาชน) -13-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 ชื่อ หนวยงาน 31. คุณวรรธณี สีลม ธนากรผลิตภัณฑน้ํามันพืช จํากัด 32. คุณวรอมาตย อมาตยกุล บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) 33. คุณวัชรา ตนพงษ CP Interfood (Thailand) 34. คุณวิบูลย พึงประเสริฐ สมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย 35. คุณวีระ อัครพุทธิพร ไทยน้ําทิพย์ 36. คุณศิรินทิพย์ ศรีชัยรัตนกูล บริษัท ศรีไทยซุปเปอรแวร จํากัด (มหาชน) 37. คุณสมเดช ใหมยศ เสริมสุข จํากัด (มหาชน) 38. คุณสุทธิพงศ อัศวมงคลชัย ไอเอ็มซีดี (ประเทศไทย) จํากัด 39. คุณสุรปรีช เมาลีกุล บริษัท ปตท. น้ํามันและการคาปลีก จํากัด (มหาชน) 40. คุณอภิภพ พึ่งชาญชัยกุล เรืองวาแสตนดารด อินดัสตรี้ จํากัด 41. คุณอรัญญา ริดมัด กรมทางหลวง 42. คุณอัจฉราภรณ ตันติลิขิตกุล ไทยพลาสติกรีไซเคิล กรุป 43. คุณอาศิรวรรธน โพธิพันธุ สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) - 14 -
ขอตกลงรวม 4002 -2565 ตาราง ข. 2 รายชื่อผู้เขารวมประชุมการประชุมเชิงปฏิบัติการ วันที่ 25 มีนาคม 2565 ชื่อ หนวยงาน 1. Apiwitsh Shiratani บริษัท ดานอน เซ็ปเป เบฟเวอเรจส จํากัด 2. Aungkana Chartchaianan เอบี ฟูด แอนด เบฟเวอรเรจส (ประเทศไทย) จํากัด 3. Dr. Nattawut Charumekin บริษัท เซ็ปเป จํากัด (มหาชน) 4. Pitchayanin Sukholthaman บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) 5. Winai Krathinthai บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร อินดัสตรี้ส จํากัด (มหาชน) 6. คุณชนิดา ดอนหงษไพร เอบี ฟูด แอนด เบฟเวอรเรจส ประเทศไทย จํากัด 7. ดร.เกรียงศักดิ์ วงศพรอมรัตน์ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) 8. คุณดิษพงศ ทองรวย เนสทเล 9. คุณธารทิพย์ โพธิตันติมงคล บริษัท ซันโทรี่ เปปซี่โค เบเวอเรจ (ประเทศไทย) จํากัด 10. คุณพรสุภา เงินเนตร บริษัท ปตท. น้ํามันและการคาปลีก จํากัด (มหาชน) 11. คุณสุนทร ยงควิบูลศิริ บริษัทเอสซีจี แพคเกจจิ้ง จํากัด (มหาชน) 12. คุณนิยปราณ เลิศเลาหกุล พีทีที ออยด รีเทล บิซิเนส 13. คุณบุญเอนก วรรณพานิชย บ.ไทยเบฟเวอเรจ รีไซเคิล จก. 14. คุณเปรม พฤกษทยานนท บริษัท กรีนทูเก็ต จํากัด 15. ผศ.ดร.ชดชนก อัฑฒพงศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 16. คุณพรรษชล ลิมธงชัย คอนิเมก จํากัด 17. คุณพลางคสิทธิ์ สุทธปรียาศรี เนสทเล ไทย 18. คุณพัทธนินทร เกียรติศิลปน เสริมสุข จํากัด (มหาชน) 19. คุณภัทรวรินทร แสนหลา อิชิตัน กรุป จํากัด (มหาชน) 20. ม.ล. ชาวลี จรูญโรจน บริษัท ปตท. น้ํามันและการคาปลีก จํากัด (มหาชน) 21. คุณมานิตา มุขยพาณิชย บริษัท ไทยน้ําทิพย์ จํากัด สํานักงานใหญ 22. คุณวรรณสิริ รงรองเมือง บริษัท กูกรีนส18 จํากัด 23. คุณวัชราถรณ ปรีชาวินิจกุล บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 24. คุณวิบูลย พึงประเสริฐ สมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย (TBIA) 25. คุณวิรัช เกลียวปฏินนท บริษัท ปอปปูลา อิเตอรพลาส จํากัด 26. คุณศรัณยู อินทาทอง บริษัท ทีทีซี น้ําดื่มสยาม จํากัด 27. คุณศุภสรร หงสลดารมภ บริษัท เสริมสุข จํากัด (มหาชน) 28. คุณสยุมพร เหลาวชิระสุวรรณ บริษัท อินโดรามา เวนเจอรส จํากัด (มหาชน) 29. คุณสายนที จําปรัตน์ บริษัท ปตท. น้ํามันและการคาปลีก จํากัด (มหาชน) 30. คุณสิรีธร จรัสโชติเสถียร บริษัท ทีทีซี น้ําดื่มสยาม จํากัด 31. คุณสุภาภรณ ชูมี บริษัท เสริมสุข จํากัด (มหาชน) 32. คุณอณัญญา กิจธนัญชานน บริษัท เจนเนอรัล เบฟเวอรเรจ จํากัด 33. คุณอมนพงศ ทองภักดี เอสซีจี แพคเกจจิ้ง 34. คุณอรษา ฤทธิวงศ บริษัท เจนเนอรัล เบฟเวอรเรจ จํากัด 35. คุณอรัญญา ลือประดิษฐ ที.ซี.พี. -15-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 ชื่อ หนวยงาน 36. คุณอรัญญา ริดมัด กองฝกอบรม กรมทางหลวง 37. คุณอัจฉราภรณ ตันติลิขิตกุล ไทยพลาสติกรีไซเคิลกรุป -16-
ขอตกลงรวม 4002 -2565 บรรณานุกรม CBC/Redio-Canada. (7 January 2020). เขาถึงได้จาก https://www.cbc.ca/news/science/bottle- recycling- 1.5416614 greenblue.org. (5 October 2021). greenblue.org . เขาถึงได้จาก greenblue: greenblue.org/consumer- confusion-about-biopolymers/ Norihiro ITSUBO, และ Koichi SHOBATAKE. (2015). LCA of Bio PET Bottle made from sugarcane ethanol. J-Stage, 177-182. The Association of Plastic Recyclers. (2021). The Association of Plastic Recyclers . เขาถึงได้จาก www.plasticsrecycling.org The Council for PET Bottle Recycling. (1 march 2016). The Council for PET Bottle Recycling. เขาถึงได้จาก https://www.petbottle-rec.gr.jp/english/design.html The European PET Bottle Platform. (2021). EPBP . เขาถึงได้จาก https://www.epbp.org U.S. Department of Commerce. (17 May 2020). International Trade Administration . เขาถึงได้จาก https://www.trade.gov/market-intelligence/korea-cosmetics-packaging-recycling V. Ryan. (2021). technologystudent . เขาถึงได้จาก https://technologystudent.com/joints/pet1.html กลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติก. (15 March 2011). เขาถึงได้จาก กลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติก: www.ftiplastic.com บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน). (2554). สารานุกรมเปดโลกปโตรเคมี. กรุงเทพ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. (2560). รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ( Final Report) โครงการเพิ่มศักยภาพฐานขอมูลอุตสาหกรรมฐานชีวภาพ. วงษพาณิชย. (8 กันยายน 2564). www.wongpanit.com . เขาถึงได้จาก http://www.wongpanit.com/list_history_price ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ. (11 ตุลาคม 2564). MTEC. เขาถึงได้จาก https://www2.mtec.or.th/th/e-magazine/admin/upload/216_31- 34. pdf สถาบันพลาสติก. (2013). สอง…ชีวิตพลาสติก สรางประโยชนอยางสรางสรรค. Plastics Foresight, 30. สถาบันพลาสติก. (2564). เขาถึงได้จาก Plastic Intelligence Unit: http://plastic.oie.go.th/ReadArticle.aspx?id=20935 สถาบันอาหาร. (มีนาคม 2564). เขาถึงได้จาก Food Intelligence Center: http://fic.nfi.or.th/MarketOverviewDomesticDetail.php?id=329 -17-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. (11 ตุลาคม 2564). Packaging Indistrial Intelligence Unit. เขาถึงได้จาก https://packaging.oie.go.th/new/admin_control_new/html- demo/file_technology /5239168740. pdf สุจิตรา วาสนาดํารงดี. (2564). ผลิตภัณฑพลาสติกเป็นความรับผิดชอบของใคร ? และตัวอยางที่ดีในการจัดการ บรรจุภัณฑ PET. การเสวนา “ จากขวดสีสูขวดใส ความใสใจของแบรนดรักษ์โลก ”. กรุงเทพ: สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. -18-
ขอตกลงรวม 4003–2565 TWA 4003-2022 แนวทาง สําหรั บ ระบบการจัดการสิ่งแวดลอมสนามบิน GUIDELINES ON AIRPORT ENVIRONMENTAL MANAGEMENT SYSTEM (AIRPORT EMS) THAI WORKSHOP AGREEMENT ขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม THAI INDUSTRIAL STANDARDS INSTITUTE กระทรวงอุตสาหกรรม MINISTRY OF INDUSTRY ICS 03.020.10 ISBN 978-616-595-033-6
ขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ขอตกลงรวม 400 3 – 2565 สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2430 6815 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับ พิมพฉบับ เลม พิมพเลม ตอน พิมพตอน วันที่ พิมพวันที่ และเดือน พุทธศักราช พิมพป แนวทางสําหรับ ระบบการจัดการสิ่งแวดลอมสนามบิน
สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) ได้ออกประกาศคณะกรรมการกําหนดมาตรฐานดานการ ตรวจสอบและรับรอง ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2564) เรื่อง กระบวนการและรูปแบบในการจัดทํามาตรฐานการ ตรวจสอบและรับรองแห่งชาติ (มตช.) โดยเอกสารนี้ใชกลไกการจัดทําในรูปแบบขอตกลงรวมการประชุมเชิง ปฏิบัติการ ซึ่งเป็นรูปแบบที่สามารถตอบสนองต่อความจําเป็นเรงดวนในสถานการณปจจุบันได้ ทั้งนี้ขอตกลงรวม ดังกลาวจะได้รับการทบทวนภายในระยะเวลา 5 ป และนําเสนอคณะกรรมการกําหนดมาตรฐานดานการ ตรวจสอบและรับรองพิจารณารูปแบบมาตรฐานการตรวจสอบและรับรองหรือยกเลิกขอตกลงรวมการประชุม เชิงปฏิบัติการต่อไป ขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แนวทางสําหรับระบบการจัดการสิ่งแวดลอมสนามบิน (Guidelines on Airport Environmental Management System) ดําเนินการโดยสํานักงานการบินพลเรือน แห่งประเทศไทย เป็นผู้จัดทําขอเสนอและการประชุมเชิงปฏิบัติการ ขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการนี้ ระบุแนวทางการจัดการสิ่งแวดลอมที่จะชวยในการบริหารจัดการ สิ่งแวดลอมของสนามบิน คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานดานการตรวจสอบและรับรองได้พิจารณามาตรฐานนี้แล้วเห็นสมควรเสนอ ประธานกรรมการประกาศตามมาตรา 13 (1) แห่งพระราชบัญญัติการมาตรฐานแห่งชาติ พ . ศ . 2551 (2)
ประกาศ คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานดานการตรวจสอบและรับรอง ฉบับที่ 40 ( พ . ศ . 2565 ) ออกตามความในพระราชบัญญัติการมาตรฐานแห่งชาติ พ . ศ . 2551 เรื่อง กําหนดขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ แนวทางสําหรับระบบการจัดการสิ่งแวดลอมสนามบิน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 13 (1) แห่งพระราชบัญญัติการมาตรฐานแห่งชาติ พ.ศ. 2551 คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานดานการตรวจสอบและรับรอง จึงออกประกาศกําหนดขอตกลงรวมการประชุม เชิงปฏิบัติการ แนวทางสําหรับระบบการจัดการสิ่งแวดลอมสนามบิน เลขที่ ขอตกลงรวม 400 3 – 2565 ดังมี รายละเอียดแนบทายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นตนไป ประกาศ ณ วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2565 นายบรรจง สุกรีฑา เลขาธิการสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ประธานกรรมการกําหนดมาตรฐานดานการตรวจสอบและรับรอง (3)
สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย (กพท.) เป็นหนวยงานกํากับดานการบินพลเรือน ให้เป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยและความมั่นคงในระดับสากล รวมทั้งทําหน้าที่สงเสริมกิจการการบิน พลเรือน ซึ่งถือวาเป็นกุญแจสําคัญขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศด้วย ในการกํากับดูแลสนามบินโดย กพท. นั้น จะครอบคลุมดานความปลอดภัย ความมั่นคงการ บินและดานสิ่งแวดลอมซึ่งในดานสิ่งแวดลอมนี้เอง กพท. ได้ใชเงื่อนไขแนบทายใบอนุญาตซึ่งเป็นไปตาม มาตรการในรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (Environmental Impact Assessment (EIA)) หรือ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมสําหรับโครงการหรือกิจการที่อาจมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดลอม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิตของประชาชนอยางรุนแรง ( Environmental and Health Impact Assessment (EHIA)) เป็นหลัก ในป 2564 กพท. ได้ริเริ่มจัดทําเครื่องมือที่จะชวยในการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมของ สนามบินที่เรียกวา Airport Environmental Management System (AIRPORT EMS) ซึ่งเครื่องมือดังกลาว ได้ถูกพัฒนาจากหลักการของระบบคุณภาพ และปรับปรุงให้เป็นตามบริบทของสนามบิน โดยมีวัตถุประสงค เพื่อเป็นแนวทางการดําเนินงานให้กับสนามบินในการปกปองคุมครองสิ่งแวดลอม ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมของสนามบินให้ดียิ่งขึ้น กระบวนการการจัดทําขอตกลงรวม ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ จํานวน 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2565 เพื่อรับฟงความคิดเห็นและจัดทํารางขอตกลงรวมให้มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ การจัดทํารางขอตกลงรวมนี้ ได้รับความรวมมือเป็นอยางดียิ่งจากผู้ดําเนินการสนามบิน ในการให้ขอเสนอแนะ แนวทางการดําเนินงาน รวมถึงขอมูลเชิงวิชาการ ระหวางการจัดทําขอตกลงรวมการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ ตลอดจน ขอคิดเห็น ขอเสนอแนะ พรอมทั้งขอมูลสนับสนุนเพิ่มเติมที่สงให้แก กพท. ภายหลังจากการประชุมเชิงปฏิบัติการดังกลาวดําเนินการเสร็จสิ้นลง ซึ่ง กพท. ได้นําขอมูลดังกลาวไปปรับปรุง AIRPORT EMS ให้สมบูรณยิ่งขึ้น จากนั้นจึงนําไปสูกระบวนการกําหนดเป็นมาตรฐานขอตกลงรวมการประชุม เชิงปฏิบัติการ และการประกาศเจตนารมณให้สังคมได้รับทราบถึงความมุงมั่นของภาคการบินในการปกปอง คุมครองสิ่งแวดลอม ( 4 )
สารบัญ 1. บทนํา (Introduction) ----------------------------------------------------------------------------------------------- 1 2. ขอบขาย (Scope) ---------------------------------------------------------------------------------------------------- 1 3. มาตรฐานอางอิง (Normative reference)------------------------------------------------------------------------ 1 4. ศัพทและนิยามศัพท (Terms and definitions) ----------------------------------------------------------------- 2 5. บริบทของสนามบิน ( Context of the airport) ------------------------------------------------------------------ 3 6. นโยบายสิ่งแวดลอม ( Environmental policy) ------------------------------------------------------------------ 4 7. บทบาท ความรับผิดชอบ และอํานาจหน้าที่ในระบบการจัดการสิ่งแวดลอมสนามบิน ----------------------- 5 (Role responsibilities and authorities in airport EMS ) 8. กฎหมายและขอกําหนดอื่นๆ ( Legal and other requirements) -------------------------------------------- 5 9. การระบุประเด็นดานสิ่งแวดลอม ( Environmental aspects identification)------------------------------- 6 10. โปรแกรมดานสิ่งแวดลอม ( Environmental Program)--------------------------------------------------------- 6 11. การควบคุมการปฏิบัติการ ( Operation control) ---------------------------------------------------------------- 7 12 เอกสารสารสนเทศ ( Documented information) -------------------------------------------------------------- 7 13 การจัดการขอรองเรียน (Complaint handling) ----------------------------------------------------------------- 9 14 การประเมินความสอดคลองและสมรรถนะดานสิ่งแวดลอม (Evaluation of compliance and environmental performance)------------------------------------------------------------------------------------ 9 15 การตรวจประเมินภายใน (Internal Audit) --------------------------------------------------------------------- 10 16 สิ่งที่ไม่เป็นไปตามขอกําหนดและการปฏิบัติการแกไข (Nonconformities and corrective action) ------- 11 17 การทบทวนฝ่ายบริหาร (Management review) -------------------------------------------------------------- 12 ภาคผนวก ก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 13 ภาคผนวก ข --------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 27 (5)
ขอตกลงรวม 4003 -2565 ขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ แนวทาง สําหรับ ระบบการจัดการสิ่งแวดลอมสนามบิน 1. บทนํา (Introduction) สนามบินจัดเป็นโครงสรางพื้นฐานในสวนระบบการขนสงทางอากาศ ซึ่งถือวาเป็นระบบที่ขับเคลื่อน เศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศไทย ปจจุบันสนามบินสาธารณะในประเทศไทยมีทั้งหมด 39 สนามบิน และในชวง ทศวรรษที่ผานมา ได้มีโครงการพัฒนาปรับปรุงขยายสนามบินที่มีอยู่อยางต่อเนื่อง รวมทั้งยังมีโครงการที่จะกอสราง สนามบินแห่งใหมในอนาคต เพื่อรองรับการเติบโตของจํานวนผู้โดยสาร ความต้องการการขนสงทางอากาศ และ ตอบสนองต่อนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย การเติบโตอยางรวดเร็วของภาคการบิน สะทอนได้จากจํานวนและขนาดความสามารถในการรองรับของ สนามบิน ซึ่งกิจกรรมหรือดําเนินการของสนามบิน เชน การปฏิบัติการบิน การซอมบํารุงอากาศยาน การให้บริการ ผู้โดยสาร อาจกอให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมหรือผลกระทบสิ่งแวดลอม ได้แก การเกิดไอเสีย ฝุนควัน การเกิดน้ําเสียและการปนเปอนในแหลงน้ําธรรมชาติ การเกิดขยะหรือเสียงดังจากการปฏิบัติการบินของอากาศ ยาน ซึ่งนอกจากจะเป็นปญหาต่อสิ่งแวดลอม ความสอดคลองต่อ กฎ ระเบียบ หรือมาตรฐานแล้ว ยังสงผลต่อ ภาพลักษณและการยอมรับทางสังคม ซึ่งจะเป็นอุปสรรคต่อการดําเนินการของสนามบิน ดังนั้นเพื่อให้การพัฒนา ทางดานเศรษฐกิจเป็นไปอยางยั่งยืน สนามบินจึงจําเป็นต้องคํานึงถึงสังคม รวมถึงการดูแลรักษาสิ่งแวดลอมควบคู่ ไปด้วย 2. ขอบขาย (Scope) ขอตกลงรวมการประชุมเชิงปฏิบัติการนี้ ให้แนวทางสําหรับการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมของสนามบิน โดย ครอบคลุมสนามบินสาธารณะ ซึ่งเป็นสนามบินอนุญาตภายใตกฎหมายการเดินอากาศ 3. มาตรฐานอางอิง (Normative r eference) ไม่มี -1-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 4. ศัพทและนิยามศัพท (Terms and d efinition) ความหมายของคําที่ใชในเอกสารนี้ มีดังต่อไปนี้ 4.1 Environmental aspect Activities, operations or services of the airport that interacts or can interact with the environment. An environmental aspect can cause (an) environmental impact (s) 4.2 Environmental impact Adverse change to the environment wholly or partially resulting from the airport 4.3 Environmental program Approach, plan, action plan, or measure which indicate specific procedure in order to control environmental aspect or promote environmental procedure of the Airport 4.4 Significant environmental aspect The appraisal outcome resulted from environmental aspect by applying the criteria at significant level. 4.5 Significant environmental impact The important environmental adverse impact resulted from significant environmental aspect. 4.6 Sensitive area Area, including the component of those areas vulnerable to change as a result of negative environmental impacts, both direct and indirect. 4.7 Internal Audit The evaluation of AIRPORT EMS by an airport personnel auditor in order to ensure that the activities related to AIRPORT EMS are implemented properly and efficiently. 4.1 ประเด็นดานสิ่งแวดลอม กิจกรรม การปฏิบัติการ หรือการบริการของ สนามบิน ที่มีปฏิสัมพันธหรือสามารถมีปฏิสัมพันธ กับสิ่งแวดลอมและประเด็นทางดานสิ่งแวดลอมนี้ สามารถเป็นเหตุให้เกิดผลกระทบสิ่งแวดลอมได้ 4.2 ผลกระทบดานสิ่งแวดลอม การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมที่เป็นไปในทางที่ เป็นผลเสีย ไม่วาจะเป็นบางสวนหรือทั้งหมด ซึ่ง เกิดมีสาเหตุมาจากสนามบิน 4.3 โปรแกรมสิ่งแวดลอม วิธีการ แผน แผนปฏิบัติการหรือมาตรการที่ สนามบินกําหนดเพื่อควบคุมประเด็นทางดาน สิ่งแวดลอมหรือสงเสริมการดําเนินการดาน สิ่งแวดลอมของสนามบิน 4.4 ประเด็นดานสิ่งแวดลอมที่มีนัยสําคัญ ผลลัพธจากการประเมินประเด็นทางดำน สิ่งแวดลอมโดยใชเกณฑที่กําหนด ซึ่งได้ผลอยู่ใน ระดับที่มีนัยสําคัญ 4.5 ผลกระทบดานสิ่งแวดลอมที่มีนัยสําคัญ ผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอมในทางที่เป็นผลเสีย ที่สําคัญ ซึ่งเป็นผลสืบเนื่อง มาจากประเด็น สิ่งแวดลอมที่มีนัยสําคัญ 4.6 พื้นที่ออนไหว พื้นที่หรือองคประกอบในพื้นที่มีความเปราะบาง และไวต่อการเปลี่ยนแปลงในเชิงลบ จาก ผลกระทบทางสิ่งแวดลอมทั้งทางตรง และทางออม 4.7 การตรวจติดตามภายใน การตรวจสอบระบบ AIRPORT EMS ของสนามบิน โดยผู้ตรวจติดตาม เป็นบุคลากรภายในสนามบิน ซึ่งเป็นการดําเนินการตามขอกําหนด AIRPORT EMS โดยมีวัตถุประสงคเพื่อให้มั่นใจวาทุกกิจกรรม -2-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 4.8 Nonconformity A procedure/process or action that does not meet the AIRPORT EMS requirements 4.9 Corrective action Activity taken to reduce a nonconformity or other undesirable situation in order to prevent the nonconformity from recurring ที่เกี่ยวของกับระบบ AIRPORT EMS ได้มีการนําไป ปฏิบัติอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 4.8 สิ่งที่ไม่เป็นไปตามขอกําหนด กระบวนการหรือกิจกรรมที่ไม่สอดคลอง หรือไม่ เป็นไปตามที่ AIRPORT EMS กําหนดไว 4.9 การแกไขที่สาเหตุ การดําเนินการเพื่อขจัดสาเหตุของสิ่งที่ไม่เป็นไป ตามขอกําหนดหรือสถานการณที่ไม่พึงประสงคอื่น ๆ เป็นการดําเนินการแกไขเพื่อไม่ให้เกิดขึ้นอีก 5. บริบทของสนามบิน ( Context of the a irport) The Airport Environmental Management System (AIRPORT EMS) shall be designed and implemented to meet the specific needs of the airport, taking into account its significant environmental impacts, legal and other requirements, activities and business environments. 5.1 Airport Contexts The Airport shall determine: a. All relevant components affecting its EMS. b. General information such as location, physical environment, number of flights with type of aircraft, and flight-handling and passenger- handling capacity. c. Management information such as organizational structure and business structure. d. Technical aviation information affecting EMS such as Aeronautical Information Publication (AIP), Noise Abatement Departure Procedure (NADP), significant environmental aspects and sensitive area. e. Legal and other requirements, consisting of all mandatory requirements, for example, applicable environmental laws and regulations, ระบบการจัดการสิ่งแวดลอมสนามบินต้องถูกออกแบบ และนําไปปฏิบัติให้เป็นไปตามขอกําหนดเฉพาะของ สนามบินโดยต้องคํานึงถึงผลกระทบดานสิ่งแวดลอมที่มี นัยสําคัญ กฎหมายและขอกําหนดอื่น ๆ กิจกรรมและ สิ่งแวดลอมทางธุรกิจ 5.1 บริบทของสนามบิน สนามบินต้องพิจารณา ก. องคประกอบทั้งหมดที่เกี่ยวของที่มีผลกระทบ ต่อระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ข. ขอมูลทั่วไป เชน ที่ตั้ง สิ่งแวดลอมทางกายภาพ จํานวนเที่ยวบินและประเภทของเครื่องบิน และ ความสามารถในการรองรับเที่ยวบินและผู้โดยสาร ค. ขอมูลการจัดการ เชน โครงสรางองคกรและ โครงสรางธุรกิจ ง. ขอมูลทางเทคนิคการบินที่สงผลต่อระบบการจัดการ สิ่งแวดลอม เชน เอกสารแถลงขาวการบิน วิธี ปฏิบัติการบินที่ลดเสียง ประเด็นดานสิ่งแวดลอมที่ มีนัยสําคัญและพื้นที่ออนไหว จ. ขอกําหนดทางกฎหมายและขอกําหนดอื่น ๆ ซึ่งประกอบด้วยขอกําหนดแบบบังคับทั้งหมด เชน กฎหมายและขอบังคับดานสิ่งแวดลอมที่บังคับใช -3-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 aviation standards under ICAO and national aviation regulations requirement from civil authority and government and voluntary commitments (if applicable), such as contractual relationship, agreements with community groups or non- governmental organizations. มาตรฐานการบินภายใต ICAO และกฎ ระเบียบ หรือ ขอบังคับดานการบินของประเทศ และ ขอกําหนดของหนวยงานอนุญาตทางดานการบิน และหนวยงานราชการ และ ขอตกลงโดยสมัครใจ (ถามี) เชน ความสัมพันธตามสัญญา ขอตกลงกับ กลุ่มชุมชนหรือองคกรนอกภาครัฐ 5.2 Scope and boundary - The airport shall determine the boundaries and applicability of its AIRPORT EMS in order to establish its scope. - The scope of the AIRPORT EMS shall include activities, processes, services, and physical boundaries. 5.2 ขอบขายและขอบเขต - สนามบินต้องกําหนดขอบขายในการจัดทําระบบการ จัดการสิ่งแวดลอมโดยพิจารณาขอบเขตและการ ประยุกตใชระบบการจัดการสิ่งแวดลอม - ขอบขายของระบบการจัดการสิ่งแวดลอมต้องรวมถึง กิจกรรม กระบวนการ บริการ และขอบเขตทาง กายภาพ 5.3 Aviation Safety Concerns - The airport shall ensure that AIRPORT EMS will not conflict or affect aviation safety. - In case of conflicts between AIRPORT EMS and aviation safety arose, the airport shall ensure that aviation safety is the priority cannot be compromised. - The related document in this process shall be retained 5.3 ความปลอดภัยดานการบิน - สนามบินต้องมั่นใจวาระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ต้องไม่ขัดแยงหรือสงผลกระทบต่อความปลอดภัย ดานการบิน - ในกรณีที่มีการขัดแยงระหวางระบบการจัดการ สิ่งแวดลอมและความปลอดภัยดานการบินเกิดขึ้น สนามบินต้องมั่นใจวาความปลอดภัยในการบินเป็น สิ่งสําคัญอันดับแรกโดยไม่ประนีประนอม - เอกสารที่เกี่ยวของกับกระบวนการนี้ต้องได้รับ การรักษาไว 6. นโยบายสิ่งแวดลอม (Environmental policy) 6.1 Environmental policy shall be established by the top management of the airport or the organization and shall be maintained as documented information. 6.2 The Environmental policy shall: a. Demonstrate that the airport will be operated in accordance with the laws and relevant standards; 6.1 นโยบายสิ่งแวดลอมต้องมาจากผู้บริหารระดับสูง ของสนามบินหรือขององคกรและต้องจัดทําเป็น เอกสารสารสนเทศ 6.2 นโยบายสิ่งแวดลอม ต้อง ก . แสดงให้เห็นวาสนามบินจะดําเนินการให้สอดคลอง กับกฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวของ - 4 -
ขอตกลงรวม 4003 -2565 b. Demonstrate its determination to prevent, control, mitigate and treat pollution that associated with significant environmental aspects of the airport. c. Be communicated to all person working for or on behalf of the airport; d. Be made available to the public ข . แสดงให้เห็นวามีการปองกัน ควบคุม บรรเทา บํำ บั ด ม ล พิ ษ ซึ่ ง สั ม พั น ธ กั บ ป ร ะ เ ด็ น ดำ น สิ่งแวดลอมที่มีนัยสําคัญของสนามบิน ค . ได้รับการสื่อสารให้บุคลากรทุกคนของสนามบิน หรือบุคลากรที่ทํางานในนามของสนามบิน ง. เปดเผยต่อสาธารณะ 7. บทบาท ความรับผิดชอบ และอํานาจหน้าที่ในระบบการจัดการสิ่งแวดลอมสนามบิน ( Role r esponsibilities and authorities in airport EMS) 7.1 Top manage ment shall provide necessary resources to effectively implement the AIRPORT EMS. 7.2 Top management shall designate or appoint the person(s) responsible for AIRPORT EMS coordination. 7 .3 T he responsibilities and authorities for relevant roles shall be clearly assigned, documented and communicated within the airport . 7 .1 ผู้บริหารระดับสูงต้องจัดหาทรัพยากรที่จําเป็นเพื่อ การจัดทําระบบการจัดการสิ่งแวดลอมที่มี ประสิทธิผล 7.2 ผู้บริหารระดับสูงต้องมอบหมายบุคคลหรือกลุ่ม บุคคลสําหรับการประสานงานระบบการจัดการ สิ่งแวดลอม 7.3 ความรับผิดชอบและอํานาจหน้าที่สําหรับบทบาท ที่เกี่ยวของต้องมีการมอบหมายอยางชัดเจน จัดทํา เป็นเอกสารและสื่อสารภายในสนามบิน 8. กฎหมายและขอกําหนดอื่นๆ ( Legal and other requirements ) 8.1 The airport shall: a. Implement and maintain a process to identify, have access to, and assess the applicable legal other requirements related to environment; b. Ensure that these applicable legal and other requirements are taken into account in implementing and maintaining the AIRPORT EMS; c. Document this information and keep it up to date. 8.1 สนามบินต้อง ก . จัดทําและรักษาไวซึ่งกระบวนการในการชี้บง เขาถึงและประเมิน กฎหมายและขอกําหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม ข . มั่นใจวากฎหมายและขอกําหนดอื่น ๆ ได้รับการ ดําเนินการและรักษาไวในระบบการจัดการ สิ่งแวดลอม ค . จัดทําขอมูลที่เกี่ยวของเป็นเอกสาร และปรับปรุง ให้เป็นปจจุบัน -5-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 9. การระบุประเด็นดานสิ่งแวดลอม ( Environmental aspects identification ) 9 .1 The airport sh all determine the environmental aspects of its activities, and services that it can control and their associated environmental impacts. 9.2 The airport shall determine those aspects that have or can have a significant environmental impact by using established criteria. Note 1) Annex 1 Environmental Risk Assessment & Risk Treatment for AIRPORT EMS is suggested to be applied as the criteria for determining the environmental aspects of AIRPORT EMS. 2) The environmental mitigation measures identified by the Airport’s environmental report as environmental obligation is strongly recommended as input for this process. 9.3 The airport shall communicate its significant environmental aspects among the various levels and functions of the airport, as appropriate. 9 .4 The airport shall maintain documented information of its: a. Environmental aspects and associated environmental impacts; b. Criteria used to determine its significance environmental aspects; c. Significance environmental aspects. 9.1 สนามบินต้องระบุประเด็นดานสิ่งแวดลอมของ กิจกรรม และบริการ ที่สนามบินสามารถควบคุม ได้ และผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมที่สัมพันธกันกับ ประเด็นดานสิ่งแวดลอมดังกลาว 9.2 สนามบินต้องกําหนดประเด็นที่มีหรืออาจมี ผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมที่มีนัยสําคัญ โดยใช เกณฑที่กําหนด หมายเหตุ 1) ภาคผนวก ก การประเมินความเสี่ยง และการควบคุมความ เสี่ยงสําหรับ AIRPORT EMS ซึ่งได้แนะนําให้ใชเป็นเกณฑ สําหรับพิจารณาประเด็นดานสิ่งแวดลอมของระบบการจัดการ สนามบิน 2) มาตรการบรรเทาผลกระทบสิ่งแวดลอมซึ่งระบุไวในรายงาน ดานสิ่งแวดลอมของสนามบินถือเป็นสิ่งที่สําคัญอยางยิ่งที่ต้อง นํามาพิจารณาในกระบวนการนี้ 9.3 สนามบินต้องสื่อสารประเด็นดานสิ่งแวดลอมที่มี นัยสําคัญให้หนวยงานของสนามบินในแต่ระดับ ทราบตามความเหมาะสม 9 .4 สนามบินต้องเก็บรักษาขอมูลดังต่อไปนี้ไวเป็น เอกสารสารสนเทศ ก . ประเด็นดานสิ่งแวดลอมและผลกระทบดาน สิ่งแวดลอมที่สัมพันธกัน ข . เกณฑซึ่งใชในการพิจารณาประเด็นดาน สิ่งแวดลอมที่มีนัยสําคัญ ค. ประเด็นดานสิ่ง แวดลอมที่มีนัยสําคัญ 10. โปรแกรมดานสิ่งแวดลอม ( Environmental Program) 10.1 The airport shall deal with the significance environmental aspect by establishing environmental programs at relevant functions. 10.2 The environmental program shall be: a. Consistent with the environmental policy; 10.1 สนามบินต้องจัดการกับประเด็นดานสิ่งแวดลอม ที่มีนัยสําคัญโดยจัดทําโปรแกรมดานสิ่งแวดลอม ขึ้นในหนวยงานที่เกี่ยวของ 10.2 โปรแกรมดานสิ่งแวดลอมต้อง ก. สอดคลองกับนโยบายสิ่งแวดลอม -6-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 b. Measurable (if practicable); c. Monitored; d. Communicated; e. Updated as appropriate; f. Approved by the management. 10.3 Environmental program shall consist of: a. Objective b. Person in charge c. Timeline d. Resources needed 10 .4 The airport shall develop series of action plans that can be integrated into its business process to achieve the intended outcome of the environmental program. ข. สามารถวัดผลได้ (กรณีที่สามารถปรับใชได้) ค. ได้รับการตรวจติดตาม ง. ได้รับการสื่อสาร จ. ได้รับการปรับปรุงตามความเหมาะสม ฉ. ได้รับการอนุมัติจากระดับบริหาร 10.3 โปรแกรมดานสิ่งแวดลอมต้องประกอบด้วย ก. วัตถุประสงค ข. ผู้รับผิดชอบ ค. กรอบเวลา (วันเริ่มตนและกําหนดเสร็จ) ง. ทรัพยากรที่จําเป็น 10 .4 สนามบินต้องพัฒนาแผนการปฏิบัติ โดยสามารถ บูรณาการเขากับกระบวนการทางธุรกิจของ สนามบินเพื่อบรรลุถึงผลลัพธที่ต้องการของ โปรแกรมดานสิ่งแวดลอม 11. การควบคุมการปฏิบัติการ ( Operation control) 11.1 The airport shall establish, implement, control and maintain the processes needed to meet AIRPORT EMS by: a. Establishing operating criteria for the process(es); b. I mplementing control of the process(es), in accordance with the operating criteria. 11.1 สนามบินต้องจัดทํา นําไปปฏิบัติ ควบคุมและ รักษากระบวนการที่จําเป็นต่อระบบการจัดการ สิ่งแวดลอม โดย ก . จัดทําเกณฑสําหรับการควบคุมกระบวนการ ข. ควบคุมกระบวนการ ให้สอดคลองตามเกณฑ 12. เอกสารสารสนเทศ ( Documented information) 12.1 AIRPORT EMS shall include: a. Documented information required by AIRPORT EMS. b. Documented information determined by the airport as being necessary for the effectiveness of AIRPORT EMS. 12.2 Creating and updating 12.1 ระบบการจัดการสิ่งแวดลอมสนามบินต้องรวมถึง ก. เอกสารสารสนเทศที่กําหนดไวในเอกสารนี้ ข. เอกสารสารสนเทศที่สนามบินพิจารณาแล้ววา จําเป็นสําหรับประสิทธิผลของระบบจัดการ สิ่งแวดลอมสนามบิน 12.2 การจัดทําและปรับปรุงเอกสารสารสนเทศ เมื่อจัดทําและปรับปรุงเอกสารสารสนเทศ สนามบินต้องมั่นใจถึงความเหมาะสม ของ -7-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 When creating and updating documented information, the airport shall ensure appropriate: a. Identification and description (e.g. a title, date, author, or reference number); b. Format (e.g. language, software version, graphics) and media (e.g. paper, electronic); c. Review and approval. 12.3 Control of documented information For the control of documented information, the airport shall ensure that documented information required in AIRPORT EMS are: a. Available and suitable for use, where and when it is needed. b. Adequately protected (e.g. from loss of confidentiality, improper use, or loss of integrity) Note: 1) The airport can address control of documented information through the following activities as applicable: - Distribution, access, retrieval and use. - Storage and preservation. - Retention and disposition. 2) External origin determined by the airport for AIRPORT EMS shall be identified appropriately and be controlled. ก. การชี้บง และคําอธิบาย (เชน ชื่อเอกสาร วันที่ ผู้กําหนด หรือหมายเลขอางอิง) ข. รูปแบบ (เชน ภาษา รุนซอฟแวร กราฟก) และ สื่อ (เชน กระดาษ อิเล็กทรอนิกส) ค. การทบทวนและอนุมัติ 12.3 การควบคุมเอกสารสารสนเทศ สําหรับการควบคุมเอกสารสารสนเทศ สนามบิน ต้องมั่นใจวาเอกสารสารสนเทศที่จําเป็นสําหรับระบบ การจัดการสิ่งแวดลอมต้อง ก. มีพรอมและเหมาะสําหรับการใชงาน ข. ได้รับการปกปองอยางเพียงพอ (เชน การสูญเสีย ความลับ นําไปใชอยางไม่เหมาะสม หรือขาด ความสมบูรณ) หมายเหตุ 1) สําหรับการควบคุมเอกสารสารสนเทศ สนามบินสามารถ ดําเนินการในกิจกรรมเหลานี้ ตามความเหมาะสม : - การแจกจาย การเขาถึง การเรียกใช และการใชงาน - การจัดเก็บและการเก็บรักษา - ระยะเวลาการจัดเก็บและการกําจัด 2) เอกสารสารสนเทศจากภายนอกที่ จําเป็นสําหรับระบบ การจัดการสิ่งแวดลอมต้องได้รับการชี้บง อยางเหมาะสม และได้รับการควบคุม -8-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 13. การจัดการขอรองเรียน ( Complaint handling ) 13 .1 The airport shall establish, implement and maintain procedure for complaint handling which related to environment. 13.2 The procedure for complaint handling shall be documented and it shall at least consist of: a. complaint channel; b. Process and procedures; c. Responsible person or functions; d. Appropriate response timeframe. The related document in this process shall be retained. 13.1 สนามบินต้องจัดทํา นําไปปฏิบัติและรักษาไว ซึ่งขั้นตอนการปฏิบัติงานสําหรับการจัดการ ขอรองเรียนที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม 13.2 ขั้นตอนการปฏิบัติการสําหรับการจัดการขอ รองเรียนต้องจัดทําเป็นเอกสารสารสนเทศและ ต้องมีรายละเอียดอยางนอยดังต่อไปนี้ ก . ชองทางการรองเรียน ข . ขั้นตอน ค . ผู้รับผิดชอบหรือหนวยงานรับผิดชอบ ง . ระยะเวลาในการตอบสนองต่อขอรองเรียน อยางเหมาะสม เอกสารสารสนเทศที่เกี่ยวของกับกระบวนการ ดังกลาวต้องได้รับการเก็บรักษาไว 14. การประเมินความสอดคลองและสมรรถนะดานสิ่งแวดลอม ( Evaluation of compliance and environmental performance ) 1 4 .1 Evaluation of compliance with legal and other requirements. The airport shall evaluate the compliance at least once a year and keep records of the results. 1 4 .2 Evaluation of environmental performance The airport shall monitor and evaluate its environmental performance. The airport shall determine: a. What needs to be monitored and measured (if applicable); b. The monitoring process, i.e. to whereby considering to include methods for monitoring, monitoring, 14.1 การประเมินความสอดคลองกับกฎหมายและ ขอกําหนดอื่นๆ สนามบินต้องประเมินความสอดคลองกับ กฎหมายและขอกําหนดอื่นๆอยางนอยปละหนึ่ง ครั้งและต้องเก็บผลของการประเมินไวเป็น เอกสารสารสนเทศ 1 4 .2 การประเมินสมรรถนะดานสิ่งแวดลอม สนามบินต้องติดตามและประเมินสมรรถนะดาน สิ่งแวดลอม สนามบินต้องกําหนด ก . สิ่งที่จําเป็นต้องติดตามและตรวจวัด (ถามี) -9-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 measuring, analyzing, as well as the frequency, so as to ensure that the results are valid; c. the criteria against which the airport shall evaluate its environmental performance, and appropriate indicators (if applicable) The airport shall evaluate its environmental performance and the effectiveness of the environmental management system. The airport shall retain appropriate documented information as evidence of the monitoring, and evaluation results. ข. กระบวนการติดตามโดยพิจารณาถึงวิธีการติดตาม การตรวจวัด วิเคราะห เวลา และความถี่ เพื่อให้ได้ ผลลัพธที่ถูกต้อง ค . เกณฑที่ซึ่งองคกรใชในการประเมินสมรรถนะ ดานสิ่งแวดลอม โดยใชตัวชี้บงที่เหมาะสม (ถามี) สนามบินต้องประเมินสมรรถนะดานสิ่งแวดลอมและ ประสิทธิผลของระบบการจัดการสิ่งแวดลอม สนามบินต้องเก็บรักษาเอกสารสารสนเทศเป็นหลักฐาน ของการเฝาระวัง การตรวจวัด การวิเคราะหและการ ประเมินผล 15. การตรวจประเมินภายใน (Internal a udit) 15.1 The airport shall ensure that internal audits of AIRPORT EMS are conducted at planned intervals to determine whether AIRPORT EMS has been properly implemented and maintained. 15.2 Audit program(s) shall take into consideration the environmental importance of the operation(s) concerned and the results of previous audits. 15.3 Audit program shall include the responsibilities, audit criteria, scope, frequency and methods. 15 .4 The airport shall select auditors to conduct the audits to ensure objectivity and impartiality of the audit process. 15.1 สนามบินต้องดําเนินการตรวจประเมินภายใน ตามชวงเวลาที่วางแผนไวเพื่อพิจารณาวาระบบ การจัดการสิ่งแวดลอมมีการนําไปปฏิบัติและ รักษาไวอยางเหมาะสม 15.2 แผนการตรวจประเมินภายในต้องพิจารณาถึง ความสําคัญของการดําเนินการที่เกี่ยวของกับ สิ่งแวดลอมและผลของการตรวจประเมินภายใน กอนหน้า 15.3 แผนการตรวจประเมินภายในต้องรวมถึง ผู้รับผิดชอบ เกณฑการประเมิน ขอบขาย ความถี่ และวิธีการ 15 .4 สนามบินต้องคัดเลือกผู้ตรวจประเมินและทํา การตรวจประเมินเพื่อให้มั่นใจวากระบวนการตรวจ ประเมินเป็นไปตามวัตถุประสงคและมีความเป็นกลาง 15.5 สนามบินต้องมั่นใจวาผลการตรวจประเมิน ได้ถูกรายงานสูระดับผู้บริหารที่เกี่ยวของ -10-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 15.5 The airport shall ensure that the results of the audits are reported to relevant management. The airport shall retain documented information as evidence of the implementation of the audit program and the audit results. สนามบินต้องเก็บรักษาเอกสารสารสนเทศเป็นหลักฐาน ของการปฏิบัติตามแผนการตรวจและผลการตรวจ ประเมิน 16. สิ่งที่ไม่เป็นไปตามขอกําหนดและการปฏิบัติการแกไข (Nonconformities and corrective action) 16.1 When a nonconformity occurs, the airport shall: a. React to the nonconformity and, as applicable: 1) Take action to control and correct it; 2) Deal with consequences, including mitigating adverse environmental impacts. b. Investigate the cause of non-conformity and evaluated the need for action to eliminate the causes of the non-conformity (corrective action) in order that it does not recur or occur elsewhere, by: 1) Reviewing the nonconformity; 2) Determining the causes of non-conformity; 3) Determining if similar non-conformities exist, or could potentially occur; c. Implement any action needed d. Review the effectiveness of any corrective action taken; e. Make change to AIRPORT EMS, if necessary. 12.2 Corrective actions shall be appropriate to the significance of the effects of the non- 16.1 เมื่อพบสิ่งที่ไม่เป็นไปตามขอกําหนด สนามบิน ต้อง: ก . ตอบสนองต่อสิ่งที่ไม่เป็นไปตามขอกําหนดเทาที่ สามารถทําได้ และ 1) ดําเนินการควบคุมและแกไข 2) จัดการกับผลที่ตามมารวมถึงการบรรเทา ผลกระทบสิ่งแวดลอม ข . หาสาเหตุและของสิ่งที่ไม่เป็นไปตามขอกําหนด และประเมินความจําเป็นสําหรับการดําเนินการใด ๆ เพื่อกําจัดสาเหตุของสิ่งที่ไม่เป็นไปตาม ขอกําหนด เพื่อไม่ให้เกิดซ้ํา หรือเกิดขึ้นที่อื่น ๆ โดย 1) ทบทวนสิ่งที่ไม่เป็นไปตามขอกําหนด 2) พิจารณาบงชี้สาเหตุของสิ่งที่ไม่เป็นไปตาม ขอกําหนด 3) พิจารณาวามีสิ่งที่ไม่เป็นไปตามขอกําหนด ที่คลายคลึงกันอยู่ หรืออาจมีโอกาสเกิด ค . ดําเนินการปฏิบัติการใด ๆ ที่จําเป็น ง . ทบทวนประสิทธิผลของการปฏิบัติการแกไขที่ ได้กระทํา จ . ทําการเปลี่ยนแปลงระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ถาจําเป็น 12.2 กำ ร ดํำ เ นิ น กำ ร แ ก ไ ข ต อ ง เ ห มำ ะ ส ม กั บ ความสําคัญของผลกระทบของสิ่งที่ไม่เป็นไป -11-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 conformities encountered, including the environmental impact(s) The airport shall retain documented information as evidence of: - the nature of the nonconformities and any subsequent actions taken; - the results of any corrective action. ตำ ม ข อ กํำ ห น ด ร ว ม ถึ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ดำ น สิ่งแวดลอม สนามบินต้องเก็บรักษาเอกสารสารสนเทศไวเป็น หลักฐานของ - ลักษณะของสิ่งที่ไม่เป็นไปตามขอกําหนดและ ผลสืบเนื่อง - ผลของการปฏิบัติการแกไขใด ๆ 17. การทบทวนฝ่ายบริหาร (Management r eview) 17.1 Top management shall review AIRPORT EMS at least once a year to ensure its suitability, continuity and effectiveness. The information to be considered under the management review shall at least consist of: a. The current significant environmental aspect of the Airport; b. The operational summary of complaints related to environment; c. Non-conformity and corrective action; d. Conflict and potential conflict of AIRPORT EMS and aviation safety; e. The result of compliance and environmental performance evaluation. 17.2 Top management shall take action to rectify and eliminate challenges and barriers in order to maintain AIRPORT EMS. 17.3 The airport shall retain documented information as evidence of the results of management reviews 17.1 ผู้บริหารระดับสูงต้องทบทวนระบบการจัดการ สิ่งแวดลอมของสนามบิน อยางนอยปละ 1 ครั้ง เพื่อให้มั่นใจถึงความเหมาะสมอยางต่อเนื่อง เพียงพอและมีประสิทธิผล การทบทวนฝ่าย บริหารอยางนอยต้องรวมถึงการพิจารณา ก . ประเด็นดานสิ่งแวดลอมที่มีนัยสําคัญที่เป็น ปจจุบัน ข . ผลสรุปของการดําเนินการขอรองเรียนเกี่ยวกับ สิ่งแวดลอม ค . สิ่งที่ไม่เป็นไปตามขอกําหนดและการดําเนินการ แกไข ง . ขอขัดแยงและสิ่งที่อาจเป็นขอขัดแยงระหวาง ระบบการจัดการสิ่งแวดลอม และความ ปลอดภัยของสนามบิน จ . ผลการประเมินความสอดคลองและสมรรถนะ ดานสิ่งแวดลอม 17.2 ผู้บริหารระดับสูงต้องตัดสินใจและดําเนินการใด ๆ เพื่อแกไขและกําจัดความทาทายและอุปสรรค เพื่อให้ระบบการจัดการสิ่งแวดลอมดําเนินการ ต่อไปได้ 17.3 สนามบินต้องเก็บรักษาเอกสารสารสนเทศเป็น หลักฐานของผลการทบทวนฝ่ายบริหาร -12-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 ภาคผนวก ก (ขอกําหนด) การประเมินความเสี่ยงดานสิ่งแวดลอมและการจัดการความเสี่ยง Environmental risk assessment & risk treatment for AIRPORT EMS Environmental Risk Assessment and Risk Treatment To perform environmental aspect identification as per the requirement number 5 of AIRPORT EMS, this document (Annex A: Environmental risk Assessment & risk treatment of AIRPORT EMS) shall be used to identify and evaluate the potential impact or damage to environment by using Risk -Based Analysis concept. The 5 steps of risk assessment and risk treatment are: (1) Defining airport’s activities by listing all activities/operational processed in AIRPORT EMS scope, (2) Identification of environmental aspects is to determine the possible environmental issues resulting from those activities, in normal situation, defined in early step, (3) Environmental risk analysis is to quantify “Risk” to the environment by considering the environmental aspect(s) identified against the criteria, and (4) Risk evaluation is to prioritize and classify the risk magnitude from the analysis or assessment. (5) Risk treatment where the airport could put forward preventive, control and mitigation การประเมินความเสี่ยงดานสิ่งแวดลอมและการจัดการ ความเสี่ยง ในการระบุประเด็นดานสิ่งแวดลอม ตามขอกําหนด ขอ ที่ 5 ของ AIRPORT EMS เอกสารฉบับนี้ ( การประเมิน ความเสี่ยงทางดานสิ่งแวดลอมและการควบคุมความ เสี่ยงของ AIRPORT EMS ตามภาคผนวก ก ) นี้เป็นไป เพื่อระบุและประเมินศักยภาพในการเกิดผลกระทบต่อ สิ่งแวดลอมของประเด็นดานสิ่งแวดลอม โดยใช หลักการของการวิเคราะหความเสี่ยงขั้นตอนในการ ประเมินความเสี่ยงทางดานสิ่งแวดลอม การควบคุมความเสี่ยงมี 5 ขั้นตอนประกอบด้วย (1) กําหนดกิจกรรมของสนามบิน โดยจัดทําบัญชี พิจารณาจากกิจกรรมที่เกิดขึ้นในสนามบินหรือตาม กระบวนการการทํางานตามขอบขายของ ระบบการ จัดการสิ่งแวดลอมสนามบิน (2) ระบุประเด็นดานสิ่งแวดลอม โดยพิจารณาวา กิจกรรมของสนามบินตามที่ได้วิเคราะหไวในขั้นตอนที่ 1 วามีโอกาสจะเกิดปญหาสิ่งแวดลอมอยางไรใน สถานการณปกติ (3) วิเคราะหความเสี่ยงทางดานสิ่งแวดลอม คือการ วิเคราะห และจัดทําความเสี่ยงของประเด็นปญหา สิ่งแวดลอมให้เป็นเชิงปริมาณโดยพิจารณาจาก ประเด็นปญหาสิ่งแวดลอมที่ได้จากการวิเคราะหเทียบ กับเกณฑที่ได้จัดทําไว ( 4) ประเมินความเสี่ยง โดยจัดเรียงลําดับและจัดกลุ่ม ขนาดความเสี่ยงและจากนั้นจึงเป็นการควบคุมความเสี่ยง (5) ควบคุมความเสี่ยง ซึ่งจะทําให้สนามบินสามารถ นําเสนอมาตรการปองกัน ควบคุม และ/หรือลดความ -13-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 measures to manage those environmental risk to the acceptable level. The environmental aspect identification and risk assessment is described in details from Step 1 to Step 5 as follows Step 1 : Defining airport’s activities This step is to understand the context of the airport and the activity. All of operations in the airport need to be listed and then break down into activities under each operation. Table 1 (below) is recommended to use as guidance to define the airport’s activities. Step 2 : Identification of environmental aspects This step is to identify the environmental aspects of each of the activities listed in step 1 which may potentially give adverse effect(s) to environment. Environmental aspects for AIRPORT EMS can be divided into two categories based on the effects they have: (1) Environmental aspects that lead to pollution; (2) Environmental aspects that lead to the depletion of natural resources. The annex to this guideline instructs airports to prioritize environmental aspects that lead to pollution in a comprehensive manner. On the other hand, the airport can also appropriately associate environmental aspects that lead to natural resource depletion. รุนแรงของผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น เพื่อจัดการความ เสี่ยงทางดานสิ่งแวดลอม ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ต่อไป ขั้นตอนทั้งหมดตั้งแต่ขั้นตอนที่ 1 ถึง 5 มีรายละเอียด ดังนี้ ขั้นตอน 1 : กําหนดกิจกรรมของสนามบิน ในขั้นตอนนี้เป็นกําหนดกิจกรรมของสนามบิน โดยแบงประเภทของปฏิบัติการตาง ๆ ของสนามบิน และจําแนกออกมาเป็นกิจกรรมภายใตปฏิบัติการ ใน ภาคผนวกฉบับนี้ได้แนะนําให้มีการจําแนกตามตัวอยาง ในตารางที่ 1 ขั้นตอน 2 : การระบุประเด็นปญหาสิ่งแวดลอม การระบุประเด็นปญหาสิ่งแวดลอม เป็นการคนหาวา การปฏิบัติการหรือ กิจกรรม ของสนามบินตามที่ได้ จากขั้นตอนที่ 1 นั้น อาจทําให้เกิด ปญหาดาน สิ่งแวดลอม อยางไรได้บาง โดยให้ความสําคัญกั บ ผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดลอม สําหรับประเด็น ทางดานสิ่งแวดลอมที่สําคัญสําหรับระบบการจัดการ สิ่งแวดลอมสนามบิน สามารถจําแนกเป็น 2 ประเภท ตามผลกระทบที่เกิดขึ้นคือ (1) ประเด็นปญหาสิ่งแวดลอมที่นําไปสูการเกิดมลพิษ สิ่งแวดลอม (2) ประเด็นปญหาสิ่งแวดลอมที่นําไปสู / เกี่ยวกับการ ใ ช ท รั พ ยำ ก ร ธ ร ร ม ชำ ติ ซึ่ ง อำ จ ทํำ ใ ห ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม ในภาคผนวกนี้แนะนําให้พิจารณาในสวนของ ประเด็น ปญหาสิ่ งแว ดล อมที่จะนําไปสู การเกิดมล พิษ สิ่งแวดลอมกอน เป็นอยางแรก อยางไรก็ตามสนามบิน สามารถพิจารณา ประเด็นที่ 2 รวมด้วยเป็นทางเลือก - 14 -
ขอตกลงรวม 4003 -2565 The list of main environmental aspects from airport activities are listed in Table 2. Step 3 : Environmental risks analysis Considering the activities distinguished in Step 2, environmental risk shall be analysed in each activity to further understand the characteristic and to determine the level of risk by using the agreed risk criteria. (Table 3: Environmental Risk Matrix). This process is called environmental risk analysis. The recommended criteria for identifying and assessing environmental risk of AIRPORT EMS is shown in Table 3: Environmental Risk Matrix. It should be noted that the criteria Table 3 covers environmental aspects which potentially leads to pollution merely, but not for natural resources consumption or depletion. Therefore, the airport allow to expand the scope of environmental aspect identification by covering natural resources consumption or depletion shall determine the specific criteria accordingly. The assessment of environmental risk shall take into consideration these two factors, which are probability of occurrence, and severity of the impacts to the environmental condition using the risk magnitude formula below: ในการดําเนินการซึ่งประเด็นปญหาสิ่งแวดลอมหลัก ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากกิจกรรมของสนามบินได้สรุปไวใน ตารางที่ 2 ขั้นตอน 3 : วิเคราะหความเสี่ยงดานสิ่งแวดลอม กิจกรรมของสนามบินที่ถูกจําแนกออกมาในขั้นตอนที่ 2 จะถูกนํามาวิเคราะหความเสี่ยงในรายกิจกรรม เพื่อให้ทราบถึงลักษณะตลอดจนประเมินระดับของ ความเสี่ยงในทางสิ่งแวดลอม โดยใชเกณฑตามที่ได้ กําหนดไว ซึ่งในขั้นตอนนี้จะเรียกวา การวิเคราะหความ เสี่ยงทางดานสิ่งแวดลอม เกณฑสําหรับการระบุและประเมินความเสี่ยงทางดาน สิ่งแวดลอม ของระบบการจัดการสิ่งแวดลอมสนามบิน แสดงไวในตารางที่ 3 ( ตารางที่ 3 ตารางความเสี่ยงดาน สิ่งแวดลอม ) เกณฑที่แสดงในตารางที่ 3 ครอบคลุมเฉพาะประเด็น สิ่งแวดลอมในกลุ่มของมลพิษ โดยไม่ได้รวมถึงประเด็น สิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของกับการใชทรัพยากรธรรมชาติ หรือ การทําให้ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม ดังนั้น หากสนามบินได้มีการขยายของเขตของการระบุ ป ร ะ เ ด็ น สิ่ ง แ ว ดล อ ม โ ด ย ร ว ม ถึ ง เ รื่ อ ง การใช ทรัพยากรธรรมชาติ หรือการทําให้ทรัพยากรธรรมชาติ เสื่อมโทรม จะต้องกําหนดเกณฑเป็นการเฉพาะ เพิ่มเติมด้วย การประเมินความเสี่ยงทางดานสิ่งแวดลอม จะ พิจารณาโอกาสในการเกิดและความรุนแรงของ ผลกระทบ ต่อสิ่งแวดลอม ตามสูตรคํานวณ ขนาดของ ความเสี่ยง ดังนี้ -15-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 Risk magnitude = Probability x Severity The probability of occurrence mentioned in the formula can be ranked according to 5 different levels ranking from high frequency to low frequency, starting from Rank 5 - Highest frequency where the impact is occurred on every flight movement, Rank 4 - high frequency which is on daily, Rank 3 - medium frequency is on monthly, Rank 2- low frequency is on yearly, and Rank 1- lowest frequency is never. The severity of the environmental impact is quantified in 5 levels ranking from the highest severity of the environmental impact to the lowest one. The severity level considers, firstly, the characteristics of the environmental impact, such as a disaster and long-term damaged from the immediate impact as well as, the acute direct effect causing serious injury or fatality to human, and non-compliance to law and standard the acute direct effect causing serious injury or fatality to human, and non-compliance to law and standard obligations, or any circumstances that could lead to public protest against airport. Secondly, the severity level of the environmental impact considers the scales of impact in two factors, taking into account: a) the extent of area affected by the impact, and b) the duration of the environmental impact. Other rankings of severity of environmental impact are: very serious level, serious level, substantial level, moderate level ขนาดความเสี่ยง = โอกาสในการเกิด x ความรุนแรง ซึ่งโอกาสในการเกิด ( probability ) ตามสูตรขางตน สามารถจัดเป็น 5 ระดับ ตามความถี่ของเหตุการณที่ อาจเกิดขึ้นจากมากไปนอย ดังนี้คือ ระดับที่ 5 ทุกเที่ยวบิน คือมีโอกาสเกิดขึ้นในทุกๆ เที่ยวบิน ระดับ 4 ความถี่สูง คือมีโอกาสเกิดทุกวัน ระดับ 3 ความถี่ปานกลาง คือมีโอกาสเกิดขึ้นใน รอบเดือน ระดับ 2 ความถี่ต่ํา คือมีโอกาสเกิดขึ้นในรอบปและ ระดับ 1 ความถี่ต่ําสุด คือแทบจะไม่มีโอกาสเกิดขึ้น ในสวนของความรุนแรงของผลกระทบทางดาน สิ่งแวดลอม จะแบงเป็น 5 ระดับ จากระดับความ รุนแรงสูงสุดถึงระดับต่ําสุด โดยพิจารณาจากลักษณะ ของผลกระทบสิ่งแวดลอม เป็นอยางแรก เชน ภัยพิบัติ และความเสียหายต่อสิ่งแวดลอมอยางยาวนาน จาก ผลกระทบที่เกิดอยางทันใด เชนเดียวกับผลกระทบต่อ สุขภาพของมนุษยโดยตรงและอยางเฉียบพลัน เป็น เหตุให้บาดเจ็บอยางรุนแรงหรือเสียชีวิต และการไม่ ปฏิบัติตามกฎหมายและขอกําหนด มาตรฐาน ตลอดจนสิ่งอื่นใดที่จะนําไปสูการทําให้สนามบินถูก ต่อตานหรือการประทวงจากสังคม จากนั้นจะเป็นการพิจารณารวมกับขอบเขตของ ผลกระทบสิ่งแวดลอมใน 2 ปจจัย คือ ก) ขนาดพื้นที่ที่ ได้รับผลกระทบ ข) ระยะเวลาที่ผลกระทบนั้นเกิดขึ้น สวนการจัดระดับของกลุ่มผลกระทบทางดาน สิ่งแวดลอม ได้แก กลุ่มระดับผลกระทบรุนแรงมาก ระดับผลกระทบรุนแรง ระดับผลกระทบ คอนขาง -16-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 and small level. Description of each ranking is better explained and summarized in Table 3 Step 4 : Risk evaluation This process could help the airport to know which risk or environmental aspect should be acted upon first by prioritizing the risk magnitudes from Step 3 and then classify those quantitative results into 3 groups of risk level. The criteria to determine risk level and acceptability of risk as presented in table 4 is recommended to be applied. Step 5 : Risk treatment Each level of risk requires a different treatment approach. The risk possesses high level (which can be considered as significant environmental risk or aspect) should be prioritized and taken action on, in order to bring the risk lower until it reaches the acceptable or tolerable level. At medium level which corresponds to tolerable level, risk shall be a) controlled by using control measure to lower its risk level; or b) monitored closely to ensure that risk would not rise up. At low level, airport may decide to retain its conditions or take the opportunity to improve by eliminating the risk since this level is already at acceptable level. The guidelines for risk treatment are included in Table 4. รุนแรง ระดับผลกระทบปานกลาง และกลุ่มระดับ ผ ล ก ร ะ ท บ น อ ย ร ะ ดั บ Very Serious, Serious, Substantial, Moderate และ Small จะสรุปในตารางที่ 3 ขั้นตอน 4 : ประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนนี้จะชวยให้สนามบินทราบวาความเสี่ยง ทางดานสิ่งแวดลอม หรือ ประเด็นปญหาสิ่งแวดลอม ใดสมควรจะต้องได้ถูกดําเนินการกอน โดยการ เรียงลําดับผลของ Risk magnitude จาก ขั้นตอน 3 จากนั้นจําแนกออกเป็น 3 กลุ่มตามระดับของความ เสี่ยง โดยใชเกณฑตามที่แสดงในตารางที่ 4 ขั้นตอน 5 : การควบคุมความเสี่ยง ระดับของความเสี่ยงที่ตางกันจะมีแนวทางใน การควบคุมที่แตกตางกัน โดยที่ความเสี่ยงระดับสูง ( ซึ่ง สามารถพิจารณา เป็นความเสี่ยงดานสิ่งแวดลอมที่ สําคัญ ) จะเป็นกลุ่มที่ควรให้ความสําคัญในการลด ระดับความเสี่ยงจากระดับที่เป็นอยู่มาสูระดับที่ยอมรับ ได้หรือยอมรับได้พอประมาณ สําหรับความเสี่ยงใน ระดับปานกลาง ซึ่งอาจพิจารณาวาเป็นระดับที่ยอมรับ ได้พอประมาณ นั้นสนามบินจะสามารถใช ( ก ) มาตรการควบคุมเพื่อลดระดับของความ เสี่ยงหรือเลือกใช ( ข) การติดตามตรวจสอบเพื่อให้มั่นใจวา ระดับของความเสี่ยงจะไปสูงไปกวาที่เป็นอยู่ ที่ความเสี่ยงต่ํา อาจตัดสินใจคงไวซึ่งสภาพนั้น หรือใชประโยชนเพื่อเป็นโอกาสในการพัฒนา โดยการ กําจัดความเสี่ยงดังกลาวให้หมดไป เนื่องจากระดับ ดังกลาวถือวาเป็นระดับที่ยอมรับได้อยู่แล้ว ซึ่งแนวทาง ในการควบคุมความเสี่ยงได้แสดงในตารางที่ 4 -17-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 Table 1 Activities associated with airport operations Category of airport operations Activities 1. Ground handling, baggage handling and aircraft preparation • Transferring PAX and luggage • Loading and off-loading catering and cargo items • Aircraft line maintenance • Aircraft refuelling, ground handling operation 2. Aircraft operation • Landing/Take-off/Taxiing • Aircraft engine on during passenger boarding and disembarking 3. Aircraft maintenance • Aircraft wash/ engine wash • Aircraft heavy maintenance • Engine run test • Painting 4. Emergency response • Aircraft accident response and practice • Chemical storage 5. Maintenance and housekeeping • Tap water production • Emergency generator • Air conditioning system • Automobile/equipment/building maintenance • Handling of dangerous goods contamination • Cleaning 6. Cargo handling • Dangerous goods handling/ storage 7. Waste management and wastewater treatment • Solid waste • Wastewater treatment • Aircraft’s lavatory waste treatment • Hazardous waste handling treatment • Infectious waste treatment • Landfill of waste 8. Passenger ground service (arrival and departure) office work, supporting units and miscellaneous • Food and beverage service • Electricity use lighting system • Toilet Note * In the view of resource consumption which optional -18-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 ตารางที่ 1 กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติการของสนามบิน หมวดหมู่ของการปฏิบัติการของสนามบิน กิจกรรม 1. การบริการภาคพื้น การบริการภาคพื้น การ จัดการสัมภาระ และ การเตรียมอากาศยาน • การขนถายผู้โดยสารและสัมภาระ • การโหลดและการออฟโหลดอาหารและอุปกรณที่ให้บริการบนเครื่องบิน • การซอมบํารุงอากาศยานในระดับลานจอด • การเติมน้ํามันอากาศยาน • การปฏิบัติการการให้บริการลานจอดอากาศยาน 2. การปฏิบัติการของอากาศยาน • การลงจอด /การขึ้น /การแท็กซี่ของอากาศยาน • การติดเครื่องยนตทิ้งไวระหวางขึ้นลงของอากาศยาน 3. การซอมบํารุงอากาศยาน • การลางอากาศยานและเครื่องยนต • การซอมบํารุงอากาศยาน • การทดสอบเครื่องยนต • การทําสีอากาศยาน 4. การตอบสนองต่อสถานการณฉุกเฉิน • การฝกซอมรับมือต่อกรณีการเกิดอุบัติเหตุอากาศยาน • สถานการณฉุกเฉินในกรณีการเก็บสารเคมี 5. การซอมบํารุงและการทําความสะอาด • การผลิตน้ําประปา • ระบบไฟฟาสํารอง • ระบบเครื่องปรับอากาศ • การซอมบํารุงทั่วไป • การจัดการการปนเปอนของของเสียอันตราย • การทําความสะอาด 6. การขนสงสินคา • การจัดการและจัดเก็บสินคาอันตราย 7. การจัดการของเสียและการบําบัดน้ําเสีย • ของเสียทั่วไป • การบําบัดน้ําเสีย • การจัดการสิ่งปฏิกูลบนเครื่องบิน • การจัดการของเสียอันตราย • การจัดการขยะติดเชื้อ • การฝงกลบขยะ 8. การให้บริการผู้โดยสารภาคพื้น ) ขาเขาและ ขาออก ( หนวยงานสนับสนุน งานสํานักงาน และอื่นๆ • การให้บริการอาหารและเครื่องดื่ม • การให้บริการหองน้ํา • การใชพลังงานไฟฟา -19-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 Table 2 List of main environmental aspects from airport activities Category of airport operations Activities List of main environmental aspects 1. Ground handling, baggage handling and aircraft preparation • Transferring PAX and luggage • Loading and off-loading catering and cargo items • Aircraft line maintenance • Aircraft refueling • Ground support/ handling operation • Air pollution and Greenhouse Gases emissions as result of fossil fuel powered vehicle’s combustion. • Chemical spill and leak cause in contamination to environment • Fuel leak from refueling causing water contamination and waste from the used absorbent • Aircraft noise from aircraft engine running 2. Aircraft Operation • Landing/ Take-off/ Taxiing • Aircraft engine on during passenger boarding and disembarking • Aircraft noise from take-off and landing • Air pollutant from take-off and landing • GHG emissions during take-off and landing 3. Aircraft maintenance • Aircraft Wash/ Engine Wash • Aircraft heavy maintenance • Engine Run Test • Painting • Used water becomes wastewater • Used water from aircraft washing becomes wastewater Chemical (contamination) • Aircraft noise from the test affecting maintenance staff and the people in residential area nearby • Chemical contamination from leakage during painting process 4. Emergency response • Aircraft accident response and practice • Chemical storage • Smoke and soot spreading in the airport and area nearby • Wastewater from firefighting operation (practice) leaking or draining into water resource and some chemical (Fluoroprotein foam) can cause eutrophication when spilled in water resource • Chemical spill and leak cause contamination to environment • Used packaging of the chemical will turn into hazardous waste -20-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 Category of airport operations Activities List of main environmental aspects 5. Maintenance and housekeeping • Tap water producing • Emergency generator • Air conditioning system • Automobile/ Equipment/ Building maintenance • Handling of dangerous good contamination • Cleaning • Back wash released and contamination to water resource • GHG emitted by fossil fuel powered equipment • Some coolants (such as CFC) can cause ozone depletion when leaking • Chemical spill and leaks cause contamination to environment • Dangerous goods turn into hazardous waste when leaked 6. Cargo handling • Dangerous good handling/ storage • Dangerous goods turn to be hazardous waste when leaked 7. Waste management and wastewater treatment • Solid waste • Wastewater treatment • Aircraft’s Lavatory Waste treatment • Hazardous waste handling treatment • Infectious waste treatment • Landfill of waste • Accumulation of solid waste causing pest invading and poor environmental condition • Improper wastewater treatment can cause the effluent to exceed the legal standard • Wastewater treatment from aircraft lavatory increase workload to the treatment facility • Disposal of hazardous waste to landfill causes adverse effect on ecosystem and food chain and long-term land contamination • Disposal of infectious waste causes diseases to spread • Governmental landfill site that received solid waste and hazardous waste from airport could cause long-term land contamination and possible leached contamination 8. Passenger ground service (arrival and departure) office work, supporting units and miscellaneous • Food and beverage service • Electricity use* • Toilet • Generation of solid waste and hazardous waste such as fluorescence • Generation of infectious waste from first aid • Electrical consumption* Note * In the view of resource consumption which is optional -21-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 ตารางที่ 2 รายการประเด็นปญหาสิ่งแวดลอมจากกิจกรรมของสนามบิน หมวดหมู่ของการ ปฏิบัติการของสนามบิน กิจกรรม รายการประเด็นปญหาสิ่งแวดลอมจากกิจกรรมของสนามบิน 1. การบริการภาคพื้น การจัดการสัมภาระ และ การเตรียม อากาศยาน • การขนถายผู้โดยสารและสัมภาระ • การโหลดและการออฟโหลดอาหาร และอุปกรณที่ให้บริการบน เครื่องบิน • การซอมบํารุงอากาศยานในระดับ ลานจอด • การเติมน้ํามันอากาศยาน • การปฏิบัติการการให้บริการลาน จอดอากาศยาน • มลพิษทางอากาศการปลอยกาซเรือนกระจกที่เป็นผลมาจาก การเผาไหมเชื้อเพลิงของยานพาหนะ • การรั่วไหลของสารเคมีทําให้เกิดการปนเปอนต่อสิ่งแวดลอม • การรั่วไหลของน้ํามันเชื้อเพลิงระหวางการเติมน้ํามันทําให้ เกิดการปนเปอนในแหลงน้ําและปนเปอนต่อสิ่งดูดซับ เกิด เป็นขยะ • เสียงรบกวนจากการทดสอบเครื่องยนตอากาศยาน 2. การปฏิบัติการของ อากาศยาน • การลงจอด / การขึ้น / การแท็กซี่ของ อากาศยาน • การติดเครื่องบินทิ้งไวระหวางขึ้นลง ของอากาศยาน • เสียงรบกวนจากการขึ้นและลงของอากาศยาน • มลพิษทางอากาศที่เกิดจากการขึ้นและลงของอากาศยาน • การปลอยกาซเรือนกระจกระหวางการขึ้นและลงของอากาศ ยาน 3. การซอมบํารุง อากาศยาน • การลางอากาศยานและเครื่องยนต • การซอมบํารุงอากาศยาน • การทดสอบเครื่องยนต • การทําสีอากาศยาน • น้ําใชกลายเป็นน้ําเสีย • น้ําจากการลางอากาศยานกลายเป็นน้ําเสียและเกิดการ ปนเปอนทางเคมี • เสียงจากการทดสอบเครื่องยนตสงผลกระทบต่อชางซอม บํารุงและผู้คนที่อาศัยอยู่รอบขาง • สารเคมีปนเปอนจากกระบวนการทําสี 4. การตอบสนองต่อ สถานการณฉุกเฉิน • การฝกซอมรับมือต่อกรณีการเกิด อุบัติเหตุอากาศยาน • สถานการณฉุกเฉินในกรณีการเก็บ สารเคมี • ควันและเขมากระจายและปกคลุมทั่วทั้งสนามบินและพื้นที่ ใกลเคียง • น้ําจากการดับเพลิงไหลลงสูแหลงน้ําซึ่งอาจมีสารเคมีทําให้ เกิดปรากฏการณยูโทรฟเคชั่น • สารเคมีรั่วไหลทําให้เกิดการปนเปอนลงสูสิ่งแวดลอม • บรรจุภัณฑที่ใสสารเคมีที่ใชแล้วกลายเป็นขยะอันตราย 5. การซอมบํารุง และการทําความ สะอาด • การผลิตน้ําประปา • ระบบไฟฟาสํารอง • ระบบเครื่องปรับอากาศ • การซอมบํารุงทั่วไป • การจัดการการปนเปอนของของ เสียอันตราย • การทําความสะอาด • น้ําจากการลางยอนกลับปนเปอนสูสิ่งแวดลอม • กาซเรือนกระจกถูกปลอยจากอุปกรณที่ใชเชื้อเพลิงฟอสซิล • สารทําความเย็นบางชนิด เชน CFC ทําให้ชั้นโอโซนลดลง • สารเคมีรั่วไหลและปนเปอนสูสิ่งแวดลอม • สินคาอันตรายรั่วไหลกลายเป็นขยะอันตราย -22-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 หมวดหมู่ของการ ปฏิบัติการของสนามบิน กิจกรรม รายการประเด็นปญหาสิ่งแวดลอมจากกิจกรรมของสนามบิน 6. การขนสงสินคา • การจัดการและจัดเก็บสินคา อันตราย • สินคาอันตรายรั่วไหลกลายเป็นขยะอันตราย 7. การจัดการของเสีย และการบําบัดน้ํา เสีย • ของเสียทั่วไป • การบําบัดน้ําเสีย • การจัดการสิ่งปฏิกูลบนเครื่องบิน • การจัดการของเสียอันตราย • การจัดการขยะติดเชื้อ • การฝงกลบขยะ • การสะสมของของเสียเป็นผลให้เกิดสัตวแมลงนําโรคและเป็น ผลทําให้สิ่งแวดลอมเสื่อมโทรม • การบําบัดน้ําเสียที่ไม่ถูกต้องเหมาะสมจะทําให้น้ําทิ้งเกินกวา คามาตรฐาน • การบําบัดน้ําเสียจากสิ่งปฏิกูลบนเครื่องบินสรางภาระให้กับ ระบบบําบัด • การกําจัดขยะอันตรายด้วยวิธีฝงกลบทําให้เกิดผลเสียต่อ ระบบนิเวศและหวงโซอาหารและการปนเปอนของดินใน ระยะยาว • การทิ้งขยะติดเชื้อทําให้เกิดการแพรระบาดของเชื้อโรค • หลุมฝงกลบขยะที่รับของเสียและของเสียอันตรายจาก สนามบินอาจทําให้เกิดการปนเปอนในดินระยะยาวและการ ปนเปอนของน้ําชะขยะ 8. กำ ร ใ ห บ ริ กำ ร ผู้โดยสารภาคพื้น ) ขาเขาและขาออก ( หนวยงานสนับสนุน งานสํานักงาน และ อื่น ๆ • การให้บริการอาหารและเครื่องดื่ม • การให้บริการหองน้ํา • การให้บริการระบบไฟฟา • การเกิดของเสียและของเสียอันตราย เชน หลอดฟลูออเรส เซนต • การเกิดขยะติดเชื้อจากหองพยาบาล • การใชพลังงานไฟฟา * หมายเหตุ *ในมุมมองของการใชทรัพยากรซึ่งเป็นกรณีตัวเลือก -23-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 AIRPORT EMS Environmental Risk Criteria Probability Severity Category Environmental Impact Characteristic Scales of impact Never (1) Yearly or rarely (2) Monthly (3) Daily (4) Every flight movement (5) Very serious (5) • Disaster, Long term damage • Direct effect, Acute effect causing serious injury or lethal • Abuse the law, regulation or standard (e.g. EIA) • Lead to public protest against the airport • Immediate environmental impact Area : Large scale (larger than local area) Time : Along with the operation of airport through Long-life 5 10 15 20 25 Serious (4) • Heavy damage • Lead to conflict with the community, complaint, compensation or fine • Chronic effect to health or nuisance • Direct or In-direct effect • Not comply to the law, regulation or standard • Immediate environmental impact Area: Cover airport area and also affect to outside of the airport. Time : Along with the operation of airport. 4 8 12 16 20 Substantial (3) • Substantial damage • Treatment is required • Likely to be incompliance • Direct or In-direct effect • Immediate environmental impact from direct effect or Delayed environmental impact from indirect effect Area : Cover most of airport area (immediate impact) Large scale (delayed impact) Time : • Immediate impact takes several days • Delayed impact is prolonged (for several years) but covering larger scale (up to global scale) 3 6 9 12 15 Moderate (2) • Visible Impact but under control • Treatment is preferred The impact does not affect immediately but slowly occur Area: Some area(s) in the airport Time : while the activity happening Moderate time natural remediation or recovery 2 4 6 8 10 Small (1) • No mention The impact does not affect evidently Area: An area in the airport Time : at the point of time Short time natural remediation or recovery 1 2 3 4 5 Table 3 Environmental Risk Matrix - 24 -
ขอตกลงรวม 4003 -2565 เกณฑความเสี่ยงดานสิ่งแวดลอม โอกาสที่อาจจะเกิดขึ้น ความรุนแรง หมวดหมู่ ลักษณะของผลกระทบสิ่งแวดลอม ขนาดของผลกระทบ ไม่เคย เกิดขึ้น (1) ใน ระยะเวลา นานนับป (2) ในระยะเวลา นานนับ เดือน (3) เกิดขึ้นทุกวัน (4) เกิดทุกครั้งที่มี การปฏิบัติการบิน (5) รุนแรงมาก (5) • หายนะ , ความเสียหายในระยะยาว • ในเชิงผลกระทบทางตรงเกิดเป็นผลกระทบเฉียบพลันที่ทําให้ เกิดความบาดเจ็บอยางรุนแรงและอาจทําให้ถึงตาย , • ฝาฝนกฎหมาย กฎระเบียบหรือ มาตรฐาน ( เชน รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอม ) • การนําไปสูการประทวงต่อตานสนามบิน • เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมอยางฉับพลัน พื้นที่ : ครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ ( กวางขวาง กวาพื้นที่ทองถิ่น ) ระยะเวลา : ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติการ ของสนามบินหรือ ตลอดระยะเวลาการมีอยู่ของ สนามบิน 5 10 15 20 25 รุนแรง (4) • เสียหายอยางรุนแรง • การนําไปสูความขัดแยงของชุมชน การรองเรียน การจายคาชดเชย หรือการถูกปรับ • เกิดผลกระทบต่อสุขภาพหรือการรบกวนอยางเรื้อรัง • ผลกระทบทางตรงหรือทางออม • ไม่สอดคลองกับกฎหมาย ขอบังคับ หรือ มาตรฐาน • เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมอยางฉับพลัน พื้นที่: ครอบคลุมพื้นที่ของสนามบินและอาจ กระทบต่อพื้นที่นอกสนามบิน ระยะเวลา : ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติการ ของสนามบิน 4 8 12 16 20 คอนขางรุนแรง (3) • เกิดความเสียหายอยางชัดเจน • จําเป็นต้องได้รับการบําบัด • อาจจะไม่สอดคลองกับกฎหมาย • ผลกระทบทางตรงหรือทางออม • ทําให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมอยางฉับพลันจาก ผลกระทบทางตรง , ทําให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมในภาย หลังจากผลกระทบทางออม พื้นที่ : ครอบคลุมพื้นที่สวนใหญของสนามบิน ( ใน กรณีของผลกระทบที่เกิดขึ้นอยางฉับพลัน ) ครอบคลุมพื้นที่ในวงกวาง ( ในกรณีผลกระทบที่ เกิดขึ้นในภายหลัง ) ระยะเวลา : • ผลกระทบที่เกิดขึ้นอยางฉับพลันเป็นเวลา หลายวัน • ผลกระทบที่เกิดภายหลังอาจกินเวลา นับปแต่ครอบคลุมขนาดพื้นที่กวางกวา 3 6 9 12 15 ปานกลาง (2) • รับรูได้ถึงการเกิดผลกระทบแต่ยังคงควบคุมได้ • ควรจะได้รับการบําบัด • ผลกระทบไม่เกิดขึ้นโดยทันที แต่คอย ๆ เกิดขึ้น พื้นที่ : บางพื้นที่ของสนามบิน ระยะเวลา : ในขณะที่กิจกรรมดําเนินขึ้น ฟนตัวเองในธรรมชาติใชระยะเวลาปานกลาง 2 4 6 8 10 เล็กนอย (1) • ไม่อาจรับรูได้ • ไม่เกิดผลกระทบขึ้นอยางชัดเจน พื้นที่ : พื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งของสนามบิน ระยะเวลา : ณ ขณะหนึ่งใชฟนตัวเอง ในธรรมชาติใชระยะเวลาอันสั้น 1 2 3 4 5 ตารางที่ 3 ความเสี่ยงดานสิ่งแวดลอม
ขอตกลงรวม 4003 -2565 Table 4 Risk Level and Acceptability Criteria ตารางที่ 4 ระดับความเสี่ยงและเกณฑในการยอมรับ Risk Magnitude (Score) Risk Level Acceptability of Risk Guideline for risk treatment 17 to 25 High level Not acceptable • Take immediate measures to mitigate the impacts (if necessary), and; • Establish environmental program, implement an and report progress to the airport manager 7 to 16 Medium level Tolerable • Establish control, communication and data monitoring procedures for the performance evaluation. 1 to 6 Low level Acceptable • Maintain the current practice and/or use opportunity for continual improvement ขนาดของความ เสี่ยง ( คะแนน ) ระดับความเสี่ยง ระดับการยอมรับได้ แนวทางการควบคุมความเสี่ยง 17 ถึง 25 สูง ยอมรับไม่ได้ • ใชมาตรการเพื่อลดผลกระทบโดยทันที ( เมื่อ จําเป็น ) และ ; • จัดทําโปรแกรมทางดานสิ่งแวดลอม ดําเนินการและรายงานต่อผู้จัดการสนามบิน 7 ถึง 16 ปานกลาง พอยอมรับได้ • จัดทําขั้นตอนในการควบคุม สื่อสาร และ ติดตามขอมูลเพื่อการประเมิน สมรรถนะ 1 ถึง 6 ต่ํา ยอมรับได้ • ดําเนินการอยางที่เป็นอยู่ในปจจุบัน และ / หรือ ใชเป็นโอกาสในการปรับปรุงอยาง ต่อเนื่อง -26-
ขอตกลงรวม 4003 -2565 ภาคผนวก ข (ขอมูล) ผู้เขารวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ตาราง ข. 1 รายชื่อผู้เขารวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ วันที่ 25 มิถุนายน 2565 ชื่อ หนวยงาน 1. นายธนาธิป ฤกษะสาร การทาอากาศยานอูตะเภา 2. นางสาวรงรอง พวงสายใจ กรมทาอากาศยาน 3. นายธนภัทร ขวัญฤดีรัตน์ กรมทาอากาศยาน 4. นางสาวมัณฑนกาญจน บรรจงแตม กรมทาอากาศยาน 5. นางสาวธนาวดี เทพานนท กรมทาอากาศยาน 6. นายนราธิป ดีแกว กรมทาอากาศยาน 7. นายพรเทพ สีกาวี กรมทาอากาศยาน 8. นายนิจพัฒน ปยะพันธ บริษัท การบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) 9. นางสาววรารัตน์ วานิชขจร บริษัท การบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) 10. นายชยากร สุคนธตระกูล บริษัท การบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) 11. นางสาวกตัญชุลี เอกชีวะ บริษัท การบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) 12. นางสาวสิริกัญ วนัสบดีกุล บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) 13. นางสาวพิรดา กลันตรานนท บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) 14. นายธนานันท ตัณฑกูล บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) 15. นายฌาณ กงอุบล สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย 16. นางสาวเจนิตา จันทรานนท สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย 17. นางสาวกัญญารัตน์ นันทวิสิทธิ์ สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย 18. นายกฤตกร นวลจันทร์ สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย 19. นายสิทธา พงษเย็น สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย 20. นางสาวชมชนก หวยหอง สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย 21. นายปฐยาวิทย แกวกําเนิด สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย 22. นางสาวพิจิตรา ชโยปถัมภ สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย 23. นางสาวสุโรชา พูลสวัสดิ์ สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย 24. นายณัฐ ทัศนเปรมสิน สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย 25. นายพศวีร รัชพงศศิริกุล* สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย * วิทยากร -27-