ประกาศคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ เรื่อง แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570)
ประกาศคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ เรื่อง แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570)
ประกาศคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ เรื่อง แผนพัฒนาการกีฬำแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 1 3 แห่งพระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. 25 6 1 คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 3 มกราคม 2566 จึงออกประกาศกำหนดแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ เรื่อง แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) ” ข้อ 2 แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) ให้เป็นไปตาม ท้ายประกาศนี้ ข้อ 3 ให้หน่วยงานของรัฐมีหน้าที่ดาเนินการตามอานาจหน้าที่เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตาม แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) ท้ายประกาศนี้ เพื่อให้การดาเนินการเป็นไป โดยบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด ข้อ 4 ให้กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬามีหน้าที่ให้คำแนะนำแก่หน่วยงานของรัฐเพื่อจัดทา แผนงานหรือดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2 566 - 2570) ท้ายประกาศนี้ ข้อ 5 ประกาศนี้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 1 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 256 6 พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ ้ หนา 27 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 75 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มีนาคม 2566
¡ÃзÃǧ¡Ò÷‹Í§à·ÕèÂÇáÅСÕÌÒ á¼¹¾Ñ²¹Ò¡ÒáÕÌÒáË‹§ªÒμÔ ©ºÑº·Õè ÷ (¾.È. òõöö - òõ÷ð)
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) จัดทําโดย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) คํานํา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาได้จัดทําแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทาง พัฒนาการกีฬาของประเทศตั้งแต่ระดับต้นน้ํา กลางน้ํา และ ปลายน้ํา โดยครอบคลุมการกีฬาทุกภาคส่วนและ กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้องของการกีฬาทุก ระดับ ตั้งแต่กีฬาขั้นพื้นฐานเพื่อส่งเสริมพัฒนาการออกกําลังกายและ พื้นฐานการเล่นกีฬาสําหรับเด็กและเยาวชน กีฬา เพื่อ มวลชนเพื่อส่งเสริมพัฒนาการออกกําลังกายและพื้นฐาน การเล่นกีฬาสําหรับประชาชนทุกกลุ่ม ทั้งบุคคลปกติ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส กีฬาเพื่อความเป็นเลิ ศ และกีฬา เพื่อการ อาชีพเพื่อพัฒนานักกีฬาทุกระดับและบุคลากรทางการกีฬาที่เกี่ยวข้อง รวมถึงอุตสาหกรรม กีฬาเพื่ อส่งเสริมพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมรวมถึงบุคลากรที่ เกี่ ยวข้องในอุตสาหกรรมกีฬา ที่ ผ่านมา ประเทศไทยได้จัดทําแผนพัฒนาด้านการกีฬามาแล้ว 6 ฉบับ ตั้งแต่แผนพัฒนาการกี ฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 1 ( พ.ศ. 2531 - 2539 ) จนถึงแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 ( พ.ศ. 2560 - 2564 ) โดยแผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 คณะ รัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2565 เห็นชอบ ให้ ขยายระยะเวลา การใช้งานแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 ออกไปอีก 1 ปี โดยยังคงใช้ได้ต่อไปจนถึงวันที่ 30 กันยายน 2565 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาจึงได้จัดทําแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 – 25 70 ) ที่สอดคล้องกับยุทธศา ส ตร์ชาติ 20 ปี แผน แม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชำติ ประเด็น (14) ศักยภาพการกีฬา แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติอันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด - 19 พ.ศ. 2564 - 2565 แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ นโยบาย และแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2562 - 2565) และ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 1 3 (พ.ศ. 256 6 – 25 70 ) รวมทั้ง แผนระดับปฏิบัติการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องด้านการกีฬา ทั้งนี้ เพื่อให้ประเทศไทยมีทิศทางการพัฒนาการกีฬาอย่าง เป็นรูปธรรมและสามารถขับเคลื่อนการดําเนินงา น ได้อย่าง ต่อเนื่อง ในระยะถัดไป การจัดทําแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติฉบับนี้ ได้คํานึงถึงสภาพแวดล้ อมและบริบทต่าง ๆ ทั้งปัจจัยภายในและภายนอกที่อำจส่งผลต่อการพัฒนาการกีฬาของประเทศ โดยได้วิเคราะห์ถึงความสามารถ ในการแข่งขัน จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และ อุปสรรคของการพัฒนาการกีฬาแต่ละระดับ การประเมินผล การพัฒนาตามแผนพัฒนาการกีฬาในช่วงที่ผ่านมา ข้อเสนอแผนปฏิรูปการกีฬาของสภาขับเคลื่อนการปฏิรูป ประเทศ นอกจากนี้ ยังได้คํานึงถึงการมีส่วนร่วมของทุกภาคีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการกีฬาของประเทศ ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิในวงการกีฬาทุกระดับ การจัดประชุมกลุ่ ม ย่ อยและการรับฟัง ความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้ง จากหน่ วย งานภาครั ฐ เอกชน องค์ ก รปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชน ทุกภาคส่วน ทั่วประเทศ เพื่อนําข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะมาประกอบการจัดทําแผนพัฒนาการกีฬา แห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 – 25 70) นี้
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) กระทรวงการท่องเที่ ยวและกีฬาหวังเป็นอย่างยิ่ งว่า แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 – 25 70 ) ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ แล้ว เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2566 หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน จะได้ใช้เป็นกรอบแนวทางในการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี ของแต่ละหน่วยงาน เพื่อช่วยผลักดันและขับเคลื่อนการพัฒนาตามแผนสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้การกีฬา เป็นกลไก สําคัญในการเสริมสร้างความมั่นคงทาง สังคม และความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของประเทศอย่างยั่งยืน ต่อไป
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) สารบัญ หน้า สรุปสาระสําคัญ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก ส่วนที่ 1 : บทนํา 1 ส่วนที่ 2 : สถานการณ์ แนวโน้ม และทิศทางการพัฒนาการกีฬา 8 1 . สถานการณ์และแนวโน้มการกีฬาของโลก 2 . สถานการณ์และแนวโน้มการกีฬาของประเทศไทย 3 . ผลการพัฒนาการกีฬาในระยะที่ผ่านมา 4 . นโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการกีฬาของประเทศ 9 2 6 59 6 3 ส่วนที่ 3 : วิสัยทัศน์และเป้าหมายการพัฒนา 70 1 . วิสัยทัศน์ 2 . พันธกิจ 3 . นโยบาย พัฒนา การกีฬาแห่งชาติ 4 . เป้าประสงค์ 5 . ตัวชี้วัด หลัก 6 . ประเด็น การพัฒนา 70 71 72 74 74 75 ส่วนที่ 4 : ประเด็น การพัฒนาการกีฬา ในระยะ แผนพัฒนาการกีฬาฯ ฉบับที่ 7 77 ประเด็นการพัฒนา ที่ 1 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน 77 ประเด็นการพัฒนา ที่ 2 : การส่งเสริมและพัฒนา การออกกําลังกายและ กีฬาเพื่อมวลชน ให้เป็นวิถีชีวิต 8 2 ประเด็นการพัฒนา ที่ 3 : การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและ กีฬาเพื่อการอาชีพ 8 7 ประเด็นการพัฒนา ที่ 4 : การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา 9 3 ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 : การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา 9 8
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) สารบัญ (ต่อ) หน้า ส่วนที่ 5 : การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการกีฬาสู่การปฏิบัติ 102 1 . แนวทางการขับเคลื่อนแผนพัฒนาการกีฬาสู่การปฏิบัติ 2 . แนวทางการ ติดตามและ ประเมินผลการดําเนินงาน 3 . ตัวอย่างโครงการสําคัญเพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ 102 10 9 1 10 บรรณานุกรม 1 3 6 ภาคผนวก ก : นิยามและแนวทางการ จัด เก็บข้อมูลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด ภาคผนวก ข : คําสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดทําและติดตามการดําเนินงาน ตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570)
แผนพัฒนากา รกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) - ก - สรุปสาระสําคัญ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) 1 . บทนํา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาได้จัดทําแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางพัฒนา การกีฬาของประเทศตั้งแต่ระดับต้นน้ํา กลางน้ํา และ ปลายน้ํา โดยครอบคลุมทุกภาคส่วนและกลุ่มเป้าหมาย ที่เกี่ยวข้องของการกีฬาทุก ระดับ ตั้งแต่กีฬาขั้นพื้นฐานเพื่อส่งเสริมพัฒนาการออกกําลังกายและพื้นฐาน การเล่นกีฬาสําหรับเด็กและเยาวชน กีฬาเพื่อมวลชน เพื่อส่งเสริมพัฒนาการออกกําลังกายและพื้นฐานการเล่น กีฬาสําหรับประชาชนทุกกลุ่ม กี ฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ เพื่อพัฒนานักกีฬาทุกระดับและ บุคลากรทางการกีฬาที่เกี่ยวข้อง รวมถึงอุตสาหกรรม การ กีฬาเพื่อส่งเสริมพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมรวมถึง บุคลากรที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรม การ กีฬา แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) เป็นแผนของชาติที่จัดทําขึ้นโดยมี กฎหมายรองรับ คือ พระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 หรืออาจกล่าวได้ว่า เป็นแผน ที่จัดทําขึ้นตามกฎหมาย จึงมีสภาพบังคับต่อส่วนราชการหรือหน่วยงานที่ระบุให้เป็นหน่วยงานของรัฐ ซึ่งมีหน้าที่ดําเนินงานตามภารกิจที่กําหนดไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ โดยจะต้องจัดทําแผนปฏิบัติการ พัฒนาการกีฬาเพื่อรองรับแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติและปฏิบัติการให้เป็นไปตามแผนพัฒนาการกีฬา แห่งชา ติ ซึ่งเป็นไปตามเจตนารมณ์ของบทบัญญัติตาม มาตรา 15 ของพระราชบัญญัตินโยบายการกีฬา แห่งชาติ ทั้งนี้ ในขั้นตอนการจัดทําแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) และแนวทาง การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) สู่การปฏิบัติ ภำยใต้คําสั่งของ คณะอนุ กรรมการจั ดทําและติ ดตามการดําเนิ นงานตามแผนพั ฒนาการกี ฬาแห่ งชาติ ฉบั บที ่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) มีกระบวนการการดําเนินงานที่ ครอบคลุมทุกมิติ 11 ขั้ นตอน ประกอบด้วย 1) การศึกษาและวิเคราะห์ความสอดคล้องของการพัฒนาการกีฬากับ แผนระดับ 1 แผนระดับ 2 แ ละแผน ระดับ 3 อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2) การศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์ การพัฒนาการกีฬา และอุตสาหกรรม การ กีฬา ของประเทศ 3) การศึกษารวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส 2019 ( COVID - 19 ) ที่ส่งผลต่อวงการกีฬา 4) การศึกษา วิเคราะห์ และรวบรวมสถานการณ์แนวโน้ม ด้านการพัฒนากีฬาและสถานการณ์กีฬาทั้งในประเทศและต่างประเทศ 5) การประเมินผลการดําเนินงาน ในภาพรวมตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 2564) 6) การ กําหนดกรอบ การดําเนินงานในห้วงปี พ.ศ. 2566 - 2570 และนิยามที่เกี่ยวข้อง 7) การ สัมภาษณ์เพื่อขอ ความคิดเห็น ทั้งมิติเศรษฐกิจและสังคมจากผู้เชี่ยวชาญ 8 ) การจัดประชุมกลุ่มย่อยเพื่อรวบรวมข้อมูล ความคิดเห็น และ ข้ อเสนอแนะ 9 ) การ จั ดประชุมรับฟังความคิดเห็นต่อร่างแผนพั ฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบั บที ่ 7
แผนพัฒนากา รกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) - ข - (พ.ศ. 2566 - 2570) และร่างข้อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ 10) การจัดทําร่างแผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) และร่างข้อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ หลังจากการประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็น และ 11 ) การประชุมเฉพาะกิจกับหน่วยงานหลัก และหน่วยร่วม ดําเนินการราย ประเด็นพัฒนา เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและการขอความเห็นชอบร่วมกันในการกําหนดตัวชี้วัด ใน รายประเด็นพัฒนา พร้อมค่าเป้าหมายที่เหมาะสม โดย จะต้องนําเสนอร่างแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) ต่อคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติเพื่อพิจารณาเห็นชอบร่าง และเสนอ สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเพื่อพิจารณาให้ความเห็นก่อนเสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณาต่อไป 2 . วิสัยทัศน์ เป้าหมายการพัฒนา แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) ได้กําหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย การพัฒนา ดังนี้ 2 . 1 วิสัยทัศน์ “ กีฬาพัฒนาคน สังคม และเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจไทย ” 2 . 2 พันธกิจ พันธกิจที่ 1 : การกีฬาเป็นกลไกสําคัญในการเสริมสร้างความมั่นคงทางสังคม โดยคนไทย มีอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดีเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง มีการออกกําลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอจนเป็น วิถีชีวิต มีสุขภาพดีขึ้น มีน้ําใจนักกีฬาและมีวินัย เคารพกฎกติกามากขึ้นด้วยกีฬา นําไปสู่การพัฒนาจิต ใจ สร้างความสัมพันธ์อันดีในสังคม ความสามัคคีของคนในชาติ และมีความพร้อมในการขับเคลื่อนการพัฒนา ประเทศไปข้างหน้าได้อย่างเต็มศักยภาพ พันธกิจที่ 2 : การกีฬาเป็นกลไกสําคัญในการเสริมสร้างความมั่ งคั่ งทางเศรษฐกิจ โดยอุตสาหกรรมการกีฬามีการเจริญเติบโต มีการพัฒนาสินค้า บริการ นวัตกรรมที่เกี่ยวกับการกีฬา กิจกรรม กีฬา เชิงท่องเที่ยว และรายการแข่งขันกีฬาที่เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจของประเทศอย่างต่อเนื่อง
แผนพัฒนากา รกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) - ค - 2 . 3 นโยบายพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ 2. 3.1 นโยบายเร่งด่วน นโยบายที่ 1 : ส่งเสริมการพัฒนาการกีฬาที่มีการบริหารจัดการโดย คํานึงถึงความสําคัญของ สิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับโมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ( BCG Economy Model) นโยบายที่ 2 : สนับสนุนการสร้างการรับรู้และความตระหนักแก่เด็ก เยาวชน และประชาชน ทั่วไป ผู้พิการ บุคคลกลุ่มพิเ ศษ และผู้ด้อยโอกาส ให้เห็นคุณค่าและประโยชน์ ของ การออกกําลังกายและการเล่นกีฬา มีน้ําใจนักกีฬา และมีวินัย เคารพกฎกติกา มากขึ้นด้วยกีฬา นําไปสู่การพัฒนาจิตใจ มีการบริหารจัดการกีฬาที่โปร่งใส มีมาตรฐานสากล และ มีประสิทธิภาพ นโยบายที่ 3 : ส่งเสริมการออกกําลังกายและการเล่นกีฬา การจัดกิจกรรมกีฬา และการ แข่งขันกีฬา ภายใต้ความปกติใหม่ ( New Normal ) อย่างทั่วถึงตามความถนัด หรือความสนใจ อย่างต่อเนื่องทุกกลุ่มจนเป็นวิถีชีวิต เพื่อความเท่าเทียม ลดความ เหลื่อมล้ํา และเกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี ดิจิทัล เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในการออกกําลังกายและ เล่นกีฬา นโยบายที่ 4 : กําหนดให้ประเด็นการส่งเสริมการออกกําลังกายและการพัฒนาการกีฬา เป็นหนึ่งในเป้าหมายหลักในระดับจังหวัดและท้องถิ่น โดยกําหนดให้เป็นหนึ่ง ในวาระสําคัญของการบริหารส่วนท้องถิ่ น และเป็นดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพ การดําเนินงานของแผนพัฒนาจังหวัด ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการกีฬา แ ห่งชาติ นโยบายที่ 5 : ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนากีฬาอย่างเป็นระบบ โดยบูรณาการร่วมกับ ระบบการศึกษาของประเทศ ตั้งแต่กีฬาขั้นพื้นฐาน กีฬาเพื่อมวลชน กีฬาเพื่อ ความเป็นเลิศ และกีฬาเพื่อการอาชีพ อย่างต่อเนื่อง
แผนพัฒนากา รกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) - ง - 2. 3.2 นโยบายในการขับเคลื่อนแผนระยะยาว นโยบายที่ 1 : ส่งเสริมการเล่นกีฬาและการแข่งขันกีฬาตามความถนัดหรือความสนใจของ เด็ก เยาวชน และประชาชน ในชนิดกีฬาที่ มีความหลากหลาย เพื่ อเพิ่ม ทางเลือกในการเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาได้ตามความต้องการ นโยบายที่ 2 : ส่งเสริมการใช้วิทยาศาสตร์การกีฬา นวัตกรรม และเทคโนโลยีการกีฬา ในการพัฒนาศักยภาพของนักกีฬา รวมทั้งนักกีฬาคนพิการ เพื่อพัฒนา การกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาอาชีพ นโยบายที่ 3 : พัฒนาบุคลากรด้านการกีฬาอย่างเป็นระบบและมีมาตรฐาน สามารถถ่ายทอด ความรู้ให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ผู้พิการ บุคคลกลุ่มพิเศษ และ ผู้ด้อยโอกาสได้อย่างถูกต้อง รวมทั้งสนับสนุนและส่งเสริมการผลิตบุคลากรและ การพั ฒนานวัตกรรมที่สนับสนุนการพัฒนากีฬา นโยบายที่ 4 : ผลักดันและสนับสนุนการเป็นเจ้าภาพจัดกิจกรรมกีฬา เชิงท่องเที่ ยว ( Sport Tourism ) และมหกรรมการแข่งขันกีฬาระดับชาติและนานาชาติ ( Sports Mega - Events) ในประเทศไทย เพื ่ อเผยแพร่ ประชาสั มพั นธ์ ภาพลักษณ์ของประเทศไทย เป็ นการกระตุ้นการท่องเที่ยวและการเข้าร่วม กิจกรรมกีฬา เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ นโยบายที่ 5 : พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจอุตสาหกรรมการกีฬา โดย สร้างความร่วมมือกับส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุน การประกอบธุรกิจการกีฬา รวมถึงสร้างบรรยากาศการลงทุนและพัฒนา อุตสาหกรรมและธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการกีฬาในประเทศ มีมาตรการด้าน การเงิน และมาตรการทางภาษี เพื่อสนับสนุนผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อ งกับ อุตสาหกรรมการกีฬา นโยบายที่ 6 : พัฒนาแพลตฟอร์มและระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านกีฬา เพื่อให้บริการ ข้อมูล สร้างแรงจูงใจและกระตุ้นการออกกําลังกายและการเข้าร่วมกิจกรรม กีฬา และเป็นข้อมูลในการกําหนดนโยบาย ทิศทางการพัฒนา และการบริหาร จัดการการกีฬาในประเทศ นโยบายที่ 7 : พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อุปกรณ์ สถานที่ สิ่งอํานวยความสะดวก เพื่อรองรับ ความต้องการในการออกกําลังกายและการเล่นกีฬาของเด็ก เยาวชน และ ประชาชนทั่วไป ผู้พิการ บุคคลกลุ่มพิเศษ และผู้ด้อยโอกาสให้มีความเพียงพอ ปลอดภัย ทั่วถึง และเหมาะสม นโยบายที่ 8 : สร้างและพัฒนาศูนย์ฝึกกีฬา สนามกีฬา ศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬา อุปกรณ์ การกี ฬา ให้ ได้ มาตรฐานสากล เพื ่ อส่ งเสริ มและพั ฒนาการกี ฬาเพื่อ ความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ
แผนพัฒนากา รกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) - จ - นโยบายที่ 9 : ยกระดับการบริหารจัดการกีฬาในทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพบนพื้นฐาน ของธรรมาภิบาล โดยก ําหนดให้การบริหารจัดการกีฬาตามหลักธรรมาภิบาล เป็นเป้าหมายหลักและตัวชี้ วัดในแผนพัฒนาขององค์กรทุกองค์กร และ สนับสนุนการจัดตั้งองค์กรที่มีความเป็นอิสระและมีระบบในการพิจารณา ข้อพิพาทที่เกี่ยวข้องกับการกีฬาอย่างโปร่งใสและเป็นธรรม 2 . 4 เป้าประสงค์ 1 ) ประชาชนทุกกลุ่ม (เด็ก เยาวชน และประชาชน) มีการออกกําลังกายและเล่นกีฬา อย่างสม่ําเสมอ 2 ) นักกีฬาผู้แทนของประเทศไทยประสบความสําเร็จในการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ 3 ) บุคลากรด้านการกีฬาทั่วประเทศได้รับการรับรองมาตรฐานเพิ่มขึ้น 4 ) อุตสาหกรรมการกี ฬามี การเติ บโตอย่ำงต่ อเนื ่ องและสามารถสร้ำงมู ลค่ำเพิ่ม ทางเศรษฐกิจของประเทศ 2 . 5 ตัวชี้วัดหลัก 1 ) ประชากรทุกภาคส่วนออกกําลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 0 ภายในปี 2570 2 ) อันดั บการแข่งขันกีฬาในมหกรรมกีฬาระดับนานาชาติของนักกีฬาไทย อยู่ในอับดับ 6 ในระดับเอเชีย ในรายการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกเกมส์ กีฬาพาราลิมปิกเกมส์ กีฬาเอเชียน เกมส์ และกีฬาเอเ ชี ยนพาราเกมส์ ภายในปี 2570 3 ) บุคลากรด้านการกีฬาได้รับการรับรองมาตรฐาน เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี 4 ) มูลค่าอุตสาหกรรมการกีฬามีอัตราการเติบโตโดยเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี 5 ) มีฐานข้อมูล องค์ความรู้ และแพลตฟอร์มการประมวลผลด้านการส่งเสริมและพัฒนา การกีฬาอย่างมีประสิทธิภาพ 6 ) มีแผนการขับเคลื่อนติ ดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามประเด็นการพัฒนา และมีการรายงานตามแผนรายไตรมาสและรายปี 7 ) มีการประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงานตาม ประเด็นการพัฒนา ในระยะครึ่งแผนฯ และสิ้นแผนฯ 8 ) มีแผนการจัดการความเสี่ยงเพื่อเตรียมความพร้อมและป้องกันผลกระ ทบที่เกิดจาก ความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ เช่น โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่ส่งผลต่อการส่งเสริมและพัฒนา การกีฬาในแต่ละประเด็นพัฒนา
แผนพัฒนากา รกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) - ฉ - 2 . 6 ประเด็น การพัฒนา ประเด็น การพัฒนา ที่ 1 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน เพื่ อให้เด็กและเยาวชนทุกคนเกิดการรับรู้ และความตระหนักในการออกกําลังกายและ การเล่นกีฬาอย่างถูกต้อง รู้กฎ และกติกา มีทัศนคติที่ดี มีระเบียบวินัยและน้ําใจนักกีฬา รวมทั้งส่งเสริมและ สนับสนุนการจัดกิจกรรมกีฬาและ การแข่งขันกีฬาตามความถนัดหรือความสนใจเฉพาะบุคคลเพื่อให้เด็กและ เยาวชนเกิดความต้องการในการออกกําลังกายและการเล่นกีฬาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลต่อการมีสุขภาวะที่ดี รวมถึงสามารถพัฒนาการเล่นกีฬาเพื่อการต่อยอดสู่ความเป็นเลิศได้ ซึ่ง มีตัวชี้วัด ทั้งหมด จํานวน 6 ตัวชี้วัด ประเด็น การพัฒนา ที่ 2 : การส่งเสริมและพัฒนา การออกกําลังกายและ กีฬาเพื่อมวลชน ให้เป็นวิถีชีวิต เพื่อสร้างการรับรู้ ความตระหนัก ความต้องการ และส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่ม ( ประชาชน ทั่ วไป ผู้ พิการ บุคคลกลุ่ มพิเศษ และผู้ ด้อยโอกา ส) มีการออกกําลังกายและเล่นกีฬาให้เป็นวิถีชีวิต เพื่อการมีสุขภาวะที่ดี มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง ลดอัตราการป่วยของประชาชนทุกกลุ่มในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล โดยมีการปลูกฝังค่านิยมกีฬาในประชาชนทุกกลุ่ม ส่งเสริมและสนับสนุน การจัดกิจกรรมกา รออกกําลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอ สนับสนุนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สถานที่ ออกกําลังกาย และสิ่งอํานวยความสะดวก เพื่อการออกกําลังกายและการเล่นกีฬาของประชาชนทุกกลุ่ม ซึ่ง มีตัวชี้วัด ทั้งหมด จํานวน 5 ตัวชี้วัด ประเด็น การพัฒนา ที่ 3 : การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อ การอาชีพ ส่งเสริมความต้องการพัฒนาศักยภาพของนักกีฬา รวมทั้ง นักกีฬาคนพิการ เพื่อความเป็นเลิศ การสร้างและการพัฒนานักกีฬาของชาติให้ประสบความสําเร็จในการแข่งขันในระดับต่าง ๆ รวมถึงการส่งเสริม การพัฒนาต่อยอด นักกีฬาที่มีความเป็นเลิศไปสู่การมีอาชีพทางการกีฬาที่ยั่งยืน โดยจัดให้มีการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน เช่น ศูนย์ฝึกกีฬา และสิ่งอํานวยความสะดวก) เพื่อพัฒนาศักยภาพของนักกีฬา ทั้งนักกีฬา คนปกติและนักกีฬาคนพิการ รวมทั้งการสนับสนุนการยกระดับกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬา เพื่อการอาชีพ ให้เข้าสู่มาตรฐานสากล ซึ่ง มีตัวชี้วัด ทั้งหมด จํานวน 9 ตัวชี้วัด
แผนพัฒนากา รกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) - ช - ประเด็น การพัฒนา ที่ 4 : การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา พัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องด้านการกีฬาเพื่อรองรับกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มในห่วงโซ่อุปทานของ การกีฬา ตั้งแต่ต้นน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา โดย พัฒนาหลักสูตรที่เป็นมาตรฐานสําหรับการยกระดับสมรรถนะ ของบุคลากรด้านการกีฬาทุกกลุ่ม ครอบคลุม ครูผู้สอนพลศึกษา อาสาสมัครทางการกีฬา ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา ผู้บริหารการกีฬา และนักวิทยาศาสตร์การกีฬา รวมทั้งบุคลากรการกีฬาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ อุตสาหกรรมการกีฬา เช่น นักกฎหมายการกีฬา , สถาปนิกการกีฬา , สื่อมวลชนการกีฬา และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บุคลากรการกีฬาทุกกลุ่ม ได้รับการรับรอง มาตรฐานในระดับสากล หรือเทียบเท่าในระดับสากล เพื่อให้สามารถเป็นกําลังสําคัญในการพัฒนาการกีฬาทุกระดับตั้ งแต่กีฬาขั้นพื้นฐาน กีฬาเพื่อมวลชน กีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ และอุตสาหกรรมการกีฬาของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่ง มีตัวชี้วัด ทั้งหมด จําน วน 8 ตัวชี้วัด ประเด็น การพัฒนา ที่ 5 : การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา ครอบคลุมทั้งภาคการผลิต ภาคการค้า และภาคบริการด้านการกีฬา สนับสนุนการจัดกิจกรรมและมหกรรม การกีฬาระดับชาติและนานาชาติ และการจัดกิจกรรมกีฬาเชิงพาณิชย์ของภาคเอกชน ( International Sport Events & Private Sport Events) เพื่อเสริมสร้างการกีฬา เชิงท่องเที่ยว เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ จากอุตสาหกรรมการกีฬาให้ขยายตัวเพิ่ มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่ง มีตัวชี้วัด ทั้งหมด จํานวน 1 0 ตัวชี้วัด 3 . การขับเคลื่อน แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) ไป สู่ การปฏิบัติ การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) ไปสู่การปฏิบัติ ให้มีประสิทธิภาพและมีความสอดคล้องกันตั้งแต่ระดับนโยบายจนถึงระดับปฏิบัติการ ควรให้ความสําคัญ กับการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน 3 .1 ระดับนโยบาย คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ เป็นกลไกสําคัญในการกําหนดนโยบาย หรือให้ความเห็น กํากับดูแลการดําเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการกีฬา รวมทั้งเสนอมาตรการแก้ไข ปัญหาอุปสรรคการปฏิบัติการตามนโยบายและแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ และการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบั งคับที่เกี่ยวข้องให้เอื้อต่อการพัฒนาการกีฬาของชาติ ก่อนนําเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อให้ ความเห็นชอบและสั่งการต่อไป โดยสํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาทําหน้าที่เป็นสํานักงาน เลขานุการของคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ โดยวิเคราะห์และเสนอแนะมาตรการเพื่อผลักดัน และ สนับสนุนการนํานโยบายไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนพิจารณาเสนอแนะแนวทางและวิธีการแก้ไขปัญหาและ อุปสรรคของการดําเนินการตามนโยบาย และแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ เสนอแนะแนวทางการจัดสรรและ
แผนพัฒนากา รกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) - ซ - แสวงหาทรัพยากรเพื่อส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการกีฬาในทุกภาคส่วนให้เป็นไปอย่างมีประสิท ธิภาพ และ รายงานผลการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตามนโยบาย และแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ เสนอต่อ คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ 3 .2 ระดับการขับเคลื่อนแผน คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ จัดทําและติดตามการดําเนินงานตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชา ติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) คณะอนุกรรมการติดตามการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ คณะอนุกรรมการกลั่นกรอง แผนงาน/โครงการขนาดใหญ่ และบูรณาการการดําเนินงานด้าน กีฬาของประเทศ และคณะอนุกรรมการฯ รายประเด็น การ พัฒนา ภายใต้คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ เพื่อ ติดตามการดําเนินงานตามภารกิจ ที่กําหนดไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ และผลักดัน ขับเคลื่อน ให้ข้อเสนอแนะ การพัฒนาตามแผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ในการจัดทําแผนปฏิบัติการขององค์กรและหน่วยงานที่ รั บผิดชอบ โดย คณะอนุกรรมการ ฯ รายประเด็นการพัฒนา จะเป็นหลักในการ ขับเคลื่ อน ติดตามและ ประเมินผลการดําเนินงานในแต่ละประเด็นการพัฒนาเป็นรายไตรมาสและราย ปี จนสิ้นสุดแผน รวมทั้ง จัดระบบการนิเทศแผนให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับทราบตามประเด็นการพัฒนา โดยกระทรวงการท่องเที่ ยว และกีฬาทําหน้าที่ประสานงานและสนับสนุนการปฏิบัติงานตามนโยบาย และแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ กับ ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และให้คําแนะนําแก่หน่วยงานของรัฐซึ่งมีหน้าที่ดําเนินการตามภารกิจที่กําหนดไว้ใน แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติในการจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนาการกีฬา รวมทั้งจัดทําและพัฒนากลไกและ ระบบการประสานงานด้านการกีฬา เพื่อสร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการการกีฬาของประเทศ ตลอดจน ร่วมมือและประสานงานกับหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการกีฬาของประเทศ ในการ ปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ทั้งนี้ ให้หน่วยงาน ของรัฐซึ่งมีหน้าที่ ดําเนินการตามภารกิจที่กําหนดไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ดําเนินการแก้ไขปรับปรุงแผนปฏิบัติการ พัฒนาการกีฬา และปฏิบัติการ ให้เป็นไปตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) 3 .3 ระดับปฏิบัติการ ให้หน่วยงานซึ่งมีหน้าที่ดําเนินการตามภารกิจที่กําหนดไว้ในแผนพัฒนาการกีฬา แห่งชาติ ดําเนินการ จัดทํา แผนปฏิบัติการพัฒนาการกีฬา และปฏิบัติการ ให้เป็นไปตามแผนพัฒนาการกีฬา แห่งชาติ รวมทั้งแก้ไขปรับปรุงแผนปฏิบัติการพัฒนาการกีฬา ให้เป็นไปตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 - 2570) รวมทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการกีฬาของประเทศ ดําเนินการตามนโยบายที่คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติมอบหมาย โดยการประสานงานและบูรณาการ การดําเนินงานให้สอดคล้องกับการขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 1 - ส่วนที่ 1 : บทนํา ปี พ.ศ. 2560 กล่าวได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายในการพัฒนาการกีฬาของ ประเทศ และเป็นครั้งแรกที่มีการตรึงหมุดหมายที่จะนําไปสู่การกําหนดหลักการสําคัญของการกีฬาของ ประเทศไทย กล่าวคือ มีการบรรจุถ้อยคํา “การกีฬา” ใน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 25 60 ซึ่งประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 นับเป็นครั้งแรกที่มีการบรรจุถ้อยคํา “การกีฬา” ไว้ในกฎหมายสูงสุดของประเทศ นับ ตั้งแต่มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ เมื่อปี พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา ในอันที่จะเป็นการกําหนดทิศทางอันชัดเจนและยั่งยืนของการดําเนินกิจการทางด้านการกีฬาของประเทศ และ ในปีเดียวกันได้มีการตราพระราชบัญญัติที่ส่งผลต่อการกีฬาของประเทศ รวม 2 ฉบับ กล่าวคือ 1 . พระราชบัญญัติการจัดท ํา ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 ซึ่งเป็นการดําเนินการตาม เจตนารมณ์ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 65 2 . พระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการดําเนินการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2560 ซึ่งเป็น การดําเนินการตามเจตนารมณ์ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ ปี พ.ศ. 2561 มีการตรา พระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 โดยประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่ อวันที่ 27 มีนาคม 2561 เพื่ อเป็นหลักการสําคัญของการกําหนดทิศทางและ กระบวนการบริหารจัดการกิจการการกีฬาของประเทศให้มีความชัดเจน สามารถนําไปสู่ การปฏิบัติ อย่างเป็นระบบและมีการดําเนินงานที่ ครอบคลุมในทุกมิติของการกีฬาของประเทศ กอปรกับ ในปีเดียวกัน มีการประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2561 ซึ่งเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการกีฬาได้บรรจุใน ยุทธศาสตร์ชาติ (3) ด้านการพัฒนาและ เสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ที่มีเป้าหมายการพัฒนาที่สําคัญเพื่อพัฒนาคนไทยในทุกมิติและในทุก ช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ พร้อมสําหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 และสังคมไทยมีสภาพแวดล้อม ที่เอื้อและสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต โดยมุ่งเน้นให้คนไทยมีความพร้อม ทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน และมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย ทั้งยัง มุ่งเน้นเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้าง คุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ สร้างสภาพแวดล้อมที่ เอื้ อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ใช้กิจกรรมนันทนาการและกีฬา ในการเสริมสร้างสุขภา วะ พัฒนาทักษะด้านกีฬาสู่ความเป็นเลิศและเป็นอาชีพ ในระดับนานาชาติ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 2 - ปี พ.ศ. 2561 มีการประกาศใช้ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (14) ประเด็น ศักยภาพ การกีฬา โดยประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2562 ซึ่งมุ่งการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยมีเป้าหมายในภาพรวมคือ คนไทยมีสุขภาพ ดีขึ้น มีน้ําใจนักกีฬา และมีวินัย เคารพกฎกติกามากขึ้น ด้วยกีฬา และกําหนดตัวชี้วัดคือ อายุคาดเฉลี่ยของ การมีสุขภาพดี เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ในปีเดียวกัน พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นำยกรัฐมนตรี ได้แถลง นโยบายรัฐบาลต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2562 ซึ่งมีเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา กล่าวคือ ส่งเสริมพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพระดับโลกที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น และพัฒนาการ ท่ องเที่ยวในรูปแบบหลายประเทศจุดมุ่งหมายเดียวกันโดยใช้ประโยชน์ของการท่องเที่ยวเชิงกีฬาและ นันทนาการ ปี พ.ศ. 2563 ประเทศไทยประสบกับปัญหาการแพร่ระบาดของ COVID - 19 ส่งผลให้รัฐบาล ต้องกําหนดมาตรการในการดําเนินการของสถานกีฬาและผู้ประกอบการเกี่ยวกับการกีฬาหลายประการ ส่ งผลให้ มี การเปลี ่ ยนแปลงบริ บททางด้ำนการออกกําลั งกายและการกี ฬาอย่ำงมาก ทั ้ งในเรื ่ อง ของแนวความคิดในการออกกําลังกายและการเล่นกีฬา มาตรการป้องกันร่างกาย มาตรการการใช้สถานกีฬา และพื ้ นที ่ ออกกําลั งกาย ทําให้ รู ปแบบของการออกกําลั งกาย การเล่ นกี ฬา และการชมการเชี ยร์ ต้องเปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งการประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการกีฬาต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบและ วิธีดําเนินการ ให้ สอดรั บสภาพการณ์ ที ่ เปลี ่ ยนแปลงไปจากปั ญหาการแพร่ ระบาดของ COVID - 19 อย่ำงไรก็ ตาม รัฐบาลก็ได้ประกาศใช้ แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติอันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด - 19 พ.ศ. 2564 – 2565 โดยประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2563 ซึ่งมุ่งเน้น การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้สามารถล้มแล้วลุกไว ( Resilience) ด้วยแนวทางการพัฒนาตามหลักการ 3 มิติ คือ การพร้อมรับ ( Cope) , การปรับตัว ( Adapt) และการเปลี่ยนแปลงเพื่อพร้อมเติบโตอย่างยั่งยืน ( Transform) หรือ CAT ( Cope, Adapt, Transform) โดยเฉพาะอย่ำงยิ่งการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการ ด้านสุขภาพ ควบคู่ไปกับการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาวะสร้างภูมิคุ้มกันทั้งทางร่างกายและจิตใจ ปี พ.ศ. 2564 มีการประกาศใช้ แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และทรัพยากรมนุษย์ ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เมื่ อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564 ซึ่งมีเป้าหมายในภาพรวม คือ ประชาชนออกกําลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอบนฐานการมีความรอบรู้ ด้านสุขภาพ เพื่อพัฒนาสุขภาพของตน ให้แข็งแรง และเป็นฐานในการพัฒนานักกีฬาของชาติ ทั้งนี้ มีระยะเวลา ในการดําเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ ระหว่างปี พ.ศ. 2564 – 2565
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 3 - ทั้งนี้ สิ่งที่เป็นความแตกต่างของ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) กับ แผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติ ทั้ง 6 ฉบับ ที่ผ่านมาในอดีต ก็คือ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 เป็นแผนของชาติที่จัดทําขึ้นโดยมีกฎหมายรองรับ คือ พระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 หรืออาจกล่าวได้ว่า ถือเป็นแผนที่จัดทําขึ้นตามกฎหมาย จึงมีสภาพบังคับต่อส่วนราชกา รหรือหน่วยงานที่ระบุ ให้เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีหน้าที่ดําเนินงานตามภารกิจที่กําหนดไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ โดยจะต้อง จัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนาการกีฬาเพื่อรองรับแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติและปฏิบัติการให้เป็นไปตาม แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ซึ่งเป็นไปตามเจตนารมณ์ของ บทบัญญัติตาม มาตรา 15 ของพระราชบัญญัติ นโยบายการกีฬาแห่งชาติ โดยกําหนดให้สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ทําหน้าที่เป็น สํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ ให้คําแนะนําแก่หน่วยงานของรัฐซึ่งมีหน้าที่ ดําเนินการตามภารกิจที่กําหนดไว้ในแผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติ ในการจัดทํา แผนปฏิบัติการพัฒนาการกีฬา หรือดําเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ รายงานผลการติดตามและประเมินผล การปฏิบัติงานตามนโยบายและแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติเสนอต่อคณะกรรมการ ประสานงานและสนับสนุน การปฏิบัติงานตามนโยบายและแผนพัฒนำการกีฬาแห่งชาติกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง จัดทําและพัฒนากลไก และระบบการประสานงานด้านการกีฬา เพื่อสร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการการกีฬาของประเทศ ตลอดจนร่วมมือและประสานงานกับหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการกีฬาของประเทศ ในการปฏิบัติงานตามพระราชบั ญญัตินี้ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ตามเจตนารมณ์ของบทบัญญัติตาม มาตรา 16 (4) (5) (7) (10) ของพระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติฯ อีกด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ ยังกล่าวได้ว่า แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 เป็นแผนพัฒนาการกีฬาของชาติฉบับแรกที่จัดทําขึ้นตามบทบั ญญัติและ เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 กอปรกับ คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ ได้ทําการศึกษาปัญหาและข้อขัด ข้ องของ การดําเนินการตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ทั้ง 6 ฉบับ ที่ผ่านมา จึงได้นําเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ นโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 พร้อมกับแนวทางของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี, แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ (14) ประเด็นศักยภาพการกีฬา, แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และทรัพยากรมนุษย์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจแ ละสังคมแห่งชาติ แผนความมั่นคง และแผนสําคัญอื่น ที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา รวมทั้ง ถอดบทเรียนจากความสําเร็จเพื่อต่อยอดการพัฒนา และนําปัญหาต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาการกีฬาแต่ละระดับของประเทศ มาปรับปรุงและ กําหนดเป็นแนวทางในการ ขับเคลื่อนการพัฒนาการกีฬาของชาติ บรรจุไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ซึ่งจะเป็นกรอบแนวทางในการดําเนินกิจการกีฬาของประเทศให้เป็นกลไกหลักในการสร้างเสริมสุขภาพของ ประชาชนให้มีสุขภาพที่แข็งแรงและมีจิตใจเข้มแข็ง ควบคู่ไปกับการส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาให้ไปสู่ ความเป็นเลิ ศในทุกระดับ ตลอดจน สร้างสรร ค์ สังคมแห่งความรักและสามัคคี พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศให้ บั งเกิ ดประโยชน์ สู งสุ ดแก่ ประชาชน สอดคล้ องกั บความต้ องการของทุ กภาคส่ วน ทั้งภาคประชาชน ภาคราชการ และภาคประชาสังคม อย่างยั่งยืน ทั้งนี้จะนําไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ตาม
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 4 - ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) คือ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศ ที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดย มีกระบวนการการดําเนินงาน ที่ ค ร อบคลุม ทุกมิติ ตามลําดับดังนี้ 1 ) การศึกษาและวิเคราะห์ความสอดคล้องของการพัฒนาการกีฬากับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580 ) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ แผนระดับ 2 และแผนระดับ 3 อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2 ) การศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์ การพัฒนาการกีฬา และอุตสาหกรรม การ กีฬาของป ระเทศ ไทยภายในห้วงระยะเวลาของแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 2564 ) 3 ) การ ศึกษารวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลผลกระทบจากการแพร่ระบาด ของ COVID - 19 ที่ส่งผลต่อวงการกีฬาจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อใช้ใน การ จัดทําแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570 ) 4 ) การ ศึกษา วิเคราะห์ และรวบรวมสถานการณ์แนวโน้มด้านการพัฒนากีฬาและสถานการณ์กีฬา ทั้ งในประเทศและต่างประเทศ ไม่น้อยกว่า 3 ประเทศต่างภูมิภาค ที่ ประสบความสําเร็จ ในการพัฒนาการกีฬา และอุตสาหกรรม การ กีฬาที่โดดเด่น พร้อมถอดบทเรียน ( Best Practice) และค้นหาปัจจัยแห่งความสําเร็จ ( Key Success Factors) 5 ) การประเมิ นผลการดําเนิ นงานในภาพรวมตามแผนพั ฒนาการกี ฬาแห่ งชาติ ฉบั บที ่ 6 (พ.ศ. 2560 – 256 5 ) 6 ) กําหนดกรอบการดําเนินงานในห้วงปี พ.ศ. 256 6 - 2570 และนิยามที่เกี่ยวข้อง 7 ) การ สัมภาษณ์เพื่อขอความคิดเห็นทั้งมิติเศรษฐกิจและสังคมจากผู้บริหารหน่วยงานราชการ ผู้เชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ องค์กร สมาคมและภาคเอกชน ผู้ประกอบการด้านการกีฬา และ สื่อมวลชน จํานวน 22 ราย / หน่วยงาน 8 ) การ จัดประชุมกลุ่มย่อยเพื่อรวบรวมข้อมูล ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ จากผู้บริหารหน่วยงาน ราชการ ผู้เชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ องค์กร สมาคมด้านการกีฬา และสื่อมวลชน สําหรับประกอบการ จัดทําร่างแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570 ) และร่างข้อเสนอแนวทาง การขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ จํานวน 4 ครั้ง โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุมจํานวน 215 คน 9 ) การ จัดทําร่างแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570 ) และร่างข้อเสนอ แนวทางการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ และ จัดประชุมรับฟังความคิดเห็นต่อร่างแผ นพัฒนา การกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570 ) และร่างข้อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนแผน สู่การปฏิบัติ จํานวน 4 ครั้ง ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุมจาก หน่วยงานราชการ ที่ เกี่ ยวข้อง องค์กร สมาคม ที่ เกี่ ยวข้องด้านการกีฬา และภาคเอกชน ผู้ประกอบการด้านการกีฬา และสื่อมวลชน จํานวน 415 คน
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 5 - 10 ) การ จัดทําร่างแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570 ) และร่างข้อเสนอ แนวทางการขั บเคลื ่ อนแผนสู ่ การปฏิ บัติ หลั งจากการประชุ มเพื ่ อรั บฟั งความคิ ดเห็น ทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค 11 ) การประชุมเฉพาะกิจกับหน่วยงานหลักและหน่วย งาน ร่วมดําเนินการ ราย ประเด็น การพัฒนา เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและการขอความเห็นชอบร่วมกันในการกําหนดกลยุทธ์และตัวชี้วัด พร้อมค่าเป้าหมายที่เหมาะสม เพื่อการนําไปใช้อย่างเป็นรูปธรรมในการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ ในลําดับต่อไป ทั ้ งนี ้ จะต้ องนําเสนอ ร่ำงแผนพั ฒนาการกี ฬาแห่ งชาติ ฉบั บที ่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ต่อคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติเพื่อพิจารณาเห็นชอบร่าง และเสนอ สํานักงานสภาพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อพิจารณา ให้ความเห็น ก่อนเสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณา ต่อไป
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 6 - แผนภาพ ที่ 1 - 1 กระบวนการจัดทําแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570 ) สํานักงานสภาพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ พิจารณา ให้ความเห็น คณะ กรรมการ นโยบาย การกีฬาแห่งชาติ เห็นชอบร่าง (ร่าง) แผนพัฒนาการกีฬา แห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) คณะ อนุกรรมการ จัดทํา และติดตามการดําเนินงาน ตาม แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) กรอบการดําเนินงาน ในห้วงปี พ.ศ. 256 6 - 2570 ความสอดคล้องกับ แผนระดับ 1 ระดับ 2 และระดับ 3 การพัฒนาการกีฬา และอุตสาหกรรมกีฬา ของประเทศไทย ปี 2560 - 2564 ผลกระทบ จากการแพร่ระบาด ของ COVID - 19 การพัฒนากีฬาและ สถานการณ์กีฬา ของ ต่างประเทศ ที่ประสบความสําเร็จ ผลการ ดําเนินงาน ตามแผน ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 2564) สัมภาษณ์เชิงลึก ผู้เชี่ยวชาญ ด้านการกีฬา การ ประชุมกลุ่มย่อย เพื่อรวบรวมข้อมูล 4 ครั้ง การ ประชุมรับฟังความคิดเห็นต่อ ( ร่าง ) แผน ฯ ในภูมิภาค 4 ครั้ง การ ประชุมเฉพาะกิจกับหน่วยงานหลัก และหน่วยร่วมดําเนินการ เสนอ คณะรัฐมนตรี เพื่อ พิจารณา • ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2563 ณ โรงแรมอโนมา แกรนด์ กรุงเทพมหานคร • ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564 ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพมหานคร • ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564 ณ โรงแรมอโนมา แกรนด์ กรุงเทพมหานคร • ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564 ณ โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพมหานคร • ภาคเหนือ วันที่ 16 มีนาคม 2564 ณ จังหวัดเชียงใหม่ • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วันที่ 23 มีนาคม 2564 ณ จังหวัดอุบลราชธานี • ภาคใต้ วันที่ 30 มีนาคม 2564 ณ จังหวัดสุราษฎร์ธานี • ภาคกลาง ตะวันออก และตะวันตก วันที่ 7 เมษายน 2564 ณ กรุงเทพมหานคร
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 7 - แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570 ) ได้กําหนดวิสัยทัศน์ว่า “ กีฬาพัฒนาคน สังคม และเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจไทย ” โดยมีพันธกิจหลัก 2 ประการ คือ การกีฬาเป็นกลไกสําคัญในการ เสริมสร้างความมั่นคงทาง สังคม และ การกีฬาเป็นกลไกสําคัญในการเสริมสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ โดยมี ประเด็น การพัฒนาการกีฬา 5 ประเด็น ประกอบด้วย 1 ) การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬา ขั้นพื้นฐาน 2 ) การส่งเสริมและพัฒนา การออกกําลังกายและ กีฬาเพื่อมวลชนให้เป็นวิถีชีวิต 3 ) การส่งเสริมและ พัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ 4 ) การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา และ 5 ) การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา โดยมี ตัวชี้วัด หลัก ของความสําเร็จของ ของแผนฯ คือ ( 1) ประชากรทุกภาคส่วนออกกําลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ภายในปี 2570 ( 2) อันดับการแข่งขันกีฬาในมหกรรมกีฬาระดับนานาชาติของนักกีฬาไทย อยู่ในอับดับ 6 ในระดับเอเชีย ในรายการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกเกมส์ กีฬาพาราลิมปิกเกมส์ กีฬาเอเชียนเกมส์ และกีฬำเอเ ชี ยนพาราเกมส์ ภายในปี 2570 ( 3) บุ คลากรด้ำนการกี ฬาได้ รั บการรั บรองมาตรฐาน เพิ ่ มขึ ้ นร้ อยละ 5 ต่ อปี ( 4) มูลค่าอุตสาหกรรมการกีฬามีอัตราการเติบโตโดยเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี ( 5) มีฐานข้อมูล องค์ความรู้ และแพลตฟอร์มการประมวลผลด้านการส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาอย่างมีประสิทธิภาพ ( 6) มีแผนการขับเคลื่อนติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามประเด็นการพัฒนา และมีการรายงาน ตามแผนรายไตรมาสและรายปี ( 7) มีการประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมที่ เกิดขึ้ นจาก การดําเนินงานตามป ระเด็นการพัฒนา ในระยะครึ่งแผนฯ และสิ้นแผนฯ และ (8) มีแผนการจัดการความเสี่ยง เพื่อเตรียมความพร้อมและป้องกันผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ เช่น โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่ส่งผล ต่อการส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาในแต่ละประเด็นพัฒนา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 8 - ส่วนที่ 2 : สถานการณ์ แนวโน้ม และทิศทางการพัฒนาการกีฬา การกีฬา นับได้ว่าเป็นกิจกรรมสําคัญส่วนหนึ่งในการดําเนินชีวิตของประชาชนทั้งในประเทศและ ต่างประเทศทั่วโลก ซึ่งในหลายประเทศได้ส่งเสริมให้ประชาชนออกกําลังกายและเล่นกีฬาจนกลายเป็น วิถีชีวิต ทั้งนี้เพราะการกีฬาถือเป็นรากฐานของการเสริมสร้างสุขภาพใ ห้ สามารถดําเนินชีวิตได้อย่างเ ป็นปกติสุข และสามารถป้องกันโรคภัยไข้เจ็บได้อย่างเป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ในหลายประเทศยังมี การสร้างความตระหนักรู้และให้ความรู้แก่ประชาชนในการออกกําลังกายและเล่นกีฬาที่ถูกต้องและเหมาะสม กับคุณลักษณะของประชาชนทั้งในเรื่องของเพศ วัย ช่วงอายุ และความ แตกต่างทางด้านสรีระ ซึ่งเป็น การจัดการการกีฬาอย่างมีทิศทางที่ชัดเจน จนสามารถคัดสรรผู้ที่มีทักษะเข้าสู่ระบบการพัฒนาทักษะ ทางการกีฬาเพื่อเข้าสู่การแข่งขันกีฬาในระดับต่าง ๆ ทั้งในระดับประเทศจนเข้าสู่วงการกีฬาระดับนานาชาติ และระดับโลก รวมถึงการพัฒนาต่อยอดไปสู่นั กกีฬาอาชีพ ตลอดจน สามารถพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา ให้สามารถสร้างโครงข่ายหรือพันธมิตรทางการกีฬาจนสามารถเป็นกลไกในการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ ของประเทศจากการบริโภคผลิตภัณฑ์และบริการจากกิจกรรมการกีฬาอย่างครบวงจร อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2563 ได้เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาด COVID - 19 ไปทั่วโลก ส่งผลกระทบ ต่อการดําเนินชีวิตของคนในสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมจนกลายเป็นแนวทางการดําเนิน ชีวิตวิถีใหม่ ( New Normal) ซึ่งมีรูปแบบในการดําเนินชีวิต ดังนี้ 1 ) การรักษาระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) เป็นการหลีกเลี่ ยงการรวมกลุ่ม ของคนในสังคม โดยเปลี่ยนแปลงการดําเนินชีวิตประจําวันจากเดิมที่เคยใช้ชีวิตด้วยการพบปะ มีปฏิสัมพันธ์ และการรวมกลุ่มของคนจํานวนมาก มาเป็นการเว้นระยะห่างทางกาย ไม่สัมผัส ไม่ใกล้ชิดกันดังที่เคยปฏิบัติ มาแต่ก่อน และต้ องปฏิบัติตามคําแนะนําขององค์การอนามัยโลกในการรักษาสุขลักษณะส่วนบุคคล ( Personal Hygiene) รวมถึงการจํากัดจํานวนคนที่ใช้บริการในพื้นที่สาธารณะ และมุ่งเน้นการใช้เวลาอยู่บ้านของตนเอง ให้มากที่สุด ซึ่งจะเป็นมาตรการลดสาเหตุการแพร่กระจายและลดความเสี่ยงจาก COVID - 19 2 ) ความใกล้ชิดกับโลกออนไลน์ มีแนวโน้มของการใช้เครื่องมือสื่อสารอินเทอร์เน็ตเข้ามา มีบทบาทในชีวิตประจําวันมากขึ้น เพราะเป็นการดําเนินชีวิตเป็นการส่วนตัว มีการติดต่อสื่อสาร ดํารงบทบาท การปฏิบัติงานในลักษณะ Work From Home การเรียนการศึกษา การทําธุรกรรมทางการเงิน กำรจับจ่าย ใช้สอย และการค้นหาข้อมูลที่น่าสนใจ ส่งผลให้ผู้คนจํานวนไม่น้อยที่ในอดีตไม่คุ้นเคยกับโลกออนไลน์ ต้องหันมาเรียนรู้ ใช้บริการและใช้ชีวิต จนกลายเป็นเรื่องปกติในช่วงที่มีการรักษาระยะห่างทางสังคม ควบคู่ ไปกับการเฝ้าระวังและคอยติดตามข้อมูลข่าวสารของ COVI D - 19 อย่างใกล้ชิด 3 ) ความใส่ใจสุขภาพ ประชาชนส่วนใหญ่ต่างตระหนักในเรื่องของการมีสุขภาพดีเป็นเรื่อง สําคัญ โดยเฉพาะในช่วงที่ต้องดําเนินชีวิตส่วนมากในที่อยู่อาศัย ย่อมส่งผลให้ประชาชนหันมาใส่ใจสุขภาพของ ตนเองเพิ่ มขึ้ น ด้วยการออกกําลังกายในลักษณะที่ ชอบ ซึ่ งอาจมีกา รใช้บริการในหลากหลายสถานที่ ทั้งในสวนสาธารณะ สนามกีฬา หรือที่อยู่อาศัย เพื่อให้ร่างกายแข็งแรง มีรูปร่างเป็นที่น่าพอใจ และช่วย ผ่อ น คลายความเครียด ทั้งยัง มีเหตุผลในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสมกับตนเอง ตลอดจน มีความเข้มงวดในด้านสุขอนามัยเบื้ องต้น อาทิ ความถี่ในการล้างมือ การใช้เจลแอลกอฮอล์หลังสัมผัส สิ่งของในพื้นที่สาธารณะ การสวมใส่หน้ากากอนามัยเมื่อออกนอกที่อยู่อาศัย
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 9 - ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาสถานการณ์และแนวโน้มการกีฬาของโลก และสถานการณ์และแนวโน้มการกีฬา ของประเทศไทย สามารถแสดงรายละเอียดดังนี้ 1 . สถานการณ์และแนวโน้มการกีฬาของโลก จากการทบทวนข้อมูลของ KEARNEY 1 , The Business Research Company 2 และ Research and Markets 3 ที่ ได้ทําการศึกษามูลค่าของ ตลาด การกีฬาทั่วโลก โดยตลาดการกีฬาที่มีการศึกษานี้ ครอบคลุม สินค้าและบริการที่เกี่ยวข้องกับการแข่งขันกีฬา ที่หลากหลาย ครอบคลุม สโมสรกีฬา ผู้ฝึกสอน นักกีฬา ผู้ให้บริการสนามกีฬาหรือสถานที่ออกกําลังกาย สินค้าทางการกีฬา สินค้าลิขสิทธิ์ และการถ่ายทอดสด การ แข่งขันกีฬา พบว่า ใน ปี 2562 ตลาดกำรกีฬา ของโลก มีมูลค่าประมาณ 458 . 8 พันล้านดอลลาร์ ส่วนใน ปี 2563 มีมูลค่าประมาณ 388 . 3 พันล้านดอลลาร์ ซึ่งพบว่าอัตราการเติบของมูลค่าตลาดการ กีฬา ทั่วโลกลดลง ถึง ร้อยละ 15 . 4 โดยการลดลงส่วนใหญ่เกิดจากการล็ อกดาวน์ที่บังคับใช้โดยประเทศต่าง ๆ และการชะลอตัวทางเศรษฐกิจในหลายประเทศ เนื่องจากการระบาดของ COVID - 19 การเว้นระยะห่างทาง สังคม และ มาตรการควบคุมการระบาดของ COVID - 19 ของประเทศต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม มีการคาดการณ์ ว่า ตลาด การกีฬาจะสูงถึง 599 . 9 พันล้านดอลลาร์ในปี 2568 และ 826 . 0 พันล้านดอลลาร์ในปี 2573 เนื่องจากการเกิดขึ้นของ E s port s และการเกิดขึ้นของช่องทางต่าง ๆ ที่ทําให้ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงกีฬา ได้เพิ่มขึ้น เช่น การรับชมกีฬาผ่าน แพลตฟอร์ม Hotstar ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มสตรีมวิดีโอของ Star India เป็นผู้แพร่ภาพกระจายเสียงอย่างเป็นทางการของ Indian Premier League (IPL) มีอัตราการรับชมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 74 ในช่วงปี 2562 เมื่อเทียบกับปี 2561 และคาดว่าจะมีการรับชมเพิ่มขึ้น อีกในฤดูกาล IPL ในอนาคต จึงเป็นส่วนช่วย ผ ลักดันรายรับของ อุตสาหกรรมการ กีฬา นอกจากนี้ การเติบโตของ Social Media ทําให้นักกีฬาสามารถเข้าถึงกลุ่มแฟนคลับได้ง่ายขึ้น ซึ่งพบว่าในช่วงล็อกดาวน์ที่ผ่านมา การใช้ Social Media ในประเทศอังกฤษมีการเติบโตเพิ่มขึ้นร้อยละ 40 นอกจากนี้ ยังมีการนํา เอา เทคโนโลยี AR (Augmented reality) และ VR (Virtual reality) มาปรับแต่งการมีส่วนร่วมกับแฟนคลับ เพื่อเสนอขายสินค้าและบริการ ทางการกีฬา รวมถึงการนําเทคโนโลยีดังกล่าวมาผสมผสานรูปแบบการออกกําลังกาย เพื่อให้เกิดเป็นบริการ ใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งล้ว นเป็นปัจจัยที่ทําใ ห้คาดการณ์ว่าตลาด การกีฬาจะมีมูลค่าเพิ่มขึ้นในอนาคต ด้าน ส่วนแบ่ง การ ตลาดของการกีฬาในระดับภูมิภาคของโลก พบว่า ในปี 2563 ทวีปอเมริกาเหนือ มีส่วนแบ่งทางการตลาดสูงสุดที่ร้อยละ 35 รองลงมา คือ ทวีปเอเชียแปซิฟิก ร้อยละ 30 โดยทวีปแอฟริกา มีส่วนแบ่งทางการตลาดน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาผลความสําเร็จของประเทศต่าง ๆ ในการพัฒนาขีดความสามารถของนักกีฬา พบว่า การแข่งขันกีฬาระดับโลกที่นักกีฬาจากทั่วทุกมุมโลกมารวมตัวกันเพื่อแข่งขัน และสร้างชื่อเสียง สร้างเกียรติภูมิ ให้แก่ประเทศ คือ การแข่งขันกีฬาโอลิมปิ ก หากพิจารณาจากจํานวนเหรียญที่ได้จากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก 1 https://www.kearney.com/communications - media - technology/article?/a/the - sports - market 2 https://www.thebusinessresearchcompany.com/report/sports - market 3 https://www.researchandmarkets.com/reports/ 5145604 / global - sports - coaching - market - 2021 - 2025
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 10 - ฤดูร้อนตั้งแต่ปี 2439 ถึงปัจจุบัน พบว่าประเทศที่ได้รับเหรียญรางวัลสูงที่สุด 5 อันดับแรก คือ สหรัฐอเมริกา ( 2 , 827 เหรียญ) รองลงมา คือ อังกฤษ ( 883 เหรียญ) เยอรมนี ( 855 ) ฝรั่งเศส ( 840 เหรียญ) และอิตาลี ( 701 เหรียญ) ตามลําดับ นอกจากนี้ หากพิจารณาจํานวนเหรียญที่ได้จากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน ร่วมกับจํานวนครั้งที่เข้าร่วมการแข่งขัน พบว่า สหภาพโซเวียต มีจํานวนเหรียญทั้งหมดต่อจํานวนครั้งที่เข้าร่วม การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนสูงที่สุดที่ 11 2 . 2 เหรียญ รองลงมา คือ สหรัฐอเมริกา ( 93 . 4 เหรียญ) เยอรมนีตะวันออก ( 81 . 8 เหรียญ) รัสเซีย ( 71 เหรียญ) และ จีน ( 54 . 6 เหรียญ) ตามลําดับ 4 ด้าน ชนิดกีฬาที่ได้รับความนิยม สูงสุด 10 อันดับแรกของโลก 5 ซึ่ง เกณฑ์ที่ใช้ในการจัดอันดับกีฬา ยอดนิยม ได้แก่ 1 ) ฐานแฟนคลับและผู้ชมทั่วโลก 2 ) ผู้ชมทางทีวี 3 ) ข้อเสนอเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ทีวี 4 ) ความนิยม บน อินเตอร์เน็ต 5 ) การมีตัวตนบน Social Media 6 ) จํานวนลีกอาชีพในโลก 7 ) เงินเดือนเฉลี่ยของนักกีฬา ในลีกสูงสุด 8 ) ข้อเสนอของผู้สนับสนุน 9 ) จํานวนประเทศที่กีฬาชนิดนั้นเป็นที่นิยม 10 ) กิจกรรมแข่งขันกีฬา ที่ ใหญ่ที่ สุด 11 ) มีการดําเนินกิจกรรมตลอดทั้ งปี 12 ) ความเท่าเทียมกันทางเพศ 13 ) การเข้าถึง ของสาธารณชน 14 ) จํานวนนักกีฬาสมัครเล่นทั่วโลก 15 ) ความโดดเด่นของกีฬาในการพาดหัวข่าวของ สื่อสิ่งพิมพ์และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ พบว่า 5 อันดับแรก ได้แก่ ฟุตบอล รองลงมา คือ คริกเก็ต บาสเกตบอล ฮอกกี้ และเทนนิส ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที่ 2 - 1 6 ตารางที่ 2 - 1 ชนิดกีฬาที่ได้รับความนิยม จากคนทั่วโลก อันดับที่ ชนิดกีฬา จํานวนแฟนคลับและ ผู้ชมทั่วโลก (คน) ความนิยมในระดับภูมิภาค 1 ฟุตบอล 3 . 5 พันล้าน ยุโรป แอฟริกา เอเชีย อเมริกา 2 คริกเก็ต 2 . 5 พันล้าน เอเชีย ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร 3 บาสเกตบอล 2 . 2 พันล้าน สหรัฐอเมริกา แคนาดา จีน ฟิลิปปินส์ 4 ฮอกกี้ 2 พันล้าน ยุโรป แอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย 5 เทนนิส 1 พันล้าน ยุโรป อเมริกา เอเชีย 6 วอลเลย์บอล 900 ล้าน เอเชีย ยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย 7 ปิงปอง 850 ล้าน เอเชีย ยุโรป แอฟริกา อเมริกา 8 เบสบอล 500 ล้าน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น คิวบา สาธารณรัฐโดมินิกัน 9 อเมริกันฟุตบอล 410 ล้าน สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศ ส อังกฤษ นิวซีแลนด์ แอฟริกาใต้ 10 กอล์ฟ 390 ล้าน ยุโรป เอเชีย อเมริกา แคนาดา 4 https://www.topendsports.com/events/summer/medal - tally/all - time.htm 5 https://sportsshow.net/top - 10 - most - popular - sports - in - the - world/ 6 https://mostpopularsports.net/in - the - world
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 11 - นอกจากนี้ แนวโน้มและทิศทางการกีฬาของโลก จากรายงานการจัดทําแผนยุทธศาสตร์การกีฬา แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2564 - 2570 พบว่าจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID - 19 ทําให้ การจัดการแข่งขันกีฬาของโลก ถูกเลื่อนการแข่งขันหรือยกเลิกไป ทั้งในส่วนของมหกรรมกีฬาระดับนานาชาติ หรือกีฬาอาชีพรายการต่าง ๆ ได้แก่ กีฬาโอลิมปิกเกมส์ ครั้งที่ 32 ณ ประเทศญี่ปุ่น การแข่งขันกีฬาอาชีพ ต่าง ๆ เช่น ฟุตบอลลีกประเทศอังกฤษ ( Premier League), ฟุตบอลลีกประเทศสเปน ( La Liga), ฟุตบอลลีก ประเทศเยอรมนี ( Bundes Liga), ฟุตบอลลีกประเทศอิตาลี ( Calcio Seria A) หรือในสหรัฐอเมริกา ได้แก่ บาสเกตบอล ( NBA) นอกจากนี้ยังมีกีฬาอาชีพอื่น ๆ ที่จัดการแข่งขันไปตามประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็น เทนนิสอาชีพ ( ATP Tour และ WTA Tour) กอล์ฟอาชีพ ( PGA Tour, European Tour และ LPGA Tour) รถยนต์สูตร 1 ( Formula 1) จักรยานยนต์ชิงแชมป์โลก ( Moto GP) ล้วนต่างก็ได้รับผลกระทบทําให้ต้อง ยกเลิกการแข่งขันหรือจัดการแข่งขันแบบไม่มีผู้ชมเข้าชมในสนำม ซึ่งส่งผลทําให้ผู้จัดการแข่งขัน สโมสร และ นักกีฬา สูญเสียรายได้จากการแข่งขันไปเป็นจํานวนมาก จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID - 19 ข้างต้น หลายประเทศทั่วโลกต่างมีความตระหนักและ มุ่งเน้นในเรื่องของการดูแล รักษาและพัฒนาสุขภาพและพลานามัยที่ดีของประชาชนเพื่อให้เกิ ดความสมบูรณ์ แข็งแรง ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ เพื่อป้องกันมิให้ประชาชนติดเชื้อ COVID - 19 ซึ่งจะนําไปสู่การมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีของคนในชาติ ซึ่งเมื่อคนในชาติมีคุณภาพดีก็จะเป็นผู้ที่พัฒนาประเทศชาติให้มีความเข้มแข็ง เจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืน โดยดําเนินการควบคู่ไปกับการให้ความสําคัญในการพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ ของชาติเพื่อสร้างชื่อเสียง สร้างเกียรติ ภูมิให้แก่ประเทศจากการประสบความสําเร็จของนักกีฬาที่เป็นตัวแทน ของประเทศ และการต่อยอดไปสู่การเป็นนักกีฬาอาชีพ เพื่อสร้างรายได้ให้กับตนเอง และสร้างมูลค่า ทางเศรษฐกิจให้กับประเทศได้ นอกจากนี้ การแพร่ระบาดของ COVID - 19 ส่งผลกระทบอย่างมหาศาล ต่อกิจกรรมการกีฬาทั่ว โลก ตั้งแต่การออกกําลังกายและการเล่นกีฬาทั่วโลก ทั้งการออกกําลังกายและการเล่น กีฬาส่วนบุคคล การเล่นกีฬาของกลุ่มคน การแข่งขันกีฬาในระดับต่าง ๆ การชม การเชียร์ ซึ่งมีมาตรการ เข้มงวดในการให้ประชาชนใช้ประโยชน์จากสถานที่สาธารณะและสถานกีฬา เพื่อการออกกําลังกายและ การ เล่นกีฬา ทั้งยัง มีมาตรการจํากัดจํานวนผู้ชมและผู้เชียร์กีฬาในการแข่งขันกีฬา รวมถึงกําหนดแนวทาง การปฏิบัติอย่างเข้มงวดในการปฏิบัติจนเมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการกีฬาในทุกโอกาส นอกจากนี้ ยังเลื่อนหรืองด การจัดการแข่งขันมหกรรมกีฬารายการที่สําคัญหลายรายการ เพื่อเป็นการระ งับและป้องกันการแพร่ระบาด ของ COVID - 19 โดยที่ปัญหาดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อจิตใจและของผู้คนในวงการกีฬาและประชาชนทั่วไป เป็นอย่างมาก เนื่ องจากการแข่งขันกีฬามีวัตถุประสงค์หลักคือเป็นการเปิดพื้ นที่ ให้ประชาชนที ่ มี ความหลากหลายเข้ามาทํากิจกรรมร่วมกัน ด้วยความสนุก ค วามตื่ นเต้น และเกิดแรงบันดาลใจที่ ดี จากการแข่งขันและบรรยากาศในการแข่งขัน จนนํามาสู่การงดใช้สนามกีฬา สวนสาธารณะ และสถาน ออกกําลังกายประเภท Fitness เมื่อเป็นเช่นนี้ รูปแบบของการออกกําลังกายและการเล่นกีฬาจึงปรับเปลี่ยนเป็นกิจกรรมส่วนบุคคล และการใช้ประโยชน์จากสื่อออนไลน์มากยิ่งขึ้น ในรูปแบบของกีฬาในยุคชีวิตวิถีใหม่ ( New Normal ) กล่าวคือ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 12 - 1.1 รูปแบบของกิจกรรมการกีฬา มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ ลักษณะของการสอน และ การจัดกิจกรรม ของการออกกําลังกายหรือเล่นกีฬา ที่มุ่งเน้นกิจกรรมที่จะทําให้ไม่เกิดการสัมผัสกายหรือ การรวมกลุ่มในการดําเนินกิจกรรม จึงเป็นการหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับกลุ่มเสี่ยงและป้องกันการแพร่ระบาด ของ COVID - 19 ได้ โดยในส่วนของการแข่งขันกีฬาจะพบเห็นภาพของสนามกีฬาที่ว่างเปล่าไ ร้ชีวิตชีวา บนอัฒจันทร์ที่ไร้ผู้ชม ผู้เชียร์ ในขณะที่บางสนามเลือกที่จะแข่งขันแบบปิด ไม่มีผู้ชม ผู้เชียร์ จึงแสดงให้เห็นแล้ว ว่ากีฬาที่ได้รับ ความ นิยมและสนามกีฬาที่มีความจุหลายหมื่นที่นั่งกลับไม่มีผู้ชม ผู้เชียร์ ทั้งนี้ การแพร่ระบาด ของ COVID - 19 ได้ส่งผลให้ม หกรรมกีฬาโอลิมปิกเกมส์ ครั้งที่ 32 ต้องเลื่อนออกไป และมหกรรมกีฬาในระดับ ต่าง ๆ ทั้งในทวีปเอเชียและระดับสากลต้องทยอยยกเลิกอย่างต่อเนื่อง สําหรับในประเทศไทยก็ได้รับผลกระทบ เป็นอย่างมากทําให้รัฐบาลกําหนดมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของ COVID - 19 หลายมาตรการรวมทั้ง ใน เรื่องของกีฬาด้วย ทั้งในเรื่องการงดใช้หรือจํากัดการใช้สถานกีฬาทั้งสาธารณะและเอกชน การกําหนด มาตรการการป้องกันในขณะออกกําลังกายหรือใช้บริการ 1.2 รูปแบบการชมและการเชียร์ มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการชมและเชียร์จากเดิม ที่มีผู้ชม สามารถชมและเชียร์ในสนามที่จัดการแข่งขัน มาเป็นรูปแบบของการชมและเชียร์จําลอง ซึ่งเป็นการแก้ไข ปัญหาใหญ่ของเกมกีฬาในเวลานี้ กล่าวคือ การที่ ผู้ ชมไม่สามารถเข้ามาชมการแข่งขันในสนามได้ และในการแข่งขันที่มีการถ่ำยทอดสดไปทั่วโลก แต่กลับไม่มีแฟนบอลปรากฏในสนาม ส่งผลให้สถานีโทรทัศน์ กีฬาที่มีชื่อเสียงระดับโลกพยายามหาทางออกและออกแบบการใช้เสียงเชียร์จําลอง ( Artificial Crowd Noise) ในระหว่างการถ่ายทอดสด โดยเสียงเชียร์นั้นจะมีหลายสถานการณ์ อาทิ เสียงเฮ เสียงโห่ และในเวลาต่ อมา สโมสรกีฬาฟุตบอลในยุโรปได้พัฒนาแอปพลิเคชันที่เรียกว่า myApplause โดยที่ผู้ชมสามารถเลือกได้ว่า มีความประสงค์จะส่งเสียงเชียร์ ส่งเสียงโห่ ปรบมือ ร้องเพลง หรือเป่าปาก ในช่วงเวลาต่าง ๆ ระหว่าง การแข่งขัน รวมทั้งสามารถจับจองที่นั่งชม โดยนําภาพถ่ายส่วนบุคคลขอ งผู้ชมไปตั้งไว้บริเวณที่นั่งชมในสนาม และยินยอมใช้จ่ายเงินเพื่อการรับชมหน้าสื่อออนไลน์ นอกจากนี้ ยังสามารถมีส่วนร่วมในเกม การแข่งขัน ได้อีกด้วย อาทิ การกด CLAP เพื่อปรบมือให้กําลังใจได้ การกด WHISTLE เพื่อเป่าปากได้ จึงเป็นการชมและ เชียร์จําลองได้อย่างน่าสนใจ 1.3 นวัตกรรมผลิตภัณฑ์การกีฬา ( Sporting Goods Innovation) เพื่ อเป็นการหลีกเลี่ ยง การติดเชื้อของนักกีฬา จึงมีการออกแบบผลิตภัณฑ์การกีฬาขึ้นใหม่ เพื่อใช้สําหรับการใช้งานและเป็นมาตรการ รักษาความปลอดภัยหลายรายการ อาทิ หน้ากากเพื่อการฝึกซ้อมและเพื่อการแข่งขันในยุค COVID - 19 ที่เรียกว่า Altitude Mask N 95 ซึ่งเป็นหน้ากากที่ถูกออกแบบมาเพื่ อปกป้องนักกีฬาในยุค COVID - 19 โดยหน้ากากนี้ผลิตจากซิลิโคนเป็นหลัก มีฟิลเตอร์กรองอากาศ N 95 ที่ป้องกันการติดเชื้อได้เป็นอย่างดี และมีวาล์วเปิด - ปิดได้อีก 6 ระดับ ทําให้นักกีฬาหายใจได้อย่างสะดวก ไม่อึดอัด นอกจากนี้ ยังมีการออกแบบ ผลิตภัณฑ์การกีฬา และอุปกรณ์การกีฬาเพื่อรองรับยุค COVID - 19 อีกหลายรายการ โดยจะจัดจําหน่ายให้แก่ นักกีฬาระดับอาชีพเป็นจุดเริ่มต้น และจะขยายไปสู่ประชาชนเพื่อใช้สําหรับการออกกําลังกายและเล่นกี ฬาต่อไป 1.4 มาตรการคัดกรองและอํานวยความสะดวก ซึ่งเป็นวิถีปฏิบัติใหม่โดยมุ่งเน้นการคัดกรอง ก่อนเข้าสถานที่ด้วยการตรวจเช็กอุณหภูมิ การกําหนดระยะเวลาการใช้บริการ การรักษา ระยะห่าง ระห ว่ำ ง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 13 - ในการออกกําลังกายเป็นกลุ่มหรือหมู่คณะ ควบคู่ไปกับการรักษาความสะอาดของสถานกีฬาและพื้ นที่ อํานวยความสะดวกอื่น อาทิ ห้องน้ํา ห้องอาบน้ํา ห้องแต่งตัว เก้าอี้ ที่นั่ง จนถึงพื้นสนาม ซึ่งจะต้องมี การทําความสะอาดฆ่าเชื้ออย่างสม่ําเสมอ หรือการพ่นฆ่าเชื้อทุกจุด ตลอดจน การใช้อุปกรณ์หรือสิ่งอํานว ย ความสะดวกสําหรับตนและหลีกเลี่ยงการใช้สิ่งของร่วมกัน รวมถึง การปรับพฤติกรรมบางอย่าง อาทิ งดเว้น การจับมือ งดการฉลองร่วมกัน การจัดหาน้ํายาทําความสะอาดมือ งดการจับมือกันระหว่างผู้เล่นทั้งสองทีม ก่อนลงสนาม (โดยให้ผู้เล่นฝ่ายเจ้าบ้านเดินผ่านนักเตะทีมเยือนเพื่อให้เกียรติคู่แข่งขันแทน) นอกจากนี้ ยังมี การติดประกาศให้คําแนะนํา วิธีการปฏิบัติตัวของผู้เข้าชมการแข่งขันถึงความปลอดภัย 1.5 การดําเนิ นโครงการ Bubble Quarantine ซึ ่ งเป็ นมาตรการป้ องกั น COVID - 19 อย่างครบวงจร ด้วยการกํากับดูแลนักกีฬาและเจ้าหน้าที่ทุกคนที่เข้าร่วมการแข่งขัน ตั้งแต่ก่อนออกเดินทาง ต้ องมี การจั ดหาใบรั บรองแพทย์ ( Fit - to - Fly health certificate) ที ่ แพทย์ ออกให้ ไม่ เกิ น 72 ชั ่ วโมง ก่อนเดินทาง และเมื่อเดินทางถึงประเทศที่จัดการแข่งขันก็จะต้องกักตัวและห้ามออกก่ อนครบกําหนด 14 วัน หลังจากนั้น จะมีการตรวจหาเชื้ออย่างต่อเนื่องและถี่มาก ตั้งแต่ก่อน ระหว่าง และหลังการกักตัว ตรวจหาเชื้อ ไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ 2 ครั้ง โดยทุกคนต้องรับประทานอาหารกล่องคนเดียวในห้องพักเดี่ยวที่มีการแบ่งแยก ประเทศ ทั้งในเชิงกายภาพและตารางเวลาซ้อม โดยห้ามแต่ละประเทศพบกัน ซึ่งนักกีฬาจากประเทศต่าง ๆ จะพบกันขณะแข่งขันเท่านั้น จนกว่าจะถึงวันสุดท้ายของรายการแข่งขัน สําหรับผู้ไม่ผ่านมาตรการหากประสงค์ จะออกจากโครงการ ต้องรอจนพ้น 14 วัน และไม่สามารถกลับเข้ามาในบับเบิลได้อีก รวมทั้งห้ามผู้ที่อยู่ ภายนอกบับเบิ ลเข้าโดยเด็ดขาดด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ หากผู้ใดกระทําผิดมาตรการแม้เพียงข้อเดียวก็จะหมดสิทธิ์ แข่งขัน และต้องถูกตรวจเชื้ออีกครั้งก่อนถูกส่งตัวกลับไปประเทศของตน ซึ่งทั้งหมดนี้ถือเป็นมาตรการที่กําหนด ไว้เพื่อความปลอดภัยสูงสุด 1.6 การฝึกซ้อมทางไกล ถือว่าเป็นอีกพฤติ กรรมทางการกีฬาที่เกิดขึ้นใหม่ภายหลังเกิดการแพร่ ระบาดของ COVID - 19 โดยการใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการฝึกซ้อมแบบนักกีฬาอาชีพในรูปแบบการฝึกซ้อม แบบทางไกลผ่านระบบ Zoom โดยมีการกําหนดโปรแกรมของการฝึกซ้อมและวัดผลสมรรถภาพของนักกีฬา ซึ่งในเวลาต่อมา ก็ได้มีการออกแบบการฝึกซ้ อมของบุคคลทั่วไป รวมถึง สามารถพัฒนาขีดความสามารถ ทางร่างกายให้ทัดเทียมนักกีฬาอาชีพได้อีกด้วย 1.7 การแข่งขัน Esports จากการแพร่ระบาดของ COVID - 19 ในช่วงแรก ซึ่งส่งผลให้เกม ส์ กีฬา ทั่วโลกต้องหยุดชะงัก จึงมีการเปลี่ยนแปลงเวทีแข่งขันจากสนามจริงไปสู่สนามแข่งในเกม Esports แทน ซึ่งมีกีฬาที่บุกเบิกเข้าสู่ระบบนี้ คือ กีฬาฟุตบอล ที่เกิดมี FIFA 20 และ PES 2020 โดยจําลอง นักฟุตบอล ลงสนามแข่งขัน โดยเฉพาะรายการสําคัญและมีการสร้างตั วนักกีฬาจากนักกีฬาจริงในทีมฟุตบอล ในลีก ของประเทศสําคัญในยุโรปมาสู่เกมส์การแข่งขัน ทําให้ความตื่นเต้น เร้าใจ มีมากมายไม่แตกต่าง จากการแข่งขัน ในสนามจริง ต่อมาก็พัฒนาไปสู่เกมส์รถแข่ง F 1 ซึ่งต่อยอดจากการจัดการแข่งขัน Virtual GP โดยนํานักขับจริง มาแข่งกับนักกีฬา Esports เราได้เห็นนักขับดัง ๆ อย่าง ชาร์ลส์ เลอแกลร์ก เข้าป้ายเป็นอันดับ 1 ของการ แข่งขันด้วย และพัฒนาไปสู่กีฬาต่าง ๆ อาทิ เทนนิสในการแข่งแบบ Esports ในรายการ Mutua Madrid Open Virtual Pro
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 14 - 1.8 การเฝ้าระวังและติดตามข้อมูลข่าวสารของพื้นที่ อย่างใกล้ชิด เป็นการปฏิบัติตาม คําแนะนําขององค์การอนามัยโลกและเจ้าหน้าที่ในพื้นที่รักษาสุขลักษณะส่วนบุคคล ( Personal Hygiene) รวมทั้ง การปฏิบัติตามคําแนะนําของคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ( International Olympic Committee: IO C ) เพื่ อการเตรียมพร้อมสําหรับการแข่งขันกีฬาชนิดต่าง ๆ หรือการเตรียมพร้อมเสมอจนกว่าจะมี ความเปลี่ยนแปลง หรือคอยติดตามข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจเข้าร่วมการแข่งขันรายการต่าง ๆ อย่างต่อเนื่ อง รวมทั้ง มีการกําหนดวิธีการปฏิบัติที่น่าสนใจ อาทิ การกําหนดความร่วมมื อของทุกคน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID - 19 การวิ่งคบเพลิง Hope Lights Our Way การสแกน QR Code เพื่อตรวจสอบรายชื่อและคุณสมบัติของนักกีฬา อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID - 19 ทําให้การจัดการแข่งขันกีฬา ของโลก ถูกเลื่อนการแข่งขันหรือยกเลิกไป ทําให้ การดําเนินชีวิตของคนในสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม จนกลายเป็นแนวทางการดําเนิน ชีวิตวิถีใหม่ ( New Normal) ซึ่งมีรูปแบบในการดําเนินชีวิต และ รูปแบบของ การออกกําลั งกายและการเล่ นกี ฬาจึ งปรั บเปลี ่ ยนเป็ น การจั ดการแข่ งขั นกี ฬาและ มหกรรม กี ฬา ในยุคชีวิตวิถีใหม่ ( New Normal ) โดยภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID - 19 ได้มี การจัด การแข่งขันกีฬาและมหกรรมกีฬาในยุคชีวิตวิถีใหม่ ( New Normal) รายการใหญ่ ๆ ของโลก คือการแข่งขัน ฟุตบอลยูโร 2020 หรือฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020 และมหกรรมกีฬาโอลิมปิกเกมส์ ครั้งที่ 32 การแข่งขันฟุตบอลยูโร 2020 หรือฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020 ( UEFA European Football Championship: Euro 2020 ) 7 เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์ยุโรปครั้งที่ 16 จัดขึ้นโดยยูฟ่า เป็นครั้งแรกที่จะมีการแข่งขันใน 11 เมืองของทวีปยุโรป เพื่อเป็นการฉลองครบรอบ 60 ปีของการแข่งขัน ทัวน์นาเมนต์ฟุตบอลยูโร 2020 ได้ถูกจัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 เดือนมิถุนายน ถึงเดือนกรกฎาคม 2021 โดยฟุตบ อลยูโร 2020 ได้ถูกเลื่อนการแข่งขันมา 1 ปี เนื่องจากการแพร่ระบาดของ COVID - 19 อย่างหนัก ในยุโรป หลายชาติต่างได้รับผลกระทบ ซึ่งการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปในรอบ 4 ปีครั้ง ถือเป็น การแข่งขันกีฬารายการใหญ่ที่สุดรายการหนึ่งของโลก ซึ่งดึงดูดผู้ชมได้หลายร้ อ ย ล้านคนทั่วโลก และสร้างกําไร ให้ยูฟ่าได้หลายร้อยล้านดอลลาร์ในการจัดการแข่งขันแต่ละครั้ง โดยสหพันธ์ฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) และ สมาคมฟุตบอลประเทศต่าง ๆ ได้มีมาตรการในการจัดการแข่งขันที่ปลอดภัยมากขึ้น ดังต่อไปนี้ 8 1 . การเข้าชมในสนามแฟนบอลที่ มีตั๋วจะเข้าสนามได้ล่วงหน้า 30 นาที ไม่สามารถไปนั่ งรอ ได้เป็นชั่วโมงเหมือนในอดีต 2 . การเข้าชมต้องสวมหน้ากากตลอดเวลา 3 . การเข้าชมต้องเว้นระยะห่างอย่างน้อย 1.5 เมตร 4 . การเข้าชมควรล้างมือก่อนเข้าสนาม โดยจะมีอุปกรณ์ล้างมือให้หน้าสนาม 5 . ห้ามจับมือ กอดกับคนอื่น ๆ ช่วงพักครึ่งควรนั่งอยู่กับที่ และเดินไปจุดอื่น ๆ ให้น้อยที่สุด 6 . ผู้ที่มีอาการของการติดเชื้อของ COVID - 19 จะไม่อนุญาตให้เข้าสนาม 7 . ห้ามครอบครัวและแฟนสาวของนักฟุตบอลยูฟ่าไปที่แคมป์เก็บตัว เพื่อให้นักฟุตบอลและสต๊าฟฟ์ ทุกคนอยู่ในบับเบิลของการป้องกันเชื้อ 7 https://www.thansettakij.com/general - news/ 483590 8 https://www.prachachat.net/d - life/news - 685953
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 15 - 8 . ในบางสนามที่ไม่อนุญาตให้กองเชียร์ต่างชาติเข้ามาชมเกมได้เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของ COVID - 19 แต่รัสเซียมีการเปิดสนามให้แฟนบอลต่างชาติเข้า ได้ แต่อยู่ในมาตรการการรักษา ข้อบังคับต่าง ๆ อย่างเข้มงวด 9 . นักฟุตบอลของแต่ละทีมหลังจากรับศึกหนักในลีกมาตลอดทั้งปี และมีนักฟุตบอลหลายคนติดเชื้อ ของ COVID - 19 ยูฟ่าจึงอนุญาตให้เพิ่มจํานวนนักฟุตบอลจากจํานวน 23 คนเป็น จํานวน 26 คน ที่จะช่วยให้แต่ละทีมสามารถบริหารจัด การทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 10 . ในม้านั่งข้างสนามแต่ละทีมมีผู้เล่นอยู่ในม้านั่งตัวสํารองได้ไม่เกิน 18 คน คือมีผู้เล่น 12 คน และทีมงานอีก 6 คนรวมถึงแพทย์ประจําทีมด้วย และอีก 5 ที่นั่งสําหรับฝ่ายเทคนิคประจําทีม ซึ่งยูฟ่ายังได้กําหนดการเว้นระยะห่างระหว่างที่นั่ง และตําแหน่งม้านั่งอย่างละเอียด หากมีม้านั่ง เพิ่มก็ต้องแยกออกจากคนภายนอก 11 . การแข่งขันในประเทศตัวเอง ผู้ เล่นต้องพกบัตรเอกสารแสดงตัวตนตามที่ กฎหมาย เช่น พาสปอร์ตหรือบัตรประจําตัวไว้สําหรับตรวจสอบ หากไม่มีหลักฐานแสดง ตัวตนเจ้าหน้าที่ จะไม่อนุญาตให้ลงแข่งขัน 12 . กฎกติกาเนื่ องจากการขยายระยะเวลาปรับเปลี่ ยนกติ กา ของยูฟ่ามีมติให้คร อ บคลุมถึง การ เปลี่ยนตัวได้มากที่สุด 5 คนต่อเกม ซึ่งสามารถเปลี่ยนตัวได้ 3 ครั้งต่อเกม เมื่อถึงช่วงเวลา พิเศษแต่ละทีมสามารถเปลี่ยนตัวนักเตะรายที่ 6 ได้ 13 . แฟนบอลไม่ สามารถจั ดปาร์ ตี ้ ชมเกมนอกบ้ำนได้ ไม่ สามารถมายื นดู นอกสถานที ่ ได้ เลี่ยงการรวมตัวของกลุ่มคน แต่ในเดือนกรกฎาคม 2564 มีแนวโน้มการจัดอีเวนต์ที่มีผู้เข้าร่วม ไม่เกิน 2 , 500 คนได้ มหกรรมกีฬาโอลิมปิกเกมส์ ครั้งที่ 32 ณ ประเทศญี่ปุ่น ได้ถูกจัดขึ้น ระหว่างวันที่ 23 กรกฎาคม ถึง 8 สิงหาคม 2564 โดย Bank of Japan ( B OJ ) , Bloomberg และ Nomura Research 9 ได้มีการวิเคราะห์ ไว้ว่า การจัดการแข่งขันมหกรรมกีฬาโอลิมปิกเกมส์จะเกิดผลดีมากกว่าผลเสีย โดยมีการคาดการณ์ไว้ว่า การจัด มหกรรมกีฬาโอลิมปิกเกมส์ จะช่วยกระตุ้นอัตราการเติบโตของ GDP ถึงร้อยละ 0.2 – 0.3 (เติบโตประมาณ 1 ล้านล้านเยนหรือ 9 พันล้านดอลลาร์) และนอกจากนั้น การแข่งขันมหกรรมกีฬา โอลิมปิกเกมส์ ครั้งที่ 32 มีการจัดการแข่งขันบนหลัก SDGs เพื่อความยั่งยืนครอบคลุมปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ 10 ให้ ดีขึ้นด้วยกัน เพื่อโลก และเพื่อผู้คน มุ่งมั่นที่จะมีส่วนร่วมในการบรรลุ Sustainable Development GoalS: SDGs และจะส่งต่อแนวคิดนี้ ไปยังกีฬาโอลิมปิก และพาราลิมปิกในอนาคต ตลอดจนกิจกรรมต่าง ๆ ทั่วประเทศญี่ปุ่นและทั่วโลก จากที่กล่าวมาข้างต้น คณะกรรมการจัดการแข่งขั นก็ได้มี การดําเนินการจัด การแข่งขันมหกรรมกีฬาโอลิมปิกเกมส์ ครั้งที่ 32 และมีการกําหนด มาตรการในการคัดกรองอย่างเข้มงวด ตลอดช่วงการดําเนินการ มีขั้นตอนและระเบียบปฏิบัติ ดังนี้ 11 9 https://www.moneybuffalo.in.th/economy/financial - costs - of - hosting - the - olympics 10 https://www.prachachat.net/csr - hr/news - 723569 11 https://www.matichon.co.th/tokyogames - 2020 / tokyogames - 2020 - scoop/new_ 2842245
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 16 - ข้อที่ 1 หลักปฏิบัติ 1.1 ห้ามนักกีฬาเดินทางออกจากหมู่บ้านนักกีฬาไปเที่ยวหรือสัมผัสชีวิตกลางคืนในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น 1.2 ห้ามฉลองหรือจัดงานเลี้ยงภายในหมู่บ้านนักกีฬา 1.3 หลีกเลี่ยงการกอด การตีมือ และการจับมือ 1.4 เว้นระยะห่างจากคนอื่นอย่างน้อย 6 ฟุต หรือให้ทานข้าวคนเดียว 1.5 นักกีฬาชาติต่าง ๆ เมื่อแข่งขันอีเวนต์ของตนเองจบแล้ว ต้องเดินทางออกจากประเทศญี่ปุ่น ภายใน 48 ชั่วโมง 1.6 พยายามหลีกเลี่ยงการติดต่อกับนักกีฬาชาติอื่น ๆ ในหมู่บ้านนักกีฬาให้น้อยที่สุด 1.7 ฝ่ายจัดการแข่งขันเตรียมถุงยางอนามัย 150 , 000 ชิ้น แจกให้นักกีฬา เฉลี่ยแล้วคนละ 14 ชิ้น แต่ไม่ได้ให้ใช้ขณะพักในหมู่บ้านนักกีฬา แต่ให้นํากลับไปใช้ที่ประเทศของตนเองเมื่อจบการแข่งขั นแล้ว ข้อที่ 2 ว่าด้วยเรื่องแฟนกีฬา 2.1 ห้ามแฟนกีฬาจากต่างประเทศเดินทางไปชมการแข่งขัน แม้จะเป็นสมาชิกในครอบครัวของ นักกีฬาชาติต่าง ๆ 2.2 แฟนกีฬา ประเทศญี่ปุ่นเดิมกําหนดให้เข้าชมได้บางส่วน แต่เดือนมิถุนายน 2564 มีมติออกมาว่า ไม่อนุญาตให้แฟนกีฬาเข้าชม เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของ COVID - 19 ข้อที่ 3 การตรวจหาเชื้อ 3.1 นักกีฬาที่จะเดินทางเข้าประเทศญี่ปุ่นให้หลีกเลี่ยงการติดต่อหรือสัมผัสกับบุคคลอื่นให้มากที่สุด ในช่วง 14 วันก่อนเดินทาง โดยก่อนการเดินทางออกจากประเทศต้นทางนักกีฬาต้องมีผลตรวจ COVID - 19 เป็นลบ 96 ชั่วโมง 3. 2 นักกีฬาต้องตรวจหาเชื้อก่อนเดินทาง และเมื่อเดินทางถึงประเทศญี่ปุ่น เพื่อรับรองว่าปลอด COVID - 19 ก่อนเข้าสู่ “ บับเบิล ” หรือพื้นที่ควบคุม เมื่อตรวจพบเชื้อขณะอยู่สนามบินรวมถึงผู้สัมผัสใกล้ชิด จะต้องแยกกักตัวทันที 3. 3 นักกีฬาที่ตรวจไม่พบเชื้อก็จะเข้าสู่แคมป์ของตนเองที่กําหนดไว้ในเมืองต่าง ๆ เพื่อซ้อมและ รอตรวจเชื้อต่อเพื่อเข้าสู่หมู่บ้านนักกีฬา 3.4 นักกีฬาและเจ้าหน้าที่ทุกชาติเดินทางถึงประเทศญี่ปุ่นต้องได้รับการตรวจหา COVID - 19 ทุกวัน โดยกําหนดเวลาสว็ อบแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับโปรแกรมการฝึกซ้อมหรือการแข่งขันของแต่ละบุคคล โดยส่วนใหญ่จะเป็นช่วงเช้าหรือช่วงเย็น มีการตรวจที่หมู่บ้านนักกีฬาและสนามแข่งขัน ซึ่งจะมีห้องแยกตรวจ แบบรายบุคคล นักกีฬาทุกคนจะต้องมีบาร์โค้ดเพื่อใช้ระบุตัวตนและแยกตัวอย่างสารคัดหลั่งที่ นําไปตรวจ จะทราบผลตรวจไม่เกิน 12 ชั่วโมง (กรณี สว็อบช่วงเช้าจะทราบผลช่วงเย็น หรือสว็อบช่วงเย็นจะทราบผล ช่วงดึก) ถ้ากรณีผลเป็นลบจะไม่แจ้งให้นักกีฬาทราบโดยจะแจ้งเฉพาะผ ล เป็นบวกเท่านั้น
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 17 - 3.5 กรณีเจ้าหน้าที่ประจําการแข่งขัน และคณะกรรมการโอลิมปิกชาติต่าง ๆ กรรมการ อาสาสมัคร และสื่อมวลชนส่วนใหญ่ที่จะต้องใกล้ชิดนักกีฬาก็ต้องเข้ารับการตรวจหา COVID - 19 ทุกวัน 3.6 กรณีเจ้าหน้าที่ หรือสื่อที่อยู่วงนอก ไม่ได้พบนักกีฬาหรือเจ้าหน้าที่ทีมชาติต่าง ๆ จะตรวจหา COVID - 19 ทุก ๆ 4 วัน หรือ 7 วัน ขึ้นอยู่กับความใกล้ชิดกับนักกี ฬา ข้อที่ 4 การฉีดวัคซีน 4.1 นักกีฬาภายในหมู่บ้านนักกีฬาจะฉีดวัคซีนป้องกัน COVID - 19 กว่าร้อยละ 80 โดยไอโอซี ได้ร่วมมือกับไฟเซอร์ และไบโอเอ็นเทค ผู้ผลิตวัคซีนประเภท mRNA พร้อมฉีดให้นักกีฬาที่ร้องขอมีการเตรียม วัคซีนไว้ 20 , 000 โดส 4.2 ฝ่ายการจัดการแข่งขันกีฬายืนยันว่ามาตรการคุมเข้มต่าง ๆ ครอบคลุมนักกีฬาและเจ้าหน้าที่ ทุกคนถึงจะมีการฉีดวัคซีนแล้วก็ต้องปฏิบัติตามระเบียบอย่างเข้มงวด และต้องเข้ารับการตรวจอย่างสม่ํา เสมอ เท่ากับนักกีฬาที่ไม่ได้ฉีดวัคซีน ข้อที่ 5 กรณีติด COVID - 19 5.1 นักกีฬาที่ติด COVID - 19 และมีผลยืนยันเป็นบวกซ้ํารอบสองซึ่งจะทราบผลใน 3 ชั่วโมง นักกีฬา จะถูกถอดออกจากการแข่งขันทันที และถูกกักตัวที่โรงแรมที่กําหนดไว้โดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของประเทศ ญี่ปุ่นควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด 5.2 นักกีฬาที่ติด COVID - 19 จะมีการไล่ไทม์ ไลน์เพื่อบุคคลที่สัมผัสใกล้ชิด ซึ่งวิธีการตรวจเช็คไทม์ไลน์ นอกจากการสัมภาษณ์แล้ว จะมีแอ ป พ ลิ เคชั่นติดตามตัวที่ฝ่ายจัดให้ทุกคนต้องลงไว้ในโทรศัพท์ โดยบุคคล ใกล้ชิดต้องเข้ารับการกักตัวทันที 5.3 กรณีผู้สัมผัสใกล้ชิดมีผลตรวจหา COVID - 19 รายวันเป็นลบอย่างสม่ําเสมอ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข จะต้องหารือกับสหพันธ์กีฬาชนิดนั้น ๆ เพื่อลงมติว่าจะอนุญาตให้นักกีฬากลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมการแข่งขันหรือไม่ 5.4 กรณีให้เข้าร่วมการแข่งขันนักกีฬาต้องหลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับบุคคลอื่นให้มากที่สุด และพยายามอยู่ลําพังคนเดียว รับประทานอาหาร คนเดียว ใช้ยานพาหนะที่เจ้าหน้าที่จัดไว้ให้กรณีพิเศษ เพื่อไม่ให้ปะปนกับผู้อื่น รวมทั้งการแยกฝึกซ้อมคนเดียวด้วย ข้อที่ 6 มาตรการสวมหน้ากาก 6.1 นักกีฬาต้องสวมหน้ากากตลอดเวลา ยกเว้นตอนแข่งขัน การฝึกซ้อม ขณะที่รับประทานอาหาร การดื่มน้ํา และการนอนเท่านั้น 6.2 กรณีช่วงพิธีรับมอบเหรียญรางวัลหรืออยู่ ในหมู่บ้านนักกีฬาต้องสวมหน้ากากตลอดเวลา เพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัส โดยเจ้าหน้าที่จะให้ผู้เชิญเหรียญนําเหรียญไปให้นักกีฬาคล้องคอเอง ไม่ต้องมีบุคคล ระดับวีไอพีมอบเหรียญเหมือนประเพณีปฏิบัติที่ผ่าน ๆ มามีเจ้าหน้าที่ที่จัดวางเหรียญในถาดก็ต้องสวมถุงมือ ฆ่าเชื้อเพื่อเลี่ยงการสัมผัสโดยตรง ข้อที่ 7 นักกีฬาจะเดินทางไปในตัวเมืองโตเกีย ว ประเทศญี่ปุ่นได้หรือไม่ 7.1 ห้ามนักกีฬาใช้บริการขนส่งสาธารณะเด็ดขาด ยกเว้นกรณีจําเป็นเท่านั้ น โดยฝ่ายจัด มีการจัดชัตเติล บัสบริการรับส่งนักกีฬาจากหมู่บ้านนักกีฬาไปยังสนามฝึกซ้อมและสนามแข่งขัน
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 18 - 7.2 กรณีไม่มีรถบริการจะมีแท็กซี่ จัดไว้เฉพาะสําหรับ การแข่งขันโอลิมปิกเกมส์ โดยฝ่ายจัด จะออกค่าใช้จ่ายให้ทั้งหมด ส่วนบุคคลใดจะใช้รถส่วนตัวต้องผ่านการตรวจสอบ และอนุญาตจากฝ่ายจัดแล้ว เท่านั้ น ข้อที่ 8 กรณีนักกีฬาทําผิดกฎ 8.1 กรณีนักกีฬาทําผิดกฎขึ้นอยู่กับความร้ายแรงของการละเมิด ซึ่งไอโอซีระบุว่าบทลงโทษมีตั้งแต่ การตักเตือน การปรับ ห้ามซ้อมหรือแข่งขันบางอีเวนต์ แบนจากการแข่งขัน จนถึงการตัดสิทธิ์ออกจาก การแข่งขันทันที โดยขู่ด้วยว่าบทลงโทษปรับเป็นมูลค่าที่สูงด้วย 8.2 กรณีพฤติกรรมที่เข้าข่ายการลงโทษ อาทิ การไม่สวมหน้ากาก การไม่เว้นระยะห่างทางสังคม การปฏิเสธการตรวจหา COVID - 19 ไม่ให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ โดยฝ่ายจัดและ ไ อโอซีจะตั้งคณะกรรมการ สอบวินัยจํานวน 3 คน มีการพิจารณำเป็นกรณี นอกจากนี้ มิติสําคัญที่ทุกประเทศในโลกให้ความสําคัญคือ การนํากีฬามาเป็นส่วนหนึ่งในการสร้าง ความรัก ความสามัคคีเป็นหนึ่งเดียวกันของคนในชาติ การสร้างความร่วมมือกันระหว่างประเทศเพื่อพัฒนาและ ยกระดับวงการกีฬาเพื่อต่อยอดความสําเร็จจากการกีฬาไปสู่ด้านอื่น ๆ ทั้งด้านการท่องเที่ยว สังคม เศรษฐกิจ ของแต่ละประเทศต่อไป ทั้งนี้ ตัวอย่าง การพัฒนาการกีฬาของประเทศที่สําคัญ ในภูมิภาคหลักสําคัญของโลก ได้แก่ ประเทศ สหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ และประเทศญี่ปุ่น มีรายละเอียดที่สําคัญดังต่อไปนี้ 1 . 1 การพัฒนาการกีฬาของประเทศที่สําคัญ 1.1.1 สหรัฐอเมริกา การกีฬาในสหรัฐอเมริกาได้รับการยอมรับว่ามีบทบาทในการสร้าง ความก้าวหน้าในการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมทางกายและด้านสุขภาพของเยาวชนและประชาชนใน ประเทศ โดย The National Physical Activity Plan ระบุว่า ประชาชนในสหรัฐอเมริกา ต่าง ให้ความสําคัญ ต่อ กีฬา เป็นอ ย่างมาก ประชากรมากกว่า 200 ล้านคน เข้าร่วมในกีฬาประเภทต่าง ๆ ทั้งในระดับประเทศและระดับ สากล ซึ่งกีฬาได้รับการยอมรับว่าเป็นปัจจัยที่ ทําให้เกิดความก้าวหน้าในหลายด้าน อาทิ การส่งเสริม ด้านสุขภาพ การสร้างความเท่าเทียมด้านสุขภาพ และการกระตุ้นทางเศรษฐกิจ นอกจากนั้ น National Public Radio, the Robert Wood Johnson Foundation, and the Harvard T.H. Chan School of Public Health ได้มีการสํารวจ พบว่า ในปี ค.ศ. 2015 ประชาชน ประมาณ ร้อยละ 73 ของทั้ง ประเทศ เริ่มเล่นกีฬา ตั้งแต่ระดับเยาวชน โดยพบว่า ประมาณ ร้อยละ 23 มีการเล่นกีฬาอย่า งต่อเนื่องตั้งแต่ยังเป็นเยาวชนมาถึง ปัจจุบัน นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาในด้านการสนับสนุนและส่งเสริมของผู้ปกครอง พบว่า ผู้ปกครองร้อยละ 76 ให้ การสนับสนุน บุตรหลาน เล่นกีฬา 12 ทั้ งนี้ สหรัฐอเมริกา ถือได้ว่า เป็นหนึ่ งในประเทศของโลกที่ มีการส่งเสริมและสนับสนุน การกีฬาจ นเป็นมหาอํานาจในด้านการกีฬาหลายชนิด อาทิ การ ครองความ เป็ น เจ้าเหรียญทองในมหกรรมกีฬา 12 https :// www . physicalactivityplan . org / docs / 2016 NPAP_Finalforwebsite . pdf
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 19 - โอลิมปิก ใน 3 สมัยหลังคือ โอลิมปิกส์ 20 12 ณ สหราชอาณาจักร โอลิมปิกส์ 2016 ณ ประเทศบราซิล และ โอลิมปิกส์ 20 20 ณ ประเทศ ญี่ปุ่น และมีนักกีฬาที่ประสบความสําเร็จและสร้างชื่อเสียงให้แก่ประเทศ อาทิ LeBron James นักกีฬาบาสเก ต บอลชาวอเมริกัน ที่มีรายได้ตลอดอาชีพนักบาสเกตบอล 8,400 ล้านบาท และ Joe Montana ผู้เล่นระดับตํานานในตําแหน่งควอเตอร์แบล็คที่ดีที่สุดตลอดกาลของวงการอเมริกัน ฟุตบอล NFL ยัง ถือว่าเป็นนักกีฬาที่ประสบความสําเร็จอีกคนหนึ่งและเป็นนักกีฬาที่เป็นแรงบันดาลใจให้กับ นักกีฬารุ่นใหม่ ๆ ในยุคปัจจุบัน นอกจากนี้ ในการส่งเสริมและการสนับสนุนการกีฬา ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นชาติที่มีสนามกีฬาทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กกระจายอยู่ทั่วไป ซึ่งการส่งเสริมแล ะสนับสนุนการกีฬาของ สหรัฐอเมริกานั้น มีสาเหตุมาจากแนวคิดของผู้บริหารประเทศที่ว่า การกีฬาสามารถพัฒนาและขับเคลื่อน ประเทศได้ ทําให้ผู้บริหารให้ความสําคัญกับการพัฒนาการกีฬาและส่งเสริมให้การกีฬาเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ ของการพัฒนาประเทศ ตลอดจนการสนับสนุนในอุตสาหกรรมกา รกีฬาให้เป็นธุรกิจขนาดใหญ่ของชาติ ด้านการสร้างและพัฒนานักกีฬาสู่ ความเป็นเลิศ ( Sport for Excellence) สหรัฐอเมริกา มีการจัดการกีฬาในระดับอุดมศึ กษา ซึ่ งมีการจัดตั้ ง “ สมาคมกีฬาระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หรือ National Collegiate Athletic Association (NCAA)” 13 ได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยชั้นนํา อาทิ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด มหาวิทยาลัยเยล และมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน โดยมีการวางโครงสร้างการบริหารองค์กร อย่างเป็นรูปธรรมเพื่อทําหน้าที่บริหารงานตามพันธกิจขององค์กร คือ การกําหนดกฎ ระเบียบของสมาชิก พิจารณาบทลงโทษ กําหนดโปรแกรม การประกันชีวิตและสุขภาพสําหรับนักกีฬา และดูแลการจัดการแข่งขัน ให้มีความปลอดภัย ปัจจุบันนี้มีสมาชิกจากมหาวิทยาลัย 1 , 123 แห่ง และดูแลการแข่งขัน 24 ชนิดกีฬา ของการจัดการแข่งขันกีฬาเพื่อความเป็นเลิศในระดับอุดมศึกษาของสหรัฐอเมริกา และได้รับการยอมรับจาก ผู้ปกครอง ทั่วโลกว่ามีระบบการจัดการกีฬาที่ดีที่สุด เพราะสามารถผสมผสานระหว่างโปรแกรมการเรียนหนังสือ และโปรแกรมการฝึกซ้อมได้อย่างเป็นระบบเหมือนกันทุกมหาวิทยาลัยทั่ว ประเทศ จนทําให้มหาวิทยาลัย สามารถสร้างนักกีฬาระดับทีมชาติของสหรัฐ อเมริกา ได้อย่างต่อเนื่อง อีกทั้งการลงทุนก่ อสร้างสถานที่ฝึกซ้อม กีฬาภายในมหาวิทยาลัย มีความเป็นมาตรฐานระดับสากล และมีอุปกรณ์อํานวยความสะดวกที่ทันสมัย จนกลายเป็นที่เก็บตัวนักกีฬาทีมชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้านอุตสาหกรรมการกีฬาและการท่องเที่ ยว ( Sport Industry/Tourism) จากการสํารวจ ของ Statista ซึ่งเ ป็นฐานข้อมูลสถิติและบทวิเคราะห์สถิติของอุตสาหกรรมและประเทศทั่วโลก จากสถานการณ์ ของขนาดตลาดกีฬาในอเมริกาเหนือปี พ.ศ. 2562 - 2566 14 โดยตลาดกีฬาในอเมริกาเหนือมีมูลค่าประมาณ 71 . 06 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ตัวเลขนี้คาดว่าจะเพิ่มขึ้นเป็น 83 . 1 พันล้าน ฯ ในปี พ.ศ. 2566 ซึ่งตลาด ประกอบด้วย รายได้จากส่วนงานลิขสิทธิ์สื่อการสนับสนุน และการขายสินค้า ซึ่งขนาดตลาดของกีฬาในปัจจุบัน กําลังเติบโตอย่างแข็งแกร่ง โดยพัฒนาไปสู่อุตสาหกรรมทั่วโลกอย่างเต็มรูปแบบ อาทิ การ จําหน่ายบัตร สําหรับ การแข่งขันกีฬา มีรายได้มากกว่า 71 พันล้าน ฯ ในปี พ .ศ. 2561 และ เป็นหนึ่งในตลาดที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทั้งนี้ รายได้ที่สร้างมูลค่ามหาศาลให้กับตลาดกีฬาของสหรัฐอเมริกา คือ ตลาดลิขสิทธิ์ รายได้มาจาก 13 http :// www . smat . or . th / view / 5 a 8 fce 3446 d 46 a 0 cde 6 fb 3 f 0 14 https://www.statista.com/statistics/ 214960 / revenue - of - the - north - american - sports - market/
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 20 - ค่าธรรมเนียมที่ผู้กระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์หรืออินเทอร์เน็ตจ่ายเพื่อเผยแพร่การแข่งขันกีฬา เนื่องจากอุปกรณ์ สื่อมีความพ ร้อมใช้งานอย่างกว้างขวางเพิ่มขนาดอย่างมาก โดยมี การ พัฒนา ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา จากรายรับ 8 . 5 พันล้าน ฯ ในปี พ.ศ. 2549 มา เป็น 20 . 14 พันล้าน ฯ ในปี พ.ศ. 2561 1.1.2 สหราชอาณาจักร มีหน่วยงานที่ ดูแลรับผิดชอบการพัฒนาการกีฬา ของประเทศ คือ The Department for Digital, Culture, Media & Sport (DCMS) โดยมีหน่วยงานที่ พัฒนาด้านกีฬา คือ UK Sport และ Sport England ในการสร้างและพัฒนานักกีฬาสู่ความเป็นเลิศ ( Sport for Excellence) สหราชอาณาจักรได้ จัดทําโครงการ World class programs 15 เพื่อพัฒนาและผลักดันนักกีฬาให้มีศักยภาพ มากเพี ยงพอที ่ จะเข้ำแข่ งขั นและมี ผลการแข่ งขั นที ่ ยอดเยี ่ ยมในการแข่ งขั นกี ฬาระดั บนานาชาติ โดยมีเป้าหมายหลัก คือการประสบความสําเร็จในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกและพาราลิมปิก โดยมีเป้าหมาย 16 ที่เรียกว่า Podium Potential Pathway คือ (1) Podium สนับสนุนนักกีฬาที่มีความสามารถให้ชนะเลิศ ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก/พาราลิมปิกครั้งต่อไป (ระยะเวลาไม่เกิน 4 ปี) และ ( 2 ) Podium Potential เป็นการแสดงถึงความสามารถของนักกีฬาที่ได้รับเหรียญรางวัลชนะเลิศในการแ ข่งขันกีฬาโอลิมปิกและ พาราลิมปิก (ระยะเวลาสูงสุด 8 ปี) เส้นทางการเป็นนักกีฬาของสหราชอาณาจักร 17 มีจุดประสงค์ เพื่อสร้างโอกาสในการเตรียมพร้อมและสนับสนุนนักกีฬาเยาวชน เพื่อเพิ่มศักยภาพให้บรรลุและประสบ ความสําเร็จในการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ มีแนวทาง คือ ส่งนัก กีฬาเข้าร่วมการแข่งขันระดับนานาชาติ เช่ น European & Commonwealth age group championships และจั ดโครงการฝึ กอบรมต่ำง ๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพนักกีฬาและผู้ฝึกสอน เช่น Youth Talent Programme เป็นโครงการพัฒนานักกีฬา เยาวชนที่มีอายุระหว่าง 16 - 18 ปี เพื่อผลิตนักกีฬาที่ มีความสามารถให้แก่สหราชอาณาจักร โดยโครงการนี้ จะช่วยพัฒนาทักษะความสามารถ เพื่อความสําเร็จระดับสูง ด้านอุตสาหกรรมการกีฬาและการท่องเที่ยว ( Sport Industry/Tourism) ในปี พ.ศ. 2562 / 2563 UK Sport 18 มีรายได้รวม 149 . 30 ล้านปอนด์ จากรายงานของ Sport Industry Research Center (SIRC) ที ่ ทําการสํารวจ Social and economic value of community sport and physical activity in England พบว่า ในปี พ.ศ. 2560 / 2561 เมื่อเทียบกับค่าใช้จ่าย 21 . 85 พันล้านปอนด์ของการมีส่วนร่วม และให้โอกาสด้านกีฬาและการออกกําลังกาย พบว่า สําหรับทุก 1 ปอนด์ที่ใช้ไปกับกีฬาและการออกกําลังกาย สามารถ ส ร้าง ผลตอบแทนได้ ถึง 3 . 91 ปอนด์ และในส่วนของผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจของกีฬาและ การออกกําลังกายในสหราชอาณาจักร คิดเป็น 85 . 50 พันล้านปอนด์ จากการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ ให้เพิ่มขึ้น อาทิ การเป็น เจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกและพาราลิมปิกในปี พ.ศ. 2555 หรือ โอลิมปิกส์ 20 12 ได้ ส่งผลให้ Gross Value Added (GVA) ของสหราชอาณาจักร มีจํานวน 18 . 90 พันล้านปอนด์ ซึ่งเทียบเท่าร้อยละ 15 https://www.uksport.gov.uk/our - work/world - class - programme 16 https://www.uksport.gov.uk/our - work/world - class - programme 17 https://www.uka.org.uk/performance/olympic - performance - pathway/ 18 https://www.gov.uk/government/publications/uk - sport - annual - report - 2019 - 20
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 21 - 55 . 00 ของอุตสาหกรรมกี ฬาทั ้ งหมด เกิ ดการจ้ำงงาน 623 , 000 คน เที ยบเท่ำร้ อยละ 55 . 70 ของการจ้างงานในส่วนของกีฬา ( เท่ากับร้อยละ 2 . 10 ของการจ้างงานทั้งหมดในประเทศ ) โดยการจ้างงาน ส่วนใหญ่เกิดในช่วงโอลิมปิกฤดูร้อน นอกจากนี้ยังกระตุ้นการใช้จ่ายของผู้บริโภค ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายในช่วง การจัดการแข่งขันมีมูลค่าถึง 19 , 766 ล้านปอนด์ ซึ่งเท่ากับร้อยละ 1 . 70 ของการใช้จ่ายของครัวเรือน โดยรวม และมูลค่าการซื้อขายที่เกิดขึ้นใน ช่วง กีฬาโ อลิมปิกและพาราลิมปิก คือ 73 , 408 ล้านปอนด์ สหราชอาณาจักร มีสิ่งอํานวยความสะดวกที่รองรับนักท่องเที่ยวมากมาย โดยในรายงาน LONDON. HOME OF WORLD - CLASS SPORT 19 ที่รายงานว่าใน นคร ลอนดอนมีร้านอาหาร 6 , 000 ร้าน คลับและบาร์ 10 , 000 ร้าน ที่พัก 117 , 000 แห่ง ในแต่ละปีจะมี นักท่องเที่ยวเดินทางมา นคร ลอนดอน จํานวน 15 . 50 ล้านคน การ กีฬา เชิงท่องเที่ยว เป็นที่นิยมอย่างมากสําหรับเหล่านักท่องเที่ยวที่เดินทางมายัง สหราชอาณาจักร เพื่ อมีส่วนร่วมใน กิจกรรม กีฬา ประเภท การเล่นสกี การ ปั่ นจักรยาน หรือเข้าชม การแข่งขันในการจัดกิจกรรมกีฬาขนาดใหญ่ อาทิ การแข่ง F 1 Grand Prix โดยอุตสาหกรรมการ กีฬา เชิงท่องเที่ยว สร้างรายได้ให้สหราชอาณาจักรเป็นจํานวน 2 . 60 พันล้านปอนด์ คิดเป็นร้อยละ 3 . 80 ของรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งหมด เมื่อแบ่งตามภาคอุตสาหกรรม ( Tourism Satellite Account 2016 , Office for National Statis tics) 20 มีมูลค่าใช้จ่ายโดยประมาณของผู้เข้าร่วมกิจกรรมกีฬา จํานวน 2 . 30 พันล้านปอนด์ คิดเป็นร้อยละ 5 . 60 ของค่าใช้จ่ายรวม อุตสาหกรรม การ กีฬา ที่สร้างรายได้ให้กับประเทศอังกฤษ คือ การจัดการแข่งขันฟุตบอลพรีเมีย ร์ ลีก ซึ่งจัดการแข่งขันทุกปี สามารถ สร้างรายได้จากการส่งอ อกลิขสิทธิ์การถ่ายทอดสดไปยัง 188 ประเทศ ประมาณ 2 . 80 พันล้านปอนด์ โดย การจัดการแข่งขันฟุตบอลในอังกฤษ มีผู้เข้าชมเกมส์การแข่งขันในปี พ.ศ. 2561 / 2562 จํานวน 38 , 073 , 988 คน 21 รวมทั้งพรีเมีย ร์ ลีก แชมเปี้ยนชิพ ดิวิชั่น 1 และดิวิชั่น 2 โดย มีบุคลากรที่ทํางานในอุตสาหกรรมกีฬา ประมาณ 581 , 000 คน 22 1.1.3 ประเทศญี่ปุ่น มีการพัฒนากีฬา เพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาจิตใจของประชาชน ให้ดีขึ้น ซึ่งเป็นส่วนสําคัญในการสร้างสุขภาพและคุณภาพชีวิต รวมทั้งมีความเชื่อมโยงถึงการเป็นสัญลักษณ์ แห่งความหวังและแรงขับเ คลื่อนให้ประเทศต้องก้าวไปข้างหน้า มีการวางเป้าหมายว่าจะเป็นประเทศกีฬา โดยมี หน่วยงานที่ดูแลการกีฬา คือ Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology (MEXT) มีหน่วยงาน ที่ กํากับ ในเรื่อง กีฬา คือ Japan Sport Agency (JSA) ทั้งนี้ ปัจจัยสําคัญที่ส่ งผลให้ประเทศ ญี่ปุ่นประสบความสําเร็จในการพัฒนาการกีฬา คือ การมีแผนพัฒนากีฬาที่ดี ด้านการสร้างและพัฒนานักกีฬาสู่ความเป็นเลิศ ( Sport for Excellence) การจัดการแข่งขันกีฬา โอลิมปิก 2020 หน่วยงาน the Japan Sports Agency จะปรับปรุงสภาพแวดล้อมเพื่อเพิ่มขีดความสามาร ถ ในการแข่งขันระหว่างประเทศ ในส่วนของการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในระดับนานาชาติจะทําผ่านโครงการ 19 https://www.london.gov.uk/sites/default/files/home_of_world_class_sport_v 3 .pdf 20 https://www.ons.gov.uk/economy/n ationalaccounts/satelliteaccounts/bulletins/uktourismsatelliteaccountuktsa/ 2016 21 https://www.gov.uk/government/publications/sports - grounds - safety - authority - annual - report - and - accounts - 2019 - to - 2020 22 https://www.great.gov.uk/international/content/about - uk/i ndustries/sports - economy/f
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 22 - “Sport for Tomorrow” ในส่วนของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ เข้มแข็งและยั่ งยืนและการปรับปรุง สภาพแวดล้อมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในระดับนานาชาติ มีการสร้างระบบกลยุทธ์เพื่อค้นหา และฝึกฝนนักกีฬารุ่นต่อไป มีการสนับสนุนการฝึกอบรมอย่างเข้มข้นสําหรับการคว้าเหรียญรางวัลและกิจกรรม เส ริมความแข็งแกร่งในระยะยาวในต่างประเทศ การสร้างระบบเพื่อค้นหาและฝึกฝนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์จาก ทั่วประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ โดยองค์กรการกีฬาของประเทศ ประกอบด้วย Japan Sport Agency (JSC) Japan Sports Association (JSPO) the Japanese Olympic Committee (JOC) และ Japan Productivity Center (JPC) รวมทั ้ ง ประชาชนในพื้ นที่ ต่ำงร่ วมให้ การ สนั บสนุ นการค้ นพบและฝึ กอบรมนั กกี ฬา จากทั่วประเทศที่มีแนวโน้มที่จะคว้าเหรียญรางวัล ผ่านโครงการ Rising Star Project (J - STAR Project) ซึ่ง เริ่ม โครงการนี้ในปี พ.ศ. 2560 การแข่งขันกีฬาแห่งชา ติสําหรับ ผู้พิการ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา ได้มีการ แยกประเภท สําหรับ ผู้พิการทางร่างกาย และ ผู้ที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา โดย การแข่งขันกีฬาเพื่อผู้พิการแห่งชาติ ได้รับการบูรณาการและจัดขึ้ นในชื่ อ “การแข่งขันกีฬาแห่งชาติสําหรับ ผู้ พิการ ” ตั้ งแต่ปี พ.ศ. 2551 ด้วย การ บรรจุ แข่งขันวอลเลย์บอลสําหรับผู้พิการทางสมองในการจัดการแข่งขันอย่างเป็นทางการ และยังเพิ่ม การ จัด แข่งขัน สําหรับ ผู้ที่มีความบกพร่องทางร่างกายและจิตใจ ซึ่ง การจัดการแข่งขัน ดังกล่าวได้ ส่งผลให้นักกีฬา สามารถ สัมผัสกับความสุขของการเล่นกีฬาผ่านการแข่งขัน ทั้งนี้ การส่งเสริมกีฬาสําหรับผู้พิการ มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมสําหรับการเล่นกีฬาสําหรับ ผู้พิการ โดย the Basic Sports Law ได้ ระบุว่า ควรส่งเสริมการเล่นกีฬาให้กับผู้ พิการโดยสมัครใจและ กระตือรือร้น การปรับปรุงความสา มารถในการแข่งขันกีฬาสําหรับผู้พิการ จากการสํารวจของ Japan Sports Agency ในปีแรกของยุค Reiwa ( ปี พ.ศ. 2562) พบว่า ผู้พิการอยู่ในวัยผู้ใหญ่ ที่ร่วม เล่นกีฬาอย่างน้อยสัปดาห์ ละครั้ง มี จํานวนร้อยละ 25.30 (อัตราการมีส่วนร่วมกับกีฬาสําหรับผู้ใหญ่ ที่ปกติ โดยทั่วไป คือ ร้ อยละ 53.60 จากการสํารวจของหน่วยงาน Japan Sports Agency ในปีแรกของยุค Reiwa) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 หน่วยงาน Japan Sports Agency จะเสริมสร้างระบบส่งเสริมกีฬาสําหรับผู้พิการในภูมิภาคเพิ่มมากขึ้น มีความพยายาม ในการสร้างสภาพแวดล้อมที่สามารถเล่นกีฬาในสถานที่ที่คุ้นเค ยได้เสริมสร้างระบบองค์กรกีฬาสําหรับผู้พิการ โดยการร่วมมือกับองค์กรกีฬาและภาคเอกชน นอกจากนี้ ตั้ งแต่ปีแรกของยุค Reiwa (พ.ศ. 2562) จะมีอุปกรณ์สําหรับผู้ที่ต้องการลองเล่นพาราสปอร์ตต่าง ๆ โดยจะเช่าอุปกรณ์กีฬาสําหรับผู้พิการ อาทิ ขาเทียมกีฬาและอุปกรณ์กีฬาพื้นฐาน พร้อมด้วยทรัพยากรบุคคลที่สามารถให้คําแนะนําในการบํารุงรักษา การปรับตัวและการใช้งาน ด้านอุตสาหกรรมการ กีฬา เชิงท่องเที่ยว ( Sport Industry/Tourism) รัฐบาลญี่ปุ่นมอบหมายให้ 4 องค์ กร 23 ประกอบด้ ว ย the Ministry of Economy, Trade and Industry (METI), Japan Sports Agency, Japan External Trade Organization (JETRO) และ Japan Sport Council (JSC) ร่ ว มมื อกัน รวบรวมข้อมูลเชิงกลยุทธ์และสนับสนุนอุตสาหกรรมกีฬา โดย ทั้ง 4 องค์กรมุ่งเป้าที่จะมีส่วนร่วมในการส่งเสริม อุตสาหกรรมกีฬาให้เป็นอุตสาหกรรมที่เติบโต ร่วมมือกันเผยแพร่กีฬาญี่ปุ่นในต่างประเทศให้เป็นที่นิยมและ แพร่หลาย เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศมายังญี่ปุ่นและดึงดูดความต้องการจากต่างประเทศ ไปยังผลิตภัณฑ์และบริการของญี่ปุ่นในประเทศอื่น ๆ 23 https://www.meti.go.jp/english/press/ 2018 / 0725 _ 001 .html
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 23 - จากการศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มด้านการพัฒนากีฬาในต่างประเทศ จํานวน 3 ประเทศในต่างภูมิภาค คือ ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และ ทวีปเอเชีย ที่ประสบความสําเร็จในการพัฒนาการกีฬาและอุตสาหกรรม การ กีฬาที่โดดเด่นข้างต้น สามารถสรุปสาระสําคัญของการพัฒนากีฬาของแต่ละประเท ศ และปัจจัยแห่งความสําเร็จ ( Key Success Factors) โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ สรุปสถานการณ์และแนวโน้มด้านการพัฒนากีฬาที่สําคัญของประเทศสหรัฐอเมริกา ปัจจัยแห่งความสําเร็จ ( Key Success Factors) กีฬาเพื่อมวลชน กีฬาเพื่อความเป็นเลิศ อุตสาหกรรม การ กีฬา สหรัฐอเมริกามีการจัดทําแผนเพื่ อสนับสนุน กิ จกรรมทางกาย คื อ The National Physical Activity Plan หรือแผนกิจกรรมทางกายแห่งชาติ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ ประชา ชน มีวัฒนธรรมประจํา ชาติ สนับสนุนวิถีชีวิตการออกกําลังกายเป็นประจํา มี การเคลื ่ อนไหวร่ำงกาย มี คุ ณภาพชี วิตที่ ดี จึ งได้ ให้ ความสําคัญกับแผนกิจกรรมทางกาย แห่งชาติ เพราะมีผลเกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจและ อุตสาหกรรมของระบบเศรษฐกิจด้วย นอกจากนั้น การส่งเสริมกีฬาในเด็กและเยาวชน มี การจั ดทําแผนยุ ทธศาสตร์ กีฬาและเยาวชน แห่งชาติ ได้พัฒนายุทธศาสตร์กีฬาและเยาวชน แห่งชาติ มีจุดมุ่งห มายเพื่อให้เยาวชนเกิดวัฒนธรรม ของการเล่นกีฬา เยาวชนทุกคนมีโอกาส เกิด แรงจูงใจในการเข้าถึงการเล่นกีฬาโดยไม่คํานึงถึง เชื้อชาติ เพศ และความสามารถ เยาวชนทุกคนมี โอกาสในการเล่นกีฬาที่เท่า เทียม กัน สหรั ฐอเมริ กามี การจั ดการกี ฬาในระดับ อุดมศึกษา ซึ่ งมีการจัดตั้ ง “สมาคมกี ฬาระดับ อุดมศึกษาแห่งชาติ หรือ National Collegiate Athletic Association (NCAA)” ไ ด ้ ร ั บ กำ ร สนั บสนุ นจากมหาวิ ทยาลั ยชั ้ นนําต่ำง ๆ ถึง 11,230 แห่ง โดยมีการวางโครงสร้างการบริหาร องค์กร คือการกําหนดกฎระเบียบของสมาชิก พิจารณาบทลงโทษ กําหนดโปรแกรมการประกัน ชีวิตและสุขภาพ สําหรับนักกีฬา และดูแลการ จัดการแข่งขันให้มีความปลอดภัย และเพื่อความ เป็นเลิศในระดับอุดมศึกษาของสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2571 สหรัฐอเมริกาจะมีการจัดการ แข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่เมือง Los Angeles สําหรับเป้าหมายของสหรัฐอเมริกาในการมุ่งหวัง และพัฒนานักกีฬาสู่การ แข่งขันกีฬาโอลิมปิกและ พาราลิ มปิ ก นั กกี ฬาทุ กคนจะสามารถสร้ำง แรงบั นดาลใจใ ห้ กั บชาวอเมริ กั นทุ กคน และ ที มนั กกี ฬาของสหรั ฐอเมริ กาในรุ ่ นต่ อ ๆ ไป ได้อย่างเข้มแข็งก้าวสู่ความเป็นเลิศยิ่งขึ้นไป จากการสํารวจของ Statista ซึ่งเป็นฐานข้อมูลสถิติ และบทวิเคราะห์สถิติของอุ ตสาหกรรมและประเทศทั่ว โลก จากสถานการณ์ของขนาดตลาดกีฬาในอเมริกา เหนือปี พ.ศ. 2562 - 2566 พบว่า ตลาดกีฬาใน อเมริกาเหนือมีมูลค่าประมาณ 71.06 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ตัวเลขนี้คาดว่าจะเพิ่มขึ้นเป็น 83.1 พันล้าน ฯ ในปี พ.ศ. 2566 ซึ่งตลาดจะประกอบด้วย รายได้จากส่วนงานลิขสิ ทธิ์การถ่ายทอดสดและการ ขายสินค้า รายได้มาจากค่าธรรมเนียมที่ผู้กระจาย เสียงวิทยุโทรทัศน์หรืออินเทอร์เน็ตจ่ายเพื่อเผยแพร่ การแข่งขันกีฬาในส่วนของภาคสินค้ารวมทุกอย่าง ตั้งแต่เสื้อทีม ไปจนถึงอุปกรณ์กีฬาที่มีตราสินค้าจะมี การเติบโตที่ช้า แต่มีความมั่นคงคาดว่าจะมีราย รับ มากกว่า 15.4 พันล้าน ฯ ในปี พ.ศ. 2566 และจาก การสํารวจยังพบว่าสถานการณ์อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม เพื่อการกีฬา อุตสาหกรรมอาหารสําหรับนักกีฬาและ อุตสาหกรรมเสื้อผ้า ชุดกีฬาในสหรัฐอเมริกา พบว่า มี มูลค่าเพิ่มขึ้นถึงแม้ว่าจะได้รับผลกระทบจากการ ระบาดของ COVID - 19 แต่ก็ยังมียอดสั่งซื้อเพิ่มขึ้น 1 ) มี การจั ดทําแผนเพื่ อสนับสนุนกิจกรรม ทำ ง กำ ย ค ื อ The National Physical Activity Plan หรือ แผนกิจกรรมทางกาย แห่งชาติ 2 ) มี การจั ดทําแผนยุ ทธศาสตร์ กี ฬาและ เยาวชนแห่งชาติ 3 ) มีกำรจัดตั้ง “สมาคมกีฬาระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ 4 ) สร้างตัวบ่งชี้อย่างเป็นทางการและเส้นทาง การพัฒนาผู้เล่นสําหรับนักกีฬา 5 ) สนับสนุนการส่งออกลิขสิทธิ์การถ่ายทอดสด การแข่งขันกีฬา 6 ) ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม สําหรับนักกีฬา 7 ) ส่ งเสริ มการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร ที่เหมาะสมกับนักกีฬา 8 ) ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมชุดแต่งกาย ด้านกีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 24 - สรุปสถานการณ์และแนวโน้มด้านการพัฒนากีฬาที่สําคัญของสหราชอาณาจักร ปัจจัยแห่งความสําเร็จ ( Key Success Factors) กีฬาเพื่อมวลชน กีฬาเพื่อความเป็นเลิศ อุตสาหกรรม การ กีฬา หน่วยงานด้านกีฬามีนโยบายที่ ต้องการให้ ประชาชนในประเทศมีส่วนร่วมในการเล่นกีฬาและ ออกกําลังกายเพิ่มมากขึ้นโดยได้กําหนดเป้าหมาย ที่สําคัญ 5 ประการ คือ ต้องการให้ประชาชน มี สุ ขภาวะทางกายที ่ ดี สุ ขภาวะทางจิ ตที ่ ดี การพัฒนาบุคลากรรายบุคคล การพัฒนาสังคม และชุมชน และการพัฒนาเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ยั งมี เป้าหมายเพิ ่ มจํานวนผู ้ ที ่ ออกกําลั งกาย ของประเทศมากขึ้นในปี พ.ศ. 2568 ปีการศึกษา พ.ศ. 2562/2563 แสดงให้เห็น ว่าเด็กและเยาวชนร้อยละ 44.90 (3.20 ล้านคน) ได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของ the Chief Medical Of ficer ในการมีส่วนร่วมในการเล่นกีฬาและการ ออกกําลังกาย เฉลี่ย 60 นาทีขึ้นไปต่อวัน ซึ่งแสดง ถึงการลดลงร้อยละ 1.90 (86,500 คน) เมื่อ เทียบกับช่วงเวลาเดียวกันเมื่ อ 12 เดือนก่อน แม้ว่าระดับกิจกรรมจะยังคงสูงกว่าในปี พ.ศ. 2560/2561 มีเด็กและเยาวชนบางคนที่เล่นกีฬา และอ อกกําลังกายน้อยกว่าค่าเฉลี่ย 30 นาทีต่อวัน ร้อยละ 31.3 (2.30 นาที) โดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.40 (+201,400 คน) สหราชอาณาจักรได้จัดทําโครงการ World class programs ขึ ้ น เพื ่ อพั ฒนาและผลั กดัน นักกีฬาให้มีศักยภาพมากเพียงพอ ที่จะเข้าแข่งขัน และมีผลการแข่งขันที่ยอดเยี่ ยมในการแข่งขันกีฬา ระดับนานาชาติ โดยมีเป้าหมายหลัก คือ การ ประสบความสําเร็จในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกและ พาราลิมปิก มีแนวทางดังนี้ - ส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันระดับ นานาชาติ อาทิ European & Commonwealth age group championships - จ ั ด โ ค ร ง กำ ร ฝ ึ ก อ บ ร ม ต ่ำ ง ๆ เ พื่ อ พ ั ฒ นำ ศ ั ก ย ภำ พ น ั ก ก ี ฬำ แ ล ะ ผ ู ้ ฝ ึ ก ส อ น อาทิ Youth Talent Programme เป็นโครงการ พัฒนานักกีฬาเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 16 - 18 ปี เพื่อผลิตนักกีฬาที่มีความสามารถให้แก่สหราช อาณาจักร โดยโครงการนี้จะช่วยพัฒนาทักษะ ความสามารถ เพื่อความสําเร็จระดับสูง จากการเป็น เจ้ำภาพจัดการแข่งขันกีฬาช่วย ก ร ะ ต ุ ้ น เ ศ ร ษ ฐ ก ิ จ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ใ ห ้ เ พ ิ ่ ม ขึ้ น การกีฬา เชิงท่องเที่ยว เป็นที่นิยมอย่างมากสําหรับเหล่า นักท่องเที่ยวที่เดินทางมายังสหราชอาณาจักร เพื่อมี ส่วนร่วมในการเล่นกีฬา อย่างการเล่นสกีหรือปั่น จักรยานหรือเพื่อเข้าชมการแข่งขันในการจัดกิจกรร ม กีฬาขนาดใหญ่ อาทิ การแข่ง F 1 Grand Prix โดย อุตสาหกรรมการกีฬา เชิงท่องเที่ยว สร้างรายได้ให้ สหราชอาณาจักรเป็นจํานวน 2.60 พันล้านปอนด์ คิดเป็นร้อยละ 3.80 ของรายได้จากการท่องเที่ยว ทั้งหมดเมื่อแบ่งตามภาคอุตสาหกรรม มีมูลค่าใช้จ่าย โดยประมาณของผู้เข้าร่วมกิจกรรมกีฬา จํานวน 2.30 พันล้านปอนด์ คิดเป็นร้อยละ 5.60 ของค่าใช้จ่ายรวม อุตสาหกรรมกีฬาที่สร้างรายได้ให้กับประเทศ อังกฤษ อาทิ การจัดการแข่งขันฟุตบอลพรีเมีย ร์ ลีก ซึ่งจัดการแข่งขันทุกปี สร้างรายได้จากการส่งออก ลิขสิทธิ์การถ่ายทอดสดไปยัง 188 ประเทศ ประมาณ 2.80 พันล้านปอนด์ 1 ) มีการกําหนดเป้าหมายให้ประชาชนมีส่วน ร่วมในการเล่นกีฬาและออกกําลังกายเพิ่ม มากขึ้นในทุกกลุ่มวัย 2 ) ม ี กำ ร จ ั ด ต ั ้ ง โ ค ร งกำ ร World class programs และการมี เส้ นทางการเป็น นั กกี ฬำ ของป ร ะ เ ทศ อั งกฤษ ( The England Talent Pathway : ETP) ซึ่งเป็น โครงการพัฒนาและผลักดันนักกีฬาให้มี ศักยภาพมากเพียงพอที่จะเข้าแข่งขันและมี ผลการแข่งขันที่ยอดเยี่ยมในการแข่งขัน กีฬาระดับนานาชาติ 3 ) การมีสิ่งอํานวยความสะดวกที่พร้อมรองรับ นักท่องเที่ยวเ ชิงกีฬา 4 ) ทําการส่ งเ ส ริ มการ กีฬา เชิ งท่ องเที ่ ยว อย่างเป็นรูปธรรม 5 ) ส่งเสริมการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬา ระดับนานาชาติ 6 ) ส นั บ ส นุ นกา รส่ งออกลิ ขสิ ทธิ ์ การ ถ่ายทอดสดการแข่งขันกีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 25 - สรุปสถานการณ์และแนวโน้มด้านการพัฒนากีฬาที่สําคัญของประเทศญี่ปุ่น ปัจจัยแห่งความสําเร็จ ( Key Success Factors) กีฬาเพื่อมวลชน กีฬาเพื่อความเป็นเลิศ อุตสาหกรรม การ กีฬา ในปี พ.ศ. 2560 the Japan Sports Agency ได้ ทําการสํารวจความคิดเห็ นเกี่ ยวกับ Public Opinion Survey on Sports Implementation Status กับประชาชนจํานวน 20,000 คน พบว่า อัตราการออกกําลังกายอย่างน้อย 1 วัน ต่อสัปดาห์ ของวัยผู้ใหญ่เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 42.50 ในปี ก่อน เป็นร้อยละ 51.50 เหตุผลที่ประชาชนออกกําลัง - กาย / เล่นกีฬา คือ เพื่อสุขภาพ ร้อยละ 75.20 เพื่อ ปรับปรุง/รักษาสมรรถภาพทางกายร้อยละ 50.10 อั ตราการออกกําลั งกายจะค่ อย ๆ ลดลงเมื่อ อายุเพิ่มขึ้น อัตราการออกกําลังกายต่ําที่สุดในกลุ่ม อายุ 40 ปี และเพิ ่ มขึ ้ นในกลุ ่ มอายุ 50 ปี นอกจากนี้ยังมีข้อมูลว่าอัตราการออกกําลังกาย สูงที่สุดในกลุ่มอายุ 70 ปี ทั้งผู้หญิงและผู้ชายซึ่ง สูงถึงร้อยละ 70.00 ในทางกลับกันร้อยละ 20.70 ของผู้ตอบแบบสอบถามตอบว่าไม่ได้ออกกําลังกาย/ เล่นกีฬาในปีที่ผ่านมา และไม่ได้ออกกําลังกาย/ เล่ นกีฬาในตอนนี้ และไม่ มี ความตั ้ งใจที่ จะทํา ในอนาคต และกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 1 9.10 ตอบว่า ออกกําลังกาย/เล่นกีฬาบ่อยขึ้น ในขณะที่ร้อยละ 21.60 ตอบว่าลดลง ในการจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก 2020 หน่ วยงาน the Japan Sports Agency ทําการ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันระหว่างประเทศ มีการสร้างระบบ กลยุทธ์เพื่ อค้นหาและฝึกฝนนักกีฬารุ่ นต่อไป มีการสนับสนุนการฝึกอบรมอย่างเข้มข้นสําหรับ การคว้าเหรียญรางวัล การเพิ่มประสิทธิภาพของการสนับสนุนโดย เวชศาสตร์การกีฬา/วิทยา ศาสตร์การกีฬา เพื่อ ปรับปรุงความสามารถในการแข่งขันระหว่ำง ประเทศของญี ่ ปุ่ น สิ ่ งสําคัญ คือ ต้ องพัฒนา สภาพแวดล้อมการฝึกอบรมทางวิทยาศาสตร์ที่ ก้าวหน้ายิ่งขึ้น ในสนามฝึกอบรม NTC พยายาม เสริ มสร้ำงการทํางานในฐานะศู นย์ กี ฬาที ่ มี ประสิทธิภาพสูง โดยการรวบรวมและวิเคราะห์ ข้อมู ลเกี่ ยวกับวิธีเสริ มความแข็งแกร่ งให้ กับ ผู้ เล่นและกลยุทธ์การได้มาซึ่ งเหรียญในแต่ละ ประเทศ รวมทั้งการพัฒนาอุปกรณ์การแข่งขัน ให้เหมาะสม รัฐบาลญี่ปุ่นส่งเสริมอุตสาหกรรม การ กีฬาให้เติบโต และเป็นที่รู้จักและนิยมในต่างประเทศ จะส่งผลให้ ดึงดูดนักท่องเที่ยวจากต่างปร ะเทศมายังญี่ปุ่นและ ดึงดูดความต้องการจากต่างประเทศไปยังผลิตภัณฑ์ และบริการของญี่ปุ่นในประเทศอื่น ๆ ทั้งการส่งเสริม การกีฬา เชิงท่องเที่ยว พบว่านักท่องเที่ยวต้องการ เดินทางมาเล่นกีฬาประเภทการปีนเขา การเดินป่า ระยะทางไม่ ไกลมาก ( Hiking) และการเดิ นป่า ( Trekking) ส่ว นการเดินทางมาเพื่อเข้าชมกีฬา คือ กีฬาซูโม่และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ( Martial Arts) และยังกระตุ้นเศรษฐกิจโดยการเป็นเจ้าภาพจัดการ แข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ อาทิ การจัดการแข่งขัน Rugby World Cup 2 0 1 9 พ บ ว ่ำ ช ่ วย กร ะ ตุ้ น เศรษฐกิจของประเทศญี่ปุ่นราว 646.40 พันล้าน - เยน (6.10 พันล้าน - ดอลลาร์สหรัฐ) มีชาวต่างชาติ ที่เดินทางไปเข้าชมการแข่งขันถึง 242,000 คน เกิดการใช้จ่ายราว 348.2 พันล้านเยน สามารถ จําหน่ายตั๋วเข้าชมการแข่งขันได้ถึง 1.83 ล้านที่นั่ง การจัดการแข่งขันในครั้งนี้ยังช่วยให้มีการจ้างงาน เกิดขึ้ น 46,340 คน มีกลุ่ มอาสาสมัครจํานวน 13,000 คน 1 ) มี การเพิ ่ มมาตรการที ่ เหมาะสมในการ ส่งเสริมการออกกําลังกายตามพฤติกรรมของ แต่ละกลุ่มวัยเพื่อสนับสนุนให้ออกกําลังกาย หรือเล่นกีฬามากขึ้น 2 ) มีศูนย์ฝึกกีฬาที่มีประสิทธิภาพสูง 3 ) การเพิ่มประสิทธิภาพของการสนับสนุนโดย เวชศาสตร์การกีฬา/วิทยาศาสตร์การกีฬา 4 ) การมีสิ่งอํานวยความสะดวกที่พร้อมรองรับ นักท่องเที่ยวเชิงกีฬา 5 ) มีการส่งเ ส ริมการ กีฬา เชิงท่องเที่ยว 6 ) ส่งเสริมการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬา 7 ) สนับสนุนการส่งออกลิขสิทธิ์การถ่ายทอดสด การแข่งขันกี ฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 26 - 2 . สถานการณ์และแนวโน้มการกีฬาของประเทศไทย การกีฬาของประเทศไทยหากพิจารณาตามห่วงโซ่คุณค่า ของการกีฬา ( Value Chain of Sport Sector) ตามแผนภาพที่ 2 ประกอบไปด้วย ต้นน้ํา ซึ่งได้แก่ กีฬาขั้นพื้นฐานและ กีฬาเพื่อมวลชน กลางน้ํา ประกอบด้วยกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ ทุกระดับ และ ปลายน้ํา ซึ่ง ประกอบด้วยอุตสาหกรรม การ กีฬาและ กีฬาอาชีพ ทั้งนี้ ในทุกภาคส่วนของการกีฬานั้น มีองค์ประกอบทั้ง ในส่วนของ กลุ่มเป้าหมาย ของการพัฒนา การกีฬา และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง โดยในส่วน ต้นน้ํา ของการกีฬานั้น กลุ่มเป้าหมายของการพัฒนา ได้แก่ เด็กและเยาวชน ส่วนบุคลากรที่เกี่ยวข้องครอบคลุม ครูผู้สอนพลศึกษาในกีฬาขั้นพื้นฐานและอาสาสมัคร ทางการกีฬาซึ่งเกี่ยวข้องกับ กีฬาเพื่อมวลชน ด้าน กลางน้ํา คือกีฬาเพื่อความเป็น เลิศนั้น กลุ่ม เป้าหมาย ครอบคลุมนักกีฬา ทุกร ะดับตั้งแต่ระดับจังหวัด ระดับชาติ และระดับนานาชาติ ส่วน บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ครอบคลุม ผู้บริหารกีฬา ผู้ ตัดสินกีฬา ผู้ฝึกสอนกีฬา รวมถึงนักวิทยาศาสตร์การกีฬา ด้านปลายน้ํา ครอบคลุม กลุ่มเป้าหมายนัก กีฬาอาชีพและอุตสาหกรรม การ กีฬาที่ ประกอบไปด้วยธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการ กีฬา ทั้งในภาคการผลิต ภาคการค้าและภาคบริการด้านการกีฬา โดยมีบุคลากรที่เกี่ยวข้องหลายสาขาอาชีพ ทั้งนักวิทยาศาสตร์การกีฬาและบุคลากร อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในธุรกิจการกีฬาทุก ประเภทธุรกิจ ที่ผ่านมา ประเทศไทยได้มีแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติไปแล้ว 6 ฉบับ มีหน่วยงานทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการกีฬาของประเทศหลายองค์กร โดย ในส่วนของต้นน้ําและกลางน้ํานั้น มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการกีฬาของประเทศที่สําคัญ ได้แก่ กระทรวงการท่อ งเที่ยวและกีฬา ซึ่งมีหน่วยงานในสังกัดที่ เกี่ยวข้องในการพัฒนาการกีฬาที่ สําคัญ ได้แก่ สํานักงานปลัดกระทรวงท่องเที่ยวและ กีฬา กรมพลศึกษา การกีฬาแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ รวมถึง การท่องเที่ยวแห่งประเทศ - ไทย นอกจากนี้ ยังมีหน่วยงานภาครัฐอื่นที่เกี่ยวข้อง หลัก ๆ อาทิ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงกลาโหม สํานักงาน ตํารวจแห่งชาติ รวมทั้งภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย สมาคมกีฬาจังหวัด และ ชมรมกีฬา ต่าง ๆ เป็นต้น ส่วนปลายน้ําซึ่งได้แก่อุตสาหกรรม การ กีฬาและกีฬาอาชีพนั้น มีหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาอุตสาหกรรม การ กีฬา ได้แก่ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวง สาธารณสุข กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงดิจิ ทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม สํานักงานส่งเสริมการประชุมและ นิทรรศการ กระทรวงการคลัง เป็นต้น รวมทั้งหน่วยงานจาก ภาคเอกชน เช่น สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ - ไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย เป็นต้น
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 27 - แผนภาพที่ 2 - 1 Value Chain of Sport Sector หรือห่วงโซ่คุณค่าของการกีฬาของประเทศไทย ที่ผ่านมาประเทศไทยได้มีแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติไปแล้ว 6 ฉบับ โดยล่าสุดคือ ฉบับที่ 6 (พ . ศ . 2560 - 256 5 ) ซึ่งเมื่อพิจารณาจากผลการดําเนินงานของการกีฬาของประเทศไทยในห้วงเวลา ที่ผ่านมา จากผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติฉบับล่าสุดนั้น พบว่าสถานการณ์กีฬาของ ประเทศไทยยังอยู่ในสถานะที่ยังต้องการการพัฒนาอย่างมาก เนื่องจากยังไม่สามารถดําเนินงานการพัฒนากีฬา ในแต่ล ะภาคส่วนให้บรรลุผลตามที่กําหนดได้ ถึงแม้ ว่าที่ผ่านมา จะพบว่าสัดส่วนของประชาชนทุกภาคทั่วประเทศกว่าร้อยละ 40 มีความสนใจ ในการออกกําลังกายและเล่นกีฬาโดยมีการออกกําลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอ เกินค่าเป้าหมายที่กําหนด ที่ร้อยละ 30 แต่พบว่าเด็กและเยาวชนทั่วประเทศผ่ำนเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายต่ํากว่าเป้าหมาย (ต่ํากว่าร้อยละ 80 ) มีการขาดแคลนผู้สอนพลศึกษาในกลุ่มกีฬาขั้นพื้นฐาน ส่วนบุคลากรและผู้นําทางกีฬาแล ะ นันทนาการและอาสาสมัครทางการกีฬาเพื่อ กีฬาเพื่อมวลชน นั้นยังได้รับการพัฒนาไม่ต่อเนื่องต่ํากว่าเป้าหมาย อย่างมาก ด้านการกี ฬาเพื่อความเป็นเลิศนั้น ชนิดกีฬาได้รับการพัฒนามาตรฐานการเก็บตัวฝึกซ้อมแข่งขัน ในรูปแบบศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย นักกีฬาผู้แทนของประเทศไทยยังไม่สามารถประสบ ความสําเร็จ ได้ตามเป้าหมาย ในการแข่งกีฬาทั้งในระดับภูมิภาค ระดับทวีปและระดับโลก นอกจากนี้ การพัฒนา บุคลากรการกีฬา ที่ได้มาตรฐาน (ผู้ฝึกสอน ผู้ตัดสิน และผู้บริหารการกีฬา) ในช่วงที่ผ่านมา มีอัตราลดลง อย่างต่อเนื่อง ด้านอุตสาหกรรมการกีฬาของประเทศไทยในระยะ 5 ปีที่ผ่านมา พบว่ายังมีอัตราการเ ติบโต โดยเฉลี่ยต่ํากว่าร้อยละ 5 ตามเป้าหมายที่กําหนด ทั้งนี้ สามารถแจกแจง สถานการณ์และแนวโน้มของการกีฬาระดับพื้นฐาน กีฬาเพื่อมวลชน กีฬา เพื่อ ความ เป็นเลิศและ กีฬา อาชีพ และอุตสาหกรรม การ กีฬา โดย มีเนื้อหาสามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 28 - 2 . 1 สถานการณ์การกีฬา ขั้นพื้นฐาน การพัฒนากีฬา ขั้น พื้นฐาน สําหรับ เด็กและเยาวชนของประเทศไทย มีการให้ความสําคัญกับ การส่งเสริมการออกกําลังกาย และกีฬาขั้ นพื้ นฐานให้กลายเป็นวิถีชีวิต โดยกําหนดเป็นส่วนหนึ่ง ในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งเป็นแผนระดับ 1 ที่ใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580 ) โดยส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน กลุ่มบุคคลทั่วไป บุคคลกลุ่มพิเศษ และผู้ด้อยโอกาส มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการออกกําลังกาย การปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการเล่นกีฬาบางชนิด ที่มีความจําเป็น ต่อทักษะในการดํารงชีวิต รวมทั้งการมีอิสระในการประกอบกิจกรรมนันทนาการตาม ความถนัดหรือความสนใจเฉพาะบุคคล และปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นวิถีชีวิต เพื่อพัฒนาจิตใจ สร้างความสัมพันธ์อันดี หล่อหลอมจิตวิญญาณและการเป็นพลเมืองดี ซึ่ งพบว่ามีการเชื่อมโยงกรอบ แนวทา งการส่งเสริมการออกกําลังกาย และกีฬาขั้นพื้นฐานให้กลายเป็นวิถีชีวิตจากแผนระดับ ที่ 1 สู่แผนระดับ ที่ 2 และแผนระดับ 3 ซึ่งเป็นแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานต่าง ๆ ตามลําดับ โดย ใน แผนระดับ ที่ 2 ที่มีการถ่ายทอดเป้าหมายมาจากแผนระดับที่ 1 ที่ เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมให้เกิดความรู้และความตระหนัก ด้านการออกกําลังกายและการกีฬาขั้นพื้นฐานโดยเฉพาะ ได้แก่ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 14 ศักยภาพกีฬา โดยส่งเสริมการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐานให้กลา ยเป็นวิถีชีวิตและการส่งเสริม ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมออกกําลังกาย กีฬาและนันทนาการ และ แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ กิจกรรมปฏิรูปที่ 3 การส่งเสริมประชาชน เป็นศูนย์กลางในการสร้างวิถีชีวิตทางการกีฬาและการออกกําลังกา ยอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม การสร้างโอกาส ทางการกีฬาและพัฒนานักกีฬา จัดให้มีห้องเรียนกีฬาในทุกอําเภอ เพื่อเป็นแหล่งบ่มเพาะนักกีฬาเพื่อ ความเป็นเลิศ จัดให้มีหลักสูตรเฉพาะสําหรับผู้ที่เป็นนักกีฬาตั้งแต่ระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอก นอกจากนี้ ตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564 ) ในยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ โดยด้านกีฬาขั้นพื้นฐานจะเกี่ยวข้องกับเป้าหมายที่ 4 คนไทย มีสุขภาวะที่ ดี ขึ้ น และ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570 ) ในหมุดหมายที่ 12 ไทยมีกําลังคนสมรรนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต เป้าหมายที่ 1 คนไทยได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพในทุกช่วงวัย มีสมรรถนะที่จําเป็นสําหรับโลกยุคใ หม่ มีคุณลักษณะตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม มีคุณธรรม จริยธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงอย่าง พลิกโฉมฉับพลันของโลก สามารถดํารงชีวิตร่วมกันในสังคมได้อย่างสงบสุข นอกจากนั้น ใน แผนระดับ ที่ 3 ที่มีการถ่ายทอดเป้าหมายจากแผนระดับ ที่ 1 และ 2 นั้น ได้แก่ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 256 5 ) ในยุทธศาสตร์ศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมให้เกิดความรู้และความตระหนักด้านการออก กําลังกายและการกีฬาขั้นพื้นฐาน โดยมีเป้าหมายให้เด็กและเยาวชน มีความเข้าใ จ มีความตระหนักในกิจกรรม ทางกาย การออกกําลังกายและการเล่นกีฬา มีสุขภาพร่างกายตามเกณฑ์มาตรฐาน พร้อมทั้งมีความสํานึกถึง ความมีระเบียบวินัยและน้ําใจนักกีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 29 - ทั ้ งนี ้ จากการติ ดตามและประเมิ นผล แผนพั ฒนาการกี ฬาแห่ งชาติ ฉบั บที ่ 6 (พ.ศ. 2560 - 256 5 ) ใน ยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมให้เกิดความรู้และความตระหนักด้านการออกกําลังกาย และการกีฬาขั้น พื้นฐาน พบว่า ใน ปี 2564 การพัฒนายังไม่สามารถดําเนินงานได้ตามเป้าหมาย โดย 1) เด็กและเยาวชนทั่ วประเทศผ่านเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายที่ ร้อยละ 70 . 43 ซึ่ งต่ํากว่า ค่าเป้าหมายที่กําหนด ( ค่าเป้าหมายที่ร้อยละ 80 ) 2) การ ส่งเสริมกิจกรรมกีฬาผ่านโครงการ “1 โรงเรียน 1 กีฬา” ในสถานศึกษาทุกแห่งทั่วประเทศยังไม่ประสบความสําเร็จ เนื่องจาก ยัง ไม่มี การดําเนินงาน ดังกล่าว ใน ช่วง ปี 2562 - 2563 3) การมี ครูพลศึกษาในสถานศึกษาทั่วประเทศภายในปี 2564 ซึ่ง มีการเก็บรวบรวม ข้อมูลแต่ยังไม่ครอบคลุม ตามขอบเขตของตัวชี้วัด จึงไม่สามารถประเมินผลการพัฒนา ได้ 4) การจัดกิจกรรม การให้ความรู้และส่งเสริมการออกกําลังกายและการเล่นกีฬานอกสถานศึกษาในทุกตําบลทั่วประเทศ และ 5) การเพิ่มวาระ การประชุมเรื่องการพัฒนาการกีฬาในการประชุมของสถานศึกษา นั้น ยังไม่มีการจัดเก็บ รวบรวมข้อมูล อย่างเป็นระบบเพื่อใช้ในการประเมินผลการพั ฒนา สําหรับ การพัฒนากีฬา ขั้น พื้นฐาน สําหรับ เด็กและเยาวชนของประเทศไทย ที่ผ่านมา มีหน่วยงาน ที่ เกี่ ยวข้องหลากหลายหน่วยงาน โดยหน่วยงานหลัก ได้แก่ กระทรวงการท่องเที่ ยวและกีฬา ซึ่ งมี กรมพลศึกษา และมหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ เป็นหน่วยงานหลัก นอกจากนี้ยังมีหน่วยร่วมดําเนินงาน อื่น ๆ ที่สําคัญ ได้แก่ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้น แผนภาพที่ 2 - 2 ร้อยละของเด็กและเยาวชนทั่วประเทศที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย ที่มา : กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา อย่างไรก็ตาม เมื่ อวิเคราะห์สถานการณ์ การกีฬา ขั้ น พื้ นฐาน สําหรับ เด็กและเยาวชนของ ประเทศไทย ภายในห้วงระยะเวลาของแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 256 5 ) พบว่า จากการสํารวจเด็กและเยาวชน อายุระหว่าง 6 - 17 ปี มีเด็กที่มีกิจกรรมทางกายเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน ติดต่อกันทุกวันตลอดทั้งสัปดาห์ เพียงร้อยละ 23 . 20 เท่านั้น และมี เด็กที่มีการเล่นออกแรง 0.00% 20.00% 40.00% 60.00% 80.00% 100.00% 2560 2561 2562 2563 2564 52.16 % 61.13 % 61.05 % 71.97 % 70.43 % ร้อยละของเด็กและเยาวชนทั่วประเทศ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 30 - การทํากิ จกรรมนั นทนาการ เช่ น การวิ ่ งเล่ นกั บเพื ่ อนในช่ วงเวลาว่ำง เพี ยงร้ อยละ 19 . 90 หากพิจารณาถึงสมรรถภาพทางกายของเด็กและเยาวชน พบว่า เด็กและเยาวชนทั่วประเทศผ่านเกณฑ์ มาตรฐานสมรรถภาพทางกายต่ํากว่าค่าเป้าหมายที่กําหนดไว้ โดยเด็กและเยาวชนทั่วประเทศร้อยละ 70.43 ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย โดยค่าเป้าหมายกําหนดไว้ที่ร้อยละ 80 นอกจากนั้ น หากพิจาร ณา ด้านสถิติ พบว่า ร้อยละของ เด็กและเยาวชนทั่วประเทศ ที่ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายต่ํากว่า ค่าเป้าหมายที่กําหนด ตลอด ระยะ เวลา 5 ปี ที่ผ่านมา (พ.ศ. 2560 - 2564) ดังแผนภาพที่ 2 - 2 อาจมีสาเหตุ มาจาก การขาดการสร้างค่านิยมที่ดีให้กับเด็กและเยาวชนในการเล่นกีฬา ประกอบกับเด็กและเยาวชน ไม่ ทราบ ประโยชน์ของ การออกกําลังกายและการเล่นกีฬา ว่า ส่งผลดีต่อการพัฒนาทั้งร่างกายและสมองของตน โดย พบว่า เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมการกีฬาที่จัดโดยโรงเรียน หรือหน่วยงานท้องถิ่ น หรือองค์กรอื่น ๆ (นอกเหนือจากวิชาพลศึกษา) มีเพียงร้อยละ 46 . 60 เท่านั้น รวมถึง นโยบายด้านการออกกําลังกายและ การกีฬาขั้นพื้นฐาน ไม่ได้เป็นนโยบายและเป้าหมายหลักสําหรับระบบการศึกษา ระบบการศึกษาขั้น พื้นฐาน ที่ไม่เอื้ออํานวยต่อการออกกําลังกายใน สถานศึกษา เนื่องจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) กําหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ พลศึกษาไว้ไม่น้อยกว่า 80 ชั่วโมง/ปี โดยแบ่งเป็นสุขศึกษา 40 ชั่วโมง/ปี และพลศึกษา 40 ชั่วโมง/ปี ทําให้ การจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา กําหนดตามโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่ํา ที่จํากัดชั่วโมงเรียนพลศึกษา ลด ลงเหลือเพียงสัปดาห์ละ 1 คาบ หรือประมาณ 1 ชั่วโมง ซึ่ง ไม่ เพียงพอต อการพัฒนาทา งด้านร่างกาย ของ เด็กแ ละเยาวชน ส่ งผลต อการเจริญเติบโต ทั้ง ทางด้านร่างกาย และ สติปัญญา ของเด็กและเยาวชนในอนาคต เนื่องจากมีการเคลื่อนไหวของ ร่าง กาย อย่างไม่ เพียงพอ ดังนั้น สถานศึกษา ควร จัดให้มีวิชาพลศึกษาอย่างน้อย 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยหลักสูตรที่นํามาจัดการเรียนการสอนนั้น ควร มีองค์ความรู้ในด้านการฉลาดรู้ทางกาย ( Physical Literacy) เป็นส่วนประกอบในวิชาพลศึกษา และเพิ่มชั่วโมงการกีฬาศึกษา ( Sport Education) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีสมรรถนะกีฬาพื้นฐาน ( Basic Sport Competency) The American Col lege of Sports Medicine (ACSM), 2009 มีการศึกษาการออกกําลังกายที่ เสริมความแข็งแรงของระบบหัวใจ ไหลเวียนเลือดและปอด โดยแนะนําให้ออกกําลังกาย 150 นาทีต่อสัปดาห์ นอกจากนี้ ควร ส่งเสริมและ สนับสนุนการจัดกิจกรรมกีฬาและการแข่งขันกีฬาสําหรับเด็กและเยาวชน เพื่อกระตุ้นความต้องการในการออก กําลังกายและการเล่นกีฬาอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้ง จัดเตรียมและพัฒนาสถานที่ออกกําลังกายและเล่นกีฬาของ เด็กและเยาวชนที่มีอยู่ในชุมชนเดิมหรือจัดหาใหม่เพิ่มเติม ให้มีความปลอดภัยและเหมาะสมกับเด็กและ เยาวชนในแต่ละช่วงวัย เพื่อสนับสนุนให้มี การออกกําลังกายและกีฬาอย่างสม่ําเสมอ นอกจากนั้น ควร มีการ แข่งขันกีฬาที่มีมาตรฐานสําหรับเด็กและเยาวชน ในระดับอําเภอและระดับจังหวัด เพื่อเตรียมพร้อมสําหรับ การส่งต่อไปเป็นนักกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 31 - นอกจากนั้น หากพิจารณา ในด้านบุคลากรที่มีความสําคัญในการส่งเสริมและพัฒนากีฬา ขั้นพื้นฐาน ในส่วนของ ครูพลศึกษา พบว่า ใน ปี 2564 มีโรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน จํานวน 29 , 000 โรงเรียน มีอัตราครู จํานวน 414 , 871 คน เป็นครูพลศึกษาจํานวน 14 , 192 คน แสดงให้เห็นว่ามีโรง เรียนมากกว่าร้อยละ 50 ที่ไม่มีครูพลศึกษาประจําในโรงเรียน เป็นเพียงแค่ครูผู้สอน พลศึกษาทดแทนอัตรากําลังดังกล่าว เนื่องจากติดข้อจํากัดเรื่อง จํานวน อัตราครู ในโรงเรียนขนาดเล็ก (จํานวน นักเรียนไม่เกิน 80 คน ตามเกณฑ์ สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (สํานักงาน ก.ค.ศ.) ) จะมีจํานวนอัตราครูไม่ถึง 8 คน หรือ 8 สาระการศึกษา ถึงแม้ จะครบ 8 สาระการศึกษา (จํานวนนักเรียน 81 คน ขึ้นไป) ซึ่งถือเป็นสาขาวิชาเอกเพิ่มเติม ก็ยังสามารถกําหนดตามหลักสูตรแกนกลางฯ และหลักสูตรสถำนศึกษา เช่น พลศึกษา ศิลปะ ดนตรี เป็นต้น ดังนั้นการพิจารณาบรรจุครู ในสาระการศึกษาใด จึงต้องพิจารณาตามความเหมาะสมของแต่ละโรงเรียน อีกทั้ง ต้องควบคู่ไปกับการพัฒนาหลักสูตรที่เป็น มาตรฐาน สําหรับครูผู้สอนพลศึกษาในโรงเรียนทั่วประเทศสามารถได้รับการพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรม การออกกําลังกาย และการเล่นกีฬาตามเกณฑ์ที่กําหนด เมื่อพิจารณา การ วินิจฉัยความสามารถในการแข่งขัน จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ของ กีฬา ขั้น พื้นฐาน สําหรับ เด็กและเยาวชนของประเทศไทย พบว่า หน่วยงานภาครัฐได้มี การพัฒนาการกีฬา ขั้น พื้นฐาน สําหรับ เด็กและเยาวชน โดย กําหนด ให้ เป็นส่วนหนึ่งในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งเป็นแผนระดับที่ 1 และถ่ายทอดลงสู่ แผนระดับ ที่ 2 และแผนระดับ ที่ 3 ตามลําดับ โดยแผนระดับ 3 ที่ถือว่าเป็นกรอบแนวทำง พัฒนาการกีฬาของประเทศนั้น คือ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 256 5 ) มีการจัดตั้ง หน่วยงานรับผิดชอบการขับเคลื่อนดําเนินงานการส่งเสริมให้เกิดความรู้และความตระหนักด้านการออกกําลัง กายและการกีฬาขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการเชื่อมโยงกรอบแนวทางการส่งเสริมการออกกําลังกาย และกีฬาขั้นพื้นฐานให้กลายเป็นวิถีชีวิตจากแผนระดับ 1 สู่แผ นระดับ 2 และแผนระดับ 3 แต่ การดําเนินงาน พัฒนากีฬาขั้นพื้นฐานที่ผ่านมา ยังขาดการบูรณาการ การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ การดําเนินการ พัฒนากีฬาขั้นพื้นฐาน การขาดความเชื่อมโยงในมิติของการดําเนินงาน เพื่อสะท้อนถึง ความสําเร็จตาม ตัวชี้วัดและเป้ำหมายในระดับ ภาพรวมของ แผนยุทธศาสตร์ กับ การดําเนินงานของหน่วยงาน ปฏิบัติ ขาดฐานข้อมูลกลางเพื่อใช้ในการ บริหารจัดการการ พัฒนาการกีฬาขั้นพื้นฐาน และ ยังขาดระบบ การ ติดตามและประเมินผล ที่เป็นรูปธรรม ด้านปัจจัย สนับสนุน ที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนา กีฬาขั้นพื้นฐาน พบว่ำ ยัง ขาด บุคลากรด้านพลศึกษา หรือครูพลศึกษาที่มีความรู้และทักษะด้านพลศึกษาหรือการกีฬา โดย พบว่า โรงเรียนในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมากกว่าครึ่งไม่มีอัตราบรรจุครูพลศึกษา ซึ่งเป็นปัญหาสะสมมายาวนาน ตั้งแต่ปี 2545 เมื่อกรมพลศึก ษาได้ถูกโอนย้ายสังกัดจากกระทรวงศึกษาธิการไปอยู่ในสังกัดกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา ส่งผลให้การเรียนการสอนในโรงเรียนส่วนใหญ่ไม่ได้ให้ความสนใจหรือส่งเสริม การออกกําลังกายและกีฬาขั้ นพื้ นฐานให้แก่เด็กนักเรียน ทําให้เด็กและเยาวชนขาดความตระหนัก ถึงความสําคัญของการออกกําลังกายและเล่นกีฬาตั้ งแต่เยาว์วัย รวมถึงขาดทักษะและความรู้ ในการ ออกกําลังกายและการกีฬาขั้นพื้นฐานอย่างถูกต้อง นอกจากนั้น ยังพบว่าโครงสร้างพื้นฐานด้านการกีฬา อาทิ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 32 - สถานที่ อุปกรณ์ องค์ความรู้ และกิจกรรมทางการกีฬามีไม่เพียงพอ โดย อ้างอิงจา กจังหวัดที่มีศักยภาพ ที่ได้รับ การประกาศเป็นเมืองกีฬา จํานวน 16 จังหวัด พบว่าร้อยละ 37 . 50 มี สถานที่ออกกําลังกายสาธารณะ ไม่ครบทุกตําบลในจังหวัดนั้น ๆ รวมถึงขาด กำรบริหารจัดการ องค์ความรู้ ข้อมูลสารสนเทศด้านการกีฬา ระบบสถิติ และระบบการประมวลผล เพื่อ ใช้ในการบริหา รจัดการเชิงกลยุทธ์ อย่างไรก็ตาม ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา มีการเปิดตัวอะคาเดมีเพิ่มขึ้นเพื่อฝึกสอนเด็กและเยาวชน จํานวนมาก มีการจัดตั้งธุรกิจสโมสรกีฬาเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง โดยปี 2561 มีจํานวนธุรกิจกีฬาเพิ่มขึ้น ร้อยละ 8 . 98 ( 182 ราย) ปี 2562 เพิ่มขึ้นร้อยละ 19 . 23 ( 217 ราย) ซึ่งเป็นอะคาเดมีฟุตบอล ประมาณ ร้อยละ 86 ของอะคาเดมีทั้งหมด น อ กจากนี้ ความก้าวหน้ำของเทคโนโลยี ในปัจจุบัน ทําให้ มีเทคโนโลยี ที่ช่วยอํานวยความสะดวก และ ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนหันมาสนใจหรือชื่นชอบกีฬามากขึ้น เช่น เครื่อง ออกกําลังกายทั้งในร่มและกลางแจ้ง แอ ป พลิเคชั น เครื่องแต่งกาย อุปกรณ์การเล่นต่าง ๆ ทําให้เด็กและ เยาวชนรู้สึกสนุก และมีทางเลือกในการออกกําลังกายและเล่นกีฬามากยิ่งขึ้น อาทิ การใช้อุปกรณ์เล่นเกม Nintendo Switch ในการออกกําลังกายผ่านเกม ต่าง ๆ เช่น Ring Fit Adventure, Zumba® Burn It Up!, Just Dance 2020 , Fitness Boxing เป็นต้น นอกจากนี้ยัง พบว่า เด็กและเยาวชนหันมาให้ความสนใจ ด้านกีฬามากขึ้น เนื่องจากได้รับแรงจูงใจจากการประสบความสําเร็จของนักกีฬาไท ยในหลากหลายประเภท กีฬา ทั้งในระดับประเทศและระดับอาชีพ รวมทั้งผู้ ที่มีชื่อเสียงในทุกแวดวง ที่ มีการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตในการทํา การตลาด เช่น YouTube โดยพบว่าในปัจจุบัน มีนักกีฬาที่มีชื่อเสียงหลายรายเปิดช่อง YouTube ของตนเอง ทําให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงความเป็นไปของตัวตนของนักกีฬาได้มาก เห็นการใช้ชีวิต รับรู้ถึง การฝึกซ้อม และรู้สึกคล้อยตามกระแสของกีฬาในตัวนักกีฬาที่ตนเองชื่นชอบ อย่างไรก็ตาม ในทางตรงกันข้าม จากเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าและการเข้าถึงอินเตอร์ เน็ตที่ง่าย จากการสํารวจ พบว่า เด็กอายุ 15 – 17 ปี ร้อยละ 65 . 90 มีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ (จากผลการสํารวจของสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ เรื่องผลสํารวจข้อมูลกิจกรรม ทางกายระดั บชาติ พ.ศ. 2562 ) นอกจากนั ้ นใน ปี 2563 ยั งมี ปั จจั ยภายนอกจากสถานการณ์ การแพร่ระบาด COVID - 19 ที่ส่งผลให้สถานศึกษาเลื่อนการเปิดภาคเรียน และปรับระบบการเรียนเป็น การเรียนแบบออนไลน์ ทําให้เด็กมีกิจกรรมทางกายที่ลดลงอีกด้วย ทั้งนี้ แนวทางการพัฒนากีฬาขั้นพื้นฐานในอนาคตนั้น หาก นําผลการวิเคราะห์ ความสามารถ ในการแข่งขัน ของ ก ลุ่ ม กีฬาขั้นพื้นฐาน ภายในห้วงระยะเวลาของแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 256 5 ) มาวิเคราะห์โดยใช้เครื่องมือ TOWS Matrix Model โดยการนํา จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ที่ได้จากกระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและภายในของกลุ่ มกีฬา ขั้นพื้นฐานเด็กและเยาวชน สามารถกําหนด กลยุทธ์เพื่อใช้ในการพัฒนาในอนาคต โดยกําหนด 1 ) กลยุทธ์ เชิงรุก โดยใช้จุดแข็งและโอกาสที่มีมากําหนดกลยุทธ์ 2 ) กลยุทธ์เชิงแก้ไข โดยใช้โอ กาสที่มีมากําหนดกลยุทธ์ เพื่อแก้ไขจุดอ่อน 3 ) กลยุทธ์เชิงรับ ใช้จุดแข็งที่มีมากําหนดกลยุทธ์เพื่อแก้ไขจุดอ่อน 4 ) กลยุทธ์เชิงป้องกัน โดยใช้จุดอ่อนและอุปสรรคที่มีมากําหนดกลยุทธ์ ดังนี้
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 33 - 1 ) กลยุทธ์เชิงรุก สามารถกําหนดกรอบแนวทางการพัฒนาหลักได้ 3 ประการ คือ ( 1 ) ด้านนโยบาย ควรสนับสนุนการจัดทําความร่วมมือ ( MOU) ระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ในการส่งเสริมการกิจกรรมด้านการออกกําลังกาย และกีฬา ขั้น พื้นฐานในเด็กและเยาวชน เช่น การต่อยอดโครงการห้องเรียนกีฬาเพื่อสร้าง แรงจูงใจ และส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนหันมา ออกกําลังกาย และได้รับการพัฒนาสมรรถภาพทางกายอย่างถูกต้อง ( 2 ) ด้านการบริหารจัดการ ควรส่งเสริมการสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็ง โดยสนับสนุนการบูรณาการให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมกับ หน่วยงานภาครัฐที่ เกี่ ยวข้องในการผลักดันการขับเคลื่ อนการจัดทําแผนพัฒนาฯ กําหนด ยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติราชการเกี่ยวกับการออกกําลังกาย และกีฬา ขั้น พื้นฐานในเด็กและ เยาวชนให้เป็นภารกิจหลักที่ สําคัญสู่ การปฏิบัติ และ ( 3 ) ด้ำนปัจจัยพื้ นฐานที่ เกี่ ยวข้อง ควรสนับสนุนการใช้เทคโนโลยี รวมถึงการใช้ Social Media เป็นสื่อในการเข้าถึงเด็กและเยาวชน เพื่อสร้างกระแสความนิยมด้านการออกกําลังกาย เนื่องจาก สามารถสื่อสารไปยังเด็กและเยาวชน ได้อย่างรวดเร็ว สะดวก และสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย 2 ) กลยุ ทธ์เชิงแก้ไข สามารถกําหนดกรอบแนวทางการพัฒนาหลักได้ 2 ประการ คือ ( 1 ) ด้าน การบริหารจัดการ ควรสนับสนุนให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเป็นผู้ สนั บสนุน การจัดกิจกรรมการออกกําลังกาย โดยบูรณาการความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาและ ภาคเอกชนในการจัดกิจกรรมให้กับเด็กแล ะเยาวชน ( 2 ) ด้านปัจจัยพื้ นฐานที่ เกี่ ยวข้อง ควรสนับสนุนการจัดทําสื่อและนวัตกรรมออนไลน์ เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการออกกําลังกาย และการเล่นกีฬาที่เหมาะสมกับแต่ละช่วงอายุของเด็กและเยาวชน รวมถึงการอบรมให้ความรู้กับ ครูพล ศึกษา ผ่านสื่อออนไลน์ โดยเป็นหลักสูตรออนไลน์ ที่ เกี่ยวกับการออกกําลังกายและการเล่น กีฬาที่เหมาะสมกับแต่ละช่วงอายุของเด็กและเยาวชน เพื่อเพิ่มความรู้และทักษะด้านพลศึกษา หรือการกีฬาให้กับครูพล ศึกษา และสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมการออกกําลังกาย ให้อยู่ใน รูปแบบที่น่าสนใจและสามารถเชื่อมโยงกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ เพื่อดึงดูดความสนใจจากเด็ก และเยาวชน ให้สามารถออกกําลังกายได้ทุกสถานที่ และสนับสนุนกา รนําเทคโนโลยีมาจัดทํา ระบบการติดตามและประเมินของแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ โดยสร้าง ระบบสารสนเทศ กลาง ในการเก็บรวบรวมและเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อติดตามการดําเนินงาน ตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ 3 ) กลยุทธ์เชิงรับ สามารถกําหนดกรอบแนวทางการพัฒนาหลักได้ 2 ประการ คือ ( 1 ) ด้านนโยบาย ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้สถาบันการศึกษา ปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ ของวิชาพลศึกษาในช่วงสถานการณ์ COVID - 19 ให้เน้นกิจกรรมที่มีการเคลื่อนไหวร่างกายมากขึ้น ( 2 ) ด้านปัจจัยพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง ควรส่งเสริมและสนับสนุนการจั ดทําสื่อออนไลน์ โดยใช้นักกีฬา ที่มีชื่อเสียงในการกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนเห็นความสําคัญของการเล่นกีฬาและออกกําลังกาย และสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมการออกกําลังกาย ให้อยู่ในรูปแบบที่น่าสนใจและสามารถ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 34 - เชื่อมโยงกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ เช่น การเล่นเกม กีฬาออนไลน์ โดยมี การเคลื่อนไหวร่างจริง ตามชนิดกีฬา 4 ) กลยุทธ์เชิงป้องกัน สามารถกําหนดกรอบแนวทางการพัฒนาหลักได้ 2 ประการ คือ ( 1 ) ด้าน นโยบาย ควรสนับสนุนให้มีสิทธิประโยชน์ทางภาษี ด้านมาตรการลดหย่อนภาษีหรือให้สิทธิ ประโยชน์กับภาคเอกชนที่เป็นผู้สนับสนุนกีฬา เพื่อสร้างแรงจูงใจในการเป็นผู้สนับสนุนด้านกีฬา ( 2 ) ด้านการบริหารจัดการ ควรสนับสนุนให้เกิดการบูรณา การ ในการทํางานร่วมกันของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการกีฬา ขั้น พื้นฐาน โดยจัดทํา แนวทางการปฏิบัติงานให้ทุกหน่วยงาน ได้รับทราบ เพื่อดําเนินการขับเคลื่อนแผนพัฒนาการกีฬาสู่การปฏิบัติตามขอบเขตหน้าที่ ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานที่มีบทบาทที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการกีฬา และทราบ ความสัมพันธ์ว่าหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน ต้องมีการบูร ณาการกับหน่วยงาน ใดบ้าง และสนับสนุนให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเป็นผู้สนับสนุนกีฬาในระดับท้องถิ่น เช่น การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสถานที่ออกกําลังกาย การจัดกิจกรรมกีฬา เป็นต้น 2.2 สถานการณ์การ กีฬาเพื่อมวลชน การพัฒนา กีฬาเพื่อมวลชน ของประเทศไทย มีการให้ความสําคัญกับการส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมออกกําลังกาย กีฬาและนันทนาการ โดยกําหนดเป็นส่วนหนึ่งในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งเป็นแผนระดับ 1 ที่ใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580 ) โดยส่งเสริมการจัดกิจกรร มกีฬา สร้างโอกาสและสนับสนุนการมีส่วนร่วมในกิจกรรมกีฬาอย่างต่อเนื่อง การปลูกฝังให้มีคุณธรรมของความเป็นนักกีฬา มีระเบียบ วินัย รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย และรู้จักการขอโทษ รวมถึง การพัฒนาบุคลากรและโครงสร้างพื้นฐาน ด้านอุปกรณ์ สถานที่ และสิ่งอํานวยความสะดวกทางกีฬาแ ละ นันทนาการที่มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการและเหมาะสมกับประชาชนทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย จากแผนระดับ 1 สู่แผนระดับ 2 และแผนระดับ 3 ซึ่งเป็นแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานต่าง ๆ ตามลําดับ โดยแผนระดับ 2 ที่มีการถ่ายทอดเป้าหมายมาจากแผนระดับที่ 1 ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมออกกําลังกาย กีฬาและนันทนาการ ได้แก่ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 14 ศักยภาพกีฬา โดยส่งเสริมการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐานให้กลายเป็นวิถีชีวิตแล ะ การส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมออกกําลังกาย กีฬาและนันทนาการ แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ กิจกรรมปฏิรูปที่ 3 การส่งเสริมประชาชน เป็นศูนย์กลางในการสร้างวิถีชีวิตทางการกีฬาและการออกกําลังกายอย่างทั่วถึงและเท่ำเทียม แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564 ) ในยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนา ศักยภาพมนุษย์ โดยด้าน กีฬาเพื่อมวลชน จะเกี่ยวข้องกับเป้าหมายที่ 4 คนไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้น โดยมีการวัดผล คือ ประชาชนเล่นกีฬาและเข้าร่วมกิจกรรมนันทนากำรเพิ่ มขึ้ น และ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) ใน หมุดหมายที่ 8 ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัย
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 35 - เติบโตได้อย่างยั่งยืน เป้าหมายที่ 3 การพัฒนาเมืองให้มีความน่าอยู่ อย่างยั่งยืน มีความพร้อมในการรับมือและ ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทุกรูปแบบ เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มมีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างทั่วถึง และ เพื่อให้เกิด การจัดสรรพื้นที่สาธารณะให้ประชาชนได้ดําเนินกิจกรรม ออกกําลังกาย และเล่นกีฬาร่วมกัน และ หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกําลังคนสมรรนะสูง มุ่งเรี ยนรู้อย่าง ต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต เป้าหมายที่ 1 คนไทยได้รับ การพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพในทุกช่วงวัย มีสมรรถนะที่จําเป็นสําหรับโลกยุคใหม่ มีคุณลักษณะตามบรรทัดฐาน ที่ดีของสังคม มีคุณธรรม จริยธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกโฉมฉับพลันของโล ก สามารถ ดํารงชีวิตร่วมกันในสังคมได้อย่างสงบสุ ข นอกจากนั้น แผนระดับ 3 ที่มีการถ่ายทอดเป้าหมายมาจากแผน ระดับ 1 และ 2 นั้น ได้แก่ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 256 5 ) ในยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมให้มวลชนมีการออกกําลังกายและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการกีฬา ทั ้ งนี ้ จากการติ ดตามและประเมิ นผลแผนพั ฒนาการกี ฬาแห่ งชาติ ฉบั บที ่ 6 ( พ.ศ. 2560 – 256 5 ) ใน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมให้มวลชนมีการออกกําลังกายและมีส่วนร่วมในกิจกรรม การกีฬา พบว่า ในช่วงที่ผ่านมาการพัฒนา ส่วนใหญ่ ยังไม่สามารถดําเนินงานได้ตามเป้าหมาย โดย ในปี 2564 1) มีอาสาสมัครทางการกีฬาทั่วประเทศ จํานวน 8 , 442 หมู่บ้าน หรือคิดเป็นเพียงร้อยละ 11.24 ของจํานวน หมู่บ้านทั่วประเทศ (75 , 032 หมู่บ้าน) 2) บุคลากรและผู้นําทางกีฬาและนันทนาการได้รับการ พัฒนา ผ่านการประเมินและทดสอบถูกติดตามและบันทึกอย่างถูกต้อง มีจํานวน ลดลง โดยในปี 2563 ลดลง ร้อยละ 34 เมื่อเทียบกับปี 2562 (ค่าเป้าหมายมีอัตราการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี) ส่วน ตัวชี้วัด 3 ) การจัดเตรียมและพัฒนาสถานกีฬาสาธารณะต่อ ตําบล 4 ) มีการจัดอุปกรณ์การออกกําลังกาย/เล่นกีฬา ไม่น้อยกว่า 5 ชนิดกีฬาต่อตําบลต่อปี และ 5 ) มีการจัดกิจกรรมการออกกําลังกายและเล่นกีฬาเพื่อมวลชน ทั่วประเทศที่จัดขึ้นโดยหน่วยงานภาครัฐ หรือเกิดจากความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาค รัฐและเอกชน เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ต่อปี ตัวชี้วัดทั้ง 3 ตัวนั้น ยังไม่มีการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบเพื่อใช้ในการ ประเมินผลการดําเนินงานได้ อย่างไรก็ตาม ยังมีการพัฒนาที่สามารถดําเนินงานได้ตามเป้าหมาย คือ ค่าดัชนี มวลกาย ( BMI) เฉลี่ยของประชากรทั่ วประเทศดีขึ้นเมื่อเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานสากล โดยดีขึ้น เฉลี่ยกว่า ร้อย ละ 10 หากพิจารณา ในปี 256 4 ประชากรมีค่าดัชนีมวลกายปกติ คิดเป็นร้อยละ 47.94 เทียบกับปี 256 3 ประชากรมีค่าดัชนีมวลกายปกติ คิดเป็นร้อยละ 51.68 พบว่า ร้อยละ ของประชากร ที่ มีค่าดัชนีมวลกายปกติ ลดลง เล็กน้อย ดังแผนภาพที่ 2 - 3 โดยมีสาเหตุมาจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโควิด - 19 ประกอบกับ ประชาชนไม่ตระหนักว่า การออกกําลังกายและการเล่นกีฬาส่งผลดีต่อการพัฒนาทั้งร่างกายและสมอง ทําให้ ประชาชนมีการออกกําลังกายลดลง ดังแผนภาพที่ 2 - 4 ดังนั้น จึงค วรมีตัวชี้วัดสําหรับการวัดระดับการรับรู้ด้าน ประโยชน์ของการออกกําลังกายและการเล่นกีฬา เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบสถานะการรับรู้ของ ประชาชน และกําหนดแนวทางการพัฒนาได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้ ประชาชน มีนิสัยรักกีฬา มีน้ําใจเป็นนักกีฬา ใช้กีฬาในการพัฒนาจิตใจ และมี วินัย เคารพกฎกติกาของสังคม
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 36 - แผนภาพที่ 2 - 3 ร้อยละของประชากรอายุ 18 - 59 ปี ที่ มีค่าดัชนีมวลกายปกติ ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข แผนภาพที่ 2 - 4 ร้อยละของประชากร ที่มีการออกกําลังกายอย่างสม่ําเสมอ ที่มา : กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา สถานการณ์การออกก ํา ลังกายอย่างสม่ ํา เสมอของคนไทยในปี 2564 จากข้อมูลตัวชี้วัด ประชาชน ทุกกลุ่ม มีการออกกําลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอ กรมพลศึกษา กระทวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้จัดทําผลสํารวจประชาชนที่ออกกําลังกายสม่ําเสมอของกลุ่มเป้าหมายที่มีช่วงอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป พบว่า ในปี 2564 มี ประชาชนที่ออกก ํา ลังกายสม่ ํา เสมอ อยู่ที่ร้อยละ 39.18 ซึ่งลดลงจากปี 2563 และปี 2562 เล็กน้อย ที่ร้อยละ 41.82 และ 40.40 ตามล ํา ดับ ซึ่ง ได้รับผลกระทบจากส ถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID - 19 ในปี 2563 ประกอบกับมาตรการขอความร่วมมือให้ทุกคนอยู่ในที่พักอาศัย ทําให้ประชาชน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและหลีกเลี่ยงการออกมาพบปะผู้คน ออกจากบ้านเรือน และออกกําลังกายตามพื้นที่ สาธารณะหรือสนามกีฬาต่าง ๆ จึงอาจส่งผลให้ในปี 2564 เป้าหมำยในดังกล่าว ลดลงจากปี 2563 เล็กน้อย อย่างไรก็ตามสถานการณ์ดังกล่าวยังมีส่วนเร่งให้ประชาชนหันมาตระหนักถึงเรื่องสุขภาพและออกกําลังกายเล่น กีฬามากยิ่งขึ้นโดยปรับเปลี่ยนรูปแบบการออกกําลังกายและเล่นกีฬาแบบส่วนบุคคลมากขึ้นใช้ประโยชน์จาก สื่อออนไลน์ นําเทคโนโลยีมาปรับ ใช้ในการ เล่นกีฬาแบบเสมือนจริง (Virtual Sports ) 0.00% 20.00% 40.00% 60.00% 80.00% 100.00% 2560 2561 2562 2563 2564 35.42 % 41.71 % 46.59 % 51.68 % 47.94 % ร้อยละของประชากรที่มีค่าดัชนีมวลกายปกติ 0.00% 20.00% 40.00% 60.00% 80.00% 100.00% 2561 2562 2563 2564 25.56 % 40.49 % 41.82 % 39.18 % ประชากรทุกภาคส่วนของประชากรทั้งหมดออกก่าลังกายอย่างสม่่าเสมอ ( อายุ 15 ปี ขึ้นไป )
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 37 - ทั้งนี้ การพัฒนา กีฬาเพื่อมวลชน ของประเทศไทย ที่ผ่านมามีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลากหลาย หน่วยงาน โดยหน่วยงานหลัก ได้แก่ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ซึ่งมี กรมพลศึกษาเป็นหน่วยงานหลัก นอกจากนี้ยังมี หน่วย ร่วมดําเนินงานอื่น ๆ ที่สําคัญ ได้แก่ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงกลาโหม สํานักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สมาคมกีฬา สถานศึกษา เป็นต้น เมื่อพิจารณาการวินิจฉัยความสามารถในการแข่งขัน จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ของ กีฬาเพื่อมวลชน ของประเทศไทย พบว่า หน่วยงานภาครัฐได้มีการพัฒนาการ กีฬาเพื่อมวลชน โดย กําหนดให้เป็นส่วนหนึ่งในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งเป็นแผนระดับที่ 1 และถ่ายทอดลงสู่แผนระดับที่ 2 และ แผนระดับที่ 3 ตามลําดับ โดยแผนระดับ 3 ที่ถือว่าเป็นกรอบแนวทางพัฒนาการกีฬาของประเทศนั้น คือ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 256 5 ) มีการจัดตั้งหน่วยงานรับผิดชอบการขับเคลื่อน ดําเนินงานการส่งเสริมให้มวลชนมีการออกกําลังกายและมีส่วนร่วมในกิจกรรม การกีฬา โดยให้กรมพลศึกษา เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการเชื่อมโยงกรอบแนวทางการส่งเสริมให้มวลชน มีการออกกําลังกายและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการกีฬา จากแผนระดับ 1 สู่แผนระดับ 2 และแผนระดับ 3 แต่ที่ผ่านมาการดําเนินงานพัฒนา กีฬาเพื่อมวลชน ยังขาดการบูร ณาการการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติระหว่าง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินการพัฒนา กีฬาเพื่อมวลชน การขาดความเชื่อมโยงในมิติของการดําเนินงาน เพื่อสะท้อนถึงความสําเร็จตามตัวชี้วัดและเป้าหมายในระดับภาพรวมของแผนยุทธศาสตร์กับการดําเนินงาน ของหน่วยงาน ด้านปัจจัยสนับสนุน ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา กีฬาเพื่อมวลชน พบว่าโครงสร้างพื้นฐานสําหรับ การออกกําลังกายและการเล่นกีฬาในระดับท้องถิ่นมีไม่เพียงพอ ทั้งนี้ หากอ้างอิงจากจังหวัดที่มีศักยภาพ ที่ ได้รับการประกาศเป็นเมืองกีฬา จํานวน 16 จังหวัด พบว่าร้อยละ 50 มีโครงสร้างพื้ นฐานสําหรับ การออกกําลังกายและการเล่นกีฬาไม่ครบทุกตําบลในจังหวัดนั้น ๆ อย่างไรก็ตาม การสนับสนุนการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน เป็นปัจจัยพื้นฐานที่อํานวยความสะดวก เพื่อการออกกําลังกายและการเล่นกีฬา เช่น ลานกีฬาในท้องถิ่น เนื่องจาก ลานกีฬาเป็นสถานที่สําคั ญในการส่งเสริมกีฬาเพื่อสุขภาพสําหรับประชาชนทุก กลุ่ม ที่เข้าถึงความต้องการในการออกก่าลังกายและเล่นกีฬาของประชาชนที่กระจายอยู่ ในทุกท้องถิ่น ดังนั้น จึงควร ยกระดับพื้นที่สาธารณะที่มีศักยภาพในชุมชนเป็นลานกีฬาท้องถิ่นครบทุกหมู่บ้าน เพื่อ ใช้ลานกีฬา เป็นเครื่องมือสร้างความแข็งแรงทางร่างกาย จิตใจ ทําให้คนห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ มีวินัยต่อตนเอง มีน้ําใจ นักกีฬา และมีโอกาสทางสังคมในการสร้างความสัมพันธ์ การทํากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน เป็นการสร้างความ เข้มแข็งให้ชุมชน เกิดความเอื้ออาทรต่อกัน นอกจากนี้ ควร มีการสร้า งหรือ พัฒนาให้มีศูนย์ฝึกกีฬาที่มีมาตรฐาน ประจําอําเภอ เพื่อสนับสนุนให้เกิดการต่อยอดของนักกีฬาไปสู่ความเป็นเลิศและอาชีพ นอกจากนี้ ยังขาด แคลนบุคลากรที่เกี่ยวข้องที่มีความสามารถ เป็นจํานวนมาก เช่น เจ้าหน้าที่พลศึกษา ผู้นําการออกกําลังกายและ เล่นกีฬา บุคลากรด้านวิทยาศา สตร์การกีฬา และ อาสาสมัครทางการกีฬา โดยในปี 2563 มีอาสาสมัคร ทางการกี ฬาทั ่ วประเทศ จํานวน 7,035 หมู ่ บ้ำน และในปี 2564 มี อาสาสมั ครทางการกี ฬา ทั่วประเทศ จํานวน 8,442 หมู่บ้าน หรือคิดเป็น เพียงร้อยละ 11.24 ของจํานวนหมู่บ้านทั่วประเทศ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 38 - (75,032 หมู่บ้าน) ทั้งนี้ บุคลากรข้างต้นมีความสําคัญในการผลักดัน ให้ประชาชนเกิดความตระหนักและความ ต้องการในการออกกําลังกายและเล่นกีฬา เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและสามารถดูแลตัวเองได้อย่างถูกต้อง รวมทั้งฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายให้ดีขึ้น ดังนั้น บุคลากรดังกล่าวต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อ งและ มีมาตรฐานผ่านหลักสูตรและการทดสอบตามเกณฑ์ที่กําหนดเพื่อให้มั่นใจได้ว่าบุคลากรดังกล่าวจะมีคุณภาพ เพียงพอและเหมาะสม จึงทําให้ผู้ที่มีหน้าที่ในการขับเคลื่อนงานออกกําลังกายและเล่นกีฬาของประชาชน ในพื้นที่ไม่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องนี้อย่างแท้จริง ไม่ถูกต้องตำมหลักวิชาการ และถูกให้ความสนใจใน ลําดับรอง นอกจากนี้ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาไม่มีฐานข้อมูลความต้องการของประชาชน ว่าในปัจจุบัน กีฬาประเภทไหนที่ ได้รับความนิยมจากประชาชน จึงขาดความชัดเจนหรือทิศทาง ในการส่งเสริม กีฬา เพื่อมวลชน อย่างเป็นรูปธรรม และระบบฐานข้อมูลขององค์กรกีฬาต่าง ๆ ขาดความเป็นมาตรฐานเดียวกัน เนื่องจากไม่มีการกําหนดนิยามศัพท์ที่ชัดเจน ทําให้องค์กรต่าง ๆ ใช้นิยามศัพท์ที่แตกต่างกันในการ จัด เก็บ ข้อมูล ทําให้ข้อมูลที่ได้มีความแตกต่างกันและไม่สามารถนํามาเปรียบเทียบกันได้อย่างชัดเจน รวมทั้ง ไ ม่สามารถแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในเรื่องการออกกําลังกายหรือเล่นกีฬา ของมวลชน ได้อย่าง ถูกต้อง ใน ทิศทางเดียวกัน อย่างไรก็ตาม ที่ ผ่านมามีงบประมาณที่ ให้หน่วยงานราชการสามารถจัดทําแผนงานด้าน การส่งเสริมกิจกรรมทางกายสําหรับในท้องถิ่น และมีงบประมาณที่สนับสนุนทั้งจากเทศบัญญัติและกองทุน หลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เช่น กรมพลศึกษา มีการกําหนดด้าน กีฬาเพื่อมวลชน ไว้ใน แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ. 2563 - 2565 โดยมีการสนับสนุนงบประมาณในโครงการการส่ง เสริม การออกกําลังกายและกีฬาเพื่อมวลชน โครงการส่งเสริมกีฬาผู้สูงอายุ โครงการส่งเสริมกีฬาพัฒนาสุขภาวะ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส โครงการส่งเสริมกีฬาชาวไทยภูเขา ส่วนกรมอนามัยมีการกําหนดด้านที่เกี่ยวข้องกับ กีฬา เพื่อมวลชน ไว้ในแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ. 2561 - 2573 แล ะแผนปฏิบัติราชการ ปี 2564 โดยมี โครงการที่เกี่ยวข้อง เช่น โครงการ 10 ล้านครอบครัวไทยออกกําลังกาย เพื่อสุขภาพ เป็นต้น นอกจากนี้ ในปัจจุบันกระทรวงมหาดไทยให้ความสําคัญกับการส่งเสริมการออกกําลังและเล่นกีฬาเพิ่มมากขึ้น จึงมีการ ออกระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการเบิก ค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดกิจกรรมสาธารณะ การส่งเสริม กีฬาและการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2564 การจัดการแข่งขันกีฬาและการส่ง นักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2559 เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ ปัจจุบัน โดยสนับสนุนค่าใช้จ่าย ให้ประชาชนได้ออก กํา ลังกายและเล่นกีฬา การจัดให้มีและพัฒนาสถานที่ อุปกรณ์ในการออกกําลังกายและการเล่นกีฬา กำรพัฒนาและเสริมสร้างทักษะทางการกีฬา รวมถึงการจัดการ แข่งขันกีฬา การส่งนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันกีฬา และการพัฒนาการกีฬาเพื่อการท่องเที่ยวและนันทนาการ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและส่งเสริมเศรษฐกิจของท้องถิ่น อย่างไรก็ตาม เมื่อ พิจารณาในระดับท้องถิ่นหรือจังหวัด พบว่า แผนการส่งเสริม การออกกําลังกายและการพัฒนาการกีฬา ในระดับท้องถิ่นหรือจังหวัดยังไม่ชัดเจน ขึ้นอยู่กับนโยบายผู้บริหารของจังหวัดหรือท้องถิ่นเป็นสําคัญ และ ส่วนใหญ่ กำร ส่งเสริม การออกกําลังกายและ เล่นกีฬา มัก ถูกจัดลําดับการให้ความสําคัญในลําดับท้าย ๆ หรืออาจไม่ถูกกําหนดไว้ ใน แผนพัฒนาจังหวัดและ แผนพัฒนาท้องถิ่น เลย ซึ่งพบว่า ปัจจุบันจังหวัดที่มีการบรรจุ การส่งเสริมการออกกําลังกายและการพัฒนา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 39 - การกีฬา ไว้ ในแผนพัฒนาจังหวัด มีเพียงจังหวัดที่ได้รับ การประกาศเป็นเมืองกีฬา จํานวน 16 จังหวัด เท่านั้น ดังนั้น หากต้องการส่ง เสริมการออกกําลังและการเล่นกีฬาให้เป็นวิถีชีวิตอย่างแท้จริง ควร กําหนด ให้มี ประเด็น การส่งเสริมการออกกําลังกายและการพัฒนาการกีฬาในแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนาท้องถิ่น นอกจากนี้ ปัจจุบันมีเทคโนโลยีที่อํานวยความสะดวก และช่วยส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย ทําให้ประชาชนมีทา งเลือก ในการ ออกกําลังกายมากยิ่งขึ้น และเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การกีฬามีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์กีฬา โดยใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์การกีฬาในการสร้างนวัตกรรมและอุปกรณ์การ กีฬาที่ ช่วยสนับสนุนและส่งเสริมการออกกําลังกาย ลดการบาดเจ็บ ให้รองรับกลุ่ มบุคคลต่าง ๆ เช่น การออกแบบผลิตภัณฑ์กีฬาสําหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการ เป็นต้น ดังนั้น ควรมีการเก็บข้อมูลจํานวนกำรจัดกิจกรรม กีฬาหรือการแข่งขันกีฬาสําหรับประชาชนทุกกลุ่มในทุกท้องถิ่นทั่วประเทศ เนื่องจากเป็นปัจจัยสนับสนุน ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการออกกําลังกาย และมีการออก กําลังกายอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าการจัดกิจกรรมกีฬาหรือการแข่งขันกีฬาสําหรับประชาชน ที่ผ่านมาไม่ สามารถจัดเก็บจํานวนกิจกรรม ได้อย่างครบถ้วน รวมถึงไม่มีการกําหนดหน่วยงานที่รับผิดชอบในการเก็บข้อมูลอย่างชัดเจน แต่ แผนฉบับนี้ จะมี การบูรณาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนผ่านการ ใช้แพลตฟอร์มในการเก็บ รวบรวม ข้อมูล การจัด กิจกรรมกีฬาหรือการแข่งขันกีฬาสําหรับ ประชาชนทุกกลุ่มในทุกท้องถิ่นทั่วประเทศ พร้อมทั้งกําหนดหน่วยงาน ในการจัดเก็บข้อมูลที่ชัดเจน ทั้งนี้ แนวทางการพัฒนา กีฬาเพื่อมวลชน ในอนาคตนั้น หากนําผลการวิเคราะห์ความสามารถ ในการแข่งขันของกลุ่ม กีฬาเพื่อมวลชน ภายในห้วงระยะเวลาของแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 256 5 ) มาวิเคราะห์โดยใช้เครื่องมือ TOWS Matrix Model โดยการนํา จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ที่ได้จากกระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและภายในของกลุ่ม กีฬาเพื่อ มวลชน สามารถกําหนดกลยุทธ์ เพื่อใช้ในการพัฒนาในอนาคต โดยกําหนด 1 ) กลยุทธ์เชิงรุก โดยใช้จุดแข็งและ โอกาสที่มีมากําหนดกลยุทธ์ 2 ) กลยุทธ์เชิงแก้ไข โดยใช้โอกาสที่มีมากําหนดกลยุทธ์เพื่อแก้ไขจุดอ่อน 3 ) กลยุทธ์เชิงรับ ใช้จุดแข็งที่มีมากําหนดกลยุทธ์เพื่อแก้ไขจุดอ่อน 4 ) กลยุทธ์เชิงป้องกัน โดยใช้จุดอ่อนและ อุปสรรคที่มีมากําหนดกลยุทธ์ ดังนี้ 1 ) กลยุทธ์เชิงรุก สามารถกําหนดกรอบแนวทางการพัฒนาหลักได้ 2 ประการ คือ ( 1 ) สนับสนุนและ ส่งเสริมการดําเนินการขับเคลื่ อนกิจกรรมทางกายในประเทศ โดยกา รอ้างอิงตามแนวทาง การขับเคลื่ อนกิจกรรมทางกายในระดับโลก ( SDGs) โดยการนําแผนยุทธศาสตร์ระดับโลก องค์ความรู้ การวิจัยจากต่างประเทศที่มีความหลากหลายของรูปแบบกิจกรรมทางกาย เทคโนโลยี สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกายมาประยุกต์ใช้ในประเทศ และส่งเสริม การออกกําลังกายรูปแบบใหม่ ๆ โดยการบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับหน่วยงาน ภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องในการกิจกรรมกีฬารูปแบบใหม่ ๆ ที่เหมาะสมกับความชอบของแต่ละ กลุ่มประชาชน เช่น การเล่นโยคะ กิจกรรมฟรีรันนิ่ง กีฬาเอ็กซ์ตรีม เป็นต้น และ ( 2 ) สนับสนุน การนําเทคโน โลยีและนวัตกรรมมาออกแบบเครื่องมือช่วยออกกําลังกาย เช่น การปั่นจักรยาน อยู่ที่บ้านผ่านหน้าจอและจําลองสถานที่ต่าง ๆ การจัดทําหลักสูตรการออกกําลังกายแบบออนไลน์
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 40 - ผ่าน Live Streaming เป็นต้น เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเห็นความสําคัญของการเล่นกีฬาและ ออกกําลังกาย และสนับสนุ นการปรับเปลี่ ยนพฤติกรรมการออกกําลังกายของประชาชน ด้วยการพัฒนานวัตกรรมการออกกําลังกายให้อยู่ในรูปแบบที่น่าสนใจและสามารถเชื่อมโยงกับ เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ เพื่อดึงดูดความสนใจและใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์มากที่สุด 2 ) กลยุทธ์เชิงแก้ไข สามารถกําหนดก รอบแนวทางการพัฒนาห ลัก ได้ 2 ประการ คือ ( 1 ) ส่งเสริม ให้สถาบันครอบครัวมีบทบาทที่สําคัญในการสร้างแรงจูงใจในการออกกําลังกาย ผ่านรูปแบบ การออกกําลังกายใหม่ ๆ ด้วยการใช้เทคโนโลยีอุปกรณ์และนวัตกรรมเครื่องมือช่วยออกกําลังกาย และ ( 2 ) สนับสนุน การจัดทําหลักสูตรการออกกําลังกายและองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา ออนไลน์สําหรับประชาชน โดยเป็นหลักสูตรการบริหารร่างกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย ส่วนต่าง ๆ และการนําองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับ แต่ละช่วงวัย และสนับสนุนการนําเทคโนโ ลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาประยุกต์ใช้กับการกีฬา โดยนําหลักสูตรการออกกําลังกายและองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาออนไลน์สําหรับ ประชาชนมาเผยแพร่ผ่านช่องทางออนไลน์ 3 ) กลยุทธ์เชิงรับ โดยใช้จุดแข็งที่มีมากําหนดกลยุทธ์เพื่อแก้ไขจุดอ่อน ด้านนโยบาย ที่ ควร สนับสนุน ให้การอ อกกําลังกายและการเล่นกีฬาเป็นวาระแห่งชาติ โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมผลักดัน ให้ประชาชนตื่นตัวเรื่องการออกกําลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอ 4 ) กลยุทธ์เชิงป้องกัน จากจุดอ่อนและอุปสรรคของกีฬาเพื่อมวลชน ควร สนับสนุนและส่งเสริม ให้หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมกัน ดําเนินโครงการ โดยทํา การบูรณาการร่วมกัน ในการจัดให้มีสถานกีฬา อุปกรณ์กีฬา และผู้นําในการออกกําลังกายของมวลชน ให้มีความพร้อม ในการรองรับต่อการใช้บริการของประชาชนทุกกลุ่ ม อาทิ เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่ วไป กลุ่มผู้ สูงอายุ และผู้พิการ 2.3 สถานการณ์การกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาอาชีพ การพัฒนากีฬาเพื่อความเป็นเลิศ และกีฬาอาชีพของประเทศไทย มีการให้ความสําคัญกับ การส่งเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสู่ระดับอาชีพ โดยกําหนดเป็นส่วนหนึ่งในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งเป็น แผนระดับ 1 ที่ใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580 ) โดยมุ่ง การสร้างและพัฒนานักกีฬาของชาติ การเฟ้นหานักกีฬาที่มีความสามารถ สร้างพื้นที่แ ละโอกาสในการแข่งขัน แสดงศักยภาพ ด้านกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา การส่งเสริมการจัดกีฬาระดับนานาชาติ และ สร้างแรงบันดาลใจในการต่อยอดความสําเร็จจากความเป็นเลิศสู่การประกอบอาชีพและมีเส้นทางอาชีพ ที่มั่นคง ควบคู่กับส่งเสริมสนับสนุนงานวิจัยและนวัตกรรมด้านกำรกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา การจัดการความรู้ และพัฒนาระบบฐานข้อมูล เพื่อนํามาใช้ส่งเสริมและสนับสนุนกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ กีฬาเพื่อการอาชีพ และนันทนาการเชิงพาณิชย์ จากแผนระดับ 1 สู่แผนระดับ 2 และแผนระดับ 3 ซึ่งเป็น
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 41 - แผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานต่าง ๆ ตามลําดับ โดยแผนระดับ 2 ที่มีการถ่ายทอดเป้าหมายมาจาก แผนระดับที่ 1 ด้านการกําหนดนโยบายและทิศทางในการพัฒนากีฬาเพื่อความเป็นเลิศ และกีฬาอาชีพ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสู่ระดับอาชีพ ได้แก่ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 14 ศักยภาพกี ฬา โดยส่งเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสู่ระดับอาชีพ แผนการปฏิรูปประเทศด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ กิจกรรมปฏิรูปที่ 3 การส่งเสริมประชาชนเป็นศูนย์กลางในการสร้าง วิถีชีวิตทางการกีฬาและการออกกําลังกายอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม โดยการสร้างโอกาสทางก ำรกีฬา ให้มีการจัดการแข่งขันกีฬาระดับอําเภอ สร้างระบบการพิจารณาและส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬา อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม และเป็นไปตามเกณฑ์ของสหพันธ์กีฬานานาชาติ จัดทําระบบพัฒนานักกีฬา เต็มระยะเวลา ( Full time athlete) รวมถึงจัดทําเส้นทางสายอาชีพของนักกีฬา แล ะพัฒนาศูนย์พัฒนา นักกีฬาและวิทยาศาสตร์การกีฬาเพื่อความเป็นเลิศทางการกีฬาของอาเซียน และศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬา แห่งชาติและภูมิภาค โดยบูรณาการกับสถานศึกษาที่มีอยู่แล้วเป็นลําดับแรก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564 ) ในยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ โดยด้านกีฬาเป็นเลิศ และกีฬาอาชีพ จะเกี่ยวข้องกับเป้าหมายที่ 4 คนไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้น นอกจากนั้น ด้านแผนระดับ 3 ที่มีการถ่ายทอดเป้าหมายมาจากแผนระดับ 1 และ 2 นั้น ได้แก่ แผนพัฒนาการกีฬา แห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 256 5 ) ในยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนากีฬาสู่ความเป็นเลิศและต่อยอด เพื่อความสําเร็จในระดับอาชีพ จากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 ( พ.ศ. 2560 - 2564 ) ในยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนากีฬาเพื่อ ความเป็นเลิศและต่อยอดเพื่อความสําเร็จในระดับอาชีพ พบว่าในช่วง ที่ผ่านมาการพัฒนาส่วนใหญ่ยังไม่สามารถดําเนินงานได้ตามเป้าหมาย ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID - 19 ในปี 2563 และ 2564 โดย 1) นักกีฬาสมัครเล่นที่ได้ถูกติดตาม และบันทึกอย่างถูกต้องมีอัตราการเพิ่มขึ้นร้อยละ 4 . 26 (ค่าเป้าหมายมีอัตราการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี) 2) บุคลากรการกีฬา (ผู้ฝึกสอน ผู้ตัดสิน และผู้บริหารการกีฬา) ที่ได้มาตรฐานมีอัตราลดลง ในปี 2563 ร้อยละ 56 . 17 (ค่าเป้าหมายมีอัตราการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี) เนื่องจากมีการเลื่อนและยกเลิก การอบรมการพัฒนาบุคลากรการกีฬา 3) มีชนิดกีฬาที่ได้รับการพัฒนามาตรฐานการเก็บตัวฝึกซ้อมแข่งขัน ในรูปแบบศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติเพียง 8 ชนิดกีฬา จาก 10 ชนิดกีฬา 4) มีสัดส่วนนักกี ฬาอาชีพที่เข้าร่วม การแข่งขันในรายการที่ระบุอยู่ในพระราชบัญญัติส่งเสริมกีฬาอาชีพมาจดแจ้ง ในปี 2563 เพียงร้อยละ 36 . 61 จากค่าเป้าหมายต้องมาจดแจ้งไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 และ 5) มีมูลค่าทางเศรษฐกิจในการจัดการแข่งขัน กีฬาอาชีพ จํานวน 7 , 503 . 60 ล้านบาท ซึ่งน้อยกว่าค่ำเป้าหมายที่ 8 , 000 ล้านบาท ทั้งนี้ มีการพัฒนา ที่สามารถดําเนินงานได้ตามเป้าหมาย คือ การมีศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติ NTC และแผนการจัดตั้งศูนย์ฝึกกีฬา ในภูมิภาค และนักกีฬาและบุคลากรการกีฬามีความพึงพอใจในคุณภาพชีวิตของตน ร้อยละ 84 . 13
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 42 - โดย การพัฒนากีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาอาชีพของประเทศไทย ที่ผ่านมามีหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องหลากหลายหน่วยงาน โดยหน่วยงานหลัก ได้แก่ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ซึ่งมีการกีฬา แห่งประเทศไทยเป็นหน่วยงานหลัก นอกจากนี้ยังมีหน่วย งาน ร่วมดําเนินการอื่น ๆ ที่สําคัญ ได้แก่ สมำคมกีฬา คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และคณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งประเทศ - ไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถานศึกษา สื่อมวลชน และเอกชน เป็นต้น เมื่อพิจารณาการวินิจฉัยความสามารถในการแข่งขัน จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคกีฬา เพื่อความเป็นเลิศและกีฬาอาชีพของประเทศไทย พบว่าหน่วยงานภาครัฐได้มีการพัฒนาการกีฬา เพื่อ ความเป็นเลิศและกีฬาอาชีพ โดยกําหนดให้เป็นส่วนหนึ่งในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งเป็นแผนระดับที่ 1 และ ถ่ายทอดลงสู่แผนระดับที่ 2 และแผนระดับที่ 3 ตามลําดับ โดยแผนระดับ 3 ที่ถือว่าเป็นกรอบแนวทาง พัฒนาการกีฬาของประเทศนั้น คือ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 256 5 ) มีการจัดตั้ง หน่วยงานรับผิดชอบการขับเคลื่อนดําเนินงานการพัฒนากีฬาเพื่อความเป็นเลิศและต่อยอดเพื่อความสําเร็จ ในระดับอาชีพ โดยให้กา รกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก อย่างไรก็ตาม แม้จะมี การเชื่อมโยงกรอบแนวทางการ พัฒนากีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาอาชีพ จากแผนระดับ 1 สู่แผนระดับ 2 และแผนระดับ 3 แต่ที่ ผ่านมาการดําเนินงานพัฒนากีฬาเพื่ อความเป็นเลิศและกีฬาอาชีพ ยังขาด การบูรณาการการขั บเคลื่อนสู่การปฏิบัติระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ และกีฬาอาชีพ ซึ่งในปัจจุบันประเทศไทยยังขาดหน่วยงานที่ดูแลระบบเพื่อเชื่อมโยงเส้นทางการพัฒนา ความเป็นเลิศทางกีฬาสู่ กีฬาอาชีพ และการลงทุนเชิงบูรณาการระหว่างภาครัฐและเอกชน เพื่อส่งเสริม การพัฒนากีฬาอาชีพ และลดการพึ่งพางบประมาณจากทางภาครัฐเพียงอย่าง เดียว นอกจากนี้ ประเทศไทย ยัง ขาดแนวทางการพัฒนากีฬาที่ชัดเจนในเรื่องของการเฟ้นหา การสร้าง การพัฒนานักกีฬา และการส่งร่วม การแข่งขัน เพื่อพัฒนานักกีฬา จากกีฬาเยาวชน มาสู่เส้นทางกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาอาชีพ ทั้งนี้ จากการ แข่งขันกีฬาแห่งชาติ เยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 36 ที่ผ่านมามีจํานวนนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 1 3 ,84 1 คน พบว่า การกีฬาแห่งประเทศไทยเริ่มมีการเก็บข้อมูลจํานวนนักกีฬาทีมชาติหน้าใหม่ ซึ่งมาจาก การแข่ง ขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติเป็นปีแรก โดยพบว่า ในปี 2564 มีจํานวนนักกีฬาทีมชาติที่มาจากการแข่งขัน กีฬาเยาวชนแห่งชาติ จํานวน 647 คน ซึ่งเป็นนักกีฬาหน้าใหม่ที่ติดทีมชาติเป็นปีแรก จํานวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 14. 83 ดังนั้น การพิจารณาความคืบหน้าในการ การเฟ้นหา การสร้าง กา รพัฒนานักกีฬา เพื่อ ส่งต่อจาก นักกีฬา ระดับ เยาวชนมาสู่เส้นทางกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาอาชีพ ควรมีการวัดจาก จํานวน นักกีฬาหน้าใหม่ ที่ เพิ่มขึ้นในระดับชาติ ระดับนานาชาติ และระดับอาชีพ ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาด้านความสําเร็จ ของการแข่งขันกีฬาในระดับนานาชาติ พบว่า มาตรวัดความสําเร็จของกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ ที่สําคัญ คือ มหกรรมกีฬาซีเกมส์และกีฬาอาเซียนพาราเกมส์ ซึ่งประเทศไทยเคยได้รับอันดับการแข่งขันในอันดับ 1 มาแล้ว จากทั้ง 2 มหกรรมกีฬา แต่ในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยไม่เคยได้รับอันดับดังกล่าวอีกเลย ทั้งนี้ เมื่อพิจา รณา ผลงานการแข่งขันกีฬาซีเกมส์และอาเซียนพาราเกมส์ของประเทศตั้งแต่ปี 2001 ถึง 2019 พบว่า แนวโน้มผลงานของนักกีฬาไทยมีสัดส่วนการได้เหรียญทองที่ลดลง และมีอันดับ การแข่งขัน ที่เพิ่มขึ้น
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 43 - ดังแผนภาพที่ 2 - 5 และ 2 - 6 ทั้งนี้ หากประเทศไทยต้องการรักษาการเป็นเจ้าเหรียญทองในการแข่งขันกีฬา ซีเกมส์และอาเซียนพาราเกมส์ ประเทศไทยควรต้องมีเหรียญทองไม่ต่ํากว่าร้อยละ 40 ของจํานวนเหรียญทอง ทั้งหมดของการแข่งขัน แผนภาพที่ 2 - 5 แนวโน้มของอันดับการแข่งขันซีเกมส์ ที่มา : การกีฬาแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา แผนภาพที่ 2 - 6 แนวโน้มของอันดับการแข่งขันอาเซียนพาราเกมส์ ที่มา : การกีฬาแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5 2001 2003 2005 2007 2009 2011 2013 2015 2017 2019 แนวโน้มของอันดับการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5 2001 2004 2005 2008 2009 2011 2014 2015 2017 แนวโน้มของอันดับการแข่งขันกีฬาซีเกมส์
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 44 - แผนภาพที่ 2 - 7 อันดับเหรียญ รางวัลของไทยในมหกรรมการแข่งขันโอลมปิกฤดูร้อน ที่มา : การกีฬาแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เมื่อมาพิจารณาดูจาก อันดับผลการแข่งขันกีฬาของไทยในมหกรรมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ฤดูร้อน ครั้งที่ 32 ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งมี ประเทศเข้าร่วมการแข่งขันจํานวน 205 ประเทศ โดยประเทศในทวีปเอเชียเข้าร่วมการแข่งขันจํานวน 39 ประเทศ ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาจากอันดับการแข่งขัน ในมหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนของนักกีฬาไทยใน 3 ครั้งล่าสุด คือ ในปี 2555 (สหราชอาณาจักร) ปี 2559 (บราซิล) และปี 2564 (ญี่ปุ่น) เห็นว่าผลการแข่งขันของนักกีฬาชาติไทย เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบอันดับ การได้เหรียญทองของประเทศในภูมิภาคเอเชียมีแนวโน้มลดลงคือ จากอันดับที่ 11 ในปี 2555 อันดับที่ 8 ในปี 2559 และมาอยู่ในอันดับที่ 12 ในปี 2564 และหากพิจารณาอันดับของประเทศไทยเมื่อเทียบ กับ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้พบว่าอันดับของประเทศไทยตกลงจากอันดับที่ 1 ลงมาที่อันดับที่ 3 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความท้าทายอย่างมากในการบรรลุเป้าหมายอันดับ 7 (ระดับเอเชีย) ของการแข่งขัน ในมหกรรมกีฬำซีเกมส์และเอเชียนเกมส์ที่จะจัดขึ้นครั้งถัดไปในปี 256 5 ด้านปัจจัยสนับสนุนที่เกี่ยวข้องในการพัฒนากีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาอาชีพ พบว่า สนามกีฬาสําหรับนักกีฬาที่มีมาตรฐานในระดับท้องถิ่นมีไม่เพียงพอ สําหรับนักกีฬาประเภทต่าง ๆ ทั้งนี้ หากอ้างอิงจากจังหวัดที่มีศักยภาพที่ได้รับการประกาศเป็นเมืองกีฬา จํานวน 16 จังห วัด พบว่าร้อยละ 75 มีสนามกีฬาที่เป็นมาตรฐานไม่ครบทุกตําบลในจังหวัดนั้น ๆ รวมถึงศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาที่ได้มาตรฐาน ของ การกีฬาแห่งประเทศไทย มีเพียง 58 แห่งเท่านั้น แบ่งเป็น ระดับภาค 5 แห่ง ระดับจังหวัด 36 แห่ง รวมทั้งสิ้น 41 แห่ง และ ของ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ 17 แห่ง อย่างไรก็ตาม แต่ยังไม่ได้ยกระดับให้มีมาตรฐานในระดับ อาเซียน นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาถึงศูนย์ฝึกกีฬา พบว่า จากการ ประเมินผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดระดับ ยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 256 5 ) พบว่า ในปี 2563 มีศูนย์ฝึกกีฬา จํานวน 5 ศูนย์ โดยอยู่ในส่วนกลาง 1 ศูนย์ และส่วนภูมิภาคอีก 4 ศูนย์ นอกจากนี้ ความก้าวหน้าในการสร้าง ศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติ ( National Training Center: NTC) อยู่ระหว่างออกแบบก่อสร้างศูนย์ NTC แบบเต็ม 59 35 59 11 8 12 1 1 3 0 10 20 30 40 50 60 70 2555 2559 2564 อันดับเหรียญรางวัลของไทย อันดับเหรียญรางวัลของไทยเมือเทียบกับประเทศในเอเชีย อันดับเหรียญรางวัลของไทยเมื่อเทียบกับประเทศใน SEA
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 45 - 219 339 278 179 60 0 50 100 150 200 250 300 350 400 2560 2561 2562 2563 2564 รูปแบบ โดยปัจจัยสนับสนุนดังกล่าวควรมีมาตรฐา นในระดับสากล เพื่อยกระดับการพัฒนาศักยภาพของ นักกีฬาไปสู่กีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ อย่างไรก็ตาม ยังขาดการดูแลสวัสดิการของนักกีฬา ตั้งแต่ก่อนการแข่งขัน ระหว่างการแข่งขัน และภายหลังการแข่งขัน อีกทั้ง จากการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด - 19 ที่ท ํา ให้การจัดฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรกีฬานันทนาการ และ วิทยาศาสตร์ การกีฬาไม่สามารถด ํา เนินการได้ ตามก ํา หนด จนส่งผลต่อกระทบต่อจ ํา นวนของผู้ได้รับการรับรองมาตรฐานที่ มีแนวโน้มลดลงอย่างมาก รวมไป ถึงการมีโครงการที่ สนับสนุนให้เกิดมาตรการและนโยบายที่ จะเข้ามาสนับสนุนบุคลากรด้านกีฬาและ นันทนาการที่น้อยเกินไป จากข้อมูลทะเบียนบุคลากรทางการกีฬาของชาติ โดยการกีฬาแห่งประเทศไทย ระหว่างปี 2561 - 2564 ที่มีการจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูลล่าสุด ณ เดือนพฤศจิกายน 2564 พบว่า จ ํา นวน ผู้ลงทะเบียนบุคลากรด้านกีฬาระดั บ นานาชาติ มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะ ในช่วงปี 2563 - 2564 ถือว่าลดลงอย่า ง มากที่ 179 คน และ 60 คน ตามล ํา ดับ แผนภาพที่ 2 - 8 บุคลากรด้านกีฬาระดับนานาชาติ ที่มา : การกีฬาแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เนื่ องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของ COVID - 19 ส่งผลให้การคัดเลือกและฝึกอบรม ผู้ลงทะเบียนบุคลากรด้านการกีฬาไม่สามารถด ํา เนินการได้อย่างต่อเนื่อง ตามระยะเวลาที่ก ํา หนด ซึ่งสอดคล้อง กับจ ํา นวนบุคลากรด้านการกีฬาและนันทนาการที่ได้รับการรับรอง มาตรฐาน โดยกรมพลศึกษาที่ลดลง เช่นเดียวกัน โดยปี 2564 อยู่ที่จ ํา นวน 2 , 781 คน ลดลงจากจ ํา นวน 4 , 495 คน ในปี 2563 ขณะที่จ ํา นวน นักวิทยาศาสตร์การกีฬาที่ขึ้ นทะเบียนเป็นสมาชิกกับสมาคม นักวิทยาศาสตร์การกีฬาแห่งประเทศไทย ในปี 2564 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยที่จ ํา นวน 5 คน จากปี 2563 ที่เพิ่มขึ้น เพียง 1 คน แต่เมื่อเทียบกับช่วงปี 2561 – 2564 ถือว่าลดลงในสัดส่วนที่ สูงมาก เมื่ อเปรียบเทียบ กับปี 2561 - 2562 ที่ มีจ ํา นวน นักวิท ยาศาสตร์การกีฬาที่ขึ้นทะเบียนกับสมาคมฯ เพิ่มขึ้นจ ํา นวน 77 คน และ 90 คน ตามล ํา ดับ ทั้งนี้ ณ เดือนพฤศจิกายน 2564 มีจ ํา นวนนักวิทยาศาสตร์การกีฬาที่ขึ้นทะเบียน เป็นสมาชิกกับสมาคมจาก ทั่วประเทศทั้งหมด 886 คน จากข้อมูลดังกล่าวสะท้อนถึงความเสี่ยงอย่างมาก ที่อาจจะไม่ สามารถบรรลุ เป้าหมายที่ก ํา หนดให้มีบุคลากรด้านการกีฬาของไทยมีคุณภาพและมาตรฐาน เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 5 ต่อปี ภายในปี 2565 ซึ่งปัจจุบัน ยัง ขาดการบูรณาการในการรวบรวมและวิเคราะห์ฐานข้อมูล ( Data Analytic)
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 46 - ที่ใช้ร่วมกันภายในและภายนอกองค์กรอย่างเป็นระบบ เช่น ฐานข้อมูลบุคลากร การ กีฬา โดย กกท. มีเพียง ฐานข้อมูลของบุคลากรที่ได้ผ่านการอบรมพัฒนาบุคลากรการกีฬา (เช่น อบรมผู้ตัดสิน อบรมผู้ฝึกสอน อบรม ผู้นําทางการกีฬา) จาก กกท. แต่ไม่มีการบูรณาการร่วมกับสมาคมกีฬา เพื่อรวบรวม ฐานข้อมูลบุคลากรที่ผ่าน การอบรมจากสมาคมกีฬา อย่างไรก็ตาม การพัฒนากีฬาเพื่อความเป็นเลิศ และกีฬาอาชีพของ กกท. มีแหล่งงบประมาณ ในการสนับสนุนการพัฒนากีฬาจาก 2 แหล่ง คือ จากการจัดสรรงบประมาณจากรัฐบาล และงบประมาณจาก กองทุนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ซึ่งได้นําไปสนับสนุนร ะบบการพัฒนานักกีฬาสู่ความเป็นเลิศทั้งในระดับชาติ/ นานาชาติ รวมทั้งการพัฒนากีฬาอาชีพและกีฬามวย ตลอดจนการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา นอกจากนี้ ในช่วงที่ผ่านมามีธุรกิจสโมสรกีฬาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยปี 2561 มีจํานวนธุรกิจกีฬาเพิ่มขึ้นร้อยละ 8 . 98 ปี 2562 เพิ่ มขึ้นร้อยละ 19 . 23 สะท้อนให้เห็นว่ามีประชากรที่ให้ความสนใจ และต้องการพัฒนาตนเอง เพื่อเข้าสู่วงการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ และกีฬาอาชีพเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ แนวทางการพัฒนากีฬาเพื่อความเป็นเลิศ และกีฬาอาชีพ ในอนาคตนั้น หากนําผล การวิเคราะห์ความสามารถในกำรแข่งขันของกลุ่มกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ และกีฬาอาชีพ ภายในห้วงระยะเวลา ของแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 256 5 ) มาวิเคราะห์โดยใช้เครื่องมือ TOWS Matrix Model โดยการนํา จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ที่ได้จากกระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ภายนอ กและภายในของกลุ่มกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ และกีฬาอาชีพ สามารถกําหนดกลยุทธ์เพื่อใช้ในการพัฒนา ในอนาคต โดยกําหนด 1 ) กลยุทธ์เชิงรุก โดยใช้จุดแข็งและโอกาสที่มีมากําหนดกลยุทธ์ 2 ) กลยุทธ์เชิงแก้ไข โดยใช้โอกาสที่มีมากําหนดกลยุทธ์เพื่อแก้ไขจุดอ่อน 3 ) กลยุทธ์เชิงรับ ใช้จุด แข็งที่มีมากําหนดกลยุทธ์เพื่อแก้ไข จุดอ่อน 4 ) กลยุทธ์เชิงป้องกัน โดยใช้จุดอ่อนและอุปสรรคที่มีมากําหนดกลยุทธ์ ดังนี้ 1 ) กลยุทธ์เชิงรุก สามารถกําหนดกรอบแนวทางการพัฒนาหลักได้ 4 ประการ คือ (1) ด้านนโยบาย ควรสนับสนุนให้มีสิทธิประโยชน์ทางภาษี โดยผลักดันให้เกิดเป็นมาตรการทางภาษี เพื่อลดหย่อน ภาษีให้แก่นักกีฬาที่มีรายได้ในการแข่งขันกีฬาจากต่างประเทศ และผู้ที่ใช้ทุนส่วนตัว จนสามารถ ผลักดันนักกีฬาให้ก้าวไปสู่ความเป็นเลิศและเพื่อการอาชีพได้ (2) ด้านการบริหารจัดการ ควรสนับสนุนและผลักดันให้อคาเดมีกีฬาขึ้นทะเบียนกับสมาคมกีฬา เพื่อสร้างมาตรฐานให้กับ อคาเดมีให้มีมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งครอบคลุมแนวทางการฝึกสอน คุณสมบัติของโค้ช เป็นต้น (3) ด้านปัจจัยพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง ควร ส่งเสริม และสนับสนุนให้เกิดการนําวิ ทยาศาสตร์ การกีฬา และเทคโนโลยีการกีฬาในด้านต่าง ๆ เช่น กายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยาการออกกําลังกาย การแพทย์ โภชนาการ จิตวิทยา วิทยาศาสตร์การเทคโนโลยีต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ในการออกกําลังกาย การฝึกซ้อมกีฬา และการแข่งขันกีฬา เพื่อพัฒนาศักยภาพร่างกายของนักกีฬาให้สามารถเล่นกี ฬา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการกีฬาของผลิตภัณฑ์กีฬา โดยใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์การกีฬาในการสร้างนวัตกรรม และอุปกรณ์การกีฬาที่ช่วย สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนานักกีฬา เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของนักกีฬา รวมทั้ งควรส นับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกี ฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 47 - ในการพัฒนานักกีฬา เพื่ อให้หน่วยงานที่ เกี่ ยวข้องสามารถนําไปต่อยอดองค์ความรู้ และ (4) ควรส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬาให้มีการแข่งขันอย่างสม่ําเสมอ โดยบูรณาการการดําเนินงานร่วมกับส มาคมกีฬา ซึ่งกิจกรรมการแข่งขันกีฬาจะครอบคลุม ทั้งรายการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศในช่วงอายุต่าง ๆ ตามความเหมาะสมของชนิดกีฬา และรายการ กีฬาอาชีพ 2 ) กลยุทธ์เชิงแก้ไข สามารถกําหนดกรอบแนวทางการพัฒนาหลักได้ 3 ประการ คือ (1) ด้าน นโยบาย ควรสนับสนุนการขยายฐานจํานวนชนิดกีฬาใน การจัดการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ กีฬาแห่งชาติ เพื่อสนับสนุนให้นักกีฬาแต่ ละ ชนิดกีฬาได้มีโอกาสในการแสดงศักยภาพ รวมถึง การสนับสนุนขยายจํานวนชนิดกีฬาหรือประเภทกีฬาที่ ได้รับการประกาศเป็นกีฬาอาชีพ ในประเทศไทย สนับสนุนให้เกิดการผลักดันด้านการคุ้มครองสวัสดิภาพและสวัสดิการของนักกีฬา ตั้งแต่ก่อนการแข่งขัน ระหว่างการแข่งขัน และภายหลังการแข่งขัน เพื่อสร้างความมั่นคงในชีวิต ให้แก่นักกี ฬา และควรผลักดันให้เกิดการปรับเปลี่ยนข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกีฬาในระดับ ท้องถิ่น ซึ่งเป็นข้อจํากัดให้ อปท. ไม่สามารถดําเนินการด้านกีฬาในท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) ด้านการบริหารจัดการ ควรสนับสนุนให้เกิดการบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้ องในการพัฒนาสนามกีฬาประเภทต่าง ๆ ให้ได้มาตรฐานสากล โดยการร่วมมือกับท้องถิ่น ในการซ่อมแซม ปรับปรุง และพัฒนาสนามกีฬาในท้องถิ่น ให้อยู่ในสภาพที่ดีและได้มาตรฐานตาม หลักมาตรฐานสากล (3) ด้านปัจจัยพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง ควรสนับสนุนการจัดทําฐานข้อมูลนักกีฬา และบุคลากรทา งการกีฬา โดยบูรณาการการดําเนินงานร่วมกับสมาคมกีฬา ครอบคลุม นักกีฬา กลุ่มเด็กและเยาวชน นักกีฬาสมัครเล่น และนักกีฬาอาชีพ เพื่อวางรากฐานการติดตามข้อมูล นักกีฬาตั้งแต่เริ่มเข้าสู่วงการกีฬา จนกระทั่งเลิกเล่นกีฬา หรือผันตัวไปสู่อาชีพอื่นในวงการกีฬา นอกจากนั้น ฐา นข้อมูลนี้จะช่วยให้หน่วยงานหรือสมาคมกีฬาที่เกี่ยวข้องสามารถเฟ้นหา นักกีฬา ที่มีแวว มีความสามารถไปพัฒนาต่อยอดเพื่อไปสู่กีฬาเพื่อความเป็นเลิศ และกีฬาอาชีพต่อไป รวมทั ้ งสนั บสนุ นการพั ฒนาบุ คลากร การกี ฬา โดยการบู รณาการแลกเปลี ่ ยนความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาระ หว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสมาคมกีฬา สหพันธ์กีฬา รวมถึง การฝึกอบรมจากผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาที่ประสบความสําเร็จในการใช้วิทยาศาสตร์ การกีฬาจากในประเทศและต่างประเทศ 3 ) กลยุทธ์เชิงรับ ควรสนับสนุนให้เกิดมาตรการผ่อนปรนกิจการและกิจกรรมด้านการกีฬา เพื่อ ป้องกันการแพร่ระบาดของ COVID - 19 พร้อมทั้งส่งเสริมให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจในแนวทางการดําเนินการตามคู่มือการปฏิบัติตามมาตรการผ่อนปรนกิจการและ กิจกรรมด้านการกีฬา เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของ COVID - 19 เพื่อให้สามารถจัดการแข่งขัน กีฬาได้และควรสนับสนุนให้เกิดการบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สมาคมกีฬา และการกีฬาแห่งประเทศไทย ในการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ หรือหาแนวทางในการส่งเสริมการลงทุนเชิงบูรณาการระหว่างภาครัฐและเอกชน เพื่ อส่งเสริม
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 48 - การพัฒนากีฬาอาชีพ เพื่อพัฒนานักกีฬาสมัครเล่นที่มีความสามารถ แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ที่ต้องการจะยกระดับตนเองขึ้นไปในระดับอาชีพ 4 ) กลยุทธ์เชิงป้องกัน ควรสนับสนุนให้เกิดการบูรณาในการทํางานร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิ ศและกีฬาอาชีพ โดยจัดทําแนวทางการปฏิบัติงาน ให้ทุกหน่วยงานได้รับทราบ เพื่อดําเนินการขับเคลื่อนแผนพัฒนาการกีฬาสู่การปฏิบัติตามขอบเขต หน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานที่มีบทบาทที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการกีฬา และ ทราบความสัมพันธ์ว่าหน้าที่ ความรับผิดชอบของแต่ละ หน่วยงานต้องมีการบูรณาการกับ หน่วยงานใดบ้าง 2.4 สถานการณ์อุตสาหกรรมการกีฬา การพัฒนาอุตสาหกรรม การ กีฬาของประเทศไทย ให้ความสําคัญกับการพัฒนาบุคลากร การกีฬาและนันทนาการเพื่ อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรม การ กีฬา โดยกําหนดเป็นส่วนหนึ่ง ในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่ งเป็นแผนระดับ 1 ที่ใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580 ) โดยมุ่งสร้างและพัฒนาบุคลากร การกีฬาและนันทนาการทั้งครูหรือผู้สอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ผู้บริหารการกีฬา อาสาสมัครกีฬา ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ อย่างเป็นระบบและมีมาตรฐาน สามารถถ่ายทอดความรู้ให้เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป บุคคลกลุ่มพิเศษ และ ผู้ด้อยโอกาสได้อย่างถูกต้อง และสามารถต่อยอดศักยภาพในการพัฒนาเป็นบุคลากร การกีฬาและนันทนาการ ที่มีมาตรฐานของประเทศ รวมทั้งสนับสนุนและเสริมศักยภาพรองรับการเติบโตขอ งอุตสาหกรรม การ กีฬาและ นันทนาการและการพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการลงทุนและฐานการผลิตด้านอุตสาหกรรม การ กี ฬา ของภูมิภาคเอเชียควบคู่กับการพัฒนา การ กีฬา เชิงท่องเที่ยว การสนับสนุนและส่งเสริมผลิตบุคลากรและ การพัฒนานวัตกรรมที่สนับสนุนอุตสาหกรรม การ กีฬาและนันทนาการ ตลอดจนมีมาตรการส่ งเสริมและ สนับสนุนผู้ประกอบการกีฬาและนันทนาการ และธุรกิจที่เกี่ยวข้องจากแผนระดับ 1 สู่แผนระดับ 2 และแผน ระดับ 3 ซึ่งเป็นแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานต่าง ๆ ตามลําดับ โดยแผนระดับ 2 ที่มีการถ่ายทอด เป้าหมายมาจากแผนระดับที่ 1 ด้านการกําหนดนโยบายและทิศทางในการพัฒนาบุ คลากรด้านการกีฬาและ นันทนาการ เพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรม การ กีฬาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม ได้แก่ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 14 ศักยภาพกีฬา แผนย่อยที่ 2 การส่งเสริมการกีฬา เพื่อพัฒนาสู่ระดับอาชีพ โดยสนับสนุนอุตสาหกรรมการกีฬา พร้อมผลักดัน การ กีฬา เชิงท่องเที่ยว มีการผลักดัน ให้ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันกีฬา และพัฒนาเมืองกีฬาต้นแบบเพื่อรองรับการพัฒนาต่อไป แผนการปฏิรูปประเทศด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ กิจกรรมปฏิรูปที่ 3 การสร้างโอกาสทางการกีฬาและพัฒนานั กกีฬา การพัฒนาศูนย์พัฒนานักกีฬาและวิทยาศาสตร์การกีฬา การพั ฒนา ระบบจั ดการองค์ ความรู ้ เพื ่ อพั ฒนาความเข้ มแข็ งของการกี ฬา เพื ่ อรองรั บการเติ บโต ของอุตสาหกรรม การ กีฬา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564 ) ในยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้าง ความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน โดยพัฒนาอุตสาหกรรม
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 49 - การ กีฬาอย่ำงครบวงจร โดยส่งเสริมกิจกรรมกีฬาเพื่อสร้างรายได้ รวมทั้งสนับสนุนการจัดมหกรรมกีฬา นานาชาติ การเป็นเจ้าภาพงานกีฬา ระดับโลก และการจัดงานประชุมวิชาการนานาชาติทางด้านกีฬา เวชศาสตร์การกีฬา และวิทยาศาสตร์ การกีฬา การส่งเสริมธุรกิจและผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับการ กีฬาทั้งใน อุตสาหกรรม การ กีฬาและธุรกิจบริการ ที่เชื่อมโยงกับการกีฬา อาทิ ธุรกิจอุปกรณ์กีฬา ธุรกิจสถานที่การแข่งขันกีฬา และธุรกิจการฝึกสอนนักกีฬา รวมถึงส่งเสริมกิจกรรมด้านการตลาดและการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างการรับรู้ ให้ประชาชนตระหนัก ถึงความสําคัญของการกีฬาและกระ ตุ้นให้เกิดกิจกรรมการกีฬาและนันทนาการมากขึ้น และ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570 ) ใน หมุดหมายที่ 2 ไทยเป็น จุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณภาพและความยั่งยืน หมุดหมายที่ 4 ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และ สุขภาพมูลค่าสูง และ หมุดหมายที่ 7 ไทยมีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่เข้มแข็ง มีศักยภาพสูงและ สามารถแข่งขันได้ โดยการพัฒนา นี้ เกี่ยวข้องกับธุรกิจและอุตสาหกรรมการกีฬาจะอยู่ในกลุ่มการพัฒนา เศรษฐกิจมูลค่าสูงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ให้การท่องเที่ยวไทยมีจุดเด่นด้านการท่องเที่ยวรูปแ บบเฉพาะ เช่น การ กีฬา เชิงท่องเที่ยว นอกจากนั้น แผนระดับ 3 ที่มีการถ่ายทอดเป้าหมายมาจากแผนระดับ 1 และ 2 นั้น ได้แก่ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 256 5 ) ในยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนา อุตสาหกรรมการกีฬาเพื่อเป็นส่วนสําคัญในการสร้างมูลค่าเพิ่มทาง เศรษฐกิจ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนา คือ อุตสาหกรรมการกีฬาได้รับการส่งเสริมอย่างจริงจังจากภาครัฐและได้รับการสนับสนุนจากสถาบันการเงินต่าง ๆ รวมทั้งมีระบบการบริหารจัดการที่ดีโดยเฉพาะเรื่องฐานข้อมูล อุตสาหกรรมการ การ กีฬามีการเติบโตขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ส่งผลต่อการจ้างงา นที่เพิ่มขึ้นและสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจให้ประเทศไทยอย่างมีเสถียรภาพ และ ร่างแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 - 2570) ในยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับ ประสบการณ์ด้านการท่ องเที่ยว (Tourism Experience) โดยมีเป้าประสงค์ ประเทศไทยมีรูปแบบการ ท่ องเที่ยว ศักยภาพสูงที่โดดเ ด่น มีกิจกรรมและแหล่ ง ท่ องเที่ยวที่หลากหลาย เพื่อรองรับความสนใจและพฤติกรรม ที่แตกต่ำง กันของนัก ท่อ งเที่ยว แต่ ละกลุ่ ม และมีแนวทางในการ ส งเสริมการท องเที่ยวเชิงกีฬา ( Sport Tourism) ของประเทศไทยให เป็ นจุดหมายปลายทางที่ นำสนใจของนักท่ อ งเที่ยวเชิงกีฬาที่พ่านักตั้งแต่ ใ นระยะสั้นถึงระยะ ยาวผ่ำนจําหน่าย สินค้ำ การจัดกิจกรรมนันทนาการและการแข งขันกีฬาระดับประเทศและนานาชาติ จากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 ( พ.ศ. 2560 – 256 5 ) ในยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาอุต สาหกรรมการกีฬาเพื่อเป็นส่วนสําคัญในการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ พบว่าในช่วงที่ผ่านมาการพัฒนาส่วนใหญ่ยังไม่สามารถดําเนินงานได้ตามเป้าหมาย ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID - 19 ในปี 2563 และ 2564 โดย 1) จํานวนผู้ประกอบการ ที่เกี่ยวกับธุรกิจการกีฬามีอัตราการเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 2 . 02 จากค่าเป้าหมายร้อยละ 5 ต่อปี 2) การลงทุน จากภาคเอกชนในอุตสาหกรรมการกีฬาไทยมีอัตราการเติบโตน้อยกว่าอัตราการเติบโตของมูลค่า GDP และ 3) มูลค่าการส่งออกทางการกีฬาโดยรวมมีอัต ราการเติบโตลดลงร้อยละ 17 . 11 ในปี 2563 ส่วน 4) จํานวน กิจกรรม กีฬา เชิงท่องเที่ยว มีอัตราการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ยังไม่มีการจัดเก็บรวบรวม ข้อมูลอย่างเป็นระบบเพื่อใช้ในการประเมินผลการดําเนินงานได้ ทั้งนี้ มีการพัฒนาที่สามารถดําเนินงานได้ตาม เป้ำหมาย คือ การสามารถจัดตั้งเมืองกีฬาแห่งแรกได้สําเร็จ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 50 - มูลค่าของอุตสาหกรรม การ กีฬาประเทศไทย โดยรวบรวมจากผลประกอบการธุรกิจ ปีงบการเงิน 2557 - 2563 จากกองข้อมูลธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ มีอัตราการเติบโต เฉลี่ยร้อยละ 3.01 ดังแผนภาพที่ 2 - 9 ซึ่งใน 2561 – 2563 มีมูลค่า 215,854 ล้านบาท , 225,299 ล้านบาท และ 208,010 ล้านบาท ตามลําดับ แผนภาพที่ 2 - 9 ผล ประกอบการของธุรกิจ ปีงบการเงิน พ.ศ. 2557 - 2563 ที่มา : กรมพัฒนา ธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ (17 กุมภาพันธ์ 2565) เมื่ อพิจารณาด้าน มูลค่าทางเศรษฐกิจในการจัดการแข่งขันกีฬาในประเทศ พบว่าในช่วง ปี 2562 - 2564 มูลค่าทางเศรษฐกิจในการจัดการแข่งขันกีฬาในประเทศ ลดลงเป็นอย่างมากจากปี 2562 มีมูลค่าทางเศรษฐกิจมากถึง 23 พัน ล้านบาท เหลือเพียง 7 - 8 พัน ล้านบาทในปี 2563 และ 2564 ตามลําดับ ดังแผนภาพที่ 2 - 10 ซึ่งเป็นผลมาจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรค โควิด - 19 ที่มีการ งด การแข่งขันกีฬาไปอย่างไม่มีกําหนด ซึ่งส่งรายได้จากการจัดการแข่งขันกีฬาในประเทศ ไม่ว่าจะเป็นรายได้ที่มา จากนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีการเข้าร่วม กีฬาเพื่อการท่องเที่ยวและนันทนาการ และนักท่องเที่ยวที่มาเข้าร่วม การแข่งขันกีฬาอาชีพ ดังนั้นในช่วงที่ผ่านมาจึงยังไม่สามารถประเมินผลการดําเนินงานด้านการสร้างมูลค่าทาง เศรษฐกิจจาก การจัดการแข่งขันกีฬาใ นประเทศ ได้ จึงควรพิจารณาตัวชี้วัดนี้ ในแผนฉบับนี้ต่อไป อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึง จํานวนกิจกรรมกีฬาเชิงท่องเที่ยวทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน ทั่วประเทศ พบว่า จาก การ ประเมินผลการดําเนินงานตามตัวชี้ วัดระดับยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 ( พ . ศ . 2560 - 256 5 ) ยังไม่มีการจัดเก็บข้อมูลนี้ เนื่องจากไม่มีงบประมาณในการจัดเก็บข้อมูล แต่จาก ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สามารถใช้ระบบดิจิทัลในการจัดเก็บข้อมูลได้ ซึ่งสามารถจัดทําแพลตฟอร์มใน การจัดเก็บข้อมูลในแผนฉบับนี้ นอกจากนั้ น ประเทศไทย ควร มีการจัดทําข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศด้านการกีฬา ( Gross Domestic Sport Product: GDSP) และการประเมินผลตอบแทนทาง สังคม ( Social Return On Investment: SROI) เพื่อประเมินมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นด้านกีฬา ของประเทศได้อย่างชัดเจน ผลประกอบการของธุรกิจ ประกอบด้วย • การผลิตชุดและอุปกรณ์การกีฬา • กิจกรรมนันทนาการและการแข่งขัน • การขายส่งและส่งออกสินค้าเกี่ยวกับกีฬา • การผลิตและจําหน่ายเครื่องดื่มกีฬา • การขายปลีกสินค้าเกี่ยวกับกีฬา • การดําเนินการให้ความรู้ทางกีฬา • การดําเนินการให้เช่าสถานที่และอุปกรณ์กีฬา • การดําเนินการซ่อมบํารุงเกี่ยวกับการกีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 51 - แผนภาพที่ 2 - 10 มู ลค่าทางเศรษฐกิจในการจัดการแข่งขันกีฬาในประเทศ ที่มา : การกีฬาแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ตารางที่ 2 - 2 มูลค่าทางเศรษฐกิจของกิจกรรมกีฬาจําแนกประเภท ประเภท 2562 (ล้านบาท) 2563 (ล้านบาท) 2564 (ล้านบาท) 1 . การท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sports Tourism) 8,536 . 36 1,245 . 71 1,757 . 19 2. กีฬาเป็นเลิศ ( Sport s Excellence) 2,111 . 06 708 . 39 442 . 40 3. กีฬาอาชีพ ( Professional Sports) 20,891 . 18 5,549 . 49 6,388 . 93 รวม 31,538 . 60 7,503 . 59 8,588 . 53 ที่มา : การกีฬาแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา มูลค่าทางเศรษฐกิจในการจัดการแข่งขันกีฬาในประเทศ สามารถจําแนกเป็นประเภทได้ดังนี้ การท่องเที่ยวเชิงกีฬา ( Sport s Tourism) ในช่วงปี 2562 - 2564 มีมูลค่า 8,536.36 ล้านบาท 1,245.71 ล้านบาท และ 1,757.19 ล้านบาท ตามลํา ดับ กีฬาเป็นเลิศ (Sport s Excellence) ในช่วงปี 2562 - 2564 มีมูลค่า 2,111.06 ล้านบาท 708.39 ล้านบาท และ 442.40 ล้านบาท ตามลําดับ และกีฬาอาชีพ (Professional Sports) ) ในช่วงปี 2562 - 2564 มีมูลค่า 20,891.18 ล้านบาท 5,549.49 ล้านบาท และ 6,388.93 ล้านบาท ตามลําดับ สําหรับมูลค่าทางเศรษฐกิจกีฬาที่สําคัญ จําแนกเป็นรายการที่มีการจัดกิจกรรมการแข่งขัน ได้ดังนี้ 1) มูลค่าทางเศรษฐกิจการท่องเที่ยวเชิงกีฬา ( Sports Tourism) อาทิ รายการแข่งขัน จักรยานยนต์ โมโต จีพี 2019 ในปี 2562 มีมูลค่าสูงถึง 3,202.26 ล้านบาท รายการ บุรีรัมย์ มาราธอน ในปี 2563 และ 2564 มีมูลค่าสูงถึง 459.01 ล้านบาท และ 935.55 ล้านบาท ตามลําดับ รายการ วิ่งฮาล์ฟมาราธอน นานาชาติ เชียงราย ในปี 2564 มีมูลค่าสูงถึง 206.73 ล้านบาท รายการ เรือเร็ว Thailand Powerboat ในปี 2564 มีมูลค่าสูงถึง 31.90 ล้านบาท และราย การ E - Sports ในปี 2564 มีมูลค่าสูงถึง 267.01 ล้านบาท 2) มูลค่าทางเศรษฐกิจกีฬาเป็นเลิศ อาทิ รายการแข่งขัน กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 46 จังหวัดเชียงราย ในปี 2562 มีมูลค่าสูงถึง 1,318.05 ล้านบาท รายการแข่งขัน กีฬาเยาวชนแห่งชาติ จังหวัดบุรีรัมย์ 2562 2563 2564 23,002,249,520 7,503,595,268 8,588,539,627 มูลค่าทางเศรษฐกิจในการจัดการแข่งขันกีฬาในประเทศ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 52 - ในปี 2562 มีมูลค่า สูงถึง 793.01 ล้านบาท รายการ จักรยานประเภทลู่ชิงแชมป์ประเทศไทย ในปี 2564 มีมูลค่าสูงถึง 26.02 ล้านบาท รายการ อีสปอร์ตชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ในปี 2564 มีมูลค่าสูงถึง 69.40 ล้านบาท และรายการ จักรยานประเภทลู่ชิงแชมป์ประเทศไทย ในปี 2564 มีมูลค่าสูงถึง 111.84 ล้านบาท 3) มูลค่าทางเศรษฐกิจกีฬาอาชีพ อาทิ รายการแข่งขัน ฟุตบอลไทยลีก 1 ลีก 2 ลีก 3 และ ลีก 4 ในปี 2562 มีมูลค่าสูงถึง 9,313.00 ล้านบาท รายการ กอล์ฟอาชีพ ไทยแลนด์ พีจีเอ ทัวร์ ในปี 2564 มีมูลค่าสูงถึง 226.80 ล้านบาท รายการ กอ ล์ฟอาชีพ ฮอนด้า แอลพีจีเอ ไทยแลนด์ ในปี 2564 มีมูลค่าสูงถึง 1 , 906.50 ล้านบาท รายการ วอลเลย์บอลไทยแลนด์ ลีก (ชาย - หญิง) ในปี 2564 มีมูลค่าสูงถึง 2 , 275.95 ล้านบาท และรายการแข่งขัน เจ็ตสกี เวิล์ด คัพ ในปี 2564 มีมูลค่าสูงถึง 568.65 ล้านบาท ตารางที่ 2 - 4 มูลค่าทางเศรษฐกิจของกิจกรรมกีฬา ที่สําคัญ จําแนก เป็นรายการ รายการ 2562 (ล้านบาท) 2563 (ล้านบาท) 2564 (ล้านบาท) มูลค่าทางเศรษฐกิจการท่องเที่ยวเชิงกีฬา ( Sports Tourism) 1. จักรยานยนต์ โมโต จีพี 2019 3,202 . 26 - - 2. บุรีรัมย์ มาราธอน - 459 . 01 935.55 3 . E - Sports - 335.83 267.01 4 . วิ่งฮาล์ฟมาราธอน นานาชาติ เชียงราย 264 . 43 - 206.73 5 . เรือเร็ว Thailand Powerboat - 62.62 31.90 มูลค่าทางเศรษฐกิจกีฬาเป็นเลิศ 1. กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 46 จังหวัดเชียงราย 1,318 . 05 - - 2. กีฬาเยาวชนแห่งชาติ จังหวัดบุรีรัมย์ 793 . 01 - - 3 . รถคาร์ทชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย - 251 . 83 - 4 . จักรยานประเภทลู่ชิงแชมป์ประเทศไทย - 174 . 01 111 . 84 5 . อีสปอร์ตชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย - 32 . 12 69 . 40 6 . เพาะกายชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย 64 - - 58 . 13 7 . กระดานโต้คลื่นชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย - 65 . 24 26 . 02 มูลค่าทางเศรษฐกิจกีฬาอาชีพ 1. ฟุตบอลไทยลีก 1 ลีก 2 ลีก 3 และ ลีก 4 9,313.00 - - 2 . วอลเลย์บอลไทยแลนด์ ลีก (ชาย - หญิง) 4,712 . 55 2,667 . 80 2,275 . 95 3. กอล์ฟอาชีพ ฮอนด้า แอลพีจีเอ ไทยแลนด์ - - 1,906.50
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 53 - รายการ 2562 (ล้านบาท) 2563 (ล้านบาท) 2564 (ล้านบาท) 4 . รถจักยาน เอฟเอ็มไอ ซุปเปอร์ไบค์ เวิลด์ แชมเปี้ยนชิพ 1,581.68 - - 5. เจ็ตสกี เวิล์ด คัพ 704 . 45 704 . 98 568 . 65 6 . กอล์ฟอาชีพ ไทยแลนด์ พีจีเอ ทัวร์ 152 . 14 136 . 87 226 . 80 7 . เจ็ตสกี โปร ทัวร์ 236 . 14 232 . 87 - ที่มา : การกีฬาแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โดย การพัฒนาอุตสาหกรรม การ กีฬาของประเทศไทยที่ผ่านมามีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลากหลาย หน่วยงาน โดยหน่วยงานหลัก ได้แก่ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา การกีฬาแห่งประเทศไทย นอกจากนี้ยังมี หน่วยร่วมดําเนินการ อื่น ๆ ที่สําคัญ ได้แก่ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงการคลัง กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สํานักงานตํารวจแห่งชาติ สํานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน กระทรวงอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกร รมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้า แห่งประเทศไทย สื่อมวลชน และเอกชน เป็นต้น เมื่อพิจารณาการวินิจฉัยความสามารถในการแข่งขัน จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค อุตสาหกรรม การ กีฬาของประเทศไทย พบว่าหน่วยงานภาครัฐได้มีการพัฒนาอุตสาหกรรม การ กีฬา โดยกําหนด ให้เป็นส่วนหนึ่งในยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี ซึ่งเป็นแผนระดับที่ 1 และถ่ายทอดลงสู่แผนระดับที่ 2 และ แผนระดับที่ 3 ตามลําดับ โดยแผนระดับ 3 ที่ถือว่าเป็นกรอบแนวทางพัฒนาการกีฬาของประเทศนั้น คือ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 256 5 ) มีการจัดตั้งหน่วยงานรับผิดชอบการขับเคลื่อน ดําเนิ นงานการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬาเพื่ อเป็นส่วนสําคัญในการสร้างมูลค่าเพิ่ มทางเศรษฐกิจ โดยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการเชื่อมโยงกรอบ แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา จากแผนระดับ 1 สู่แผนระดับ 2 และแผนระดับ 3 แต่ที่ผ่านมา การดําเนินงานพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬายังขาดการบูรณาการร่วมกันของหน่วยงานต่าง ๆ ในการร่วมกัน ให้แลกเปลี่ยนข้อมูลในการพัฒนาฐานข้อมูลกลางสําหรับเก็บและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม การกีฬาโดยตรง ทําให้ภาครัฐขำดเครื่องมือในการวางแผนและกําหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรม การกีฬาไทยให้เติบโตอย่างยั่งยืน ส่วนนโยบาย Sport City ตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ที่ขับเคลื่อน โดย กกท. ซึ่งต้องการให้เกิดการกระตุ้นอุตสาหกรรมการกีฬาแบบครบวงจร โดยสนับสนุนการดําเนินการธุรกิจ ที่เกี่ยว ข้องกับอุตสาหกรรม การ กีฬา เช่น การผลิต บริการ นําเข้า/ส่งออก การจัด การแข่งขัน การพัฒนาและ สนับสนุนนักกีฬา ทั้ งนี้ จากการประเมินผลเมืองกีฬา ปี 2563 ทั้ ง 16 จังหวัด ในด้านการส่งเสริม อุตสาหกรรม การ กีฬาและธุรกิจด้านกีฬา พบว่า 15 จังหวัด มีผลการประเมินความเหมาะสม อยู่ใ นระดับ ปานกลาง ซึ่งมีเพียง 1 จังหวัดเท่านั้นที่มีการดําเนินงานด้านการส่งเสริมอุตสาหกรรม การ กีฬาและธุรกิจด้าน กี ฬา ในระดับที่เหมาะสม
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 54 - ด้านปัจจัยสนับสนุนที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาอุตสาหกรรม การ กีฬา พบว่าสถาบันการเงินของประเทศ ไม่มี นโยบายส่งเสริมการลงทุนให้แก่ SMEs ภาคอุตสาหก รรม การ กีฬา เนื่องจาก SMEs ภาคอุตสาหกรรม การ กีฬา มีเงินลงทุนและอัตราการจ้างงานต่ําไม่อยู่ในหลักเกณฑ์การส่งเสริมการลงทุน (สถาบันการเงินมีนโยบาย การส่งเสริมให้เฉพาะอุตสาหกรรมขนาดใหญ่) และที่สําคัญประเทศไทยขาดแคลนบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ ด้าน R&D การสร้างนวัตกรรมทางการ กีฬา ทําให้ผู้ประกอบการการผลิตของไทยไม่สามารถพัฒนาระบบ การผลิตให้ก้าวเข้าสู่มาตรฐานสากล และไม่สามารถเพิ่มมูลค่าของสินค้า ได้ ดังนั้น ภาครัฐควรสนับสนุน การยื่น จดอนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์ นวัตกรรมทางการกีฬาเชิงพาณิชย์ เพื่อสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้าได้ และสามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก โดยผู้ประกอบการทางการกีฬาหลาย รายมีความต้องการแรงงานที่ มีความรู้ ทักษะ และความสามารถในเรื่ องนวัตกรรมของอุปกรณ์ และ การบริการทางการกีฬา วิทยาศาสตร์การกีฬา ซึ่งเป็นสาขำวิชาที่หาได้ยากในปัจจุบัน นอกจากนั้น ภาครัฐควร มีมาตรการด้านการเงินและ/หรือภาษี เช่น การให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่ํา การค้ําประกันเงินกู้ รวมถึงการลดหย่อน ภาษี เพื่อสนับสนุนผู้ประกอบการธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันประชาชนหันมาให้ความใส่ใจกับ สุขภาพมากขึ้น ทั้งเรื่องอาหารและ การออกกําลังกายในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งจะเห็นได้จากจํานวนการจัดตั้งใหม่ของธุรกิจที่เกี่ยวกับสถานที่ ออกกําลังกาย เช่น สปอร์ตคลับ ศูนย์ฟิตเนส บริการแอโรบิค ศูนย์โยคะ ฯลฯ ที่มีแนวโน้มการจัดตั้งใหม่เพิ่มขึ้น ทุกปี และมีเทคโนโลยีที่อํานว ยความสะดวกและช่วยส่งเสริมธุรกิจและอุตสาหกรรม การ กีฬา ทําให้มีช่องทาง ในการเข้าถึงผู้บริโภคได้ง่ายขึ้น ส่งผลให้ขนาดตลาดอุตสาหกรรม การ กีฬามีแนวโน้มที่จะเติบโตเพิ่มขึ้นในอนาคต ทั้งนี้ แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม การ กีฬาในอนาคตนั้น หากนําผลการวิเคราะห์ความสามารถ ในการแข่งขันขอ งกลุ่มอุตสาหกรรม การ กีฬา ภายในห้วงระยะเวลาของแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 256 5 ) มาวิเคราะห์โดยใช้เครื่องมือ TOWS Matrix Model โดยการนํา จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ที่ได้จากกระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและภายในของกลุ่มอุตสาหกรรม การ กีฬา สามารถกําหนดกลยุทธ์เพื่อใช้ในการพัฒนาในอนาคต โดยกําหนด 1 ) กลยุทธ์เชิงรุก โดยใช้จุดแข็ง และโอกาสที่มีมากําหนดกลยุทธ์ 2 ) กลยุทธ์เชิงแก้ไข โดยใช้โ อกาสที่มีมากําหนดกลยุทธ์เพื่อแก้ไขจุดอ่อน 3 ) กลยุทธ์เชิงรับ ใช้จุดแข็งที่มีมากําหนดกลยุทธ์เพื่อแก้ไขจุดอ่อน 4 ) กลยุทธ์เชิงป้องกัน โดยใช้จุดอ่อนและ อุปสรรคที่มีมากําหนดกลยุทธ์ ดังนี้ 1 ) กลยุ ทธ์ เชิงรุก ควรสนับสนุนการจัดทําฐานข้อมูลความต้องการของผู้ บริโภคด้านกี ฬา เ พื่อสนับสนุนข้อมูลให้กับผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม โดยฐานข้อมูลนี้อาจสามารถแจกแจง ความต้องการด้านกีฬาได้ตามกลุ่ มเป้าหมาย ควรส่งเสริมและสนับสนุนผู้ ประกอบการ ในอุตสาหกรรม การ กีฬาให้ครอบคลุมทั้งภาคการผลิต ภาคการค้า และภาคบริการ ในด้านการพัฒนา ผลิตภัณฑ์และบริการ การพั ฒนาด้านมาตรฐาน การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์และบริการ และควรผลักดันให้ผู้ประกอบการให้ความสนใจ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้เหมาะสมกับผู้บริโภคเฉพาะกลุ่มมากขึ้น เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มผู้เล่นกีฬา Es port s
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 55 - 2 ) กลยุทธ์เชิงแก้ไข ควรส่งเสริมและสนับสนุนการจัดทําฐานข้อมูลกลางในด้านการกี ฬา โดยรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการกีฬาโดยตรง เพื่อให้ภาครัฐสามารถนําข้อมูล ดังกล่าวไปใช้วางแผนและกําหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬาได้ สนับสนุนให้เกิด การถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี จากกา รทดลองผลิตในห้องทดลอง ( Lab Scale) ให้ขยายไปสู่ การผลิตเชิงพาณิชย์ ( Commercialization Scale) และให้คําปรึกษาแนะนําในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์และบริการ การพัฒนาด้านมาตรฐาน การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์และบริการ ควรสนับสนุนให้เกิดศูนย์บริการธุรกิจอุตสาหกรรม การ กีฬา เพื่อสนับสนุน ข้อมูลของอุตสาหกรร ม การ กีฬาอย่างครบวงจร โดยครอบคลุมข้ อมูลทางอุตสาหกรรม กระบวนการรับรองผลิตภัณฑ์จากสหพันธ์กีฬานานาชาติ โอกาสการลงทุน โอกาสทางธุรกิจ การเข้าถึงแหล่งเงินทุน และการเพิ่มความสามารถในการแ ข่งขัน รวมทั้งสนับสนุนให้ผลิตภัณฑ์ และบริการในอุตสาหกรรม การ กีฬา สามารถเข้าถึงผู้ บริโภคได้มากขึ้ นทั้ งในประเทศและ ต่างประเทศ โดยการจัดกิจกรรมแสดงและ จํา หน่ายสินค้า การจัด Online Exhibition หรือ ผ่าน e - Marketplace และสนับสนุน การส่งเสริมการลงทุนให้แก่อุตสาหกรรม การ กีฬา พร้อมทั้ง จัดหาแหล่งเงินกู้ที่มีอัตราดอกเบี้ยต่ํา 3 ) กลยุทธ์เชิงรับ ควรสนับสนุนและผลักดันให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม การ กีฬา นําเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในการดําเนินธุรกิจ ( Digital transformation) เพื่อลดผลกระทบจากสถานการณ์ COVID - 19 เช่น การถ่ายทอดสดออนไลน์ผ่านแพลตฟอร์ม และควรสนับสนุนให้มีสิทธิประโยชน์ ทางภาษี โดยผลักดันให้เกิดเป็นมาตรการลดหย่อนภาษีสําหรับผู้สนับสนุนทางด้านการกีฬา 4 ) กลยุทธ์เชิงป้องกัน ควรสนับสนุนให้มีสิทธิประโยชน์ทางภาษี โดยผลักดันให้เกิดเป็นมาตรการ ทางภาษีเพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการ โดยครอบคลุมถึงสิทธิประโยชน์ ทางด้านภาษีและอากรนําเข้า เครื่องจักร รวมถึงมาตรการลดหย่อนภาษี เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบ จากสถานการณ์ COVID - 19
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 56 - สรุปสถานการณ์และแนวโน้มด้านการพัฒนากีฬาที่สําคัญของประเทศไทย ปัจจัยแห่งความสําเร็จ ( Key Success Factors) กีฬาเพื่อมวลชน กีฬาเพื่อความเป็นเลิศ อุตสาหกรรม การ กีฬา - ม ี กำ ร ก ํา หน ดหน่ ว ยงำนร ั บผิ ดชอบ ในการพัฒนากีฬาโดยเฉพาะ แต่ยังขาด การบูรณาการการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ ร ะ หว ่ำ ง หน ่ ว ย งำ น ท ี ่ เก ี ่ ย ว ข ้ อ ง กั บ การดําเนิ นการกี ฬาขั ้ นพื ้ นฐานและ กีฬาเพื่อมวลชน - กระแสการออกกําลังกายและการเล่นกีฬา ได้ รั บความนิ ยมเพิ ่ มขึ ้ นอย่ำงต่ อเนื ่ อง แต่โครงสร้างพื้ นฐานด้านการกีฬา อาทิ สถานที่ อุปกรณ์ องค์ความรู้ บุคลากร ทางการกีฬา และกิจกรรมทางการกีฬายังมี ไม่เพียงพอ - มีการสนับสนุนการส่งเสริมการออกกําลัง - กายและการกีฬาขั้ นพื้ นฐานในเด็ก และ เยาวชน และการส่งเสริม กีฬาเพื่อมวลชน จากหน่วยงานภาคเอกชนจํานวนมาก แต่ยัง มีปัญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการกีฬา ครูผู้ สอนพลศึกษา เจ้าหน้าที่ พลศึกษา ผู ้ นําการออกกําลั งกาย บุ คลากรด้ำน วิทยาศาสตร์การกีฬา เป็นต้น - มี การกําหนดหน่ วยงานรั บผิ ดชอบ ในการพัฒนากีฬาโดยเฉพาะ แต่ ยังขาด การบูรณาการการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ ระหว่ำงหน่ วยงานที ่ เกี ่ ยวข้ องกับ การดําเนินการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ และกีฬาอาชีพ - มีแหล่งงบประมาณในการสนับสนุนการ พัฒนากีฬาจาก 2 แหล่ง คือ จากการ จั ดสรรงบประมาณจากรั ฐบาล และ งบประมาณจากกองทุนพัฒนาการกีฬา แห่งชาติ - มีศูนย์ฝึ กกีฬาแห่งชาติทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค แต่ศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติ ยั งมี องค์ ประกอบไม่ ครบถ้ วนตาม องค์ประกอบที่ศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติควร จะมี - ขาดการบูรณาการในการรวบรวมและ วิเคราะห์ฐานข้อมูล ( Data Analytic) ที่ใช้ร่วมกันภายในและภายนอกองค์กร อย่างเป็นระบบ - กระแสการออกกําลังกายและการเล่นกีฬา ได้ รั บความนิ ยมเพิ ่ มขึ ้ นอย่ำงต่ อเนื ่ อง ทําให้ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการออกกําลังกาย เช่น ตลาดเสื้อผ้า รองเท้า และอุปกรณ์กีฬา ต่าง ๆ สามารถเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง - ประชาชนให้ความใส่ใจกับสุขภาพมากขึ้น ทั ้ งเรื ่ องอาหารและการออกกําลั งกาย ในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งจะเห็นได้จากจํานวน การจัดตั้งใหม่ของธุรกิจที่เกี่ยวกับสถานที่ ออกกําลังกาย เช่น สปอร์ตคลับ ศูนย์ฟิตเนส บริการแอโรบิค ศูนย์โยคะ ฯลฯ ที่มีแนวโน้ม การจัดตั้งใหม่เพิ่มขึ้นทุกปี - มีธุรกิจสโมสรกีฬาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเ นื่อง - ยังไม่สามารถประเมินมูลค่าทางเศรษฐกิจ ที่เกิดจากการกีฬาได้อย่างแท้จริง - นโยบาย Sport City ตามแผนพั ฒนาการ กี ฬาแห่ งชาติ ยั งไม่ ประสบความสําเร็จ เท่าที่ควร 1 ) การพั ฒนาการกี ฬำของประ เ ทศ ถูกกําหนดให้เป็นส่วนหนึ่งในแผนระดับ ที่ 1 และ 2 ของประเทศ พร้อม มีการ กําหนดหน่วยงานรั บผิ ดชอบในการ พัฒนากีฬาในด้านต่าง ๆ ทั้งที่อยู่ภายใต้ กระทรวง การ ท่องเที่ยวและกีฬา และ หน่วยร่วมดําเนินการในต่างกระทรวง อื่น ๆ โดยเฉพาะ 2 ) การมีกองทุนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ที่ ส่ งเสริมและสนับสนุนงบประมาณ เ พ ิ ่ ม เ ต ิ ม ใ น กำ ร พั ฒ นำ ก ี ฬำ เ พื่อ ความเป็นเลิศ และกี ฬาเพื่อการอาชีพ 3 ) ภาคเอกชน ให้ การสนับสนุนการส่งเสริม การออกกําลั งกายและการกี ฬาขั้น พื้ นฐานในเด็กและเยาวชน และการ ส่งเสริมกีฬา เพื่อ มวลชน
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 57 - 2 . 5 ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ COVID - 19 ที่ส่งผลต่อวงการกีฬาไทย กระทรวงสาธารณสุขพบผู้ป่วย COVID - 19 รายแรก ในประเทศไทย เมื่อ วันที่ 12 มกราคม 2563 โดยเป็นนักท่องเที่ยวหญิงชาวจีน อายุ 60 ปี ที่เดินทางมาจากเมืองอู่ฮั่น สาธารณรัฐประชาชนจีน ส่วนกำรแพร่ระบาดในประเทศไทยที่เกี่ยวข้องและเชื่ อมโยง กับการกี ฬา คือ ในปี 2563 มี เหตุการณ์ การติดเชื้อเป็นกลุ่มก้อนขนาดใหญ่ ที่ สนามมวยรายการ “ ลุมพินีแชมป์เปียนเกียรติเพชร ” ณ สนามมวยเวที ลุมพินี จาก เซียนมวย ที่ มาร่วมงาน ซึ่ง เป็น Super Spreader แพร่เชื้อให้กับคนที่มาสนามมวยมากกว่า 50 คน และคนที่ติดเชื้อได้แพร่กระจายให้คนอื่นต่อไปเป็นวงกว้างในพื้นที่จังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศ และในปี 2564 เกิดเหตุการณ์การติดเชื้อเป็นกลุ่มก้อนจากเวทีมวยจะนะ ซึ่งจัด เมื่อวันที่ 8 - 9 เมษายน 2564 อย่างไรก็ตาม จากสถานการ ณ์การแพร่ระบาด COVID - 19 ในประเทศไทย รัฐบาลไทยได้จัดตั้งศูนย์บริหารสถานการณ์ การแพร่ระบาดของ โควิด - 19 (ศบค.) เพื่อทําหน้าที่กํา ห นดนโยบายและมาตรการเร่งด่วนในการบริหาร สถานการณ์ การแพร่ ระบาดของ COVID - 19 โดยมาตรการหรื อนโยบายที ่ มี การประกาศใช้ ได้ แก่ พระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน การรณรงค์ให้อยู่บ้านหยุดเชื้อเพื่อชาติ มาตรการ ให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ของสถาบันการเงิน การเยียวยาประชาชน เกษตรกร ผู้ประกอบการ บุคลากร ทางการแพทย์และกลุ่มผู้ใช้แรงงา น เป็นต้น โดย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา มีการจัดทํา ยุทธศาสตร์ การฟื้นฟูและขับเคลื่อนภารกิจของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาในสถานการณ์การระบาดของ COVID - 19 และคู่มือการปฏิบัติตามมาตรการผ่อนปรนกิจการและกิจกรรมด้านการกีฬาเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของ COVID - 19 ที่มีมาตรการหรือนโยบายทางด้านการกีฬา ได้แก่ สร้างกระแสกีฬา การเล่นกีฬาสร้างพลานามัย ให้อยู่ในสังคมและสอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID - 19 การสร้างมาตรฐานแห่งความปกติ ใหม่ของการจัดการเรียนการสอนทางวิชาการกีฬา การสร้างนวัตกรรมกีฬาเสมือนจริงและกีฬาดิจิ ทัล เพื่อการพัฒนากีฬาท่ามกลางวิกฤตการแพร่ระบาด COVID - 19 การพัฒนาการจัดการแข่งขันกีฬามาตรฐาน ความปกติใหม่เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจไทย และเชื่อมโยง การ กีฬา เชิงท่องเที่ยว การเร่งเยียวยาบุคลากรกีฬาและ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม การ กีฬาของประเทศ ทั้งนี้ ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากสถานการณ์การแพร่ระบาด COVID - 19 และมาตรการเพื่ อรับมื อการแพร่ระบาดของ COVID - 19 ของรัฐบาล ได้สร้างผลกระทบ ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม โดยในมิติด้านเศรษฐกิจนั้น สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยมีการประเมินมูลค่า ความสูญเสียจากการที่ไม่สามารถจัดการแข่ง ขันได้ไว้ที่ประมาณ 5 , 235 ล้านบาท นอกจากนั้นสถานการณ์ COVID - 19 ที่เกิดขึ้นยังส่งผลกระทบต่อธุรกิจต่าง ๆ อีกมากมาย ได้แก่ ธุรกิจกีฬาอาชีพและธุรกิจการแข่งขัน กีฬา ต้องปรับเปลี่ยนปฏิทินการจัดงานกิจกรรมกีฬา นักกีฬาต้องปรับเปลี่ยนวิธีการและตารางการฝึกซ้อมกีฬา เพื่อ ให้สอดคล้องกับการเลื่อนการจัดการแข่งขันกีฬา ธุรกิจบริการกีฬาและธุรกิจวิทยาศาสตร์การกีฬา ต้องปรับ แผนการตลาดเพื่อหารายรับให้เพียงพอกับต้นทุนการดําเนินธุรกิจ เนื่องจากเป็นสถานที่กลุ่มเสี่ยงที่อยู่ในคําสั่ง ปิดสถานที่เป็นการชั่วคราวจากสถานการณ์ COVID - 19 ธุรกิจผลิ ตภัณฑ์กีฬา/อาหารและยา ต้องปรับแผน การตลาดและปรับเปลี่ยนวิธีการจําหน่ายสินค้าโดยเน้นการจําหน่ายสินค้าในระบบออนไลน์มากขึ้น และธุรกิจ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 58 - ท่องเที่ยวเชิงกีฬา ได้แก่ โรงแรม ที่พัก ร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยว ร้านขายสินค้าและของที่ระลึก ต้อง ปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์ กร หรื อลดจํานวนพนักงานเนื่องจากถูกยกเลิกการจองที่พักและขาดรายได้ จากการแพร่ระบาดของ COVID - 19 ในประเทศไทย รัฐบาลจึงมี มาตรการการรักษาระยะห่าง ทางสังคม ( Social distancing) เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของ COVID - 19 ในวงกว้าง ซึ่งได้ส่ง ผลกระทบ ต่อวงการกีฬาไทย ดังนี้ 1 ) การจัดการแข่งขันกีฬารายการต่าง ๆ ทั้ งในระดับประเทศและนานาชาติ ต้องยกเลิกการแข่งขัน/เลื่อนการแข่งขัน หรือเปลี่ยนเป็นการแข่งขันแบบปิดแทน 2 ) การดําเนินกิจกรรม/ การบริหารงานภายในหน่วยงาน/องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการกีฬาเกิดการเปลี่ยนแปลง และ 3 ) งดกิจกรรมและ ปิดสถานที่ซึ่งมีโอกาสเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของ COVID - 19 เช่น สถานที่ออกกําลังกาย ฟิตเนส สระว่ายน้ํา สาธารณะ สถานที่ฝึกสอนกีฬา รวมทั้งสถานที่จัดประชุม ศูนย์ประชุมต่าง ๆ เป็นต้น 4 ) มาตรการควบคุม กิจกรรมเสี่ยงและจํากัดเวลาเปิดปิดสถานที่ 5 ) มาตรการกักกันตัวผู้ที่เดินทางมาจากนอกพื้นที่ 6 ) มาตรการ ผ่อนปรนกิจการและกิจกรรมด้านการกีฬา อย่างไรก็ตาม จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID - 19 ในประเทศไทย ประเทศไทยได้มี กา รจัดการแข่งขันแบดมินตันครั้งประวัติศาสตร์ โดยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน 3 รายการใหญ่ระดับโลก 24 ณ อิมแพค อารีน่า เมืองทองธานี ซึ่ง ประกอบด้วย รายการ Asia Open I ( Super 1000 ) วันที่ 12 - 17 เดือนมกราคม 2564 Asia Open II – ( Super 1000 ) วันที่ 19 – 24 มกราคม 2564 และ HSBC BWF World Tour Final 2020 ในวั นที ่ 27 – 3 1 มกราคม 2564 ซึ ่ งดําเนิ นการในรู ปแบบ Bubble Quarantine 25 ตามมาตรการการป้องกั นการแพร่ระบาดโดยกระทรวงสาธารณสุข ของ ประเทศไทย อย่างเข้มงวด ภายใต้มาตรการในรูปแบบ New Normal โดยไม่อนุญาตให้แฟนแบดมินตันและผู้ ที่ ไม่มี ส่วนเกี่ยวข้องเข้าไปในสนามโดยเด็ดขาด โดย การจัดการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการจัดการแข่งขันแบดมินตัน ในระดับโลกที่มีความสําคัญสูง ซึ่งจะเป็ นประโยชน์ยิ่งต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศและยังช่วยพัฒนา วงการกีฬาของประเทศไทย นํา รายได้มาสู่ประเทศไทย ส่งเสริมการท่องเที่ยว สร้างความเชื่อมั่นถึงศักยภาพ ด้านสาธารณสุขของประเทศไทยในการควบคุม กํากับดูแล และบริหารจัดการการแพร่ระบาดของ COVID - 19 ตลอดจนเป็นกา รประชาสัมพันธ์ สร้างชื่ อเสียง และภาพลักษณ์ที่ ดีของประเทศไทยสู่ สายตาชาวโลก ผ่านการถ่ายทอดสดการแข่งขันแพร่ภาพทั่วโลก ซึ่งมีผู้ชมมากกว่า 1 , 000 ล้านครัวเรือน อันเป็นการเพิ่มมูลค่า ทางเศรษฐกิจให้แก่ ประเทศไทยในระยะยาว และเ ป็ น ต้นแบบให้กีฬาอื่น ๆ ต่อไ ป โดย ประเทศไทยมี การกําหนด มาตรการในการคัดกรองอย่างเข้มงวดตลอดช่วงการดําเนินการ มีขั้นตอนและระเบียบปฏิบัติ ดังนี้ 24 https://www.thairath.co.th/sport/others/ 1937730 25 https://thestandard.co/ioc - president - requested - bubble - badminton - tournament/
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 59 - 1 ) นักกีฬาแบดมินตันต่างชาติ 22 ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขันหลังเดินทางถึงประเทศไทยต้อง เข้ารับการกักตัวอยู่ใน Bubble Quarantine ทันที 2 ) นักกีฬาและเจ้าหน้าที่ ทุกคนก่อนออกเดินทางต้องมีเอกสารฟิตทูฟลาย ( Fit To Fly ) ออกโดยแพทย์ตรวจหา COVID - 19 ล่วงหน้า 72 ชั่วโมงก่อนเดินทาง 3 ) นักกีฬาที่แพทย์ได้ยืนยันว่าไม่มีเชื้อ จึ งจะเดินทางออกมาและเข้าประเทศไทยได้ ทุกคนต้อง เข้าอยู่ในสถาน ที่กักตัวตั้งแต่วันที่ 4 - 31 มกราคม 2564 ห้ามออกก่อนครบกําหนด 14 วัน 4 ) นักกีฬาเดินทางมาถึงประเทศไทยต้องได้รับการตรวจเชื้อทันที และถูกกักตัวในห้องพัก และ ไม่ อ นุญาตให้เปลี่ยนห้องพักจากที่จัดเตรียมไว้ให้ 5 ) นักกีฬาที่ผล ตรวจ เป็นลบสามารถออกมาฝึกซ้อมและเตรียมร่างกายได้ตั้งแต่วันที่ 6 มกราคม 2564 หลังจากนั้นจะมีการตรวจหาเชื้ออย่างต่อเนื่องและถี่มาก ตั้งแต่ก่อน ระหว่าง และ หลังการกักตัว โดย ตรวจหาเชื้อไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ 2 ครั้ง 6 ) นักกีฬาทุกคนต้องรับประทานอาหารกล่องคนเดียวในห้องพักเดี่ยว 7 ) นักกีฬาจะมีการแบ่งแยกประเทศ ทั้งในเชิงกายภาพและตารางเวลาซ้อม ห้ามแต่ละประเทศ พบกัน นักกีฬาจากประเทศต่าง ๆ จะพบกันขณะแข่งขันเท่านั้น 8 ) ด้านการแข่งขันมีการลดสนามเหลือเพียง 3 สนาม เพื่อเว้นระยะห่าง และการรับลูกขนไก่ เปลี่ยนจากรับจากมือผู้ตัดสินเป็นรับจากเครื่อง 9 ) นักกีฬาเมื่อกักตัวครบ 14 วันในบับเบิลแล้วยังไม่สามารถออกจากบับเบิลได้ จนกว่าจะถึง วันสุดท้าย ของรายการแข่งขันที่ 3 10 ) นักกีฬา ที่ ตกรอบหากมีความประสงค์จะออกจากบับเบิลต้องรอจนพ้น 14 วัน และ ไม่สามารถเข้ามาในบับเบิลได้อีก รวมทั้งห้ามผู้ที่อยู่ภายนอกบับเบิลเข้าโดยเด็ดขาด 11 ) หากมีการกระทําผิดมาตรการแม้เพียงข้อเดียวจะหมดสิทธิ์แข่งขัน และต้องถูกตรวจเชื้อ อีกครั้งก่อนถูกส่งตัวกลับ ไปประเทศของ ตน 3 . ผลการพัฒนาการกีฬาในระยะที่ผ่านมา การพั ฒนาการกี ฬาของประเทศตั ้ งแต่ แผนพั ฒนาการกี ฬาแห่ งชาติ ฉบั บที ่ 1 (พ.ศ. 2531 - 2539 ) ถึง แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 256 0 - 256 5 ) ได้ให้ความสําคัญ กั บเป้ำหมายเพื ่ อให้ คนไทยได้ รั บการส่ งเสริ มให้ ออกกําลั งกายและเล่ นกี ฬาจนเป็ นวิ ถี ชี วิต มีสุขภาพที่ดี มีน้ําใจนักกีฬา และ เพื่อพัฒนานักกีฬาของชาติให้ประสบความสําเร็จในการแข่งขันระดับต่าง ๆ สร้างความภาคภูมิใจและความสามัคคีของคนในชาติ และเพื่ อยกระดั บการบริหารจัดการกีฬาทุกมิติ อย่างเป็นระบบตามหลักธรรมาภิบาล ให้เกิดการสร้างรายได้ สร้างอาชีพ และพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 60 - โดยในช่วงกำรดําเนินงาน ของ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 - 256 5 ) ประชาชนทุกภาคส่วนมีความสนใจในการออกกําลังกายและเล่นกีฬา และอุตสาหกรรมการกีฬาสามารถ ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจของประเทศ แต่ ประเทศไทยยังไม่ประสบความสําเร็จในการแข่งกีฬา ทั้งในระดับภูมิภาค ระดับทวีป และระดับโลก ได้ตามเป้าหมาย โดยในการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 29 (ปี 2560 ) ได้อันดับที่ 2 และ ครั้งที่ 30 (ปี 2562 ) ได้อันดับที่ 3 จากเป้าหมายที่ต้องได้อันดับที่ 1 การแข่งขันอาเซียน พาราเกมส์ ครั้งที่ 9 (ปี 2560 ) ได้อันดับที่ 3 จากเป้าหมายที่ต้องได้อันดับที่ 1 การแข่งขันเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 18 (ปี 2561 ) ได้อันดับที่ 12 จากเป้าหมายที่ต้องได้อันดับที่ 6 การแข่งขันเอเชียนพาราเกมส์ ครั้งที่ 2 (ปี 2561 ) ได้อันดับที่ 7 จากเป้าหมายที่ต้องได้อันดับที่ 6 และ การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกเกมส์ ครั้งที่ 32 (ปี 2564) ได้อันดับที่ 12 ของเอเชีย จากเป้าหมายที่ต้องได้ไม่ต่ํากว่ำอันดับที่ 7 ของเอเชีย ทั้ งนี้ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 256 0 - 256 5 ) ได้กําหนดประเด็น ยุทธศาสตร์ ไว้ 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1 ) การส่งเสริมให้เกิดความรู้และความตระหนักด้านการออกกําลังกาย และการกีฬาขั้นพื้นฐาน 2 ) การส่งเสริมให้มวลชนมีการออกกําลังกายและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการกีฬา 3 ) การพัฒนากีฬาเพื่อความเป็นเลิศและต่อยอดเพื่อความสําเร็จในระดับอาชีพ 4 ) การพัฒนาอุตสาหกรรม การกีฬาเพื่อเป็นส่วนสําคัญในการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ 5 ) การพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรม ที่เกี่ ยวข้องกับการกีฬา และ 6 ) การยกระดับการบริหารจัดการด้านการกีฬาให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งผล การดําเนินงานตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 256 0 - 256 5 ) ตามประเด็นยุทธศาสตร์ มีรายละเอียด ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมให้เกิดความรู้และความตระหนักด้านการออกกําลังกายและ การกีฬาขั้นพื้นฐาน ยังไม่ เป็น ไปตาม เป้าหมาย เนื่องจากการ ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการออกก ํา ลังกายและ การกีฬาขั้ นพื้ นฐานในสถานศึกษา ยังไม่เป็นระบบและเป็นมาตรฐานเดียวกัน การ พัฒนาคุณภาพของ ครูพลศึกษาให้มีมาตรฐาน และการจัดสรร ให้มีการบรรจุครูพลศึกษาในสถานศึกษา ทั่วประเทศ ยังไม่ ถูกกําหนด เป็นนโยบายและยังไม่ได้ดําเนินการให้ประสบความสําเร็จได้ การจัดกิจกรรมการให้ความรู้และส่งเสริม การออก กํา ลังกายและการเล่นกีฬา ในสถานศึกษาและ นอกสถานศึกษา ยังไม่เกิดขึ้ นอย่าง เป็นรูปธรรม ยังไม่เกิดการมีส่วนร่วมของสถาบันครอบครัวและชุมชนในการส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาในสถานศึกษา ระบบการศึกษาไทย มี การเรียนการสอน ที่ ยังไม่ได้ ให้ความ สําคัญกับการ ส่งเสริมการออกก ํา ลังกายและ การเล่น กีฬาในสถานศึกษา เท่าที่ ควร ส่งผลให้ เด็กและเยาวชนขาดความตระหนัก ทักษะ และความรู้ ในการออกก ํา ลังกายและการ เล่น กีฬาอย่างถูกต้อง รวมทั้งขาด ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ สําหรับ การวางแผน และการบริหารจัดการในการส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและ การ กีฬาขั้นพื้นฐานอย่างมีประสิทธิภาพ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 61 - ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมให้มวลชนมีการออกกําลังกายและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการกีฬา การขับเคลื่อนยังไม่ประสบความสําเร็จ ไม่มีการกําหนดแนวทางการ พัฒนาสถาน ที่ ออก กํา ลังกายและ เล่นกีฬา รวมทั้ง การ จัดหาอุปกรณ์กีฬา ที่เกี่ยวข้อง อย่าง เพียงพอและเหมาะสม เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึง การออกกําลังกายและเล่นกีฬาทุกพื้ นที่ ทั่ วประเทศ การ เผยแพร่ความรู้ เพื่อ สร้าง ความตระหนักด้าน การออก กํา ลังกาย การเล่นกีฬา และการดูแลสุขภาพให้กับประชาชน ยังไม่เพียงพอ และยังไม่มีช่องทางเข้าถึง กลุ่มคนรุ่นใหม่ และการสื่อ สารผ่านช่องทางสื่อดิจิทัลและสื่อสังคมออนไลน์เท่าที่ควร การ ส่งเสริม และ พัฒนา อาสาสมัครและ ผู้ นํา การออกก ํา ลังกาย ให้มี ความพร้อมในการช่วยเหลือหรือให้การดูแลการเล่นกีฬาและ การออก กํา ลังกายของชุมชนท้องถิ่น ยังไม่ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศและยังไม่สามารถทําหน้าที่ได้อย่างมี ประสิทธิภาพและเป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้ง การจัดกิจกรรมการออก กํา ลังกายและเล่นกีฬา ยังขาด ความต่อเนื่องใน ระดับท้องถิ่น ระดับจังหวัด ระดับภูมิภาค และระดับชาติ และยังไม่มีความร่วมมือกับ หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเป็นรูปธรรม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนากีฬาเพื่อความเป็นเลิศและต่อยอดเพื่อความสําเร็จในระดับอาชีพ ระบบการค้นหาและการพัฒนานักกีฬาอย่างต่อเนื่อง เพื่อขยายฐานนักกีฬาที่จะก้าวขึ้นเป็นนักกีฬาเพื่อ ความเป็นเลิศและต่อยอดสู่ระดับอาชีพ ยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ จึงทําให้อัตราการเพิ่มขึ้นของนักกีฬา สมัครเล่นไม่เป็นไปตามเป้าหมาย รวมทั้ง นักกีฬาอาชีพ ยังไม่ให้ความสําคัญกับการจดแจ้งและขึ้นทะเบียน ตาม พระราชบัญญัติส่ งเสริมกีฬาอาชีพ ซึ่งส่งผล ให้กีฬาอาชีพ ยัง ไม่ประสบ ความสําเร็จเท่าที่ควร การจัดตั้ง ศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติ ( NTC ) ยังไม่ประสบความสําเร็จและอยู่ในระหว่างการดําเนินการ แต่ มี ศูนย์ฝึกกีฬา แห่งชาติในส่วนภูมิภาค จํานวน 5 แห่ง โดย มี 10 ชนิดกีฬาที่ได้รับการพัฒนามาตรฐานการเก็บตัวฝึกซ้อม แข่งขันในรูปแบบศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติ แต่อย่างไรก็ตาม ยัง ขาดศูนย์ฝึกกีฬาส ํา หรับนักกีฬาทีมชาติ ที่ ได้มาตรฐานในระดับจังหวัด ทั้ งนี้ มีการพัฒนา บุคลากรการกีฬา (ผู้ ฝึกสอน ผู้ ตัดสิน และผู้ บริหาร การกีฬา) ที่ได้มาตรฐาน แต่ ยัง มีจํานวนไม่เพียงพอ ต่อการ รองรับการพัฒนา กีฬาเพื่อความเป็นเลิศ และ กีฬาอาชีพ นักกีฬาและบุคลากรการกีฬามีความพึงพอใจในคุณภาพชีวิต และสวัสดิการที่ได้รับจากความสําเร็จ ใ น การแข่งขันกีฬา มีความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการจัดการแข่งขันกีฬาระดับ อาชีพ และ ประเทศไทยมีศักยภาพในการจัดการแข่งขันกีฬาอาชีพระดับนานาชาติ ส่งผลให้ เกิด มูลค่าทางเศรษฐกิจ จาก การจัด การแข่งขันกีฬาอาชีพ บรรลุตามเป้าหมายที่กําหนด
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 62 - ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬาเพื่อเป็นส่วนสําคัญในการสร้างมูลค่าเพิ่ม ทางเศรษฐกิจ มูลค่า อุตสาหกรรมการกีฬามีอัตราการเติบโต เป็นไปตามที่กําหนด โดย สัดส่วน ของมูลค่า 4 อันดับแรก มาจากธุรกิจผลิตและจําหน่ายเครื่องดื่ม กีฬา ธุรกิจผลิตชุดและอุปกรณ์กีฬา ธุรกิจการดําเนิน การ ให้เช่าสถานที่และอุปกรณ์กีฬา และธุรกิจการขายปลีกสินค้าเกี่ยวกับกีฬา โดย จํานวนผู้ประกอบการที่เกี่ยวกับ ธุรกิจการกีฬา ในภาพรวม มีอัตราการเพิ่มขึ้น ในสถานการณ์ปกติ แต่มีแนวโน้มลดลงเนื่องจาก ได้รับผลกระทบ จากการแพร่ระบาด ของ COVID - 19 การส่งออกทางการกีฬาโดยรวม มีมูลค่าลดลง การลงทุนจากภาคเอกชน ในอุตสาหกรรมการกีฬามีอัตราการเติบโตลดลง ตลอดจน ยังไม่เกิด การร่วมมือกับส่วนราชการและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการประกอบธุรกิจการกีฬา มีการจัดตั้งเมืองกีฬาได้สําเร็จ แต่ขาดการส่งเสริมและ พัฒนาเมืองกีฬาให้มีความยั่งยืนและเป็นเมืองกีฬาที่แท้จริง ตลอดจนขาด ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ในการจัดเก็บข้อมูล กิจกรรม การ กีฬา เชิงท่องเที่ยว รวมทั้งกิจกรรมกีฬาและการแข่งขันกีฬาภายในประเทศ ซึ่งส่งผลให้ไม่สามารถประเมินมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจที่เกิดจากการกีฬาได้อย่างแท้จริง ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา การ เผยแพร่ องค์ความรู้ ด้านการกีฬา ยังไม่ทั่ วถึง ยังไม่มีการประยุกต์ใช้ องค์ความรู้ ด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการกีฬา เพื่ อ นํา ไปพัฒนาขีดความสามารถของนักกีฬาและ สุขภาพของประชาชน มีศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬา ในระดับจังหวัดที่ช่วยเสริมสร้างสุขภาพที่แข็งแรงของประชาชนและเสริมสร้าง ศักยภาพ ของ นักกีฬา แต่ บุคลากรด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา ยังมีไม่เพียงพอและ มี มาตรฐานเดียวกัน รวมทั้ง ยังไม่มีการรับรองมาตรฐานอย่างเป็นรูปธรรม นอกจากนี้การ ส่งเสริมการค้น คว้าและวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการกีฬา ที่ มุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรมเพื่อการกีฬา ยังมีไม่เพียงพอ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การยกระดับการบริหารจัดการด้านการกีฬาให้มีประสิทธิภาพ มีการจัดตั้ง คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติที่ มีบทบาทในการกําหนดนโยบาย กํากับดูแล และตรวจสอบ การดําเนินงานด้านการกีฬาของประเทศ มีการกําหนด หน่วยงานของรัฐซึ่งมีหน้าที่ดําเนินงานตามภารกิจ ที่กําหนดไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ แต่ ยังขาด การบูรณาการและความร่วมมือระหว่ำงองค์กรกีฬา ทั้งภาครัฐและ ภาค เอกชนในทุกระดับ ยังไม่สามารถผลักดันให้มี แผนพัฒนาการกีฬาจังหวัด ใน ทุกจังหวัด ได้ ตลอดจน ยัง ขาด ระบบ ฐานข้อมูลกลางที่สามารถเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาการกีฬา ทําให้ การวางแผนและการบริหารจัดการ ด้านการกีฬายังไม่ มีประสิทธิภาพ เท่าที่ควร และยังไม่มีองค์กรกลางที่มีความเป็นอิสระในการ พิจารณาข้อพิพาทที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา และ การบริหาร จัดการกีฬา บนพื้นฐานของธรรมาภิบาล
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 63 - 4 . นโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการกีฬาของประเทศ 4 . 1 ยุทธศาสตร์ชาติ 2 0 ปี (พ.ศ. 2561 - 258 0 ) เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศ ในระยะ 2 0 ปี ประกอบด้วย 6 ด้าน โดยด้านที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการกีฬาของประเทศ คือ ด้านที่ 3 ด้าน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ประกอบด้วยประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 7 ประเด็น ซึ่งประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการกีฬา คือ ประเด็นที่ 7 การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้าง คุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ ประเด็นการเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ มุ่ งส่งเสริมการใช้กิจกรรม กีฬา และ นันทนาการ เป็น เครื่ องมือในการเสริมสร้างสุขภาวะของประชาชน อย่างครบวงจรและมีคุณภาพมาตรฐาน การสร้างนิสัยรักกีฬาและมีน้ําใจเป็นนักกีฬา และการใช้กีฬาและ นันทนาการในการพัฒนาจิตใจ สร้างความสามัคคีของคนในชาติ หล่อหลอมการเป็นพลเมืองดี พัฒนาคุณภาพ ชีวิต รวมทั้งการพัฒนาทักษะด้านกีฬาสู่ ความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพในระดับนานาชาติในการสร้าง ชื่อเสียงและเกียรติภูมิของประเทศชาติเพื่อรองรับอุตสาหกรรม การ กีฬา ประกอบด้วย 4 การพัฒนา คือ 1 ) การส่งเสริมการออกกําลังกาย และกีฬาขั้นพื้นฐานให้กลายเป็นวิถีชีวิต 2 ) การส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในกิจ กรรมออกกําลังกาย กีฬาและนันทนาการ 3 ) การส่งเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสู่ระดับอาชีพ และ 4 ) การพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬาและนันทนาการเพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรม การ กีฬา 4 . 2 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 256 0 ได้บัญญัติเรื่องของกีฬาไว้ อย่างชัดเจนในมาตราที่ 71 คือ “รัฐพึงเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวอันเป็นองค์ประกอบพื้นฐาน ที่สําคัญของสังคม จัดให้ประชาชนมีที่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม ส่งเสริมและพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อ ให้ประชาชนมีสุขภาพที่แข็งแรงและจิตใจเ ข้มแข็ง รวมตลอดทั้งส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาให้ไปสู่ความเป็นเลิศ และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน”
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 64 - 4 . 3 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนสําคัญในการถ่ายทอดเป้าหมายและประเด็น ยุทธศาสตร์ของยุทธศาสตร์ชาติลงสู่แผนระดับต่าง ๆ ประกอบด้วย 23 ประเด็น โดยประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาการกีฬา คือ ประเด็น ที่ 14 ศักยภาพการกีฬา มีเป้าหมายและตัวชี้วัด ดังนี้ เป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ปี 2561 - 2565 ปี 2566 - 257 0 ปี 2571 - 2575 ปี 2576 - 258 0 ค น ไ ท ย ม ี ส ุ ข ภำ พ ดีขึ้ น มีน้ําใจนักกีฬา และมีวินัย เคารพกฎ กติกามากขึ้นด้วยกีฬา อายุคาดเฉลี่ยของ การมี สุ ขภาพดี เพิ่ มขึ้ นต่อเนื่ อง (อายุเฉลี่ย) ไม่น้อยกว่า 68 ปี ไม่น้อยกว่า 7 0 ปี ไม่น้อยกว่า 72 ปี ไม่น้อยกว่า 75 ปี แผนแม่ บทประเด็ นศั กยภาพการกี ฬา ประกอบด้ วย 3 แผนย่ อย คื อ 1 ) การส่ งเสริม การออกกําลังกาย และกีฬาขั้นพื้นฐานให้กลายเป็นวิถีชีวิตและการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรม ออกกําลังกาย กีฬาและนันทนาการ 2 ) การส่งเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสู่ระดับอาชีพ และ 3 ) บุคลากรด้าน การกีฬาและนันทนาการ 4 . 4 แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ อันเป็นผลมาจากสถานการณ์ โควิด - 19 พ.ศ. 2564 - 2565 สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้จัดทําขึ้นในช่วงเวลาการ พัฒนาประเทศท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID - 19 โดยมีแนวคิด “ ล้มแล้วลุกไว ” ประกอบด้วย 3 แนวคิด คือ 1 ) การพร้อมรับ ( Cope) 2 ) การปรับตัว ( Adapt) และ 3 ) การเปลี่ยนแปลงเพื่อ พร้อมเติบโตอย่างยั่งยืน ( Transform) มีเป้าหมายสําคัญ คือ “ คนสามารถยังชีพอยู่ได้ มีงานทํา กลุ่มเปราะบาง ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง สร้างอาชีพและกระจายราย ได้สู่ท้องถิ่น เศรษฐกิจประเทศฟื้นตัวเข้าสู่ภาวะปกติ และ มี การวางรากฐานเพื่ อรองรั บการปรั บโครงสร้ำงเศรษฐกิ จใหม่ ” มี ประเด็ นพั ฒนา 4 ประการ คือ 1 ) การเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากภายในประเทศ ( Local Economy) 2 ) การยกระดับ ขีดความสามารถของประเทศเพื่อรอ งรับการเติบโตอย่างยั่งยืนในระยะยาว ( Future Growth) 3 ) การพัฒนา ศักยภาพและคุณภาพชีวิตของคนให้เป็นกําลังหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ( Human Capital) และ 4 ) การปรับปรุงและพัฒนาปัจจัยพื้นฐานเพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูและพัฒนาประเทศ ( Enabling Factors) โดยประเด็นที่ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการกีฬา คือ ประเด็นพัฒนาที่ 3 การพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิต ของคนให้เป็นกําลังหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ( Human Capital) มีเป้าหมายและตัวชี้วัด ดังนี้
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 65 - เป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย 2564 2565 คนสามารถยั งชี พอยู ่ ได้ มี งานทํา กลุ ่ มเปราะบาง ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง อัตราความรอบรู้ด้านสุขภาวะ ของประชาชน ร้อยละ 67 ของคะแนนเต็ม ร้อยละ 7 0 ของคะแนนเต็ม การพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตของคนให้เป็นกําลังหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ( Human Capital) ประกอบด้ วยการยกระดั บทั กษะ ( Upskill) ปรั บทั กษะ ( Reskill) และการส่ งเสริม การเรียนรู้ ร่วมกับการขยายและพัฒนาระบบประกันสังคม เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากรทุก สา ขาอาชีพและทุ กช่วงวัย ตลอดจนการส่งเสริมความมั่ นคงทางสุขภาพ เพื่ อให้คนเป็นกําลั งหลัก ในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศได้อย่างยั่งยืน 4 . 5 แผนปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) กิจกรรมปฏิ รู ปประเทศจะส่ งผลให้ เกิ ด การเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสําคัญ ( big Rock) นําไปสู่การปฏิบัติตามหลักความสัมพันธ์เชิงเหตุ และผลเพื่อให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติของแต่ละช่วงเวลา 5 ปี โดยแผนการปฏิรูป ประเทศ ประกอบด้วย 13 ด้าน ซึ่ง ด้านที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนากีฬาในประเท ศจะอยู่ในแผนการปฏิรูป ประเทศด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดย มี กิจกรรมที่ เกี่ ยวข้องกับ การพัฒนาการกีฬา คือ โครงการส่งเสริมประชาชนเป็นศูนย์กลางในการสร้างวิถีชีวิตทางการกีฬาอย่างทั่วถึง และเท่าเทียม และการสร้างโอกาสทางการกีฬาและการพัฒนานัก กีฬาอาชีพ มีเป้าหมายและตัวชี้วัด ดังนี้ เป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ประชาชนออกกําลังกายและเล่น กีฬาอย่างสม่ําเสมอ บนพื้นฐาน การมี ความรอบรู ้ ด้ำนสุขภาพ เพื่อพัฒนาสุขภาพของตนเองให้ แข็ งแรง และเป็ นฐานในการ พัฒนานักกีฬาของชาติ อัตราประชากรที่ มีการออกกําลังกาย เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5 อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี (อายุเฉลี่ย) เพิ่มขึ้น นักกีฬาหน้าใหม่ที่มีความสามารถมีอัตรา การได้รับคัดเลือกเข้าสู่การเป็นนักกีฬา ระดับชาติเพิ่มขึ้น (ตัวแทนทีมชาติไทย) ในปี 2565 มีเป้าหมาย เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จากปีฐาน และในปี 2565 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 จากปีฐาน ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการปฏิรูป ได้แก่ 1 ) ส่งเสริมการออกกําลังกายและเล่นกีฬาใน ชุมชนเมืองและท้องถิ่น ในพื้นที่นําร่องในเมืองและ 37 จังหวัดนําร่องที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกเมืองกีฬา ( Sports City) 2 ) ปฏิรูปการทํางานด้านความรอบรู้ด้านสุขภาพแบบองค์รวม ในลักษณะองค์กรเสมือนจริง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 66 - ( Virtual organization) และหรือให้มีสถาบันความรอบรู้ไทยเพื่อดําเนินการควบคู่ไปโดยต้องไม่มีการเสนอ กฎหมายและงบประมาณประจําปี 3 ) สร้างโอกาสทางการกีฬาและพัฒนานักกีฬา 4 ) ปรับระเบียบ กระทรวง มหาดไทยว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายด้านกีฬา ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สอดคล้องกับ กิจกรรมด้านกีฬาที่ต้องดําเนินงานให้ได้ในปีงบประมาณ 2564 และ 5 ) พัฒนาศูนย์พัฒนานักกีฬาและ วิทยาศาสตร์การกีฬาเพื่อความเป็นเลิศทางการกีฬาของอาเซียน ( ASEAN Center for Sport Exce llence) และศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาแห่งชาติและภูมิภาค ( TISS: Thailand Institute of Sport Science หรือ Regional Institute of Sport Science) โดยบูรณาการกับสถานศึกษาที่มีอยู่แล้วเป็นลําดับแรก 4. 6 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติ ฉบับ ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ในยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ โดย ด้าน กีฬา ขั้น พื้ นฐานจะเกี่ ยวข้องกับเป้าหมายที่ 4 คนไทยมีสุขภาวะที่ ดีขึ้ น โดยมีการวัดผล คือ ประชาชนเล่นกีฬาและเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการเพิ่มขึ้น และ ในยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความ เข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน โดยพัฒนาอุตสาหกรรม การ กีฬาอย่างครบวงจร โดย ส่งเสริมกิจกรรมกีฬาเพื่อสร้างรายได้ รวมทั้งสนับสนุนการจัดมหกรรมกีฬานานาชาติ การเป็นเจ้าภ ำพ งานกีฬาระดับโลก และการจัดงานประชุมวิชาการนานาชาติทางด้านกีฬา เวชศาสตร์การกีฬา และ วิทยาศาสตร์การกีฬา การส่งเสริมธุรกิจและผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับการกีฬาทั้งในอุตสาหกรรม การ กีฬาและธุรกิจบริการที่เชื่อมโยงกับการกีฬา อาทิ ธุรกิจอุปกรณ์กีฬา ธุรกิจสถานที่การแข่ งขันกีฬา และธุรกิจการฝึกสอนนักกีฬา รวมถึงส่งเสริมกิจกรรมด้านการตลาดและการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างการ รับรู้ ให้ประชาชนตระหนั กถึ งความสําคั ญของการกี ฬาและกระตุ้ นให้ เกิ ดกิ จกรรมการกี ฬาและ นันทนาการมากขึ้น และ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 256 6 - 2570) มีหมุดหมายที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ หมุดหมายที่ 2 ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณภาพและความยั่งยืน โดย มี เป้าหมายที่ 1 การปรับโครงสร้างภาคการผลิตและบริการสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรม โดยยกระดับให้ ภาคการท่องเที่ยวมีขีดความสามารถในการแข่งขันที่สูงขึ้น และส่งเสริมให้ผู้ประกอบการรายย่อยและ ชุมชนสามารถเชื่อมโยงกับห่วงโซ่มูลค่าได้ เป้าหมายที่ 2 การพัฒนาคนส ํา หรับโลกยุคใหม่ เป้าหมายที่ 3 การมุ่งสู่สังคมแห่งโอกาสและความเป็นธรรม และ เป้าหมายที่ 4 การเปลี่ยนผ่านการผลิตและบริโภค ไปสู่ความยั่งยืน โดยให้ความส ํา คัญกับการบริหารจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน โดย การพัฒนานี้เกี่ยวข้องกับธุรกิจและอุตสาหกรรมการกีฬาจะอยู่ในกลุ่มการพัฒนาเศรษฐกิ จมูลค่าสูง ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ให้การท่องเที่ยวไทยมีจุดเด่นด้านการท่องเที่ยวรูปแบบเฉพาะ เช่น การกีฬา เชิงท่องเที่ยว หมุดหมายที่ 4 ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง โดยมี เป้าหมายที่ 1 ไทยมี ศั กยภาพในการสร้างมู ลค่ำทางเศรษฐกิ จจากสินค้ำและบริการสุขภาพ และ เป้ำหมายที่ 2 องค์ความรู้ด้านการแพทย์และสาธารณสุขมีศักยภาพ เอื้อต่อการสร้างมูลค่าเพิ่มในสินค้าและบริการทาง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 67 - สุขภาพ กลยุทธ์ที่ 2 การผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพร ะดับโลก โดย พัฒนาบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพรูปแบบใหม่ที่น ํา ไปสู่การสร้างสังคมสูงวัยที่มีสุขภาวะ โดยส่งเสริมการ สร้างพื้นที่ชุมชนดิจิทัลเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะบนฐานนวัตกรรมบริการและผลิตภัณฑ์ที่เอื้อต่อรูปแบบ วิถีชีวิตปกติใหม่ อาทิ การให้ค ํา ปรึกษาทางไกลด้านสุขภา พ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตอย่าง เหมาะสมโดยการใช้อาหารบ ํา บัดและการบ ํา บัดทางจิตด้วยการท ํา สมาธิ รวมทั้งการศึกษาพฤติกรรม ผู้บริโภคในแต่ละช่วงวัยหรือเชื้อชาติเพื่อน ํา มาวิเคราะห์แรงจูงใจในการใช้บริการ ตลอดจนพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานให้เป็นอารยสถาปัตย์ เพื่อรองรับ การบริการส่งเสริมสุขภาพในระยะยาว การพัฒนาที่อยู่อาศัย ส ํา หรับชุมชนสูงวัย การพัฒนาพื้นที่ด้านกีฬาและการออกก ํา ลังกาย เพื่อดึงดูดกลุ่มผู้ใช้บริการให้สามารถรับ บริการส่งเสริมสุขภาพได้ยาวนานขึ้น อาทิ กลุ่มผู้สูงอายุที่มีพฤฒิพลัง กลุ่มนักท่องเที่ยวแบบเที่ยวไปท ํา งานไป หมุดหมายที่ 7 ไทยมีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่เข้มแข็ง โดยมี เป้าหมายที่ 1 วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมมีสภาพแวดล้อมที่เอื้ออ ํา นวยต่อการเติบโตและแข่งขันได้ มีศักยภาพ สูงและสามารถแข่งขันได้ และ เป้าหมายที่ 2 วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม มีศักยภาพสูงในการ ด ํา เนินธุรกิจ สามารถยกระดับและปรับตัวเข้าสู่การแข่งขันใ หม่ โดยการพัฒนานี้เกี่ยวข้องกับธุรกิจและ อุตสาหกรรมการกีฬา ที่มี ภาคการผลิตและบริการส ํา คัญได้รับการยกระดับให้มีขีดความสามารถในการ แข่งขันที่สูงขึ้น เศรษฐกิจท้องถิ่ นและผู้ประกอบการรายย่อยสามารถเชื่อมโยงกับห่วงโซ่มูลค่า และไทยมี ระบบนิเวศที่สนับสนุนการค้าการลงทุนและการพัฒนานวัตกรรมผ่านการสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมการกีฬาได้ หมุดหมายที่ 8 ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะที่น่ำอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน เป้าหมายที่ 3 การพัฒนาเมืองให้มีความน่าอยู่ อย่างยั่งยืน มีความพร้อมในการรับมือและปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงทุกรูปแบบ เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มมีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างทั่วถึง และเพื่อให้เกิดการ จัดสรรพื้นที่สาธารณะให้ประชาชนไ ด้ดําเนินกิจกรรม ออกกําลังกาย และเล่นกีฬาร่วมกัน หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกําลังคนสมรรนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การ พัฒนาแห่งอนาคต เป้าหมายที่ 1 คนไทยได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพในทุกช่วงวัย มีสมรรถนะที่ จําเป็นสําหรับโลกยุคใหม่ มีคุณลักษณะตามบรรทัด ฐานที่ดีของสังคม มีคุณธรรม จริยธรรม และมี ภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกโฉมฉับพลันของโลก สามารถดํารงชีวิตร่วมกันในสังคมได้อย่าง สงบสุข 4. 7 ยุทธศาสตร์โอลิมปิกและวาระโอลิมปิก 2020 + 5 เป็นการเปิดความท้าท้ายสู่โอกาสต่าง ๆ มีการขับเคลื่อนวาระโอลิมปิก 2020 + 5 ด้วยคําขวัญ “ เปลี่ยนหรือถูกเปลี่ยน ” ที่ถือเป็นการสร้างแรงบันดาลใจ ของวาระโอลิมปิกในปี 2020 โดยโตเกียวโอลิมปิกปี 2020 ที่จัดขึ้น ณ ประเทศญี่ปุ่น ประสบปัญหามากมาย จากการระบาดของ COVID - 19 จนต้องเลื่อนการแข่งขันมาในปี 2021 ในฐานะองค์กรค่านิยม และได้รับ การเกื้อหนุนจากผลสําเร็จของวาระโอลิมปิกปี 2020 โดยภายใต้ยุทธศาสตร์โอลิมปิกมีจุดยืนที่เป็นเอกลักษณ์ และปรับเปลี่ยนสู่โอกาสต่าง ๆ จึงมีการเสนอวาระโอลิมปิก 2020+5 ประกอบด้วยข้อแนะนํา 15 ประการ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 68 - สําหรับปี 2025 โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อ ธํารงรักษาไว้ซึ่งความเป็นเอกภาพที่เข้มแข็งขึ้น การยกระดับความเป็น ดิจิทัล การเพิ่มพูนความยั่งยืน การสร้างเสริมความน่าเชื่อถือและเป้าหมายที่แข็งแกร่งขึ้นต่อบทบาทของ กีฬาในสังคม ซึ่งข้อแนะนํา 15 ประการประกอบด้วย ดังนี้ ประการ ที่ 1 สร้างเสริมอัต ลักษณ์และความเป็นสากลของโอลิมปิกเกมส์ โดยโอลิมปิก เกมส์ควรได้รับการเข้าถึงจากทุกคนและเชื่อมต่อผู้คนยิ่งกว่าที่เคยเป็นมาในรูปแบบสนามหรือออนไลน์ ภูมิทัศน์ การถ่ายทอดสัญญาณปรับเปลี่ยนตลอดเวลาด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เกิดขึ้นใหม่ สร้างประสบการณ์ โอลิมปิกเกมส์อย่ำงที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ประการที่ 2 บ่มเพาะโอลิมปิกเกมส์ที่ยั่งยืน ความยั่งยืนคือหนึ่งในสามเสาหลักของวาระ โอลิมปิกปี 2020 โดยถูกบรรจุไว้ในข้อแนะนําต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องของการสมัครเป็นเจ้าภาพ มีสาระสําคัญคือ การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ต่อการกําหนดโอลิมปิกเกมส์ในอนาคต ทั้งนี้ Olympic Games Paris 2024 Milano Cortina 2026 และ Los Angeles 2028 คือรุ่ นที่ ตอบรับและสะท้อนแนวยุทธศาสตร์ ใหม่ อย่างแท้จริง โดยไม่มีความต้องการสถานที่แห่งใหม่และการใช้สถานที่ชั่วคราวในการสนับสนุน กีฬาสามารถ จัดขึ้นนอกเมืองเจ้าภาพ (หากเหมาะสม) และนับตั้งแต่การสมัครนั้น โอลิมปิกเกมส์ยึดความยั่งยืนระยะยาว เป็นหลักสําคัญที่สุดรวมถึงมิติเศรษฐกิจ ประการที่ 3 เสริมสร้างสิทธิและความรับ ผิดชอบนักกีฬา การเสริมสร้างความสําคัญของ นักกีฬาปกป้องและสนับสนุนนักกีฬาและผู้ติดตาม และการสร้างความผูกพันต่อนักกีฬาและตัวแทนนักกีฬา โดยตรงด้วยเครื่องมือดิจิทัลและโอกาสส่วนบุคคล รวมทั้งการพัฒนาเครือข่ายระดับโลกที่น่าสนใจของนักกีฬา ที่ครอบคลุม International Fed erations (IFs) National Olympic Committees (NOCs) และสมาคมทวีปต่าง ๆ ประการที่ 4 ดําเนินการดึงดูดนักกีฬาดีสุดอย่างต่อเนื่อง สร้างความผูกพันกับนักกีฬาดีสุด โดยความร่วมมือกับ I F s กลุ่มสโมสรอาชีพ NOCs และตัวแทนผู้เล่น กลุ่มสโมสรกีฬาอาชีพ และผู้จัดรายการ กีฬาต่าง ๆ ประการที่ 5 สร้างเสริมกีฬาปลอดภัยและปกป้องนักกีฬาบริสุทธิ์ให้มากขึ้น นักกีฬา ทุกคนจะได้รับการฝึกซ้อมและแข่งขันภายใต้สภาพแวดล้อมกีฬาที่ปลอดภัย ซึ่งมีความบริสุทธิ์ยุติธรรม เสมอภาคและปลอดภัยจากการคุกคามและการละเมิดทุกรูปแบบ ประการที่ 6 ยกระดับและรณรงค์เส้นทางสู่โอลิมปิกเกมส์ สร้างความเกี่ยวข้องโดยตรง ของโอลิมปิกและเผยแพร่รายการคัดเลือกต่าง ๆ ของโอลิมปิก ประการที่ 7 ประสานความเป็นระบบเดียวกันของปฏิทินกีฬา โดยพิจารณาจํานวน ความถี่และขอบเขตของรายการมหกรรมกีฬาที่เหมาะสมต่อโลกหลัง COVID - 19 ประการที่ 8 เพิ่มพูนความผูกพันรูปแบบดิจิทัลกับมวลชน ใช้ช่องสัญญาณดิจิทัลและ สื่อสังคมโอลิมปิกเพื่อสร้างความผูกพันทั้งในและระหว่างโอลิมปิกเกมส์ เช่น จัดทําเวทีดิจิทัลเน้นบุคคล คือ Olympics.com
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 257 0) - 69 - ประการที่ 9 กระตุ้นการพัฒนากีฬาเสมือนจริงและยกระดับความผูกพันต่อชุมชนวิดีโอ เกม ใช้ประโยชน์จากกระแสนิยมที่เติบโตขึ้นของกีฬาเสมือนจริงเพื่อรณรงค์ยุทธศาสตร์โอลิมปิก การมีส่วนร่วม กีฬา และการเพิ่มพูนความสัมพันธ์โดยตรงต่อเยาวชน ประการที่ 10 สร้ำงเสริมบทบาทกีฬาในฐานะผู้ ขับเคลื่ อนสําคัญของเป้าหมาย การพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ ต่อยอดความสัมพันธ์ที่มีอยู่กับหน่วยงานต่าง ๆ ของสหประชาชาติ เพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงนโยบายสังคมและการจัดสรรทรัพยากรโลก ริเริ่มพัฒนาสังคมด้วยพันธมิตรกีฬา เช่น เป็นพันธมิตรกับธนาคารเพื่อการพัฒนาหรือองค์กรพัฒนาอื่น ๆ ในการเพิ่มพูนการลงทุนต่อสาธารณูปโภค กีฬาและการยกระดับผลกระทบของกีฬาสําหรับการพัฒนาที่ ยั่ งยืน และการเพิ่ มพูนความสัมพันธ์กับ International Paralympic Committee (IPC) สําหรับแผนงานพัฒนาสังคม ประการที่ 11 สร้างเสริมการสนับสนุนต่อผู้ลี้ภัยและผู้พลัดถิ่น ยกระดับความตระหนัก ต่อวิกฤตผู้ลี้ภัยโลกและเพิ่มการเข้าถึงกีฬาแก่ผู้พลัดถิ่น ประการที่ 12 ขยายวงสู่ภายนอกชุมชนโอลิมปิก ขยายวงสู่ชุมชนใหม่ ๆ ด้วยการใช้ ประโยชน์จากพันธมิตรธุร กิจและพันธมิตรกลยุทธ์ รวมถึงการสร้างความผูกพันและสร้างปฏิสัมพันธ์กับกลุ่ม ต่าง ๆ ที่หลากหลายโดยมุ่งเน้นที่ประชากรศาสตร์ ภูมิประเทศและความสนใจ เช่น ชุมชนวัฒนธรรม ชุมชน วิทยาศาสตร์ และชุมชนค่านิยม ประการที่ 13 รักษาความเป็นตัวแบบขององค์กรพลเมืองอย่างต่อเนื่อง เป็นผู้นําด้าน ความยั่งยืน สร้างแรงบันดาลใจและสนับสนุนยุทธศาสตร์โอลิมปิกในการพัฒนากีฬายั่งยืนทั่วโลก และบ่มเพาะ ความเท่าเทียมทางเพศและการให้เข้าร่วม และการสร้างเสริมแนวสิทธิมนุษยชน ประการที่ 14 สร้างเสริมยุทธศาสตร์โอลิมปิกด้วยธรรมาภิบาล อาทิ IOC ดําเนิน การปรับปรุงหลักพื้นฐานสากลธรรมาภิบาลสู่มาตรฐาน มีการบังคับใช้หลักพื้นฐานสากลธรรมาภิบาล ให้เป็นเงื่อนไขสําหรับการรับรองและการให้เข้าร่วมโปรแกรมโอลิมปิกและการให้ความอุปถัมภ์ ประการที่ 15 สร้างสรรค์รูปแบบการจัดหารายได้ เพื่อประกันถึงความคงอยู่ในระยะยาว ของยุท ธศาสตร์โอลิมปิก อาทิ พิจารณาวิธีการถ่ายทอดสัญญาณทางเลือก เช่น รูปแบบดิจิทัลที่ไม่มีค่าใช้จ่าย เพื่อเสริมการแพร่สัญญาณโทรทัศน์แบบไม่มีค่าใช้จ่าย
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 70 - ส่วนที่ 3 : วิสัยทัศน์และเป้าหมายการพัฒนา 1 . วิสัยทัศน์ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2565 - 2570) ได้มีการกําหนดกรอบแนวคิด ให้ ตอบสนองกั บเจตนารมณ์ ตามหลั กการและวิ สั ยทั ศน์ ภายใต้ ยุ ทธศาสตร์ ชาติ ระยะ 20ปี (พ.ศ. 256 1 – 25 80 ) กล่าวคือ ประเทศไทยมีความ “ มั่ นคง มั่ งคั่ ง ยั่ งยืน” โดยยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนา “คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสําหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21” และ มี ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา คือ การเสริมสร้าง ศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ ซึ่งมี ทิศทางการขับเคลื่อนศักยภาพ การ กีฬา ภายใต้แผนแม่บทยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) ที่ มุ่งเน้นการส่งเสริมการใช้กิจกรรมกีฬาและ นันทนาการบนฐานของวิทยาศาสตร์การกีฬา เป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างสุขภาวะของประชาชนอย่าง ครบวงจรและมีคุณภาพมาตรฐาน การสร้างนิสัยรักกีฬาและมีน้ําใจเป็นนักกีฬา และการใช้กีฬาและนันทนาการ ในการพัฒนาจิตใจ สร้างความสามัคคีของค นในชาติ หล่อหลอมการเป็นพลเมืองดี พัฒนาคุณภาพชีวิต รวมทั้ง การพัฒนาทักษะด้านกีฬาสู่ความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพในระดับนานาชาติในการสร้างชื่อเสียงและ เกียรติภูมิของประเทศชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นศักยภาพการกีฬา มีเป้าหมาย “คนไทยมีสุขภาพดีขึ้ น มีน้ําใจ นักกีฬา และมีวินัย เคารพกฎ กติกามากขึ้น ด้วยกีฬา” ซึ่ง ประกอบด้วย 3 แผนย่อย ดังนี้ 1 ) แผนย่อย การส่งเสริมการออกก ํา ลังกาย และกีฬาขั้นพื้นฐานให้กลายเป็นวิถีชีวิต และ การส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมออกก ํา ลังกาย กีฬาและนันทนาการ การส่งเสริม การออกก ํา ลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐานให้กลายเป็นวิถีชีวิต โดยส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน ประชาชน ทั่วไป บุคคลกลุ่มพิเศษ และผู้ด้อยโอกาส มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการออกก ํา ลังกา ย การปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการเล่นกีฬาบางชนิดที่มีความจ ํา เป็นต่อทักษะในการด ํา รงชีวิต รวมทั้งการมีอิสระในการประกอบกิจกรรมนันทนาการตามความถนัดหรือความสนใจเฉพาะบุคคล และปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นวิถีชีวิต เพื่อพัฒนาจิตใจ สร้างความสัมพันธ์อันดี หล่อหลอม จิตวิ ญญาณและการเป็นพลเมืองดี
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 71 - 2 ) แผนย่อย การส่งเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสู่ระดับอาชีพ การส่งเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสู่ระดับ อาชีพ โดยมุ่งการสร้างและพัฒนานักกีฬาของชาติ การเฟ้นหานักกีฬาที่มีความสามารถ สร้างพื้นที่ และโอกาสในการแข่งขันแสดงศักยภาพด้านกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา การส่งเสริมการจัดกีฬาระดับนานาชาติ และสร้างแรงบันดาลใจในการ ต่อยอดความส ํา เร็จ จากความเป็นเลิศสู่การประกอบอาชีพและมีเส้นทางอาชีพที่มั่นคง ควบคู่กับส่งเสริมสนับสนุน ศึกษาเชิงลึกด้านการกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา การจัดการความรู้และพัฒนา ระบบฐานข้อมูล เพื่อน ํา มาใช้ส่งเสริมและสนับสนุนกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ กีฬาเพื่ อการอาชีพ และ นันทนาการเชิงพาณิชย์ 3 ) แผนย่อย การพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬาและนันทนาการ การพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา และนันทนาการ โดยมุ่งสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬาและนันทนาการทั้งครูหรือผู้ฝึกสอน กีฬา ผู้ ตัดสินกีฬา นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ผู้ บริหารการกีฬา อาสาสมั ครกีฬา ตลอดจน ผู้ที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ อย่างเป็นระบบและมีมาตรฐาน สามารถถ่ายทอดความรู้ให้เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป บุคคลกลุ่มพิเศษ และผู้ด้อยโอกาสได้อย่างถูกต้อง และสามารถต่อยอดศักยภาพ ในการพัฒนาเป็นบุคลากรทางการกีฬาและนันทนาการที่ มีมาตรฐานของประเทศ รวมทั้ง การสนับสนุนและส่งเสริมการผลิตบุคลากรและการพัฒนานวัตกรรมที่สนับสนุนการพัฒนากีฬา และนันทนาการ จึงได้กําหนดวิสัยทัศน์ ของแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 – 2570 ) ดังนี้ “ กีฬาพัฒนาคน สังคม และเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจไทย ” 2 . พันธกิจ พันธกิจที่ 1 : การกีฬาเป็นกลไกสําคัญในการเสริมสร้างความมั่นคง ทาง สังคม โดย คนไทย มีอายุ คาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดีเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง มีการออกกําลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอจนเป็นวิถีชีวิต มีสุขภาพดีขึ้ น มีน้ําใจนักกีฬา และ มีวินัย เคารพกฎกติกามากขึ้ นด้วยกีฬา นําไปสู่ การพัฒนาจิตใจ สร้างความสัมพันธ์อันดีในสังคม ความสามัคคีของคนในชาติ และมีความพร้ อมในการขับเคลื่อนการพัฒนา ประเทศไปข้างหน้าได้อย่างเต็มศักยภาพ พันธกิจที่ 2 : การกีฬาเป็นกลไกสําคัญใน กำรเสริมสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ โดย อุตสาหกรรม การกีฬา มีการเจริญเติบโต มีการพัฒนาสินค้า บริการ นวัตกรรมที่เกี่ยวกับการกีฬา กิจกรรม กีฬาเพื่อ การท่องเที่ยว และรายการแข่งขันกีฬาที่ เพิ่ม มูลค่า ทาง เศรษฐ กิจ ของประเทศ อย่างต่อเนื่อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 72 - 3 . นโยบาย พัฒนา การกีฬา แห่งชาติ 3.1 นโยบายเร่งด่วน นโยบายที่ 1 : ส่งเสริมการพัฒนาการกีฬาที่มีการบริหารจัดการโดย คํานึงถึงความสําคัญของ สิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับโมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ( BCG Economy Model) นโยบายที่ 2 : สนับสนุนการสร้างการรับรู้และความตระหนักแก่เด็ก เยาวชน และประชาชน ทั่วไป ผู้พิการ บุคคลกลุ่มพิเศษ และผู้ด้อยโอกาส ให้เห็นคุณค่าและประโยชน์ ของ การออกกําลังกายและการเล่นกีฬา มีน้ําใจนักกีฬา และมีวินัย เคารพกฎกติกา มากขึ้นด้วยกีฬา นําไปสู่การพัฒนาจิตใจ มีการบริหารจัดการกีฬาที่โปร่งใส มีมาตรฐานสากล และ มีประสิทธิภาพ นโยบายที่ 3 : ส่งเสริมการออกกําลังกายและการเล่นกีฬา การจัดกิจกรรมกีฬา และการ แข่งขันกีฬา ภายใต้ความปกติใหม่ ( New Normal ) อย่างทั่วถึงตามความถนัด หรือความสนใจ อย่างต่อเนื่องทุกกลุ่มจนเป็นวิถีชีวิต เพื่อความเท่าเทียม ลดความ เหลื่อมล้ํา และเกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี ดิจิทัล เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในการออกกําลังกายและ เล่นกีฬา นโยบายที่ 4 : กําหน ดให้ประเด็นการส่งเสริมการออกกําลังกายและการพัฒนาการกีฬา เป็นหนึ่งในเป้าหมายหลักในระดับจังหวัดและท้องถิ่น โดยกําหนดให้เป็นหนึ่ง ในวาระสําคัญของการบริหารส่วนท้องถิ่ น และ เป็นดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพ การดําเนินงานของแผนพัฒนาจังหวัด ให้ สอดคล้องกับแผนพัฒนาการกีฬา แห่งชาติ นโยบายที่ 5 : ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนากีฬาอย่างเป็นระบบ โดยบูรณาการร่วมกับ ระบบการศึกษาของประเทศ ตั้งแต่กีฬาขั้นพื้นฐาน กีฬาเพื่อมวลชน กีฬาเพื่อ ความเป็นเลิศ และกีฬาเพื่อการอาชีพ อย่างต่อเนื่อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 73 - 3.2 นโยบายในการขับเคลื่อนแผนระยะยาว นโยบายที่ 1 : ส่งเสริมการเล่นกีฬาและการแข่งขันกีฬาตามความถนัดหรือความสนใจของเด็ก เยาวชน และประชาชน ในชนิดกีฬาที่ มีความหลากหลาย เพื่ อเพิ่ มทางเลือก ในการเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาได้ตามความต้องการ นโยบายที่ 2 : ส่งเสริม การใช้ วิทยาศา ส ตร์การกีฬา นวัตกรรม และเทคโนโลยี การกีฬา ใน การพัฒนาศักยภาพ ของ นักกีฬา รวมทั้งนักกีฬาคนพิการ เพื่อพัฒนาการกีฬา เพื่อความเป็นเลิศ และกีฬาอาชีพ นโยบายที่ 3 : พัฒนาบุคลากรด้านการกีฬาอย่างเป็นระบบ และมีมาตรฐาน สามารถถ่ายทอด ความรู้ ให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่ วไป ผู้ พิการ บุคคลกลุ่ มพิเศษ และ ผู้ด้อยโอกาส ได้อย่างถูกต้อง รวมทั้งสนับสนุนและส่งเสริมการผลิตบุคลากรและการ พัฒนานวัตกรรมที่สนับสนุนการพัฒนากีฬา นโยบายที ่ 4 : ผลั กดั นและสนั บสนุ นการเป็ นเจ้ำภาพจั ดกิ จกรรม กี ฬา เชิ งท่ องเที ่ ยว ( Sport Tourism ) และมหกรรมการแข่ งขั นกี ฬาระดั บชาติ และนานาชาติ ( Sports Mega - Events) ในประเทศไทย เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ ของประเทศไทย เป็นการกระตุ้ นการท่องเที่ ยวและการเข้าร่วมกิจกรรมกีฬา เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ นโยบายที่ 5 : พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจอุตสาหกรรมการกีฬา โดยสร้าง ความร่วมมือกับส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการประกอบ ธุรกิจการกีฬา รวมถึงสร้างบรรยากาศการลงทุนและพัฒนาอุตสาหกรรมและธุรกิจ ที่เกี่ยวข้องกับการกีฬาในประเทศ มีมาตรการด้านการเงิน และมาตรการทางภาษี เพื่อสนับสนุนผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการกีฬา นโยบายที่ 6 : พัฒนาแพลตฟอร์มและระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ด้านกีฬา เพื่อให้บริการข้อมูล สร้างแรงจูงใจและกระตุ้นการออกกําลัง กาย และการเข้าร่วมกิจกรรมกีฬา และ เป็นข้อมูลในการ กําหนดนโยบาย ทิศทางการพัฒนา และ การบริหารจัดการการกีฬา ในประเทศ นโยบายที่ 7 : พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อุปกรณ์ สถานที่ สิ่งอํานวยความสะดวก เพื่อรองรับ ความต้องการในการออกกําลังกายและกำรเล่นกีฬาของ เด็ก เยาวชน และประชาชน ทั่วไป ผู้พิการ บุคคลกลุ่มพิเศษ และผู้ด้อยโอกาสให้มีความเพียงพอ ปลอดภัย ทั่วถึง และเหมาะสม นโยบายที่ 8 : สร้างและพัฒนาศูนย์ฝึกกีฬา สนามกีฬา ศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬา อุปกรณ์ การกีฬา ให้ได้มาตรฐานสากล เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ และกีฬาเพื่อการอาชีพ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 74 - นโยบายที่ 9 : ยกระดับการบริหารจัดการกีฬา ในทุกระดับ อย่างมีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานของ ธรรมาภิ บาล โดย กําหนดให้ การบริ หารจั ดการกี ฬาตามหลั กธรรมาภิ บาล เป็นเป้าหมายหลัก และตัวชี้วัดในแผนพัฒนา ขององค์กรทุกองค์กร และ สนับสนุน การจัดตั้งองค์กร ที่มีความเป็นอิสระ และ มี ระบบในการพิจารณาข้อพิพาทที่เกี่ยวข้อง กับ การกีฬา อย่างโปร่งใสและเป็นธรรม 4 . เป้าประสงค์ 4 . 1 ประชาชนทุกกลุ่ ม (เด็ก เยาวชน และประชาชน) มีการออกกําลังกายและเล่นกีฬา อย่างสม่ําเสมอ 4 . 2 นักกีฬาผู้แทนของประเทศไทยประสบความสําเร็จในการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ 4 . 3 บุคลากรด้านการกีฬาทั่วประเทศได้รับการ รับรองมาตรฐาน เพิ่มขึ้น 4 . 4 อุตสาหกรรมการกีฬา มีการเติบโตอย่างต่อเนื่องและ สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศ 5 . ตัวชี้วัด หลัก 5 . 1 ประชากรทุกภาคส่วนออกกําลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 0 ภายในปี 2570 5 . 2 อันดับการแข่งขันกีฬาในมหกรรมกีฬาระดับนานาชาติของนักกีฬาไทย อยู่ในอับดับ 6 ในระดับเอเชีย ในรายการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกเกมส์ กีฬาพาราลิมปิกเกมส์ กีฬาเอเชียนเกมส์ และกีฬาเอเ ชี ยนพาราเกมส์ ภายในปี 2570 5 . 3 บุคลากรด้านการกีฬาได้รับการรับรองมาตรฐาน เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่ อปี 5 . 4 มูลค่าอุตสาหกรรมการกีฬามีอัตราการเติบโตโดยเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี 5 . 5 มีฐานข้อมูล องค์ความรู้ และแพลตฟอร์มการประมวลผลด้านการส่งเสริมและพัฒนา การกีฬาอย่างมีประสิทธิภาพ 5 . 6 มีแผนการขับเคลื่ อนติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามประเด็นการพัฒนา และมีการรายงานตามแผนรายไตรมาสและรายปี 5 . 7 มีการประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงานตามประเด็น การพัฒนา ในระยะครึ่งแผนฯ และสิ้นแผนฯ 5 . 8 มีแผนการจัดการความเสี่ยงเพื่อเตรียมความพร้อมและป้องกันผลกระทบที่ เกิดจาก ความเสี่ ยงในด้านต่าง ๆ เช่น โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่ ส่งผลต่อการส่งเสริมและพัฒนา การกีฬาในแต่ละประเด็นพัฒนา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 75 - 6 . ประเด็น การ พัฒนา เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ตามที่กําหนดไว้ว่า “ กีฬาพัฒนาคน สังคม และเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจไทย ” จึงได้ กําหนด ประเด็นการพัฒนา ระยะเวลา 5 ปีข้างหน้า (พ . ศ . 256 6 - 2570 ) เพื่อการขับเคลื่อนและพัฒนา การกีฬาไทยไปในทิศทางที่เหมาะสมบรรลุตามเป้าหมาย ดังนี้ ประเด็นการพัฒนา ที่ 1 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน ประเด็นการพัฒนา ที่ 2 : การส่งเสริมและพัฒนา การออกกําลังกายและ กีฬาเพื่อมวลชนให้เป็นวิถีชีวิต ประเด็นการพัฒนา ที่ 3 : การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ ประเด็นการพัฒนา ที่ 4 : การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 : การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา ทั้งนี้ ประเด็นการพัฒนาในข้อที่ 1 – 3 เป็นเป้าหมายสําคัญในการพัฒนาการกีฬาของประเทศ ตั้งแต่ กีฬาขั้น พื้นฐาน กีฬาเพื่อ มวลชน จนต่อยอดไปสู่กีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬา เพื่อการ อาชีพ ซึ่งจะเป็น การสร้างรากฐานที่มั่นคงทาง สังคม และก่อให้เกิดการส่งต่อประโยชน์ในการขับเ คลื่อนอุตสาหกรรมการกีฬา ต่อไป ประเด็นการพัฒนา ที่ 4 เป็นการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬาเพื่อรองรับการกีฬาทุกภาคส่วน ตั้งแต่ต้นน้ําคือกีฬา ขั้น พื้นฐาน กีฬา เพื่อ มวลชน ไปถึงกลางน้ําคือกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ และปลายน้ํา คืออุตสาหกรรมการกีฬาทุกกลุ่มรวมถึงกีฬา เพื่ อการ อาชีพ ส่วน ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 เป็นการขับเคลื่อน การสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ของอุตสาหกรรมการกีฬา อันจะเป็น ภาคส่วนสําคัญในการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งด้านเศรษฐกิจของประเทศ การออกแบบการขับเคลื่อนการดําเนินงานในแต่ละ ประเด็นการพัฒนา นั้ น ประยุกต์หลักการของการบริหารจัดการที่ ดี และมีประสิทธิภาพสูง โดยพัฒนา แนวทางการพัฒนา เพื่อการขับเคลื่อน สู่การดําเนินงานที่เป็นรูปธรรม
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 76 - ❖ นโยบายในการขับเคลื่อนแผนระยะยาว นโยบายที่ 1 : ส่งเสริมการเล่นกีฬาและการแข่งขันกีฬาตามความถนัดหรือความสนใจของเด็ก เยาวชน และประชาชน นโยบายที่ 2 : ส่งเสริมการใช้วิทยาศาสตร์การกีฬา นวัตกรรม และเทคโนโลยีการกีฬาในการพัฒนาศักยภาพ ของนักกีฬา รวมทั้งนักกีฬาคนพิการ นโยบายที่ 3 : พัฒนาบุคลากรด้านการกีฬาอย่างเป็นระบบและมีมาตรฐาน นโยบายที่ 4 : ผลักดันและสนับสนุนการเป็นเจ้าภาพจัดกิจกรรม กีฬา เชิงท่องเที่ยว (Sport Tourism) และมหกรรมการแข่งขันกีฬาระดับชาติและนานาชาติ ( Sports Mega - Events) ในประเทศไทย นโยบายที่ 5 : พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจอุตสาหกรรมการกีฬา นโยบายที่ 6 : พัฒนาแพลตฟอร์มและระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านกีฬา นโยบายที่ 7 : พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อุปกรณ์ สถานที่ สิ่งอํานวยความสะดวก นโยบายที่ 8 : สร้างและพัฒนาศูนย์ฝึกกีฬา สนามกีฬา ศูนย์วิทยาศาสตร์ การกีฬา อุปกรณ์การกีฬา ให้ได้มาตรฐานสากล นโยบายที่ 9 : ยกระดับการบริหารจัดการกีฬาในทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานของธรรมาภิบาล แผนภาพที่ 3 - 1 วิสัยทัศน์และ ประเด็น การพัฒนาการกีฬาไทยในปี พ.ศ. 256 6 - 2570 วิสัยทัศน์ ” กีฬาพัฒนาคน สังคม และเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจไทย ” พันธกิจที่ 1 การกีฬาเป็นกลไกสาคัญในการเสริมสร้างความมั่นคงทางสังคม ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การส่งเสริมและพัฒนา การออกกำลังกาย และกีฬาขั้นพื้นฐาน ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนา การออกกำลังกายและกีฬา เพื่อมวลชนให้เป็นวิถีชีวิต ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การส่งเสริมและพัฒนา การกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ และกีฬาเพื่อการอาชีพ พันธกิจที่ 2 การกีฬาเป็นกลไกสาคัญในการเสริมสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การส่งเสริมและพัฒนา บุคลากรด้านการกีฬา ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การส่งเสริมและสนับสนุน การพัฒนาอุตสาหกรรม การกีฬา ❖ นโยบายเร่งด่วน นโยบายที่ 1 : ส่งเสริมการพัฒนาการกีฬาสีขาว นโยบายที่ 2 : สนับสนุนการสร้างการรับรู้และความตระหนักแก่เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ผู้พิการ บุคคลกลุ่มพิเศษ และผู้ด้อยโอกาส นโยบายที่ 3 : ส่งเสริมการออกกําลังกายและการเล่นกีฬา การจัดกิจกรรมกีฬา และการแข่งขันกีฬา ภายใต้ ความปกติใหม่ ( New Normal) ที่มุ่งเน้นให้มีการบริหารจัดการโดยคํานึงถึงความสําคัญ ของสิ่งแวดล้อม นโยบายที่ 4 : กําหนดให้ประเด็นการส่งเสริมการออกกําลังกายและการพัฒนาการกีฬาเป็นหนึ่งในเป้าหมาย หลักในระดับจังหวัดและท้องถิ่น นโยบายที่ 5 : ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนากีฬาอย่างเป็นระบบ โดยบูรณาการร่วมกับระบบการศึกษา ของประเทศ 1 . ประชากรทุกภาคส่วนออกกําลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ภายในปี 2570 2 . อันดับการแข่งขันกีฬาในมหกรรมกีฬาระดับนานาชาติของนักกีฬาไทย อยู่ในอับดับ 6 ในระดับเอเชีย ในรายการ แข่งขันกีฬาโอลิมปิกเกมส์ กีฬาพาราลิมปิกเกมส์ กีฬาเอเชียนเกมส์ และกีฬาเอเ ชี ยนพาราเกมส์ ภายในปี 2570 3 . บุคลากรด้านการกีฬาได้รับการรับรองมาตรฐาน เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี 4 . มูลค่าอุตสาหกรรมการกีฬามีอัตราการเติบโตโดยเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี 5 . มีฐานข้อมูล องค์ความรู้ และแพลตฟอร์มการประมวลผลด้านการส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาอย่างมีประสิทธิภาพ 6 . มีแผนการขับเคลื่อนติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามประเด็นการพัฒนา และมีการรายงานตำมแผนรายไตรมาสและรายปี 7 . มีการประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงานตามประเด็นการพัฒนา ในระยะครึ่งแผนฯ และสิ้นแผนฯ 8 . มีแผนการจัดการความเสี่ยงเพื่อเตรียมความพร้อมและป้องกันผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ เช่น โรคติดต่ออุบัติใหม่ ที่ ส่งผลต่อการส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาในแต่ละประเด็นพัฒนา ตัวชี้วัดหลัก
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 77 - ส่วนที่ 4 : ประเด็นการพัฒนา การกีฬาใน ระยะแผนพัฒนาการกีฬาฯ ฉบับที่ 7 ประเด็นการพัฒนา ที่ 1 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้เด็กและเยาวชน ทุกคน เกิดการรับรู้และความตระหนักในการออกกําลังกาย และ การ เล่นกีฬา อย่างถูกต้อง รู้กฎ และกติกา มีทัศนคติที่ดี มีระเบียบวินัยและน้ําใจนักกีฬา รวม ทั้ง ส่งเสริมและสนับสนุน การจัด กิจกรรมกีฬา และการแข่งขันกีฬา ตามความถนัดหรือความสนใจเฉพาะบุคคลเพื่อให้ เด็กและเยาวชน เกิดความต้ องการในการออกกําลังกาย และ การ เล่นกีฬา อย่างต่อเนื่อง ซึ่ง ส่งผลต่อการมีสุขภาวะที่ดี รวมถึง สามารถพัฒนาการเล่นกีฬาเพื่อการต่อยอดสู่ความเป็นเลิศได้ 1 . ตัวชี้วัด 1 . 1 เด็กและเยาวชนทั่วประเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย 1 . 2 มีการนําหลักการวิทยาศาสตร์การกีฬาขั้ นพื้ นฐานและการฉลาดรู้ ทางกาย ( Physical Literacy) มาสอนในวิชาพลศึกษา หรือวิชาอื่น ๆ ที่มีความเหมาะสม 1 . 3 สถานศึกษาจัดให้มีวิชาพลศึกษาอย่างน้อย 2 ชั่วโ มงต่อสัปดาห์ 1 . 4 มีการจัดกิจกรรม กีฬา หรือ การแข่งขันกีฬาสําหรับเด็กและเยาวชน ทุกโรงเรียน อย่างน้อย โรงเรียนละ 1 ครั้ง ต่อ ปี 1 . 5 มีการแข่งขันกีฬา ที่มีมาตรฐานตามที่กําหนด สําหรับเด็กและเยาวชน ใน ระดับอําเภอ ทุกอําเภอ อย่างน้อยอําเภอละ 1 ครั้ง ต่อ ปี และระดับ จังหวัด ทุกจังหวัด อย่างน้อย จังหวัด ละ 1 ครั้ง ต่อ ปี 1 . 6 มีการจัดเตรียมและพัฒนาสถานที่ ออกกําลังกายและเล่นกี ฬาของเด็ กและเยาวชน ที่มีความปลอดภัยและเหมาะสมในทุกโรงเรียน ภายในปี 2570 2 . แนวทางการพัฒนา 2 . 1 การสร้างการรับรู้ ความตระหนัก และ ความต้องการ เพื่ อการส่งเสริมและพั ฒนา การออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน 2 . 1 . 1 การสร้ำงการรั บรู้ ความตระหนั ก และความต้ องการ ด้ำนประโยชน์ ของ การออกกําลังกายและการ เล่น กีฬาให้กับเด็กและเยาวชน 1 ) จัดทําสื่ อ ดิจิทัล ตาม ความปกติใหม่ ( New Normal ) เพื่ อเผยแพร่ความรู้ และ ความตระหนักในประโยชน์ของ การออกกําลังกายและการเล่นกีฬา ที่มีความจําเป็น ต่อทักษะในการดํารงชีวิต รวมถึงการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ความรู้ และทัศนคติ ที่ถูกต้องใน การออกกําลังกายและ การเล่นกีฬา เพื่อรักษาสุขภาพ ที่เหมาะสมกับ แต่ละช่วงอายุของเด็กและเยาวชนทุกกลุ่ม
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 78 - 2 ) สนับสนุนการใช้สื่อสร้างสรรค์ อาทิ ศิลปะ วัฒนธรรม บันเทิง ดนตรี ภาพยนตร์ และสถานที่ท่องเที่ยว รวมทั้ง สื่อสังคมออนไลน์ ( Social Media ) ในรูปแบบ Soft Power เป็นสื่อในการเข้าถึงเด็กและเยาวชน เพื่อสร้างกระแสความนิยมด้านการ ออกกําลังกายตาม ความปกติใหม่ ( New Normal) ที่สามารถสื่อสารไปยังเด็กและ เยาวชนได้อย่างรวดเร็ว สะดวก และสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย โดยการนํากลุ่ม บุคคลตัวอย่างที่ได้รับความนิยมจากเด็กและเยาวชน ร่วมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และจูงใจให้เด็กและเยาวชนสนใจการออกกําลังกายอย่างสม่ําเสมอและต่อเนื่อง 3 ) พัฒนานวัตกรรมการออกกําลังกายตาม ความปกติใหม่ ( New Normal) ให้อยู่ ในรูปแบบที่น่าสนใจและสามารถเชื่อมโยงกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ เพื่อดึงดูด ความสนใจจากเด็กและเยาวชน ให้ สามารถออกกําลังกายได้ทุกสถานที่ 4 ) ส่งเสริม การปลูกฝังค่านิยมกีฬา ( Sport Values) ในเด็กและเยาวชน โดยใช้ค่านิยม โอลิมปิก ( Olympic Values) ให้เด็กและเยาวชน ได้รับรู้และเข้าใจคุณค่าของกีฬา และจริยธรรมทางการกีฬา 5 ) กระทรวงการท่ องเที ่ ยวและกี ฬา โดย มหาวิ ทยาลั ยการกี ฬาแห่ งชำติและ กรมพลศึกษา ร่วมปรับปรุงหลักสูตรการเรียนวิชาพลศึกษากับกระทรวงศึกษาธิการ โดยนําการสอนวิทยาศาสตร์การกีฬาขั้นพื้นฐานมาสอนและการฉลาดรู้ทางกาย ( Physical Literacy) มาจัดทําเป็นหลักสูตรวิชาพลศึกษา โดยพิจารณาจากความ ศักยภาพและความพร้อมของสถาบันการศึกษา ตลอดจนส่งเสริมและพัฒนาให้ บุคลากรครูทุกรายในระบบ (ครูผู้จบพลศึกษา ครูผู้สอนพลศึกษา ครูทั่วไป) ให้มี ความรู้ทักษะในกีฬาขั้นพื้นฐานและวิถีชีวิต และต่อยอดบุคลากรครูบางส่วนให้มี ความรู้ด้านความเป็นเลิศและกีฬาเ พื่อการอาชีพ เพื่อนําไปถ่ายทอดต่อนักเรียนทั้ง ในระบบโรงเรียนปกติและโรงเรียนการศึกษาพิเศษ ควบคู่กับศึกษากรณีตัวอย่าง จากสถาบันศึกษาที่ประสบความสําเร็จในการพัฒนานักเรียนสู่เส้นทางอาชีพ นักกีฬา อันจะเป็นการสร้างพื้นฐานที่ดี และต่อยอดสู่ความเป็นเลิศทางอาชีพอย่าง เป็ นระบบ 6 ) สถานศึกษาจัดการเรียนวิชาพลศึกษาอย่างน้อย 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยหลักสูตร ที่นํามาจัดการเรียน การสอน นั้น ต้องมีองค์ความรู้ในด้านการฉลาดรู้ทางกาย ( Physical Literacy) เป็ นส่ วนประกอบ ในวิ ชาพลศึ กษา และเพิ ่ มชั ่ วโมง การกีฬาศึกษา ( S port E ducation) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีสมรรถนะกีฬาพื้นฐาน ( B asic S port C ompetency) 2 . 1 . 2 การส่งเสริมและสนับสนุน การจัด กิจกรรม กีฬา และการแข่งขันกีฬา ตามความถนัดหรือ ความสนใจ ให้กับเด็กและเยาวชน ตาม ความ ความปกติใหม่ ( New Normal ) ที่มุ่งเน้น ใน
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 79 - มาตรการรักษาความสะอาดและความปลอดภัย รวมทั้ง การบริหารจัดการโดยคํานึงถึง ความสําคัญ ของ สิ่งแวดล้อม 1 ) จัดกิจกรรม กีฬาหรือการแข่งขันกีฬา ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนออกกําลังกายและ เล่นกีฬา ในรูปแบบ ที่มีความหลากหลาย หรือรูปแบบเสมือนจริง โดยใช้เทคโนโลยี เป็นส่วนหนึ่ งในการจัดกิ จกรรมกีฬาและการแข่งขันกีฬา เพื่ อกระตุ้ น/สร้าง ความสนใจและความต้องการ ในการออกกําลังกายและการเล่นกีฬา ได้ ตาม ความถนัดเฉพาะบุคคลอย่างต่อเนื่อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 80 - 2 ) จัดการแข่งขันกีฬาระดับอําเภอและจังหวัดให้กับเด็กและเยาวชนเพื่อกระตุ้น ความต้องการในการต่อยอดสู่ ความเป็นเลิศ โดยใช้บุคลากรที่ มีมาตรฐาน ในการดําเนินการจัดการแข่งขันกีฬา และ ใช้เทคโนโลยีในการ จัดการแข่งขันกีฬา รวมทั้ง มุ่งเน้นให้มีการบริหารจัดการโดยคํานึงถึงความสําคัญของสิ่งแวดล้อม 3 ) บูรณาการปฏิทินการแข่งขันกีฬาร่วมกันกับหน่วยงานที่ เกี่ ยว ข้องกับการจัด การแข่งขันกีฬาสําหรับเด็กและเยาวชน ระดับประเทศ โดยจัดช่วงเวลาการแข่งขัน กีฬาให้มีความต่อเนื่ อง ไม่ซ้ ํา ซ้อนกัน เพื่ อให้เด็กและเยาวชนมีการฝึกซ้อม การ เล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอตลอดทั้งปี 2 . 2 การสนับสนุนปัจจัยเอื้อเพื่อการส่งเสริม และ พัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน 2 . 2 . 1 การสนับสนุนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (สถานที่ออกกําลังกาย และสิ่งอํานวย ความสะดวก) เพื่อการออกกําลังกาย และ การเล่นกีฬา ในสถานศึกษา ที่มีอยู่ในชุมชน เดิมหรือจัดหาใหม่เพิ่มเติม โดย พัฒนาให้เป็นไปตามมาตรฐาน และมีการตรวจสอบ ความเรียบร้อยของโครงสร้างพื้นฐาน อย่างสม่ําเสมอ เพื่อ ให้มีความปลอดภัยและ เหมาะสมกับเด็กและเยาวชนในแต่ละช่วงวัย โดยคํานึงถึงมาตรการป้องกันโรคอย่าง เคร่งครัด และประสานความร่วมมือกับภาคเอกชนและภาคประชาชนในชุมชน 2 . 2 . 2 การ พัฒนาองค์ความรู้ ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ใน การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายแ ละกีฬาขั้นพื้นฐาน 1 ) ศึกษา และ วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศด้านความสนใจและ ความ ต้องการของเด็กและ เยาวชนในแต่ละช่วงวัยในการออกกําลังกายและการเล่นกีฬา เพื่อให้หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องนําไปวางแผน ในการส่งเสริม และพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬา ขั้นพื้นฐาน 2 ) จัดทําระบบฐานข้อมูลกลาง ประกอบด้วยข้อมูลต่าง ๆ เพื่อการวางแผนและ การบริหารจัดการ ในการส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน (ตาม ประเด็นการพัฒนา ที่ 1 ) ทั้งนี้ ระบบฐานข้อมูลกลางตาม ประเด็นการพัฒนา ที่ 1 ครอบคลุมข้อมูล ดังนี้ ( 1 ) จํานวนเด็กและเยาวชนที่ออกก ําลังกาย ( 2 ) ระดับ สมรรถภาพทางกายของเด็กและเยาวชน ( 3 ) จํานวนสนามกีฬาและสถานที่ออกกําลังกาย ( 4 ) รายการกิจกรรมกีฬาและการออกกําลังกายสําหรับเด็กและเยาวชน ( 5 ) จํานวนเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมกีฬาและการออกกําลังกาย ( 6 ) สมาคมกีฬาที่ให้การสนับสนุนกีฬาสําหรับเด็กและเยาวชน ( 7 ) ภาคเอกชนที่ใ ห้การสนับสนุนกีฬาสําหรับเด็กและเยาวชน ( 8 ) ผู้ให้การสนับสนุนกีฬาอื่น ๆ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 81 - ( 9 ) นโยบาย และ ประเด็นการพัฒนา ที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชน ( 10 ) ระบบการจัดการความรู้ด้านการออกกําลังกายและการเล่นกีฬาสําหรับเด็ก และเยาวชน ( 11 ) ฯลฯ 3 ) จัดทําแพลตฟอร์ม ส่งเสริม และพัฒนา การออกกําลังกาย และกีฬาขั้ นพื้นฐาน เพื่ อให้ได้ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่ สามารถใช้ในการประมวลผลข้อมูลต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ 2 . 3 การยกระดับการบริหารจัดการเพื่อส่งเสริม และพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน โดย กา รบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการ ส่งเสริมและพัฒนา การออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 2 . 3 . 1 จัดตั้ง คณะ อนุกรรมการขับเคลื่อน ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การส่งเสริมและพัฒนา การออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน 2 . 3 . 2 จัด ระบบการ นิเทศ แผนให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับทราบถึงหน้าที่ความรับผิดชอบ ของแต่ละหน่วยงานและรูปแบบการบูรณาการ เพื่ อดําเนินการขับเคลื่ อนแผน ตาม ประเด็นการพัฒนา ที่ 1 สู่ การปฏิบัติตามขอบเขตหน้าที่ ความรับผิดชอบ ของแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งจัดทําคู่มือการขับเคลื่อนแผนตาม ป ระเด็น การพัฒนา ที่ 1 โดยแจกแจงตามหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2 . 3 . 3 จัดประชุมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ตั้งแต่ ระดับนโยบายไปจนถึงระดับปฏิบัติการ เพื่อรายงานผลและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในการ ส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน ให้กับเด็กและเยาวชน 2 . 3 . 4 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา จัดทําบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างองค์กร ( MOU) กับกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพื่ อให้สถานศึกษาจัดการเรียนวิชาพลศึกษา อย่างน้อย 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 2 . 3 . 5 บูรณาการความร่วมมือระหว่าง กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สมาคม กีฬา แห่งประเทศไทย สมาคม กีฬาแห่งจังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับ การกีฬำศึกษา ( Sport Education) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีสมรรถนะกีฬาพื้นฐาน ( Basic Sport Competency) 2 . 3 . 6 สนับสนุนให้มีสิทธิประโยชน์ทางภาษี โดยผลักดันให้เกิดเป็นมาตรการทางภาษี เพื่อลดหย่อนภาษีให้แก่ผู้ที่บริจาคอุปกรณ์กีฬา เป็นต้น 2 . 3 . 7 มีกระบวนการกลั่นกรองโครงการพัฒนาและ บูรณาการงบประมาณจากทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการดําเนินงานตาม ประเด็นการพัฒนา ที่ 1
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 82 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 2 : การส่งเสริมและพัฒนาการ ออกกําลังกายและ กีฬาเพื่อมวลชน ให้เป็นวิถีชีวิต เพื่อสร้างการรับรู้ ความตระหนัก ความต้องการ และส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่ม ( ประชาชนทั่วไป ผู้พิการ บุคคลกลุ่มพิเศษ และผู้ด้อยโอกา ส) มีการออกกําลังกายและเล่นกีฬา ให้เป็นวิถีชีวิต เพื่อการมี สุขภาวะที่ดี มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง ลดอัตราการป่วยของ ประชาชนทุกกลุ่ ม ในกลุ่ มโรคไม่ติดต่อ ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล โดยมีการปลูกฝังค่านิยมกีฬาในประชาชนทุกกลุ่ม ส่งเสริมและสนับสนุน การจัดกิจกรรมการออกกําลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอ สนับสนุนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สถานที่ ออกกําลังกาย และสิ่งอํานวยความสะดวก เพื่อการออกกําลังกายและการเล่นกีฬาของประชาชนทุกกลุ่ม 1 . ตัวชี้วัด 1 . 1 สัดส่วนของ ประชา ชนทุกกลุ่ม ที่มีค่าดัชนีมวลกาย ( BMI) อยู่ในระดับมาตรฐาน ดีขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี 1 . 2 มีการจัดกิจกรรม กีฬาหรือการแข่งขัน กีฬาสําหรับประชาชน ทุกกลุ่ม ในทุกท้องถิ่นทั่วประเทศ โดยในภาพรวม เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ต่อปี 1 . 3 มีการ ยกระดับ พื้นที่สาธารณะที่มีศักยภาพในชุมชนเป็นลานกีฬาท้องถิ่น ครบทุกหมู่บ้าน ภายในปี 2570 1 . 4 มีการสร้างหรือพัฒนาให้มีศูนย์ฝึกกีฬาที่มีมาตรฐาน ตามที่กําหนด ประจําอําเภอ 1 แห่ง ต่ออําเภอ 1 . 5 มีประเด็น การส่งเสริม การออกกําลังกายและ การพัฒนาการ กีฬาในแผนพัฒนาจังหวัด และ แผนพัฒนา ท้องถิ่น ภายในปี 25 6 6 2 . แนวทางการพัฒนา 2 . 1 การสร้ำงการรั บรู ้ ความตระหนั ก และ ความต้ องการ เพื ่ อส่ งเสริ มและพั ฒนา การออกกําลังกายและกีฬาเพื่อมวลชน ให้เป็นวิถี ชีวิต 2 . 1 . 1 การสร้ำงการรั บรู้ ความตระหนั ก และความต้ องการ ด้ำนประโยชน์ ของ การออกกําลังกายและการเล่นกีฬาให้กับประชาชนทุกกลุ่ม ( ทุกเพศ ทุกวัย ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ) ให้เป็นวิถีชีวิต 1 ) ส่งเสริม ค่านิยมกีฬา ( Sport Values) ในประชาชนทุกกลุ่ม โดยใช้ค่านิยมโอลิมปิก ( Olympic Values) ให้ประชาชนได้รับรู้และเข้าใจคุณค่าของกีฬา และจริยธรรม ทางการกีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 83 - 2 ) ส่ งเสริ มให้ ประชาชน ทุ กกลุ ่ ม เกิ ดความตระหนั กและความต้ องการ ในการออกกําลังกาย และเล่นกีฬา เพื่อ ให้มี คุณภาพชีวิต ที่ดี และ สามารถ ดูแลตัวเอง ได้ อย่างถูกต้อง รวมทั้ง ฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายให้ดีขึ้น อาทิเช่น การจัดตั้ง ชมรมกีฬา 3 ) จัดทําสื่ อดิจิทัลตาม ความปกติใหม่ ( New Normal ) เพื่ อเผยแพร่ความรู้ และ ความตระหนักในประโยชน์ของการออกกําลังกายและการเล่นกีฬา รวมถึง การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ความรู้ และทัศนคติที่ถูกต้องในการออกกําลังกายและ การเล่นกีฬา เพื่อรักษาสุขภาพ ที่เหมาะสมกับแต่ละช่วงอายุของประชาชนทุกกลุ่ม จัดทําสื่ อดิจิทัลตามความปกติใหม่ ( New Normal ) เพื่ อเผย แพร่ความรู้ และ ความตระหนักในประโยชน์ของการออกกําลังกายและการเล่นกีฬาที่มีความจําเป็น ต่อทักษะในการดํารงชีวิต รวมถึงการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ความรู้ และทัศนคติ ที่ถูกต้องในการออกกําลังกายและการเล่นกีฬา เพื่อรักษาสุขภาพ ที่เหมาะสมกับ แต่ละช่วงอายุของเด็กและเยาวชนทุก กลุ่ม 4 ) สนับสนุนการใช้สื่อสร้างสรรค์ อาทิ ศิลปะ วัฒนธรรม บันเทิง ดนตรี ภาพยนตร์ และสถานที่ท่องเที่ยว รวมทั้ง สื่อสังคมออนไลน์ ( Social Media ) ในรูปแบบ Soft Power เป็นสื่อในการเข้าถึงประชาชนทุกกลุ่ม ทุกพื้นที่ เพื่อสร้างกระแสความนิยม ด้านการออกกําลังกาย ตาม ความปกติใหม่ ( New Normal ) สามารถสร้างเป็นอาชีพ หรือสร้างสุขภาวะที่ดีให้กับตนเอง โดยการนํากลุ่มบุคคลตัวอย่างในสังคม เช่น นักกีฬา ดารา นักร้อง และนักแสดง ร่วมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และจูงใจให้ ประชาชน สนใจ ออกกําลังกายอย่าง สม่ําเสมอและต่อเนื่อง 5 ) พัฒนานวัตกรรมการออกกําลังกาย ตาม ความปกติใหม่ ( New Normal ) ให้อยู่ ในรูปแบบที่น่าสนใจและสามารถเชื่อมโยงกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ เพื่อ ดึงดูดความ สนใจจากประชาชน ให้สามารถออกกําลังกายได้ทุกสถานที่ 2 . 1 . 2 การ ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรม กีฬาหรือการแข่งขันกีฬา ตาม ความปกติใหม่ ( New Normal ) ที่มุ่งเน้นในมาตรการรักษาความสะอาดและความปลอดภัย รวมทั้ง การบริหารจัดการโดยคํานึงถึงความสําคัญของสิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับโมเดล เศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ( BCG Economy Model) เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมใน กิจกรร มกีฬาจาก ประชาชนทุกกลุ่ม อย่างทั่วถึง โดยบูรณาการความร่วมมือกั นระหว่าง หน่วยงาน ภาครัฐ และภาคเอกชน เช่น 1 ) จัดการแข่งขันกีฬาในทุกท้องถิ่นทั่วประเทศ 2 ) ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการออกกําลังกายและเล่นกีฬาในทุกโครงการ/กิจกรรม ( Sport Every Event: SEE ) รวมถึงการจัดกิจกรรมการออกกําลังกายและเล่นกีฬา สอดแทรกในการจัดงานประจําของท้องถิ่น
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 84 - 3 ) ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการออกกําลังกายประจําวันในสถานประกอบการภาคเอกชน และหน่วยงาน ภาค รัฐ 2 . 2 การ สนับสนุนปัจจัยเอื้อ เพื่อ ส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาเพื่อมวลชน ให้เป็นวิถีชีวิต 2 . 2 . 1 การสนับสนุนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ( เช่น สถานที่ออกกําลังกาย และสิ่งอํานวย ความสะดวก) เพื่อการออกกําลังกาย และ การเล่นกีฬา ที่มีอยู่ในชุมชนเดิมหรือจัดหา ใหม่เพิ่มเติม เช่น ลานกีฬาในท้องถิ่น และศูนย์ฝึกกีฬาประจําอําเภอ โดยพัฒนาให้ เป็นไปตามมาตรฐาน และมีการตรวจสอบความเรียบร้อยของโครงสร้างพื้นฐานอย่าง สม่ําเสมอ เพื่อ ให้มีความปลอดภัยและเหมาะสมกับประชาชนทุกกลุ่มในพื้นที่ โดย คํานึงถึงมาตรกำรป้องกันโรคอย่างเคร่งครัด และประสานความร่วมมือกับภาคเอกชน และภาคประชาชนในชุมชน 2 . 2 . 2 การพัฒนาองค์ความรู้ ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในการ ส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาเพื่อมวลชน ให้เป็นวิถีชีวิต 1 ) ศึกษา และ วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศด้านความส นใจและ ความ ต้องการของ ประชาชนทุกกลุ่ มในการออกกําลังกายและการเล่นกีฬา เพื่ อให้หน่วยงาน ที่ เกี่ ยวข้องนําไปวางแผนการส่งเสริม และพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬา เพื่อมวลชน ให้เป็นวิถีชีวิต อย่างเหมาะสม 2 ) จัดทําระบบฐานข้อมูลกลาง ประกอบด้วยข้อมูลต่าง ๆ เพื่อการวางแผนและ การบริหารจัดการ ในการส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาเพื่อมวลชน ให้เป็นวิถีชีวิต (ตาม ประเด็นการพัฒนา ที่ 2 ) ทั้งนี้ ระบบฐานข้อมูลกลางตาม ประเด็นการพัฒนา ที่ 2 ครอบคลุมข้อมูล ดังนี้ ( 1 ) จํานวนประชาชนที่ออกกําลังกาย ( 2 ) จํานวนสนามกีฬาและสถานที่ออกกําลั งกาย ( 3 ) ความหนาแน่นของประชาชนที่ออกกําลังกายเทียบกับสถานที่ ออกกําลังกาย ( 4 ) รายการกิจกรรมกีฬาและการออกกําลังกายเพื่อมวลชน ( 5 ) จํานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมกีฬาและการออกกําลังกาย ( 6 ) สมาคมกีฬาที่ให้การสนับสนุนกีฬาเพื่อมวลชน ( 7 ) ภาคเอกชนที่ให้การสนับสนุนกีฬาเพื่อมวลชน ( 8 ) ผู้ให้การสนับสนุนกีฬาอื่น ๆ ( 9 ) นโยบายและ ประเด็นการพัฒนา ที่เกี่ยวข้องกับมวลชน ( 10 ) ระบบการจัดการความรู้ด้านสุขภาพของประชาชน ( 11 ) ฯลฯ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 85 - 3 ) จัดทําแพลตฟอร์ม ส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาเพื่ อมวลชน ให้เป็นวิถีชีวิต เพื่อให้ได้ฐานข้อ มูลขนาดใหญ่ที่สามารถใช้ในการประมวลผลข้อมูล ต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ 2 . 3 การยกระดับการบริหารจัดการ เพื่ อส่งเสริม และพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬา เพื่อมวลชน ให้เป็นวิถีชีวิต โดย การบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการ ส่งเสริมและพัฒนา การออกกําลังกายและกีฬาเพื่อมวลชน ให้เป็นวิถีชีวิต ดังนี้ 2 . 3 . 1 จัดตั้งคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนาที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนา การออกกําลังกายและกีฬาเพื่อมวลชนให้เป็นวิถีชีวิต 2 . 3 . 2 จัด ระบบการนิเทศแผนให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับทราบถึงหน้าที่ความรับผิดชอบ ของแต่ละหน่วยงานและรูปแบบการบูรณาการ เพื่ อดําเนินการขับเคลื่ อนแผน ตาม ประเด็นการพัฒนา ที่ 2 สู่ การปฏิบัติตามขอบเขตหน้าที่ ความรับผิดชอบ ข องแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งจัดทําคู่มือการขับเคลื่อนแผนตาม ประเด็น การพัฒนา ที่ 2 โดยแจกแจงตามหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2 . 3 . 3 จัดประชุมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ตั้งแต่ ระดับนโยบายไปจนถึงระดับปฏิบัติการ เพื่อรายงานผลและแลกเปลี่ ยนความคิดเห็น ใน การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาเพื่อมวลชน ให้เป็นวิถีชีวิต 2 . 3 . 4 ผลักดันให้เกิดการปรับเปลี่ยนข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกีฬาในระดับท้องถิ่น ซึ่ งเป็นข้อจํากัดให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ น ไม่สามารถดําเนินการด้านกีฬา ในท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น 1 ) ปรับระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายด้านกีฬาขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นให้สอดคล้องกับกิจกรรมด้านกีฬา 2 ) กระทรวงมหาดไทยกําหนดให้ มีประเด็นการส่งเสริมการออกกําลังกายและ การพัฒนาการกีฬาในแ ผนพัฒนาจังหวัดและ แผนพัฒนา ท้องถิ่น ภายในปี 2566 2 . 3 . 5 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวกด้านกีฬา มุ่งเน้นการยกระดับ มาตรฐาน การบํารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานอย่างเต็ม ศักยภาพ โดยให้ความสําคัญกับการประสานกับหน่วยงานเจ้าของสถานที่ในทุกขั้นต อน การพัฒนา 2 . 3 . 6 ใช้นวัตกรรมเชิงนโยบายเพื่อจูงใจให้ประชาชนออกกําลังกายและเล่นกีฬามากขึ้น ผ่าน แพลตฟอร์มส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาเพื่อมวลชนให้เป็นวิถีชีวิต อาทิ การเชื่อมโยงกับระบบประกันสุขภาพ เพื่อลดต้นทุนในการรักษาพยาบาล การลด ค่าใช้จ่าย สาธารณูปโภคพื้น ฐานของประชาชน
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 86 - 2 . 3 . 7 สนับสนุนให้มีสิทธิประโยชน์ทางภาษี โดยผลักดันให้เกิดเป็นมาตรการทางภาษี เพื่อลดหย่อนภาษีให้แก่ผู้ที่บริจาคอุปกรณ์กีฬา เป็นต้น 2 . 3 . 8 มีกระบวนการกลั่นกรองโครงการพัฒนาและ บูรณาการงบประมาณจากทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการดําเนิ นงานตาม ประเด็นการพัฒนา ที่ 2
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 87 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 3 : การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ ส่งเสริมความต้องการพัฒนาศักยภาพของนักกีฬา รวมทั้ง นักกีฬาคนพิการ เพื่อความเป็นเลิศ การสร้าง และการพัฒนานักกีฬาของชาติให้ประสบความสําเร็จในการแข่งขันในระดับต่าง ๆ รวมถึงการส่งเสริม การพัฒนาต่อยอดนักกีฬาที่มีความเป็นเลิศไปสู่การมีอาชีพทางการกีฬาที่ยั่งยืน โดยจัดให้มีการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน เช่น ศูนย์ฝึกกีฬา และสิ่งอํานวยความสะดวก เพื่อพัฒนาศั กยภาพของนักกีฬา ทั้งนักกีฬา คนปกติและนักกีฬาคนพิการ รวมทั้งการสนับสนุนการยกระดับกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและ กีฬาเพื่อการอาชีพ ให้เข้าสู่มาตรฐานสากล 1 . ตัวชี้วัด 1 . 1 มีจํานวนนักกีฬาหน้าใหม่เพิ่มขึ้น ในระดับชาติและ / หรือระดับนานาชาติ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี 1 . 2 มีจํานวนนักกีฬาอาชีพเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี 1 . 3 จํานวนรายการการแข่งขันในระดับนานาชาติ มีผลงานตั้งแต่อันดับที่สามของรายการขึ้นไป เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปีของจํานวนรายการที่เข้าร่วมการแข่งขัน 1 . 4 อันดับการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ และกีฬาอาเซียนพาราเกมส์ อยู่ในอันดับ 1 (นับเฉพาะกีฬาสากล) 1 . 5 มีการพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาให้มีมาตรฐานระดับอาเซียน จํานวนไม่น้อยกว่า 1 0 แห่ง ภายในปี 2570 1 . 6 มีการพัฒนาศูนย์ฝึกกีฬาผ่านเกณฑ์มาตรฐานสากล จํานวนไม่น้อยกว่า 12 แห่งภายใน ปี 2570 1 . 7 จัดตั้ งศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติ ( National Training Center: NTC) แห่งแรกได้สําเร็จ ภายใน ปี 2570 1 . 8 มี องค์กรกีฬาเป็นเลิศและ กีฬา อาชีพที่ผ่านเกณฑ์การบริหารจัดการองค์กรตามมาตรฐาน ที่กําหนด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 1 . 9 มีหลักสูตรเฉพาะทางสําหรับผู้ที่ต้องการหรือมีศักยภาพที่จะพัฒนาเป็นนักกีฬาในการศึกษา ทุกระดับ ตั้งแต่ระ ดั บประถมศึกษาจนถึงอุดมศึกษา ภายในปี 2566 2 . แนวทางการพัฒนา 2 . 1 การส่งเสริมความต้องการเพื่อพัฒนาการกีฬาความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ 2 . 1 . 1 การ ส่งเสริมการใช้สื่ อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ตาม ความปกติใหม่ ( New Normal ) เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ และ กระตุ้น การ พัฒนาตนเองไปสู่กีฬาเพื่อความเป็นเลิศ และ กีฬาเพื่อการอาชีพ โดยใ ห้ นักกีฬาที่มี ผลงานและ ชื่อเสียงในการถ่ายทอดเรื่องราวและ เส้นทาง สู่ ความสําเร็จ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 88 - 2 . 1 . 2 การ จัดทํา หลักสูตร เฉพาะทางสําหรับผู้ ที่ ต้องการหรือมีศักยภาพที่ จะพั ฒนา เป็นนักกีฬาของแต่ละชนิดกีฬาในการศึกษาทุกระดับ ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึง อุดมศึกษา 2 . 1 . 3 การจัดตั้ง องค์กรหรือหน่วยงานที่มีการทํางาน คล้ายกับ สมาคมกีฬาระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ ( National Collegiate Athletic Association: NCAA) ของสหรัฐอเมริกา ที่ได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ โดยมีการวางโครงสร้างการบริหาร สมาคมฯ อย่างเป็นรูปธรรม มีระบบการบริหารจัดการที่ดี ส่งเสริมให้มีการเรียน การสอนร่วมกับการฝึกซ้อมกีฬาได้อย่างเป็นระบบเห มือนกันทุกมหาวิทยาลัย ทั่วประเทศ จัดการแข่งขันกีฬาให้มีความปลอดภัย รวมทั้งส่งเสริมการทํา ประกันชีวิต และ ประกัน สุขภาพสําหรับนักกีฬา เพื่อ เป็นส่วนหนึ่งในการ สร้างนักกีฬา ที่มีศักยภาพ ให้กับประเทศ อย่างต่อเนื่อง อีกทั้ง ส่งเสริม การลงทุนก่อสร้างสถานที่ฝึกซ้อมกีฬา ภายในม หาวิทยาลัย ทั่วประเทศให้ มีมาตรฐานระดับสากล และมีอุปกรณ์อํานวย ความสะดวกที่ทันสมัย จนกลายเป็นที่เก็บตัว ฝึกซ้อมของ นักกีฬาทีมชาติได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2 . 1 . 4 การ จัดทํา ระบบการ สร้างและ พัฒนานักกีฬา รวมทั้งนักกีฬาคนพิการ อย่างต่อเนื่อง โดยการสร้างมาตรฐาน และยกระดับระบบการฝึกสอนให้ทันสมัยและครอบคลุม ด้วยกระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา รวมทั้งจัดทําระบบสรรหาคัดเลือก นักกีฬาผู้มีพรสวรรค์ หรือเครือข่ายค้นหานักกีฬาผู้มีพรสวรรค์ ( Sports Talent Identification Network) เพื ่ อพั ฒนา ไปสู ่ กี ฬาเพื ่ อความเป็ นเลิ ศและกี ฬา เพื่อ การอาชีพ โดยบูรณาการ การ ดําเนินงาน ของ สมาคมกีฬา แห่งประเทศไทย สมาคมกีฬา แห่ง จังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2 . 1 . 5 การ พัฒนานั กกี ฬาเพื ่ อความเป็ นเลิ ศศั กยภาพสู ง ด้ วยกระบวนการทางด้ำน วิทยาศาสตร์การกีฬาในสถานที่ที่มีระบบบริหารจัดการในรูปแบบ National Training Center (NTC) และจัดให้ มี ระบบการติดตามและประเมิ น ผลการฝึกซ้อมนักกีฬา อย่างใกล้ชิด รวมทั้งการฝึกซ้อมทางออนไลน์ตาม ความปกติใหม่ ( New Normal ) 2 . 1 . 6 การ ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬา รวมทั้ง กีฬาคนพิการ ในทุกระดับ ตามช่วงอายุ อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม ที่มุ่งเน้นให้มีการบริหารจัดการ โดยคํานึงถึงความสําคัญของสิ่งแวดล้อม เพื่อ สนับสนุนให้นักกีฬาได้แสดงศักยภาพ และ สร้างโอกาสในการพัฒนาสู่ กีฬาเพื่อ ความเป็นเลิศ และกีฬาเพื่อการอาชีพ อย่างบริสุทธิ์ ยุติธรรม ( Fair play) โดยบูรณาการการดําเนินงานของสมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย สมาคมกีฬาแห่งจังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 89 - 2 . 1 . 7 การ สนั บสนุ นการขยายฐานจํานวน ชนิ ดกี ฬาในการสร้ำง และ พั ฒนา นั กกี ฬา และการจัดการแข่งขันกีฬา ระดับชาติ เพื่อสนับสนุนให้นักกีฬาแต่ละชนิดกีฬาได้มี โอกาสในการแสดงศักยภาพ 2 . 1 . 8 การ สนับสนุนการขยายจํานวนชนิดกีฬาหรือประเภทกีฬาที่ ได้รับการประกาศ เป็นกีฬาเพื่อการอาชีพในประเทศไทย โดยเทียบกับนานาประเทศ 2 . 1 . 9 การ จัดทํา ระบบการพิจารณาและส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาอย่างเสมอภาค และ บริสุทธิ์ยุติธรรม และเป็นไปตามเกณฑ์ของสหพันธ์กีฬานานาชาติ โดยก ํา หนด แนวทางการบริหารจัดการสมาคมกีฬาแห่งประเทศไทยให้เป็นไปตามมาตรฐา นสากล และสอดดคล้องตามเกณฑ์ของสหพันธ์กีฬานานาชาติ 2 . 1 . 10 การ ส่งเสริมการส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ โดยการพัฒนา มาตรฐานการเตรียมตัวนั กกี ฬาและการใช้วิทยาศาสตร์การกีฬาในขั้ นตอน การเตรียมตัว สําหรับการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ 2 . 1 . 11 การ สนับสนุนการเป็นเจ้าภาพ การ จัดการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ และกีฬา เพื่อการอาชีพ โดยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ของประเทศ เพื่อแสดงความพร้อม และศักยภาพ ในการรองรับการเป็นเจ้าภาพ การ จัดการแข่งขัน 2 . 1 . 12 การ จัดทําระบบพัฒนานักกีฬาเต็มเวลาระยะยาว ( Full time athlete) รวมถึงจัดทํา เส้ นทางสายอาชี พของนั กกี ฬา ( Athlete pathway) และเตรี ยมความพร้ อม ด้านทักษะอาชีพหลังเลิกเล่นกีฬา 2 . 1 . 13 การสนับสนุน ให้นักกีฬาอาชีพที่อายุเกินมาตรฐานในการแข่งขัน หรือนักกีฬาอาชีพ ที่ถูกทดแทนด้วยนักกี ฬาอาชีพหน้าใหม่ สามารถต่อยอดพัฒนาอาชีพของตนเอง ทั้งอยู่ในหรือออกนอกวงการกีฬาต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนผลักดันให้ อดีตนักกีฬาร่วมพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬาของประเทศ อาทิ การเป็นโค้ชและ กรรมการตัดสิน หรือสนับสนุนให้ทําธุรกิจด้านกีฬา เป็นต้น รวมถึงการ ความสําคัญ กับแนวทางการส่งเสริมจริยธรรม และควา ม มีน้ําใจนักกีฬาสําหรับนักกีฬาวิชาชีพร่วมด้วย 2 . 1 . 14 การ ผลักดันการคุ้มครองสวัสดิภาพและสวัสดิการของนักกีฬา ตั้งแต่ก่อน ระหว่าง และภายหลังการแข่งขัน เพื่อสร้างความมั่นคงในชีวิตให้แก่นักกีฬา และเป็น การ สนับสนุนนักกีฬาตลอดช่วง ชีวิต ต้องมี สวัสดิการ ให้กับ บุคลาการการกีฬาที่สร้าง ชื่อเสียงให้กับประเทศไทยในระดับนานาชาติ และมี ความ ประพฤติเป็นแบบอย่างอันดี ในวงการกีฬาและสังคมเพื่อกําหนดให้เป็น “บุคลากรการกีฬาแห่งชาติ” สามารถ ได้รับ รายได้รายเดือน สวัสดิการ รักษาพยาบาล และเงินช่วยเหลือเมื่อถึงแก่กรรม รว มถึงการสนับสนุนให้มีการริเริ่มจัดทํากองทุนสําหรับอดีตนักกีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 90 - 2 . 2 การสนับสนุนปัจจัยเอื้อเพื่อ การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬา เพื่อการอาชีพ 2 . 2 . 1 การสนับสนุนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (เช่น ศูนย์ฝึกกีฬา ศูนย์วิทยาศาสตร์ การกีฬา และสิ่งอํานวยความสะดวก) เพื่อพัฒนาศักยภาพของนักกีฬา รวมทั้งนักกีฬา คนพิการ ไปสู่กีฬาเพื่อความเป็นเลิศและ กีฬาเพื่อการอาชีพ 1 ) จัดทํามาตรฐานศูนย์ฝึกกีฬาและคู่มือเกณฑ์มาตรฐานศูนย์ฝึกกีฬาในแต่ละชนิดกีฬา ที่มีความหวัง 2 ) พัฒนาศูนย์ฝึกกีฬาที่มีศักยภาพทั่วประเทศให้ได้มาตรฐานสากล 3 ) พัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาให้มีมาตรฐานระดับอาเซียน 4 ) จัดตั้งศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติ ( National Training Center: NTC) แห่งแรก 5 ) บูรณาการ ร่วมกัน กับ การกีฬาแห่งประเทศไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ หน่วยงานที่ เกี่ ยวข้อง ในการ บริหารจัดการ ซ่อมแซม ปรับปรุง และพัฒนา ศูนย์บริการการกีฬาและสนามกีฬาประเภทต่าง ๆ ให้อยู่ ในสภาพที่ ดีและ ได้มาตรฐานสากล 2 . 2 . 2 การจัดทําและ ยกระดับ มาตรฐาน กีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬา เพื่อการ อาชีพให้เข้าสู่ มาตรฐานสากล 1 ) ผลักดันให้ สถาบันการ ศึกษาด้านกีฬา ( Sport Academy ) ขึ้นทะเบียนกับสมาคม กีฬา แห่งประเทศไทย เพื่อสร้างมาตรฐาน ของ สถา บันการ ศึกษาด้านกีฬา ( Sport Academy ) ให้ มีมาตรฐานเดียวกัน 2 ) จัดทํามาตรฐานการจัดการแข่งขันเพื่ อความเป็นเลิศทั้ งในระดับชาติ ระดับ นานาชาติ และกี ฬาสมั ครเล่ นในระดั บชาติ และระดั บนานาชาติ ให้ เข้ำสู่ มำตรฐานสากล ( M ajor S port E vent M anagement) 3 ) วางแผนการเสนอตั วเป็ นเจ้ำภาพมหกรรมกี ฬาในรายการ ขนาด ใหญ่ เช่น ยูธโอลิมปิกเกมส์ เอเชียนเก ม ส์ และ / หรือรายการแข่งขันชิงชนะเลิศในระดับโลก ระดับทวีป และระดับภูมิภาค ให้มีการแข่งขันอย่างสม่ําเสมอและ มีความยั่งยืน 4 ) ส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการองค์กรกีฬา เพื่อควา ม เป็นเลิศและ กีฬา เพื่อการ อาชีพให้ผ่านเกณฑ์การบริหารจัดการองค์กรตามมาตรฐานที่กําหนด 2 . 2 . 3 การพัฒนาองค์ความรู้ ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ และ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ใน การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ 1 ) จัดทําระบบฐานข้อมูลกลาง ประกอบด้วยข้อมูลต่าง ๆ เพื่อการวางแผนและ การบริหารจัดการ ในการส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 91 - การอาชีพ (ตาม ประเด็นการพัฒนา ที่ 3 ) ทั้งนี้ ระบบฐานข้อมูลกลางตาม ประเด็น การพัฒนา ที่ 3 ครอบคลุมข้อมูล ดังนี้ ( 1 ) ผลการแข่งขันในกีฬาระดับนานาชาติ ระดับประเทศ ระดับจังหวัด และ ระดับเยาวชน ( 2 ) จํานวนนักกีฬาที่ เข้าร่วมในกีฬาระดับนานาชาติ นักกีฬาระดับชาติ ระดับประเทศ ระดับจังหวัด และระดับเยาวชน ( 3 ) จํานวนบุคลากร การ กีฬาระดับชาติ ระดับประเทศ และระดับจังหวัด ( 4 ) จํานวนบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการแข่งขันในระดับนานาชาติ ( 5 ) จํานวนผู้ชมการแข่งขันและผู้สนับสนุน ( 6 ) สนามกี ฬาประเภทต่าง ๆ ที่เป็นมาตรฐาน ( 7 ) สถานที่ฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพนักกีฬาประเภทต่าง ๆ ( 8 ) จํานวนและรายการจัดการแข่งขันในระดับนานาชาติ ( 9 ) สัดส่วนนักกีฬากับสนามกีฬาประเภทต่าง ๆ ที่เป็นมาตรฐาน ( 10 ) สัดส่วนนักกีฬาและบุคลากร การ กีฬากับสถานที่ ฝึกอบรมและพัฒนา ศักยภาพนักกีฬาประเภทต่ำง ๆ ( 11 ) นโยบายและ ประเด็นการพัฒนา ที่เกี่ยวข้อง ( 12 ) ฯลฯ 2 ) จั ดทําแพลตฟอร์ ม ข้ อมู ลของ นั กกี ฬา และบุ คลากรการกี ฬา ทุ กประเภท เพื่อวางรากฐานการติดตามข้อมูลนักกีฬาตั้งแต่เริ่มเข้าสู่วงการกีฬา จนกระทั่ง เลิกเล่นกีฬา หรือผันตัวไปสู่อาชีพอื่นในวงการกีฬา 3 ) เผยแพร่ องค์ความรู้ และสร้าง ความเข้าใจเรื่องสารต้องห้ามตามมาตรฐานที่กําหนด กับนักกีฬาและผู้ฝึกสอน เพื่อป้ องกันการใช้สารต้องห้าม ที่จะส่งผลต่อการแข่งขัน 2 . 3 การยกระดับการบริหารจัดการ เพื่อ การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬำเพื่อความเป็นเลิศและ กีฬาเพื่อการอาชีพ โดย การบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ การส่งเสริมและพัฒนาการ กีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ ดังนี้ 2 . 3 . 1 จัดตั้งคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนาที่ 3 การส่งเสริมและพัฒนา การกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ 2 . 3 . 2 จัดระบบการนิเทศแผนให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับทราบถึงหน้าที่ความรับผิดชอบ ของแต่ละหน่วยงานและรูปแบบการบูรณาการ เพื่ อดําเนินการขับเคลื่ อนแผน ตาม ประเด็นการพัฒนา ที่ 3 สู่ การปฏิบัติตามขอบเขตหน้าที่ ความรับผิดชอบ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 92 - ของแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งจัดทําคู่มือการขับเคลื่อนแผนตาม ประเด็น การพัฒนา ที่ 3 โดยแจกแจงตามหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2 . 3 . 3 จัดประชุมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้ งภาครัฐและภาคเอกชน ตั้ งแต่ระดับนโยบายไปจนถึงระดับปฏิบัติการ เพื่ อรายงานผลและแลกเปลี่ ยน ความคิ ดเห็ นใน การส่ งเสริ มและพั ฒนาการกี ฬาเพื ่ อความเป็ นเลิ ศและกี ฬา เพื่อการอาชีพ 2 . 3 . 4 ส่งเสริมการลงทุน โดย บูรณาการระหว่างภาครั ฐและ ภาค เอกชน เพื่อพัฒนานักกีฬา เป็นเลิศ ที่มี ศักยภาพและ ต้องการยกระดับตนเอง เป็นนักกีฬา อาชีพ 2 . 3 . 5 มีกระบวนการกลั่นกรองโครงการพัฒนาและ บูรณาการงบประมาณจากทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการดําเนินงานตาม ประเด็นการพัฒนา ที่ 3
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 93 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 4 : การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร ด้าน การกีฬา พัฒนา บุคลากร ที่เกี่ยวข้องด้านการกีฬาเพื่อรองรับกลุ่มเป้าหมายทุก กลุ่ม ในห่วงโซ่อุปทานของการกีฬา ตั้งแต่ต้นน้ํา กลางน้ํา และ ปลายน้ํา โดย พัฒนาหลักสูตรที่เป็นมาตรฐานสําหรับการยกระดับสมรรถนะ ของ บุคลากร การกีฬาทุก กลุ่ม ครอบคลุม ครูผู้สอนพลศึกษา อาสาสมัครการกีฬา ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา ผู้บริหารการกีฬา และ นักวิทยาศาสตร์การกีฬา รว ม ทั้งบุคลากรการกีฬาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับ อุตสาหกรรม การ กีฬา เช่น นักกฎหมายการกีฬา , สถาปนิกการกีฬา , สื่อมวลชนการกีฬา และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บุคลากรการกีฬา ทุก กลุ่ม ได้รับการรับรองมาตรฐานในระดับสากล หรือเทียบเท่าในระดับสากล เพื่อให้สามารถเป็นกําลังสําคัญ ในการพัฒนาการกีฬาทุกระดับตั้งแต่กีฬาขั้นพื้นฐาน กีฬาเพื่อมวลช น กีฬาเพื่อความเป็นเลิศและ กีฬาเพื่อ การอาชีพ และอุตสาหกรรมการกีฬาของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 . ตัวชี้วัด 1 . 1 ครูผู้ สอนพลศึกษาในโรงเรียนทั่ วประเทศได้รับการพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรม การออกกําลังกาย และการเล่นกีฬา ผ่านการทดสอบตามเกณฑ์ที่กําหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ภายในปี 2570 1 . 2 มี อาสาสมัครการกีฬา ที่ได้รับการพัฒนาครบทุกหมู่บ้าน ภายในปี 2567 และ ได้ปฏิบัติหน้าที่ ผู้นําในการออกกําลังกายตามเกณฑ์ที่กําหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ภายในปี 25 70 1 . 3 จํานวนหลักสูตรมาตรฐานเพื่อพัฒนาครูผู้สอนพลศึกษา ไม่น้อยกว่า 2 หลักสูตร ต่อปี 1 . 4 จํานวนหลักสูตรมาตรฐานเพื่อพัฒนาอาสาสมัครการกีฬา ไม่น้อยกว่า 2 หลักสูตรต่อปี 1 . 5 จํานวนหลักสูตรการอบรมเพื่อการพัฒนาบุคลากรการกีฬาที่ได้มาตรฐาน เทียบเท่า ระดับ สากล ไม่น้อยกว่า 10 หลักสูตรต่อ ปี 1 . 6 จํานวนบุคลากรการกีฬา (ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา ผู้บริหารการกีฬา และนักวิทยาศาสตร์ การกีฬา ) ได้รับการรับรองมาตรฐาน เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี 1 . 7 จํานวนบุคลากร การ กีฬาประเภทอื่น ๆ เพื่อรองรับอุตสาหกรรม การ กีฬา 5 ประเภทธุรกิจ ผ่านการอบรม เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี 1 . 8 มีจํานวนผลงานด้านวิจัยหรือนวัตกรรมด้าน การพัฒนาการกีฬา ที่ นําไปใช้ประโยชน์ ในการพัฒนาการกีฬา อย่างน้อย 6 ผลงานต่อปี 2 . แนวทางการพัฒนา 2 . 1 การพัฒนาหลักสูตรสําหรับพัฒนาบุคลากรการกีฬาที่เป็นมาตรฐาน 2 . 1 . 1 การพัฒนาหลักสูตรที่เป็นมาตรฐาน สําหรับครู ผู้สอน พลศึกษา (โดยครอบคลุมครูผู้จบ พลศึกษา ครูผู้สอนพลศึกษา และครูทั่วไป) และอาสาสมัครการกีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 94 - 1 ) สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาหลักสูตรที่ เป็นมาตรฐาน ด้านการจัดกิจกรรม ทางพลศึกษา การออกกําลังกาย การเล่นกีฬาขั้ นพื้ นฐาน และการพั ฒนา ด้านคุณธรรม จริยธรรม โดยใช้ค่ำนิยม พื้นฐานด้าน การกีฬา ( Sports Values ) ตาม ความปกติใหม่ ( New Normal ) เพื่อพัฒนาครู ผู้สอน พลศึกษา (โดยครอบคลุม ครูผู้จบพลศึกษา ครูผู้สอนพลศึกษา และครูทั่วไป) และอาสาสมัครการกีฬา 2 ) บูรณาการในการทํางานร่วมกัน กับกระทรวงศึกษาธิการ และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาหลักสูตรด้านการจัดกิจกรรมทางพลศึกษา การออกกําลังกาย และ การเล่นกีฬาขั้นพื้นฐาน สําหรับครู ผู้สอน พลศึกษา (โดยครอบคลุมครูผู้จบพลศึกษา ครูผู้สอนพลศึกษา และครูทั่วไป) และอาสาสมัครการกีฬา 2 . 1 . 2 การพัฒนาหลักสูตรที่เป็นมาตรฐาน สําหรับ บุคลากรการกีฬา ( ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสิน กีฬา ผู้บริหารการกีฬา และ นักวิทยาศาสตร์การกีฬา) ตั้งแต่ระดับขั้นพื้นฐานจนถึง ระดับสากล 1 ) สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาหลักสูตรเป็นมาตรฐานของการอบรม บุคลากรการกีฬา (ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา ผู้บริหารการกีฬา และ นักวิทยาศาสตร์การกีฬา) ตาม ความปกติใหม่ ( New Normal ) เพื่อให้มีคุณภาพและเทียบเท่ามาตรฐาน ในระดับสากล 2 ) บูรณาการในการทํางานร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันพัฒนา หลักสูตรการอบรม บุคลากรการกีฬา (ผู้ฝึกสอ นกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา ผู้บริหารการกีฬา และ นักวิทยาศาสตร์การกีฬา) เพื่อให้มีคุณภาพและเทียบเท่ามาตรฐานในระดับ สากล 2 . 1 . 3 การพัฒนาหลักสูตรที่เป็นมาตรฐาน สําหรับบุคลากรการกีฬาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อรองรับอุตสาหกรรม การ กีฬา 1 ) สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาหลักสูตรการอบรมเฉพาะด้านสําหรับบุคลากรการกีฬา อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นมาตรฐาน โดยจัดทําหลักสูตรเฉพาะด้าน แจกแจงตาม องค์ความรู้ ของการกีฬาที่ เกี่ ยวข้องในแต่ละวิชาชีพ เช่น หลักสูตรสําหรับ นักกฎหมายการกีฬา , สถาปนิกการกีฬา , สื่อมวลชนการกี ฬา รวมถึงบุคลากรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม การ กีฬา 2 ) บูรณาการในการทํางานร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยการพัฒนาองค์ความรู้ เฉพาะด้านในแต่ละวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา เช่น สภาวิชาชีพ องค์กร ที่เกี่ยวข้องกับแต่ละวิชาชีพ ผู้เชี่ยวชาญที่ประสบความสําเ ร็จจากในประเทศและ ต่างประเทศ เพื่อร่วมกันพัฒนาหลักสูตรการอบรมเฉพาะด้านสําหรับบุคลากรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นมาตรฐาน
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 95 - 2 . 2 การพัฒนาเพื่อยกระดับสมรรถนะของบุคลากรการกีฬา 2 . 2 . 1 การพัฒนาสมรรถนะครู ผู้สอน พลศึกษาและอาสาสมัครการกีฬา เพื่อสร้างองค์ความรู้ ด้านการออกกําลังกายและการเล่นกีฬาขั้นพื้นฐานอย่างถูกต้อง ให้ แก่เด็กและเยาวชน และประชาชนทุกกลุ่ม 1 ) พัฒนาสมรรถนะครู ผู้สอน พลศึกษาในโรงเรียนให้ได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ ด้านการจัดกิจกรรมทางพลศึกษา การออกกําลังกาย และการเล่นกีฬาขั้นพื้นฐาน เพื่อ นําไปสร้างเสริมสุขภาพและพลานามัยของนักเรียน พร้อมทั้งส่งเสริมครู ผู้สอน พลศึกษา ให้สามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้ ฐานสมรรถนะ สามารถใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษา ตาม ความปกติใหม่ ( New Normal ) และความสามารถที ่ จะช่ วยให้ ผู ้ เรี ยนมี พั ฒนาการด้ำนความสามารถ ในการเคลื่อนไหวร่างกาย ( Physical Literacy) 2 ) พัฒนาอาสาสมัครการกีฬา ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในการขับเคลื่อนการกีฬาและ การออกกําลังกายของประชาชนในท้องถิ่น ชุมชน หมู่บ้านอย่างเป็นระบบ ตาม ความปกติใหม่ ( New Normal ) โดยสามารถนําความรู้ ไปถ่ายทอดให้กับเด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป บุคคลกลุ่มพิเศษ และผู้ด้อยโอกาสได้อย่างถูกต้อง และ ทําหน้าที่ เป็นผู้มาให้ความรู้ สร้างความตระหนักรู้ รู้ถึงประโยชน์ของการออกกําลังกาย ไม่ควรนอนติดเตียง มีการเคลื่อนไหวร่างกาย เพื่อให้มีสุขภาพร่างกายที่ดีหายจาก อาการเจ็บป่วยได้ 3 ) สนับสนุน การ สร้างเครือข่ายความร่วมมือภายในสังคมวิชาชีพและภายนอก ในการพัฒนาการจัดกิจกรรมทางพลศึกษา การออกกําลังกาย และการเล่นกีฬา พื้ นฐาน โดยครอบคลุมครู ผู้ สอน พลศึกษา อาสาสมัครการกีฬา เพื่ อให้เกิด การแลกเปลี่ ยนประสบการณ์และความรู้ เฉพาะด้านการออกกําลังกายและ การเล่นกีฬาพื้นฐาน 2 . 2 . 2 การพัฒนาสมรรถนะ บุคลากรการกีฬา (ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ ตัดสินกีฬา ผู้บริหารการกีฬา และ นักวิทยาศาสตร์การกีฬา) และบุคลากรการกีฬาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้มีคุณภาพ และเทียบเท่ามาตรฐาน ตั้ งแต่ระดับขั้ นพื้ นฐานจนถึงระดับสากล เพื่ อรองรับ อุตสาหกรรม การ กีฬา 1) สนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะ บุคลากรการกีฬา (ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา ผู ้ บริ หารการกี ฬา และ นั กวิ ทยาศาสตร์การกีฬา) พร้ อมทั ้ งสนั บสนุนให้มี นักวิทยาศาสตร์การกีฬาประจําอยู่ในแต่ละสมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย และ บุคลากรการกีฬาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้มีคุณภาพเทียบเท่ามาตรฐานสากล ซึ่งอาจ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 96 - นําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาตนเอง ( Digital transformation) โดย การจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้นและระยะยาว เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการของ นักกีฬา 2) ส่งเสริมและพัฒนาผู้บริหารการกีฬา เพื่อเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของคณะกรรมการ ในสหพั นธ์ กี ฬาในระดั บเอเชี ยและระดั บโลก เพื ่ อให้ มี อํานาจต่ อรอง ในการจัดกิจกรรมกีฬาต่าง ๆ 3) มีระบบการส่งเสริมและการให้ทุนวิจัย เพื่อสนับสนุนผลงานด้านวิจัยและนวัตกรรม ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา 4) สนับสนุนการบูรณาการแลกเปลี่ ยนองค์ความรู้ ด้านกีฬาระหว่างหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการฝึกอบรมจากผู้เชี่ย วชาญที่ประสบความสําเร็จจากในประเทศ และต่างประเทศ เพื่อสนับสนุนการพัฒนา บุคลากรการกีฬา (ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสิน กีฬา ผู้บริหารการกีฬา และ นักวิทยาศาสตร์การกีฬา) และบุคลากรการกีฬาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการรวมกลุ่มให้เกิดเป็นเครือข่ายแลกเปลี่ยน ป ระสบการณ์และ ความรู้เฉพาะด้าน 2 . 3 การรับรองมาตรฐานบุคลากรการกีฬา 2 . 3 . 1 การรับรองมาตรฐานสําหรับครู ผู้สอน พลศึกษา และอาสาสมัครการกีฬา รวมทั้ง การประเมินตามมาตรฐานสมรรถนะครู ผู้สอน พลศึกษา และอาสาสมัครการกีฬา เพื่อ นําไปสู่การรับรองมาตรฐานสําหรับครู ผู้สอน พลศึกษา อาสาสมัครการกีฬำ 2 . 3 . 2 การรับรองมาตรฐานสําหรับผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา ผู้บริหารการกีฬา รวมทั้ง การประเมินตามมาตรฐานสมรรถนะ เพื่ อนําไปสู่ การรับรองมาตรฐานสําหรับ ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา ผู้บริหารการกีฬา 2 . 3 . 3 การรับรองมาตรฐานสําหรับนักวิทยาศาสตร์การกีฬา รวมทั้ ง การประเมินตาม มาตรฐานสมรรถนะ เพื่อนําไปสู่การรับรองมาตรฐานสําหรับนักวิทยาศาสตร์การกีฬา และ ส่งเสริมให้มีสภาวิชาชี พนักวิทยาศาสตร์ กำรกีฬาและการออกกําลั งกาย เพื่อจัดให้มีมาตรฐานของวิชาชีพและออกใบประกอบวิชาชีพนักวิทยาศาสตร์การกีฬา 2 . 3 . 4 การรับรองมาตรฐานสําหรับบุคลากรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม การ กีฬา รวมทั้ง การประเมินตามมาตรฐานสมรรถนะ เพื่อนําไปสู่การรับรองมาตรฐานสําหรับบุคลากร การกีฬาอื่ น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม การ กีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 97 - 2 . 4 การยกระดับการบริหารจัดการ เพื่อ การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรการกีฬา โดยการบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ การส่งเสริมและพัฒนา บุคลากรการกีฬา ดังนี้ 2 . 4 . 1 จัดตั้งคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนาที่ 4 การส่งเสริมและพัฒนา บุคลากร ด้าน การกีฬา 2 . 4 . 2 จัดระบบการนิเทศแผนให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับทราบถึงหน้าที่ ความรับผิดชอบ ของแต่ละหน่วยงานและรูปแบบการ บูรณาการ เพื่ อดําเนินการขับเคลื่อนแผน ตาม ประเด็นการพัฒนา ที่ 4 สู่การปฏิบัติตามขอบเขตหน้าที่ ความรับผิดชอบของ แต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งจัดทําคู่มือการขับเคลื่อนแผนตาม ประเด็น การพัฒนา ที่ 4 โดยแจกแจงตามหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2 . 4 . 3 จัดประชุมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ตั้งแต่ ระดับนโยบายไปจนถึงระดับปฏิบัติการ เพื่อรายงานผลและแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น ใน การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรการกีฬา 2 . 4 . 4 มีกระบวนการกลั่นกรองโครงการพัฒนาและ บูรณาการงบประมาณจาก ทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการดําเนินงานตาม ประเด็น การพัฒนา ที่ 4 2 . 4 . 5 ส่ งเสริมให้มีการจัดทํางาน วิจัยหรือนวัตกรรมด้านการพัฒนาการกีฬาที่นําไปใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาการกีฬา ที่มุ่งเป้าหมายประเภทกีฬาที่ไทยมีศักยภาพสูง ซึ่งจะ เป็นส่วนสําคัญในการ พัฒนาการกีฬาให้ประสบความสําเร็จทั้งระบบ รวมทั้งสามารถ สร้างมูลค่าเพิ่มในอุ ตสาหกรรม การ กีฬาให้ครอบคลุมทุกมิติและครบวงจร 2 . 4 . 6 การ จัดทําระบบฐานข้อมูลกลาง ประกอบด้วยข้อมูล สารสนเทศด้านความต้องการ และ หลักสูตรการอบรมที่ อยู่ ในความสนใจ รวมถึงองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการกีฬา เพื่อการวางแผนและการบริหารจัดการด้านการส่งเสริมและพัฒนา ครูผู้สอนพลศึกษา อาสาสมัครการกีฬา บุคลากรการกีฬา (ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา ผู้ บริหารกา รกีฬา และ นักวิทยาศาสตร์การกีฬา) และบุคลากรการกีฬาอื่ น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และ เผยแพร่ผลงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาในการพัฒนานักกีฬา เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนําไปต่อยอดองค์ความรู้
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 98 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 : การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา ครอบคลุม ทั้งภาคการผลิต ภาคการค้า และภาคบริการด้านการกีฬา สนับสนุนการจัดกิจกรรมและมหกรรมการกีฬา ระดับชาติและนานาชาติ และกำรจัดกิจกรรมกีฬาเชิงพาณิชย์ของภาคเอกชน ( International Sport Events & Private Sport Events) เพื่ อเสริ มสร้ำงการ กี ฬา เชิ งท่ องเที ่ ยว เพื ่ อสร้ำงมู ลค่ำเพิ ่ มทางเศรษฐกิจ จาก อุตสาหกรรมการกีฬา ให้ ขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง 1 . ตัวชี้วัด 1 . 1 จํานวนและมูลค่ารายได้ของผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการกีฬา มีอัตราเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี 1 . 2 มูลค่าการส่งออกทางการกีฬาโดยรวม มีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี 1 . 3 มูลค่าทางเศรษฐกิจในการจัดการแข่งขันกีฬาในประเทศ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี 1 . 4 จํานวน กิจกรรมกีฬาเชิงท่องเที่ยวทั้งของภาครัฐและภาคเอกชนทุกจังหวัด เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 ต่อปี 1 . 5 มีกิจกรรมกีฬาเชิงท่องเที่ยวที่เป็นอัตลักษณ์ประจําจังหวัดทั่วประเทศ (ทุกจังหวัดภายในปี 2570 ) 1 . 6 มี มาตรการด้านการเงิน และ/หรือภาษี เพื่ อ สนับสนุนผู้ ประกอบการธุรกิจที่ เกี่ ยวข้อง กับการกีฬา 1 . 7 การลงทุนจากภาครัฐและ/หรือภาคเอกชนในการค้นคว้าและวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้ ำง นวัตกรรมการกีฬา มีอัตราการเติบโตไม่น้อยกว่าอัตราการเจริญเติบโตของมูลค่าการลงทุน ด้านการวิจัยและพัฒนา ( R&D) ในภาพรวมของประเทศในแต่ละปี 1 . 8 การยื่นจดอนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์ นวัตกรรมทางการกีฬาเชิงพาณิชย์ เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า 2 ชิ้นงานต่อปี 1 . 9 การพัฒนาเมืองกีฬาให้สําเร็จและยั่งยืนอย่างน้อยปีละ 1 แห่ง 1 . 10 มีการจัดทําข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศด้านการกีฬา ( Gross Domestic Sport Product: GDSP) และการประเมินผลตอบแทนทางสังคม ( Social R eturn O n I nvestment: SROI) ที่เกี่ยวข้อง ภายในปี 2566
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 99 - 2 . แนวทางการพัฒนา 2 . 1 การ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพในการแข่งขันของธุรกิจในอุตสาหกรรมการกีฬา 2 . 1 . 1 กำรสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมและธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา 1 ) สนับสนุนการเพิ่มผลิตภาพในการดําเนินธุรกิจ การยกระดับความสามารถด้าน เทคโนโลยีและนวัตกรรม มาตรฐาน และคุณภาพของสินค้าและบริการ การบริหาร จัดการ การขยายโอกาสทางการลงทุนและการตลาด โดย สร้างความร่วมมือ กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ ที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา ทั้งภาคการผ ลิต ภาคการค้า และภาคบริการ 2 ) สนับสนุนให้เกิดมาตรการด้านการเงิน และมาตรการทางภาษี เพื่อสนับสนุน ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการกีฬา 3 ) สนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมในการออกกําลังกายและเล่นกีฬา และสนับสนุนให้ เกิดการถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อความปลอดภัย ให้ขยายไปสู่การผลิตเชิง พาณิชย์ ( Commercialization Scale) และลดการนําเข้าสินค้าจากต่างประเทศ โดย สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการสนับสนุนการต่อยอดงานวิจัย การประยุก ต์ ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์กีฬา รวมถึงสามารถ จดอนุสิ ทธิบัตร สิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์ นวัตกรรมทางการกีฬาเชิง พาณิชย์ ได้ 2.1.2 การสนับสนุนการจัดกิจกรรมและมหกรรมการกีฬาระดับชาติและนานาชาติ และ การจัดกิจกรรมกีฬาเชิงพาณิชย์ของภาคเอกชน ( International Sport Events & Private Sport Events) เพื่อเสริมสร้างการ กีฬา เชิงท่องเที่ยว 1 ) สนั บสนุ นการจั ดกิ จกรรมและมหกรรมการกี ฬา เชิ งท่ องเที ่ ยว ในทุกระดับ การจัดประชุมสัมมนา การประชุมวิชาการ และนิทรรศการที่เกี่ยวกับการกีฬา การแข่งขันกีฬา ที่มุ่งเน้นให้มีการบริหารจัดการโดยคํานึงถึงความสําคัญของ สิ่งแวดล้อม โดยบูรณาการสร้างความร่วมมือร ะหว่างภาครัฐและภาคเอกชน สมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย สหพันธ์กีฬานานาชาติ สมาคมกีฬาต่างประเทศ หรือ หน่วยงานกีฬาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการจัดการแข่งขันกีฬา 2 ) ส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาอัตลักษณ์ของ ไทย เพื่อสามารถจด สิทธิบัตร หรือ ลิขสิทธิ์ ในรูปแบบกิจกรรมกีฬาเชิงพาณิชย์ได้ อาทิ มวยไทย เจ็ทสกี ให้เป็น soft power ไทย ซึ่ง ชื่อเสียงในระดับโลก และสามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ โดย การ สนับสนุนการจัดกิจกรรมการกีฬาระดับชาติและนานาชาติ และการจัดกิจกรรม กีฬาเชิงพาณิชย์ของภาคเอกชนเพื่อเสริมสร้างการกีฬาเชิงท่องเที่ยว ได้ 3 ) จัดทําปฏิทินกลางกิจก รรมกีฬา และกิจกรรมกีฬา เชิงท่องเที่ ยว พร้อมทํา R oadshow เพื่อดึงดูดความสนใจจากผู้คนทั้งในประเทศและต่างประเทศ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 100 - 4 ) สนับสนุน การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพจัดกิจกรรมและมหกรรมการแข่งขันกีฬา ระดับชาติและนานาชาติที่เป็นมาตรฐานสากล 2 . 2 การสนับสนุนปัจจัยเอื้อ เพื่อ การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา 2 . 2 . 1 การสนับสนุนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (สนามแข่งขันกีฬา สถานที่จัดกิจกรรมและ มหกรรมการกีฬา เชิงท่องเที่ยว ระบบขนส่งการคมนาคม ฯลฯ) 1 ) พัฒนาและยกระดับโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อ รองรับการจัดกิจกรรมและมหกรรม การกีฬา เชิงท่องเที่ยว ตาม ความปกติใหม่ ( New Normal ) 2 ) พัฒนาและยกระดับโครงสร้างพื้นฐานในจังหวัดที่มีศักยภาพเหมาะสม เพื่อพัฒนา ให้กลายเป็นเมืองกีฬาให้สําเร็จและยั่งยืน 2 . 2 . 2 การพัฒนาองค์ความรู้ ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ใน การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา 1 ) จัดทําระบบฐานข้อมูลกลาง ประกอบด้วยข้อมูลต่าง ๆ เพื่อการวางแผนและ การบริหารจัดการ ในการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา (ตาม ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 ) ทั้งนี้ ระบบฐานข้อมูลกลางตาม ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 ครอบคลุมข้อมูล ดังนี้ ( 1 ) ความต้องการและพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายที่ มีต่อความต้อ งการ ทางกีฬา ( 2 ) จํานวนกิจกรรมการกีฬา เชิงท่องเที่ยว ( 3 ) จํานวนนักกีฬา และผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมกีฬา เชิงท่องเที่ยว ( 4 ) จํานวนผู้ประกอบการในธุรกิจอุตสาหกรรม การ กีฬา ( 5 ) จํานวนผู้ประกอบการธุรกิจการกีฬา เชิงท่องเที่ยว ( 6 ) จํานวนภาคเอกชนที่ เข้าร่วมในการพัฒนาอุตสาหกรรม การ กีฬาและ การกีฬา เชิงท่องเที่ยว ( 7 ) จํานวนหน่วยงานภาครัฐ ที่เข้าร่วมในการพัฒนาอุตสาหกรรม การ กีฬาและ การกีฬา เชิงท่องเที่ยว ( 8 ) จํานวนหน่วยงานภาคเอกชน ที่เข้าร่วมในการพัฒนาอุตสาหกรรม การ กีฬา และการกีฬา เชิงท่องเที่ยว ( 9 ) การเจริญเติบโตทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม การ กีฬา ( 10 ) การเจริญเติบโต ทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา เชิงท่องเที่ยว ( 11 ) นโยบาย และ ประเด็นการพัฒนา ที่เกี่ยวข้อง ( 12 ) ฯลฯ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 101 - 2 ) การจัดทําข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศด้านการกีฬา ( Gross Domestic Sport Product: GDSP) และการประเมินผลตอบแทนทางสังคม ( Social R eturn O n I nvestment: SROI) ที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา 2 . 3 การยกระดับการบริหารจัดการ เพื่อ การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรม การกีฬา โดย การบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ การส่งเสริมและสนับสนุน การพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจของประเทศ ดังนี้ 2 . 3 . 1 จัดตั้งคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนาที่ 5 การส่งเสริมและสนับสนุน การพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา 2 . 3 . 2 จัดระบบการนิเทศแผนให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ เพื่อดําเนินการขับเคลื่อน แผน ตาม ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 สู่การปฏิบัติตามขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบ ของแต่ละหน่วยงานที่ มีบทบาทที่ เกี่ ยวข้อง และทราบความสัมพันธ์ว่าหน้าที่ ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานว่าต้องมีการบูรณาการกับหน่วยงานใดบ้าง อย่างไร พร้อมทั้ งจัดทําคู่ มือการขับเคลื่ อนแผนตาม ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 โดยแจกแจงตามหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2 . 3 . 3 จัดประชุมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ตั้งแต่ ระดับนโยบายไปจนถึงระดับปฏิบัติการ เพื่อรายงานผลและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ใน การส่งเสริ มและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา 2 . 3 . 4 กําหนด ให้ มี ประเด็ นการส่ งเสริ มการออกกําลั งกายและการพั ฒนาการกี ฬา ในแผนพัฒนาจังหวัดและ แผนพัฒนา ท้องถิ่น ในทุกจังหวัด เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพ การพัฒนาอุตสาหกรรม การ กีฬาและเมืองกีฬาทั้งระบบ 2 . 3 . 5 ผลักดัน ให้มี การจัดตั้งกลุ่มอุตสาหกรรมการกีฬาใน สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย เพื่อเป็นตัวแทนของผู้ประกอบอุตสาหกรรมการกีฬาภาคเอกชนในการประสาน นโยบายระหว่างภาครัฐและภาคเอกช น เพื่อ เสริมสร้าง ประโยชน์ของอุตสาหกรรม การกีฬาอย่างเป็นรูปธรรม 2 . 3 . 6 ผลักดันให้มีการจัดตั้งหน่วยงานที่ดูแลแล ะส่งเสริมอุตสาหกรรมการกีฬาโดยเฉพาะ 2 . 3 . 7 มีกระบวนการกลั่นกรองโครงการพัฒนาและ บูรณาการงบประมาณจากทุกหน่วยงาน หลักที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการดําเนินงานตาม ประเด็นการพัฒนา ที่ 5
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 102 - ส่วนที่ 5 : การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการกีฬา แห่งชาติ สู่การปฏิบัติ 1 . แนวทางการขับเคลื่อนแผนพัฒนาการกีฬา แห่งชาติ สู่การปฏิบัติ การขับเคลื่อนแผนพัฒนา การ กีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 ( พ.ศ. 256 6 - 2570) มีหลักการ วัตถุประสงค์ และ แนวทางการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ ดังนี้ 1.1 หลักการ 1.1.1 การ ออกแบบแผนพัฒนา การ กีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 ( พ.ศ. 256 6 - 2570) ต้อง มี ความเชื่อมโยง กับแผน ระดับต่าง ๆ ตั้งแต่ ยุทธศาสตร์ ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูป ประเทศ แผนพั ฒนาเศรษฐกิ จและสั งคมแห่ งชาติ นโยบายและแผนระดั บชาติ ว่ำด้ วยความมั ่ นคงแห่ งชาติ แผน พัฒนา ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถตอบสนองการพัฒนาเชิงบูรณาการ ในแต่ละระดับ ได้อย่างต่อเนื่อง 1.1.2 การ ขับเคลื่อนการพัฒนาการกีฬาของประเทศ โดยยึดแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 ( พ.ศ. 256 6 - 2570 ) เป็นกรอบทิศทางหลักในการดําเนินงาน และแปลง แผน สู่การปฏิบัติ โดยกําหนด ประเด็น การ พัฒนา และแนวทางการพัฒนา ตลอด จน ห่วงโซ่คุณค่าของการกีฬาของประเทศ ในทุกระดับ 1.1. 3 การ กําหนด ให้หน่วยงาน ใน สังกัด กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็นหน่วยงานหลัก ในการ ขับเคลื่อนและบูรณาการการ ดําเนินงาน ในแต่ละ ประเด็น การ พัฒนา ที่สัมพันธ์กับภารกิจของหน่วยงาน 1.1. 4 การ บู รณาการ การดําเนิ นงานของ ภาครั ฐ ภาคเอกชน และ ภาค ประชาชน ใน การขับเคลื่อน กีฬาของประเทศ โดย การสร้างเครือข่าย ใน การพัฒนาการกีฬาใน ทุก ระดับ รวมทั้ง มีระบบ การ รายงาน ติดตาม และ ประเมินผลการดําเนินงานที่สอดคล้องกับเป้าหมาย ในแต่ละ ประเด็นการพัฒนา 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อให้การขับเคลื่อน ประเด็นการพัฒนา ของแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ไป สู่การปฏิบัติด้วยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 1.2.2 เพื่ อบู รณาการแผนงาน ของหน่วยงานในสังกัด กระทรวงการท่องเที่ ยวและกีฬา หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ใ นการขับเคลื่อน ประเด็น การพัฒนา ภายใต้แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 ( พ.ศ. 256 6 - 2570) 1.2.3 เพื่อติดตามและประเมินผลการพัฒนา การกีฬา อย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ การออกกําลังกาย และ กีฬาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งกีฬาเพื่อมวลชน ให้กลายเป็นวิถีชีวิต การส่งเสริม ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรม ออกกําลังกาย การส่งเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาไปสู่การอาชีพ การพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา และอุตสาหกรรม การกีฬา รวมทั้ง ประเมินผลสัมฤทธิ์ ในการพัฒนาทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 103 - 1.3 แนวทางการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ 1.3.1 ระดั บนโยบาย คณะกรรมการนโยบายการกี ฬาแห่ งชาติ เป็ น กลไกสําคัญ ในการกําหนดนโยบายหรือให้ความเห็น กํากับดูแล การดําเนินงาน ที่ เกี่ ยวข้องกับการพัฒนาการกีฬา รวมทั้งเสนอมาตรการแก้ไขปัญหำอุปสรรคการปฏิบัติการตามนโยบายและแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ และ การปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับที่ เกี่ ยวข้องให้เอื้ อต่อการพัฒนาการกีฬาของชาติ ก่อนนําเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อให้ความเห็นชอบและสั่งการต่อไป โดย สํานักงานปลัด กระทรวงการท่องเที่ยว และ กีฬา ทําหน้าที่เป็นสํานักงาน เลขานุการ ของ คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ โดยวิเคราะห์และ เสนอแนะ มาตรการเพื่อผลักดันและสนับสนุนการ นํานโยบาย ไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนพิจารณาเสนอแนะ แนวทางและ วิธีการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคของการด ํา เนินการตามนโยบาย และแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ เสนอแนะแนวทาง การจัดสรรและแสวงหาทรัพยากรเพื่อส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการกีฬาในทุกภาคส่วน ให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ และ รายงานผลการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตามนโยบาย และแผนพัฒนาการกีฬา แห่งชาติ เสนอต่อคณะกรรมการ นโยบายการกีฬาแห่ งชาติ 1.3.2 ระดับการขับเคลื่อนแผน คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ แต่งตั้ง ค ณะอนุกรรมการ จั ดทําและติ ดตามการดําเนิ นงานตามแผนพั ฒนาการกี ฬาแห่ งชาติ ฉบั บที ่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) คณะอนุกรรมการติดตามการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ คณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/ โครงการขนาดใหญ่ และบูรณาการการดําเนินงานด้านกีฬาของประเทศ และคณะอนุกรรมการฯ รายประเด็นพัฒนำ ภายใต้ คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ เพื่อ ติดตามการดําเนินงานตามภารกิจที่กําหนดไว้ในแผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติ และผลักดัน ขับเคลื่อน ให้ข้อเสนอแนะ การพัฒนาตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติไปสู่ การปฏิ บั ติ อย่ำงเป็ นรู ปธรรม ในการจั ดทําแผนปฏิ บั ติ การขององค์ กรและหน่ วยงานที ่ รับผิ ดชอบ โดย คณะอนุกรรมการ ฯ รายประเด็นการพั ฒนา จะเป็นหลักในการ ขับเคลื่ อน ติดตามและประเมินผล การดําเนินงานในแต่ละประเด็นการพัฒนาเป็นรายไตรมาสและราย ปี จนสิ้นสุดแผน รวมทั้งจัดระบบการนิเทศ แผน ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับทราบตามประเด็นการพัฒนา โดยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ทําหน้าที่ ประสานงานและสนับสนุนการปฏิบัติงานตามนโยบาย และแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ กับ ทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวข้อง และให้คําแนะนําแก่หน่วยงานของรัฐซึ่งมีหน้าที่ดําเนินการตามภารกิจที่กําหนดไว้ในแผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติในการจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนาการกีฬา รวมทั้งจัดทําและพั ฒนากลไกและระบบการ ประสานงานด้านการกีฬา เพื่อสร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการการกีฬาของประเทศ ตลอดจนร่วมมือและ ประสานงานกับหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการกีฬาของประเทศ ในการปฏิบัติงานตาม พระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ทั้งนี้ ให้หน่วย งาน ของรัฐซึ่งมีหน้าที่ ดําเนินการตาม ภารกิจที่กําหนดไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ดําเนินการแก้ไขปรับปรุงแผนปฏิบัติการพัฒนาการกีฬา และ ปฏิบัติการ ให้เป็นไปตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570)
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 104 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 1 การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน : กระทรวงศึกษาธิการ และ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ( มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ และ กรมพลศึกษา) เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก โดยมีหน่วยงานสนับสนุน ได้แก่ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ( สํานักงาน ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และ การกีฬาแห่งประเทศไทย ) กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงดิจิทัลเพื่ อเศรษฐกิจและสังคม กรุงเทพมหานคร สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย สมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย สมาคมองค์การบริหารส่วนตําบลแห่งประเทศไทย คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งประเทศไทย คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ คณะกรรมการสเปเชียลโอลิมปิคแห่งประเทศไทย สมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย สมาคมกีฬาแห่งจังหวัด สมาคม สุขศึกษา พลศึกษา และสันทนาการแห่งประเทศไทย และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ประเด็นการพัฒนา ที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนา การออกกําลังกายและ กีฬาเพื่อมวลชน ให้เป็นวิถีชีวิต : กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และ กระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา (กรมพลศึกษา) เป็นหน่วยงาน รับผิดชอบหลัก โดยมีหน่วยงานสนับสนุน ได้แก่ กระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา (สํานักงานปลัดกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ และ การกีฬาแห่งประเทศไทย ) กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงกลาโหม กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กรุงเทพมหานคร สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย สมาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไ ทย สมาคมองค์การบริหารส่วนตําบลแห่งประเทศไทย คณะกรรมการ พาราลิมปิกแห่งประเทศไทย คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ คณะกรรมการ สเปเชียลโอลิมปิคแห่งประเทศไทย สมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย สมาคมกีฬาแห่งจังหวัด และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ประเด็นการพัฒนา ที่ 3 การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬา เพื่อการอาชีพ : กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (การกีฬาแห่งประเทศไทย) เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก โดยมีหน่วยงานสนับสนุน ได้แก่ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา กรมพลศึกษา และมหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ) กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงกลาโหม กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กรุงเทพมหานคร คณะกรรมการ พาราลิมปิกแห่งประเทศไทย คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศ ไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ คณะกรรมการ สเปเชียลโอลิมปิคแห่งประเทศไทย คณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย สมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย สมาคมกีฬาแห่งจังหวัด สมาคมวิทยาศาสตร์การกีฬาแห่งประเทศไทย สมาคมจิตวิทยาการกีฬาประยุกต์ แห่งประเทศไทย สมาคมการจัดการกีฬาแห่งประเทศไทย สมาคมนักกีฬาโอ ลิมปิก แห่งประเทศไทย และ หน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 105 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 4 การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรการกีฬา : กระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา (สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา) เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก โดยมีหน่วยงานสนับสนุน ได้แก่ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ( กรมพลศึกษา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ และ การกีฬาแห่งประเทศไทย) กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กรุงเทพมหานคร คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งประเทศไทย คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ คณะกรรมการสเปเชียลโอลิมปิคแห่งประเทศไทย คณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย สมาคมกีฬาแห่ง ประเทศไทย สมาคมกีฬาแห่งจังหวัด และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา : กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา) เป็นหน่วยงานรับผิดชอบ หลัก โดยมีหน่วยงานสนับสนุน ได้แก่ กระทรวงการท่องเที่ ยวและกีฬา ( กรมการท่องเที่ ยว การท่องเที่ ยว แห่งประเทศไทย และการกีฬาแห่งประเทศไทย ) กระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ สังคม กรุงเทพมหานคร สํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม สํานักงานคณะกรรมการ ส่งเสริม การลงทุน สํานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลาง และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมกีฬา แห่งประเทศไทย สมาคมการค้าเครื่องกีฬา สมาคมการจัดการกีฬาแห่งประเทศไทย และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้ งนี้ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลักในแต่ละ ประเด็นการพัฒนา ทําหน้าที่ ประสาน ความร่วมมือกับหน่วยงานสนับสนุนและเป็นผู้สนับสนุนการพัฒนาใน ส่วน ภูมิภาค โดยกําหนดบทบาท การพัฒนาและแนวทาง การ ขับเคลื่ อน ประเด็นการพัฒนา ได้แก่ การส่งเสริม สนับสนุน และอํานวย ความสะดวกการดําเนินงาน ให้ มีประสิทธิภาพ ตลอดจนเผย แพร่ผลการดําเนินงาน ให้ทราบ เป็นระยะ 1.3.3 ระดับปฏิบัติการ ให้ หน่วยงาน ซึ่ งมีหน้าที่ ดําเนินการตาม ภารกิจที่ กําหนดไว้ ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ดําเนินการ จัดทํา แผนปฏิบัติการพัฒนาการกีฬา และปฏิบัติการ ให้เป็นไปตาม แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ รวมทั้งแก้ไขปรับปรุงแผนปฏิบัติการพัฒนาการกีฬา ให้ เป็นไปตามแผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) รวมทั้ง หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาการกีฬาของประเทศ ดําเนินการตาม นโยบาย ที่ คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ มอบหมาย โดย การ ประสานงานและ บูรณาการ การดําเนินงานให้ สอดคล้องกับ การขับเคลื่อน ประเด็นการพัฒนา ซึ่ง มีแนว ทางการปฏิบัติดังนี้ 1) กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โดยสํานักงานปลัด กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา กรมพลศึกษา กรมการท่องเที่ยว มหาวิ ทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ การกีฬาแห่งประเทศไทย และ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 106 - การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ดําเนินการ ปรับปรุง แผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับ ประเด็นการพัฒนา ของ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) 2) ส่วนกลาง กระทรวงการท่องเที่ ยวและกีฬา โดยสํานักงานปลัดกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา ประสานงาน ไปยัง หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง ทั้งในฐานะหน่วย งาน รับผิดชอบหลักและหน่วย งาน สนับสนุน ให้รับทราบถึงแนว ทางการขับเคลื่อน ประเด็นการพัฒนา ภายใต้ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) และ ดําเนินการปรับปรุงแผนปฏิบัติการ ในส่วนที่ รับผิดชอบ พร้อมกําหนดจุ ด ประสานงาน ( Contact Point) ที่ สามารถเชื่ อมโยงเป็นเครือข่าย เพื ่ อประสานการปฏิ บั ติ งาน ที ่ ชั ดเจน ตลอดระยะเวลาของ แผนพั ฒนาการกี ฬาแห่ งชาติ ฉบั บที ่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) 3) ส่วน ภูมิภาค กระทรวงการท่องเที่ ยวและกีฬา โดยสํานักงานปลัดกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา พิจารณากระจายภารกิจและความรับผิดชอบในการดําเนินการตามแผนพัฒนาการกีฬา แห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ไปสู่ จังหวัด โดย ส่วนราชการ ระดับ จังหวัด / กลุ่ มจังหวัด ซึ่งมีสํานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเป็นฐานบริหารส่วนราชการในภูมิภาคร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการ ขับเคลื่อน ประเด็นการพัฒนา ภายใต้แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) พร้อม ผลักดันให้มีแผนพัฒนาการกีฬาจังหวัดในทุกจังหวัด เพื่อ ส่งเสริม ให้ ประชาชน ทุกกลุ่มออกกําลังกายและ เล่นกีฬาให้ เป็นวิถีชีวิต เกิดการพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี สร้างและพัฒนานักกีฬา สนับสนุนให้นักกีฬา ได้แสดงศักยภาพ และสร้างโอกาสในการพัฒนาสู่กีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ รวมทั้ง พัฒนา องค์ความรู้ ด้านกีฬา และ ส่งเสริม การ พัฒนาบุคลากรการกีฬา ให้สามารถเป็นกําลังสําคัญในการพัฒนาการกีฬา ทุกระดับของประเทศได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 4) ระดับท้องถิ่น กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โดยสํานักงานปลัดกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา ประสานงานกับ กระทรวงมหาดไทย เพื่อ ผลักดันการปรับเปลี่ยนข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการ กีฬาในระดับท้องถิ่นให้สอดคล้องและสนับสนุนการดําเนินงานตาม ประเด็นการพัฒนา ของแผนพัฒนา การกีฬา แห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) และแผนพัฒนาการกีฬาจังหวัด พร้อม ถ่ายทอด ให้องค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น ใน ทุก ระดับ รับทราบ ตระหนักถึงความสําคัญ แล ะ นําไปกําหนดเป็น ภารกิจที่ต้องดําเนินการส่งเสริมและ สนับสนุนการพัฒนากีฬาในท้องถิ่นเป็นประจําทุกปี 5) เครือข่ายภาคประชาชน หน่วยงานที่มีหน้าที่ดําเนินการตามภารกิจที่กําหนดไว้ ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ สนับสนุนให้ภาคประชาชน ซึ่งประกอบด้ว ย (1) พ่อแม่ ผู้ปก ค รอง (2) ชุมชน และ (3) สถา บั น การ ศึกษา เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทําแผนพัฒนาการกีฬาจังหวัด และส่งเสริม การมี กิจกรรม กีฬาที่ เหมาะสมและสอดรับกับวิถีชีวิตของชุมชน และ ต่อยอดไปสู่กีฬาเพื่อความเป็นเลิศ 6 ) เครือข่ายภาคเอกชน หน่วยงานที่ มีหน้าที่ ดําเนินการตามภารกิจที่ กําหนด ไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ สนับสนุนให้ภาค เอกชน ที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรม การ กีฬา ครอบคลุมทั้ง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 107 - ภาคการผลิต ภาคการค้า และภาคบริการด้านการกีฬา ให้ มีการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงกั น หรือร่วมงานกับหน่วยงานภาครัฐ โดยเฉพาะการจัดกิจกรรมและมหกรรม การ กีฬา ทุกระดับที่มีความสําคัญต่อการสร้างความเข้มแข็งด้านเศรษฐกิจของประเทศ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 108 - แผนภาพที่ 5 - 1 ผังกลไกการขับเคลื่อนแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) สู่การปฏิบัติ ประเด็นการพัฒนา ที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนา การออกกําลังกายและ กีฬา เพื่อมวลชน ให้เป็นวิถีชีวิต ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 การส่งเสริมและ สนับสนุนการพัฒนา อุตสาหกรรมการกีฬา ประเด็นการพัฒนา ที่ 1 การส่งเสริมและพัฒนา การออกกําลังกาย และกีฬาขั้นพื้นฐาน ประเด็นการพัฒนา ที่ 3 การส่งเสริมและ พัฒนา การกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ และกีฬา เพื่อการ อาชีพ ประเด็นการพัฒนา ที่ 4 การ ส่งเสริม และ พัฒนา บุคลากรด้านการกีฬา (ศธ., กก ( มกช., กพล. ) ) (สป.กก., กกท.กก., มท., สธ., พม., อว., ดศ., กทม., สมาคมสันนิบาตเทศบาลฯ, สมาคม อบจ.ฯ, สมาคม อบต.ฯ, คกก.พาราลิมปิกฯ, คกก.โอลิมปิคฯ, คกก.สเปเชียลโอลิมปิคฯ, สมาคมกีฬา - แห่งประเทศไทย, สมาคมกีฬาแห่ง จังหวัด, สมาคมสุขศึกษา พลศึกษา และ สันทนาการ ฯ ) (มท. , พม. กก. ( กพล. ) ) ( สป.กก., มกช.กก. , สธ. , กห., อว., ดศ., กทม., สมาคมสันนิบาตเทศบาลฯ, สมาคม อบจ.ฯ, สมาคม อบต.ฯ, คกก.พาราลิมปิกฯ, คกก.โอลิมปิคฯ, คกก.สเปเชียล โอลิมปิคฯ, สมาคมกีฬา แห่งประเทศไทย , สมาคมกีฬาแห่งจังหวัด) ( กก. ( สป.กก. ) ) (ก ท ท.กก. , ททท.กก. , ก ก ท.กก. , มท. , อก. , พณ , คค., อว. , ดศ. , กทม., สสว. , BOI, สสปน. , ธพว. , สภา หอการค้าฯ , ส.อ.ท. , สมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย , สมาคมการค้าเครื่องกีฬา , ส มาคม การจัดการกีฬา ฯ ) ( กก. ( กกท. ) ) ( สป.กก., กพล.กก., มกช.กก. , มท. , ศธ. , กห . , อว. , กทม., คกก.พาราลิมปิกฯ, คกก. โอลิมปิคฯ, คกก.สเปเชียลโอลิมปิคฯ , กกมท., สมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย, สมาคมกีฬาแห่งจังหวัด , สมาคม วิทยาศาสตร์การกีฬา ฯ, สมาคมจิตวิทยา การกีฬา ฯ, สมาคมการจัดการกีฬา ฯ, สมาคม นักกีฬาโอลิมปิก ฯ ) ( กก. ( สป.กก. ) ) (กพล.กก. , มกช.กก. , กกท.กก. , มท. , ศธ ., สธ. , อว. , ดศ. , กทม., คกก.พาราลิมปิกฯ, คกก.โอลิมปิคฯ , คกก.สเปเชียลโอลิมปิคฯ , สมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย, สมาคมกีฬาแห่งจังหวัด ) คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี ระดับ นโยบาย ระดับ ขับเคลื่อน แผน ระดับ ปฏิบัติการ หน่วยงานในสังกัด กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ที่เกี่ยวข้อง (ส่วนกลาง) ส่วนราชการ ระดับจังหวัด/กลุ่มจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ น (ระดับท้องถิ่น) เครือข่ายภาคประชาชน และภาคเอกชน คณะอนุกรรมการจัดทําและติดตามการดําเนินงานตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) , คณะอนุกรรมการติดตามการดําเนินงาน ของมหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ และ คณะอนุ กรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการขนาดใหญ่ และบูรณาการการดําเนินงานด้านกีฬาของประเทศ คณะ อนุกรรมการ ฯ คณะ อนุกรรมการ ฯ คณะ อนุกรรมการ ฯ คณะ อนุกรรมการ ฯ คณะ อนุกรรมการ ฯ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 109 - 2 . แนวทางการ ติดตามและ ประเมินผลการดําเนินงาน การวัดความสําเร็จของแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติจําเป็นต้องมีการ ติ ดตามและประเมินผล โดยใช้ระบบที่มีมาตรฐาน สามารถวัดผลการพัฒนาในแต่ละ ประเด็นการพัฒนา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และได้รับ การยอมรับจาก หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง ซึ่งในส่วนของการ ติดตามและ ประเมิน ผ ล แผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) จะต้อง มีการดําเนินการดังนี้ 2.1 คณะอนุกรรมการ ฯ รายประเด็นการพัฒนา ซึ่งเป็น คณะอนุกรรมการ ภายใต้คณะกรรมการ นโยบายการกีฬาแห่งชาติ ประกอบด้วยหน่วยงานที่มีหน้าที่ดําเนินการตามภารกิจที่กําหนดไว้ในแผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติ ดําเนิน การ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน ในแต่ละ ประเด็นการพัฒนา ของ แผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) รายไตรมาสและรายปี และระยะครึ่งแผน และระยะสิ้นสุด แผน รวมทั้งจัดทํา แผนการเตรียมความพร้อมและ ป้องกัน ผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ เช่น โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่ส่งผลต่อการส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาในแต่ละประเด็นพัฒนา และ นําเสนอ ต่อ คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ เพื่อ ประเมินผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนากีฬาทั้งในด้านเศรษฐกิจ และสังคม 2. 2 คณะ อนุกรรมการ ฯ รายประเด็นการพัฒนา จัดระบบการนิเทศแผนให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับ ทราบ ถึงหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานและรูปแบบการบูรณาการ เพื่อดําเนินการขับเคลื่อนแผนตาม ประเด็นการพัฒนาสู่การปฏิบัติตามขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้ง จัดให้ มีการ ประชาสั มพันธ์ ผล การดําเนินงาน ภายใต้แผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ผ่าน สื่อ ช่องทางต่าง ๆ ของกระทรวงการท่องเที่ยวและ กีฬา และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง อย่างต่อเนื่อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 110 - 3 . ตัวอย่างโครงการสําคัญ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ ประเด็นการพัฒนา ที่ 1 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 1. การสร้ำงการ รับรู้ ความตระหนัก และความต้ องการ เพื่อการส่งเสริม และ พัฒนาการออก กําลัง กายและก ี ฬา ขั้ น พื้นฐาน ( 1 ) โครงการจั ด ทํา สื ่ อ หลากหลาย รู ปแบบ ( โดยนํา การออกกําลั งกายและเล่ นกี ฬา มำ ผ ส ม ผ สำ น ก ั บ Entertainment ( ความบันเทิง) รวมความรู้ทั้งศาสตร์และศิลป์ เพื่ อสร้างการรับรู้ ด้านประโยชน์ของการ ออกกําลั งกายและเล่ นกี ฬาแก่ เด็ กและ เยาวชน ) มี สื่อ ที่มีการผสมผสานระหว่างศาสตร์ และศิลป์ด้านการออกกําลังกายและ เล่นกีฬา ที่เหมาะสมกับเด็กและเยาวชน โดย เผยแพร่ผ่าน ช่องทาง ที่ เหมาะสม เพื่อเข้าถึงกลุ่ มเด็กและเยาวชน เด็กและเยาวชน รับรู้และตระหนัก ว ่ำ กำ ร อ อ ก ก ํา ล ั ง กำ ย แ ล ะ การเล่นกีฬาส่งผลดีต่อการพัฒนา ทำง ร่างกายและสมอง กพล . (กก.), มกช. (กก.), ศธ., อปท. (มท.), พม., สธ., อว. , กทม. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 2 ) โครงการเสริ มสร้ำงค่ำนิ ยมโอลิ มปิ ก ( Olympic Values Education Programs : OVEP) ผ่านกิจกรรมส่งเสริมการออกกําลัง กาย และเล่นกีฬาในสถานศึกษา ( เพื่อสร้าง การรับรู้และปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนรับรู้ และเข้ำใจคุ ณค่ำของกี ฬาและจริ ยธรรม ทางการกีฬา ) มีองค์ความรู้หรือสื่อที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ค่ำนิ ยมโอลิ มปิ ก เพื ่ อสร้ำงการรั บรู้ ในกิจกรรมส่งเสริมการออกกําลังกาย และเล่นกีฬาในสถานศึกษา เด็กและเยาวชนรับรู้ และเ ข้ำใจ ในคุณค่าของการออกกําลังกาย และเล่ นกี ฬา และจริ ยธรรม ทางการกีฬา กพล . ( กก. ) , มกช. ( กก. ) , ศธ., อปท. ( มท. ) , พม., อว., คกก.โอลิมปิคฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 111 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 1 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 1. การสร้ำงการ รับรู้ ความตระหนัก และความต้องการ เพื่อการส่งเสริมและ พั ฒนำการออ ก - กําลังกายและกีฬา ขั้นพื้นฐาน (ต่อ) ( 3 ) โครงการสอนพื ้ นฐานกี ฬาในโรงเรี ยน เพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬาตามความถนัดและ ความสนใจ มีเด็กและเยาวชนที่ได้เรียนพื้นฐาน กีฬา ในโรงเรียน เด็ กและเยาวชนได้ เล่ นกี ฬาตาม ความถนัดและความสนใจ มกช . (กก.), ศธ., อปท. (มท.), กทม., สมาคมกีฬาฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 4 ) โครงการส่ งเสริ มการออกกําลั งกายและ กีฬาขั้ นพื้ นฐาน เพื่ อปลูกฝังให้นั กเรี ยน นักศึกษา และเยาวชนใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ด้วยการออกกําลังกายและเล่นกีฬา มี การจั ดกิ จกรรมส่ งเสริ มการ ออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน เด็กและเยาวชนมีการออกกําลังกาย แ ล ะ เ ล ่ น ก ี ฬำ ตำ ม ค วำ ม ส น ใ จ อย่างสม่ําเสมอ กพล . (กก.), มกช . (กก . ) , ศธ., อปท. (มท.), กทม. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 5 ) โครงการห้องเรียนกีฬาในโรงเรียน - มีโรงเรียนที่มีห้องเรียนกีฬา อย่างน้อยอําเภอละ 1 แห่ง - มีนักเรียนที่เรียนห้องเรียนกีฬา ทั่วประเทศ เด็ กและเยาวชนได้ รั บการพั ฒนา การเล่ นกี ฬาบนพื ้ นฐานกำร ใช้ วิทยาศาสตร์การกีฬา เพื่อเป็นแหล่ง บ่ มเพาะสู ่ การเป็ นนั กกี ฬาเ พื่อ ความเป็นเลิศ สพฐ . ( ศธ . ), สอศ. (ศธ . ), สช. ( ศธ. ) , อปท. (มท.), กทม. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 6 ) โครงการจัดกิจกรรมพิเศษเกี่ยวกับกีฬา เพื่อ เป็นประโยชน์ต่อเด็กและเยาวชนในท้องถิ่น มีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะ กีฬา ในทุกตําบล อย่างน้อยตําบลละ 1 กิจกรรม เด็กและเยาวชนมีการออกกําลังกาย และเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอ อปท. (มท.) , กทม. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 112 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 1 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 1. การสร้างการรับรู้ ความตระหนั ก และ ความต้ องการ เพื่อ กำ ร ส ่ ง เ ส ร ิ ม แ ล ะ พัฒนาการออกกําลัง - กำ ย แ ล ะ ก ี ฬำ ขั้นพื้นฐาน (ต่อ) ( 7 ) โครงการส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม ออกกําลังกายในเด็กและเยาวชน เพื่อ สร้ำงความตระหนักในคุณค่ำของ กิจกรรมการออกกําลังกาย และเกิด การพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ และ สังคม - มีหลักสูตรการเรียนการสอนในโรงเรียน ที ่ นําหลั กการวิ ทยาศาสตร์ การกี ฬา ขั ้ นพื ้ นฐานและการฉลาดรู ้ ทางกาย ( Physical Literacy) มาบู รณาการสอน ร่วมกับวิชาพลศึกษา หรือวิชาอื่น ๆ ที่มี ความเหมาะสม - มี การเรี ยนการสอนเรื ่ องวิ ทยาศาสตร์ การกีฬาขั้นพื้นฐานและการฉลาดรู้ทางกาย ( Ph ysical Literacy) ในวิชาพลศึกษา หรือ วิชาอื่น ๆ ที่มีความเหมาะสม เด็กและเยาวชนมีความตระหนัก ในคุ ณค่ำของการออกกําลั งกาย และเกิ ดการพั ฒนาด้านร่ำงกาย อารมณ์ และสังคม โดยได้รับการ พัฒนาบนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ การกีฬาและการฉลาดรู้ทางกาย สพฐ . (ศธ . ), สอศ. (ศธ.), สช. (ศธ.) , อปท. (มท.), กทม. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 8 ) โ ครงการส่ งเสริ มกิ จกรรมการ ออกกําลังกายในเด็กเล็ก (ช่วงปฐมวัย อำ ย ุ 5 - 7 ป ี ) ท ุ ก พ ื ้ น ท ี ่ ใ ห ้ มี กำ ร เ ค ล ื ่ อ น ไ ห ว ร ่ำ ง กำ ย แ ล ะ ออกกําลังกายได้อย่างถูกต้องตามวัย - มีการจัดกิจกรรมการออกกําลังกายในเด็ก เล็ก (ช่วงปฐมวัยอายุ 5 - 7 ปี) ในทุกตําบล อย่างน้อยตําบลละ 1 กิจกรรม อาทิ วิ่ง 30 เมตร กระโดดไกล วิ่งข้ามรั้ว 30 เมตร - มี เด็ กเล็ ก (ช่ วงปฐมวั ยอายุ 5 - 7 ปี) ที่เข้าร่วมกิจกรรม เด็กเล็ก (ช่วงปฐมวัยอายุ 5 - 7 ปี) มีการเคลื่ อนไหวร่างกายได้อย่าง ถูกต้องตามวัย พร้อมทั้งมีวินัย และ น้ําใจของนักกีฬา สพฐ . (ศธ . ), สอศ. (ศธ.), สช. (ศธ.) , อปท. (มท.), กทม. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 113 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 1 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 1. การสร้างการรับรู้ ความตระหนั ก และ ความต้ องการ เพื่อ กำ ร ส ่ ง เ ส ร ิ ม แ ล ะ พัฒนาการออกกําลั ง - กำ ย แ ล ะ ก ี ฬำ ขั้ น พื้นฐาน (ต่อ) ( 9 ) โครงการส่งเสริมกีฬาพัฒนา สุ ขภาวะกลุ ่ มผู ้ ด้ อยโอกาส คนพิการและบุคคล พิเศษ - มีการจัดกิจกรรมกีฬา สําหรับกลุ่มผู้ด้อยโอกาส อย่างน้อยตําบลละ 1 กิจกรรม - มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะ (กาย จิต สังคม และปัญญา) สําหรับคนพิการและบุคคล พิเศษ ใน 76 จังหวัด - มีผู้ด้อยโอกาส เด็กและเยาวชนคนพิการและ บุคคล พิเศษ เข้าร่วมกิจกรรม ผู ้ ด้ อยโอกาส เด็ กและเยาวชน คนพิ การและบุ คคล พิเศษ มี การ ออกกําลังกายและเล่นกีฬาอย่าง สม่ําเสมอ กพล. (กก.), สพฐ . (ศธ .) , อปท. (มท.), กทม. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 10 ) โครงการจัดการแข่งขันกีฬา น ั ก เ ร ี ย น โ ร ง เ ร ี ย น ศ ึ ก ษำ สงเคราะห์ - มีการจัดการแข่งขันกีฬานักเรียนโรงเรียนศึกษา สงเคราะห์ - มีเด็กและเยาวชนคนพิการและบุคคล พิเศษ เข้า ร่วมการแข่งขัน เด็ กและเยาวชนคนพิ การและ บุคคล พิเศษ มีการออกกําลั งกาย และเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอ กพล. (กก.), สพฐ . (ศธ .) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 11 ) โครงการจัดการแข่งขันกีฬา น ั ก เ ร ี ย น ป ร ะ จ ํา จ ั ง ห วั ด และอําเภอ เพื ่ อส่ งต่ อสู่ ความเป็นเลิศ - มีการจัดการแข่งขันกีฬานักเรียนประจําจังหวัด ทุก จังหวัดและประจําอําเภอทุกอําเภอ - มี เด็ กและเยาวชนเข้ำร่ วมการแข่ งขั นกี ฬา นักเรียนประจําจังหวัดและอําเภอ - เด็กและเยาวชนมีการออกกําลัง - กายและเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอ - เด็ กและเยาวชนมี การพั ฒนา ทักษะการเล่นกีฬา เข้าใจเทคนิค กีฬาและกติกาการแข่งขันมากขึ้น สามารถนําไปพัฒนาตนเองเพื่อ พัฒนาต่อยอดสู่ความเป็นเลิศ กพล. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 114 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 1 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน (ต่อ) แนวทาง การพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 2. การสนั บสนุน ปัจจัยเอื้อเพื่อการ ส ่ ง เ ส ร ิ ม แ ล ะ พั ฒนาการออก - กําลังกายและกีฬา ขั้นพื้นฐาน ( 1 ) โ ครงการพั ฒนาศู นย์ ฝึ กกี ฬาอําเภอ (โดยยกระดั บสนามกี ฬาของโรงเรี ยน ที่มีศักยภาพ เพื่อการส่งเสริมการออกกําลัง - กาย และกีฬาขั้ นพื้ นฐานให้กับเด็ กและ เยาวชน) - มีการจัดทํามาตรฐานศูนย์ฝึกกีฬาอําเภอ - มีศูนย์ฝึกกีฬาอําเภอที่ ยกระดับจาก สนามกีฬาของโรงเรียนที่มีศักยภาพ ให้ มี มาตรฐานตามที่กําหนด ไม่น้อยกว่า 1 แห่งต่ออําเภอ - เด็กและเยาวชนมีการออกกําลัง - กายและเล่นกีฬาเพิ่มขึ้น - เด็กและเยาวชนมีความสามารถ ด้ำนกี ฬาเพื ่ อพั ฒนาสู ่ ความ เป็นเลิศ อปท. (มท.) , มกช. (กก.) , กพล. (กก.) , กกท. (กก.) , สพฐ. ( ศธ. ) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 2 ) โครงการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลด้านความ สนใจและต้องการของเด็กและเยาวชนในแต่ ละช่วงวัยในการออกกําลังกายและการเล่น กีฬา (เพื่ อให้หน่วยงานที่ เกี่ ยวข้องนําไป กําหนดแผนส่งเสริมการออกกําลังกายและ เล่นกีฬาในกลุ่มเด็กและเยาวชนให้เหมาะสม ใน แต่ละช่วงวัย) - มีรายงานผลการศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูลด้านความสนใจและต้องการของ เด็กและเยาวชนในแต่ละช่วงวัยในการ ออกกําลังกายและการเล่นกีฬา - มีแผนส่งเสริมการ ออกกําลังกายและ เล่นกีฬาได้ตามความสนใจและความ ต้องการของเด็กและเยาวชน เด็กและเยาวชนได้มีการออกกําลัง - กายและเล่นกีฬาได้ตามความสนใจ และความต้องการในแต่ละช่วงวัย กพล . ( กก .) , สป. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 3 ) โครงการจัดทําแพลตฟอร์มด้านการออก - กําลังกายของเด็กและเยาวชน เพื่ อให้ได้ ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่ สามารถใช้ในการ ประมวลผลข้อมูลต่าง ๆ เพื่อการส่งเสริม พั ฒนาการกี ฬาขั ้ นพื ้ นฐำน อย่ำงมี ประสิทธิภาพ มีแพลตฟอร์มด้านการออกกําลังกายของ เด็ กและเยาวชนในการจั ดเก็ บข้ อมูล สมรร ถ ภาพทางกาย - สามารถขับเคลื่อนแนวทางการ พัฒนา ในประเด็นการพัฒนาที่ 1 ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ - เด็กและเยาวชนมีการออกกําลัง - กายและเล่นกีฬาเพิ่มขึ้น กพล . ( กก .) , สป. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 115 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 1 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อน สู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงานดําเนินการ 3. การยกระดับการ บริ หารจั ดการเพื่อ ส่งเสริมและพัฒนา ประเด็นการพัฒนาที่ 1 - 5 ( 1 ) โครงการขับเคลื่อน ประเด็นการพัฒนา ที่ 1 - 5 - มีคณะอนุกรรมการขับเคลื่อน ประเด็นการ พัฒนา ฯ ที่มีผู้แทน หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง - มีแผนการขับเคลื่อน ประเด็นการพัฒนา ฯ - มี การจัดทําแผน พัฒนา การกีฬาจังหวัด ทั้ง 76 จังหวัด - มีการปรับโครงสร้างหลักสูตรให้มีการเรียน การสอนวิชาพลศึกษาอย่างน้อย 2 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ - มี แผนการจัดการความเสี่ยงเพื่อเตรียมความ พร้อมและป้องกันผลกระทบที่เกิดจากความ เสี่ยงในด้านต่าง ๆ เช่น โรคติดต่ออุบัติใหม่ ที่ส่งผลต่อการส่งเสริมและพัฒนาการกีฬำ - การดําเนินงานด้านการกีฬาได้รับการ ยกระดับการบริหารจัดการ - หน่วยงานที่ เกี่ ยวข้องมีความรู้ ความ เข้าใจและสามำรถขับเคลื่อนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ - มีแนวทาง นโยบาย และข้อเสนอแนะ ประกอบการบริหารจัดการการกีฬาทั้ง ระบบ รวมทั้ งมีแนวทางและ ประเด็น การพัฒนา ที่จะพัฒนาต่อไปในอนาคต - ส่งเสริมและพัฒนากีฬาในสถานการณ์ ที่เกิดจากความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ เช่น โ ร ค ต ิ ด ต ่ อ อ ุ บ ั ต ิ ใ ห ม่ ไ ด ้ อ ย ่ำ ง มี ป ระสิทธิภาพ สป . ( กก .) , กพล. (กก.) , มกช. (กก.), กทท. (กก.), ททท. (กก.), กกท. (กก.) , มท. , ศธ. , สธ. , กห., พม. , อก. , พณ , คค. , อว. , ด ศ . , กทม. , สสว . , BOI, สสปน. , ธพว. , สภาหอการค้าฯ , ส.อ.ท. , สมาคมสันนิบาตเทศบาลฯ , สมาคม อบจ.ฯ , สมาคม อบต.ฯ , คกก.พาราลิมปิกฯ , คกก.โอลิมปิคฯ , คกก.สเปเชียลโอลิมปิคฯ , สมาคมกีฬาฯ , สมาคมกีฬาแห่งจังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 116 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 2 : การส่งเสริมและพัฒนา การออกกําลังกายและ กีฬาเพื่อมวลชนให้เป็นวิถีชีวิต แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 1. การสร้างการรับรู้ ความตระหนั ก และ ความต้ องการ เพื่อ ส่งเสริมและ พัฒนาการ ออกกําลัง กายและกีฬา เ พ ื ่ อ มวลชนให้ เป็น วิถีชีวิต ( 1 ) โครงการจัดทําสื่อทุกรูปแบบเพื่อส่งเสริม การออกกําลังกายและเล่นกีฬา “ กีฬาสร้าง คน คนสร้างชาติ เพื่อให้ประชาชนรับรู้ถึง ประโยชน์ของการออกกําลังกายและการ เล่นกีฬา มีสื่อหลากหลายรูปแบบที่นําเสนอเนื้อหาใน การส่งเสริมให้ประชาชนออกกําลังกายและ เล่นกีฬาในทุกช่องทาง เพื่อให้ประชาชนทุก กลุ่มรับรู้ถึงประโยชน์ของการออกกําลังกาย และการเล่นกีฬา ประชาชนทั่ วประเทศรับรู้ ว่า การออกกําลังกายและการเล่น กีฬาส่งผลดีต่อการพัฒนา ทั้ง ร่างกายและสม องของตนเอง (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) กพล. (กก.) , มกช. (กก.), สธ., พม., อว., กทม. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 2 ) โครงการส่งเสริมการออกกําลังกายและ กีฬาเพื่อมวลชน (กรมพลศึกษาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประชุมเพื่อจัดทําแผนและวางระบบการ ส่งเสริมการออกกําลังกายและเล่นกีฬา) - มีเจ้าหน้าที่พลศึกษาที่มีความรู้วามสามารถ และศักยภาพในการส่งเสริมการออกกําลัง - กายและเล่นกีฬาได้อย่างมีประสิทธิภาพ - มีแผนและระบบการส่งเสริมการออกกําลัง - กายและเล่นกีฬา - มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกําลังกาย และเล่นกีฬาในทุกท้องถิ่นทั่วประเทศ ประชาชนมีการออกกําลังกาย และเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอ กพล. (กก.) , อปท. (มท.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 3 ) โครงการก้าวท้าใจ (โดยให้ผู้ที่เข้าโครงการ เก็ บข้ อมู ลการออกกําลั งกาย เพื ่ อรับ ประกาศนียบัตร และสะสมคะแนนเพื่อ แลกของรางวัล กรมอนามัยเริ่มดําเนินงาน ครั้งแรกปี 2562 และดําเนินการล่าสุด เป็น S eason ที่ 3 ในปี 2564) มีประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมการส่งเสริมการ ออกก ํา ลังกายและเล่นกีฬา ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการ ดูแลรักษาสุขภาพและมี การออกกําลังกายและเล่นกีฬา อย่างสม่ําเสมอ กอ. ( สธ . ) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 117 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 2 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาเพื่อมวลชน ให้เป็นวิถีชีวิต (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 1. การสร้างการรับรู้ ความตระหนั ก และ ความต้ องการ เพื่อ ส่งเสริมและ พัฒนาการ ออกกําลัง กายและกีฬา เ พ ื ่ อ มวลชนให ้ เป็น วิถีชีวิต (ต่อ) ( 4 ) โครงการส่งเสริมการออกกําลังกายและ เล่น กีฬาหมู่ บ้าน 1 ตําบล 1 ชนิดกีฬา ( One Tambol One Spor t : OTOS) - มีการส่งเสริมการออกกําลังกายและเล่น กีฬาทุกหมู่บ้านทั่วประเทศ - มีการส่งเสริมการเล่นกีฬาทุกหมู่บ้าน อย่างน้อยหมู่บ้านละ 1 ชนิดกีฬา ประชาชนมีการออกกําลังกาย และเล่นกีฬาเพิ่มขึ้น อปท. (มท.) , กพล. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 5 ) โครงการจั ดการแข่ งขั นกี ฬาประจําปี ในทุกท้องถิ่นทั่วประเทศ - มีการจัดการแข่งขันกีฬา (อย่างน้อย 3 ชนิดกีฬา) ในทุกท้องถิ่นทั่วประเทศ ปีละ 1 ครั้ง - มี การส่งเสริมการออกกําลังกายและเล่น กีฬาอย่างน้อย 3 ชนิดกีฬา ประชาชนมีการออกกําลังกาย และเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอ กปท. (มท.) , อปท. (มท.) , และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 6 ) โครงการส่งเสริมการออกกําลังกาย เล่นกีฬา หรือการแข่งขันกีฬาในทุกโครงการ / กิจกรรม ของทุ กหน่ วยงาน ( Sport Every Event: SEE) - มีแนวทางการส่งเสริม SEE - มี การจัดกิจกรรมกีฬาและการแข่งขัน กีฬา ( SEE) ใน ทุกหน่วยงาน ประชาชนมีการออกกําลังกาย และเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอ สป. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 118 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 2 : การส่งเสริมและพัฒนา การออกกําลังกายและ กีฬาเพื่อมวลชน ให้เป็นวิถีชีวิต (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 2. การสนับสนุนปัจจัย เอื้อ เพื่อส่งเสริมและ พัฒนาการออกกําลัง - กำ ย แ ล ะ ก ี ฬำ เ พื่ อ มวลชนให้เป็นวิถีชีวิต ( 1 ) โครงการยกระดับลานกีฬา ท้ องถิ่น จากพื้ นที่ สาธารณะที่ มีศักยภาพ ในพื้นที่ทุกชุมชน ม ี ลำ น ก ี ฬำ ห ร ื อ ส ถำ น ที่ ออกกําลั งกายและเล่ นกี ฬา สําหรับประชาชนในทุกหมู่บ้าน ประชาชนมีการออกกําลังกายและเล่นกีฬาเพิ่มขึ้น อปท. (มท.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 2 ) โครงการพัฒนาแพลตฟอร์มการ ประมวลผลข้อมูลกิจกรรมทางกาย การออกกําลังกายและการเล่นกีฬา ของประชาชน ( CALORIES CREDIT CHALLENGE) - มีแพลตฟอร์มประมวลผล ข้ อมู ลการออกกําลั งกาย ท ี ่ เ ช ื ่ อ ม โ ย ง ก ั บ ร ะ บ บ การพั ฒนาสุ ขภาพด้ำน การออกกําลังกาย - ประชาชนได้รับสิทธิพิเศษ จากการเคลื่อนไหวร่างกาย ออกกําลังกาย เพื่ อสะสม คะแนนจากจํานวนแคลอรี่ ที่สูญเสีย - ประชาชนหันมาใส่ใจสุขภาพ ด้วยกิจกรรม ทางกาย การออกกําลั งกาย และเล่ นกีฬา ทําให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ส่งผลให้มีจิตใจ ที่ เป็นสุข ผ่อนคลาย และสามารถใช้สติปัญญา ในทางสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาประเทศ - ประชาชนมีความคล่องแคล่ว ( Active) ลดการ เกิดโรค NCDs และเมื่อร่างกายแข็งแรงก็เป็น การป้องกันการแพร่ระบาดขอ ง COVID - 19 - ความร่วมมือจากภาครัฐและภาคเอกชนในการ สนับสนุนและจูงใจให้ประชาชนออกกําลังกาย อย่างสม่ําเสมอเพิ่มสูงขึ้น สป. ( กก. ) , กพล . (กก.), มกช. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 119 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 2 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาเพื่อมวลชน ให้เป็นวิถีชีวิต (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 2. การสนับสนุนปัจจัย เอื้อ เพื่อส่งเสริมและ พัฒนาการออกกําลัง - กำ ย แ ล ะ ก ี ฬำ เ พื่ อ มวลชนให้เป็นวิถีชีวิต (ต่อ) ( 3 ) โครงการศึกษา และ วิเคราะห์ข้อมูลด้าน ความสนใจและต้ องการของประชาชน ในแต่ ละช่ วงวั ย รวมทั ้ งผู ้ พิ การและ ผู ้ ด้ อยโอกาสในการออกกําลั งกายและ การเล่นกีฬา (เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นําไปกําหนดแผนส่งเสริมการออกกําลัง กาย และเล่นกีฬาให้เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย และ ทุกกลุ่ม) - มีรายงานผลการศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูลด้านความสนใจและต้องการ ของประชาชนในแต่ละช่วงวัยในการ ออกกําลังกายและการเล่นกีฬา - มี แผน การส่งเสริมการออกกําลังกาย และเล่นกีฬาได้ตามความสนใจและ ความต้องการของประชาชนทุกช่วง วัยและทุกกลุ่ม ประ ชา ชนมีการออกกําลังกายและ เล่ นกี ฬาตามความสนใจและ ความต้องการในแต่ละช่วงวัยและ ทุกกลุ่ม กพล . (กก.) , มกช. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 4 ) โครงการธนาคารอุปกรณ์กีฬา (ตามความ สนใจของเด็กและเยาวชนในท้องถิ่น จัดให้มี อุปกรณ์และสิ่งอํานวยความสะดวกในการ ออกกําลังกายและเล่นกีฬาที่ เพียงพอใน ชุมชน) - มี การจัดทํา มาตรฐานของธนาคาร อุปกรณ์กีฬา (รายการอุปกรณ์กีฬา จํานวน และความเหมาะสม) - มีการจัดตั้ งธนาคารอุปกรณ์กีฬา ตามความสนใจของเด็กและเยาวชน ในทุกหมู่บ้าน เด็กและเยาวชนมีการออกกําลังกาย และเล่นกีฬาเพิ่มขึ้น อปท. (มท.) , มกช. (กก.) , กพล. (กก.) , กกท. (กก.) , สพฐ. ( ศธ. ) , กทม. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 5 ) โครงการก่อสร้าง/พัฒนาศูนย์ฝึกกีฬาประจํา อําเภอให้มีมาตรฐาน มีศูนย์ฝึกกีฬาที่มีมาตรฐานตามที่กําหนด ประจําอําเภอ 1 แห่งต่ออําเภอ ประชาชนมีการออกกําลังกายและ เล่นกีฬาเพิ่มขึ้น อปท. (มท.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 120 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 3 : การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 1. การส่งเสริมความ ต้ องการเพื ่ อการ ส ่ ง เ ส ร ิ ม แ ล ะ พัฒนาการกีฬาเพื่อ ความเป็ นเลิ ศและ กีฬาเพื่อการอาชีพ ( 1 ) โครงการรณรงค์ การสร้ำง กระแสความตื ่ นตั วด้ำนกีฬา เผยแพร่ และประชาสั มพั นธ์ กิจกรรมการกีฬา รวมถึง เส้นทาง ความสําเร็จของนักกีฬา - มีสื่อที่นําเสนอเนื้อหาการสร้างความต้องการในการเป็น นั กกี ฬา เพื่ อความเป็ นเลิ ศทางกี ฬาและกี ฬาอาชีพ หลากหลายรูปแบบและทุกช่องทาง - มีช่องทีวีกีฬา ซึ่ งดําเนินการเผยแพร่รายการที่ สร้าง ภาพลักษณ์กระแสความนิยมกีฬาอาชีพ และรายการ ถ่ายทอดสด - มี Career Path ของนักกีฬารายชนิดกีฬา และได้รับ การเผยแพร่ผ่านทีวีกีฬา (T - Sports) สื่อสังคมออนไ ลน์ ต่ำง ๆ สื ่ อวิ ทยุ สื ่ อโทรทั ศน์ และสื ่ อสิ ่ งพิ มพ์ ที ่ มี กลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ที่สนใจด้านกีฬา น ั ก ก ี ฬำ ห น ้ำ ใ ห ม ่ แ ล ะ นั กกี ฬาอาชี พ มี จํานวน เพิ่มขึ้น กกท. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 2 ) โครงการสรรหาและคัดเลือก นักกีฬาเป็นเลิศเข้าสู่ การเป็น นักกีฬาทีมชาติ - มี นักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ - มี นักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ - มี นักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาอาวุโสแห่งชาติ นั กกี ฬาหน้ำใหม่ ได้ รับ การพัฒนาสู่การเป็นนักกีฬา ท ี ม ชำ ต ิ เ พ ิ ่ ม ข ึ ้ น อ ย ่ำ ง ต่อเนื่อง กกท. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 3 ) โครงการเตรี ยมและพั ฒนา นั กกี ฬาเพื ่ อความเป็ นเลิศ ศักยภาพสูง (Sports Hero) มี นักกีฬาที่มีศักยภาพสูงตามเกณฑ์ที่กําหนด นั กกี ฬาหน้ำใหม่ ได้ รับ การพั ฒนาเป็ นนั กกี ฬา ทีมชาติ กกท. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 121 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 3 : การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 1. การส่งเสริมความ ต้ องการเพื ่ อการ ส ่ ง เ ส ร ิ ม แ ล ะ พัฒนาการกีฬาเพื่อ ความเป็ นเลิ ศและ กีฬาเพื่ อการอาชีพ (ต่อ) ( 4 ) โครงการพัฒนากีฬาอาชีพอย่าง เป็นระบบ มีการ ส่งเสริมและพัฒนากีฬาอาชีพ อย่าง เป็นระบบ - กี ฬาอาชี พมี การเติ บโตและผลงานทั้ง ระดับชาติและนานาชาติตามเป้าหมายที่ กําหนด - นักกีฬาอาชีพ มีจํานวน เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง กกท. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 5 ) โครงการส่งนักกีฬาเข้าร่วมการ แข่ งขั นและการเสนอตั วเป็น เจ้ำภาพจั ดการแข่ งขั นกี ฬา ระดับนานาชาติ - มี นักกีฬา และนักกีฬาทีมชาติ ได้ เข้าร่วม การแข่งขันกีฬาเพื่อความเป็นเลิศระดับ นานาชาติ - มีการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน กีฬาระดับนานาชาติ - นักกีฬามีผลงานจากการแข่งขันเพิ่มขึ้น - ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางในการจัดการ แข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ กกท. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 6 ) โครงการจั ดการแข่ งขั นกี ฬา อำ ช ี พ ร ะ ด ั บ นำ นำ ชำ ต ิ ใ น ประเทศไทย - มีการจัดการแข่งขันกีฬาอาชีพระดับ นานาชาติในประเทศไทย - มี นักกีฬาอาชีพ เข้าร่วมการแข่งขันกีฬา อาชีพระดับนานาชาติ - นักกีฬามีผลงานจากการแข่งขันเพิ่มขึ้น - กี ฬาอาชี พมี การเติ บโตและผลงานทั้ง ระดับชาติและนานาชาติตามเป้าหมายที่ กําหนด - นักกีฬาอาชีพมีจํานวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง กกท. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 122 - ประเด็นการพัฒนาที่ 3 : การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 1. การส่งเสริมความ ต้ องการเพื ่ อการ ส ่ ง เ ส ร ิ ม แ ล ะ พัฒนาการกีฬาเพื่อ ความเป็ นเลิ ศและ กีฬาเพื่ อการอาชีพ (ต่อ) ( 7 ) โครงการกีฬามหาวิทยาลัยแห่ง ประเทศไทย มีนิสิต นักศึกษา เข้าร่วมกิจกรรมด้านกีฬา - นิ สิ ต นั กศึ กษา มี ทั กษะด้ำนกี ฬา มี คุ ณธรรม จริ ยธรรม มี จิ ตอาสา และมี ความรั บผิ ดชอบต่ อสั งคม (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) - นิ สิ ต นั กศึ กษา สามารถพั ฒนา ความสามารถจนเป็นนักกีฬาทีมชาติ กกมท. (อว.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 8 ) โครงการจัดทําหลักสูตรเฉพาะ ทางสําหรับผู้ ที่ ต้องการหรือมี ศักยภาพที่จะพัฒนาเป็นนักกีฬา มี หลั กสู ตรเฉพาะทางสําหรั บผู ้ ที ่ ต้ องการ หรื อมี ศั กยภาพที ่ จะพั ฒนาเป็ นนั กกี ฬา ใน สถาน ศึกษาตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึง อุดมศึกษา นักกีฬาผ่านการเรียนใน หลักสูตรเฉพาะ ทาง มกช. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 9 ) โครงการสานฝันฮีโร่ - มี คน พิการทั่วประเทศ เข้าร่วมโครงการ - มีภาครัฐและภาคเอกชนร่วมให้การสนับสนุน - คน พิการสามารถพัฒนาความสามารถ จนเป็นนักกีฬาทีมชาติ คณะกรรมการ พาราลิมปิก แห่งประเทศไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 123 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 3 : การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 2. การสน ั บสนุน ปัจจัยเอื้ อเพื่ อการ ส ่ ง เ ส ร ิ ม แ ล ะ พัฒนาการกีฬาเพื่อ ความเป็ นเลิ ศและ กีฬาเพื่อการอาชีพ ( 1 ) โครงการสร้างและพัฒนาศูนย์ - ฝึกกีฬาให้มีมาตรฐานสากล มี ศู นย์ ฝึ กกี ฬาของแต่ ละชนิ ดกี ฬาที ่ มี มาตรฐานสากล นักกีฬามีความพร้อมในการแข่งขัน และมีผลงานที่ดีขึ้น กกท. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 2 ) โ ค ร ง กำ ร พ ั ฒ นำ ศ ู น ย์ - วิ ทยาศาสตร์ การกี ฬาให้ มี มาตรฐานในระดับอาเซียน - มีศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาที่มีมาตรฐาน ระดับอาเซียน - องค์ประกอบของศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬา มี มาตรฐานในระดับอาเซียน นักกีฬามีผลงานที่ดีขึ้น กกท. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 3 ) โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์ - วิทยาศาสตร์การกีฬาในระดับ ภาค / จังหวัด มีศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาในระดับภาค / จังหวัด นักกีฬาได้รับการพัฒนาศักยภาพไปสู่ กีฬาเป็นเลิศและกีฬาอาชีพ กกท. (กก.) , มกช. (กก.) , อว. , สมาคมกีฬา แห่งประเทศไทย , สมาคมกีฬาแห่งจังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 4 ) โครงการพัฒนามาตรฐานการ เก็ บตั วฝึ กซ้ อมแข่ งขั นใน รู ปแบบศู นย์ ฝึ กกี ฬาที ่ ได้ มาตรฐานรายชนิดกีฬา มีชนิดกีฬาที่ได้รับการพัฒนามาตรฐานการเก็บ ตัว ฝึกซ้อมแข่งขันในรูปแบบศูนย์ฝึกกีฬาตาม มาตรฐานที่กําหนด นักกีฬามีผลงานที่ดีขึ้น กกท. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 124 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 3 : การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 2. การสน ั บสนุน ปัจจัยเอื้ อเพื่ อการ ส ่ ง เ ส ร ิ ม แ ล ะ พัฒนาการกีฬาเพื่อ ความเป็ นเลิ ศและ กีฬาเพื่ อการอาชีพ (ต่อ) ( 5 ) โครงการศึกษาและทบทวนมาตรฐานรายการแข่งขันกีฬา อาชีพ เพื่ อสนับสนุนการยกระดับกีฬาอาชีพให้เข้าสู่ มาตรฐานสากล มี ชนิ ดกี ฬาที ่ มี การศึ กษาและ ทบทวนมาตรฐานรายการแข่งขัน กีฬาอาชีพ - การจัดการแข่งขันกีฬา อาชีพที่มีมาตรฐานสากล - ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ ป็ น ศูนย์กลางในการจัดการ แข่งขันกีฬาอาชีพ กกท. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 6 ) โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลด้านกีฬา โดยเชื่อมโยงฐานข้อมูลด้านเวชศาสตร์ของนักกีฬาที่ได้รับ การ พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาเพื่ อใช้ในการติดตาม วิเคราะห์ ประเมินผลการพัฒนาสมรรถภาพร่างกายของ นักกีฬา เพื่อให้ได้ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่สามารถใช้ในการ ประมวลผลข้อมูลต่าง ๆ เพื่อการส่งเสริมนักกีฬาเพื่อความ เป็นเลิศและนักกีฬาอาชีพ อย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบสารสนเทศและฐานข้อมูล ด้ำนกี ฬาที ่ สามารถเชื ่ อมโยง ข้ อมู ลการ พั ฒนาสมรรถภาพ ร่างกายของนักกีฬา ฐานข้ อมู ลขนาดใหญ่ ที่ สามารถใช ้ ในการวำง แผนการพัฒนาการกี ฬา เพื่อความเป็นเลิศและกีฬา เพื่ อการอาชีพได้อย่างมี ประสิทธิภาพ กกท. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 7 ) โครงการก่อสร้างศูนย์แข่งขันและฝึกซ้อมกีฬาคนพิการ แห่งชาติ (ณ เมืองพัทยา) มีศูนย์แข่งขันและฝึกซ้อมกีฬา คนพิการแห่งชาติ นักกีฬา คนพิการ มีความ พร้อมในการแข่งขันและมี ผลงานที่ดีขึ้น คณะกรรมการ พาราลิมปิก แห่งประเทศไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 125 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 4 : การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร ด้าน การกีฬา แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 1 . กำ ร พ ั ฒ นำ ห ล ั ก ส ู ต ร ส ํา ห รั บ พัฒนาบุคลากรการ กีฬาที่เป็นมาตรฐาน ( 1 ) โครงการจัดทําหลักสูตรพัฒนา ศักยภาพครูผู้สอนพลศึกษา มี หลั กสู ตรมาตรฐานสําหรับ การพัฒนาครูผู้สอนพลศึกษา ครูผู้ สอนพลศึกษามีองค์ความรู้ ที่ ถูกต้องในการจัด การเรี ยนด้ำนการออกกําลั งกายและการเล่นกี ฬา ที่เหมาะ สมกับแต่ละช่วงอายุของเด็กและเยาวชน มกช. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 2 ) โครงการจัดทําหลักสูตรพัฒนา ศักยภาพ อาสาสมัครการกีฬา เพื่อ ไปเป็นผู้นําในการออกกําลังกาย ในชุมชน มี หลั กสู ตรมาตรฐานสําหรับ การพัฒนาอาสาสมัครการ กีฬา อาสา สมัคร การกีฬามีองค์ความรู้ที่ถูกต้องด้านการ ออก กําลังกายและการเล่นกีฬาที่เหมาะสมกับบุคคลแต่ ละช่วง อายุ สําหรับการเป็นผู้นําการออกกําลังกายในชุมชน ก พล . (กก.) , สมาคมกีฬา แห่งประเทศไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 3 ) โครงการพัฒนาหลักสูตร สําหรับ การอบรมผู้ฝึกสอน ผู้ตัดสินกีฬา ผ ู ้ บ ร ิ หำ ร กำ ร ก ี ฬำ ตำ ม มาตรฐานสากล มี หลักสูตรมาตรฐานสําหรับการ พัฒนาผู้ฝึกสอน ผู้ตัดสินกีฬา ผ ู ้ บ ร ิ หำ ร กำ ร ก ี ฬ ำ ตำ ม มาตรฐานสากล ผู้ฝึกสอน ผู้ตัดสินกีฬา ผู้บริหารการกีฬามีองค์ความรู้ ที่ถูกต้อง กกท. (กก.) , มกช. (กก.) , ก พล . (กก.), สมาคมกีฬา แห่งประเทศไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 126 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 4 : การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 1 . กำ ร พ ั ฒ นำ ห ล ั ก ส ู ต ร ส ํา ห รั บ พัฒนาบุคลากรการ กีฬาที่เป็นมาตรฐาน (ต่อ) ( 4 ) โครงการพัฒนาหลักสูตร สําหรับ การ อบรมนั กวิ ทยาศาสตร์ การกี ฬา ร่วมกับหน่วยงานทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ ตามมาตรฐานสากล มี หลั กสู ตรมาตรฐาน สําหรั บการ พั ฒนา นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ตามมาตรฐานสากล นักวิทยาศาสตร์การกีฬามีองค์ความรู้ ที่ ถูกต้อง กกท. (กก.) , มกช. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 5 ) โครงการจั ดสูตร หลักสูตร พัฒนา ศักยภาพ สําหรับบุคลากร การกีฬา อื ่ น ๆ ที ่ เกี ่ ยวข้ อง เพื ่ อรองรับ อุตสาหกรรม การ กีฬา มี หลั กสู ตรมาตรฐานสําหรั บการพั ฒนา บุ คลากร การกี ฬาอื ่ น ๆ เพื ่ อรองรับ อุตสาหกรรมกีฬา บุคลากร การกีฬาอื่น ๆ มีองค์ความรู้ เฉพาะด้านของแต่ละวิชาชีพ สป. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. การพั ฒนาเพื่อ ยกระดั บสมรรถนะ ของบุคลากร การ กีฬา ( 1 ) โครงการอบรมครูผู้สอนพลศึกษา - มีการอบรมครูผู้สอนพลศึกษาทั้งรูปแบบ ออนไลน์และออฟไลน์ - ครูผู้สอนพลศึกษาในโรงเรียนทั่วประเทศ ได้รับการ อบรม พัฒนาศักยภาพ ครู ผู ้ สอนพลศึ กษาสามา รถ จัด กิจกรรมทางพลศึกษา พื้นฐานการ ออกกําลั งกาย และการเล่ นกี ฬา พื้นฐานที่เหมาะสมกับแต่ละช่วงอายุ ของเด็กและเยาวชนได้อย่างถูกต้อง มกช. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 127 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 4 : การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 2. การพั ฒนาเพื่อ ยกระดั บสมรรถนะ ข อ ง บ ุ ค ลำ ก ร การกีฬา (ต่อ) ( 2 ) โครงการอบรมอาสาสมัคร การ กีฬาและผู้นําการออกกําลังกาย (อสก.) - มีการอบรมอาสาสมัคร การ กีฬาและผู้ นํา การออกกําลังกายทั้งรูปแบบออนไลน์และ ออฟไลน์ - มี อาสาสมัคร การ กีฬาและผู้นําการออกกําลัง กาย (อสก.) ที่ ได้ รั บการพั ฒนาและผ่ำน การประเมินทดสอบตามเกณฑ์ที่ กําหนด พร้อมทั้งมีการขึ้นทะเบียนอย่างเป็นระบบ อาสาสมั คร การกี ฬาและผู ้ นํา การออกกําลั งกายสามารถดู แล ใ ห ้ ค ํา แ น ะ น ํา ใ น กำ ร เ ล ่ น ก ี ฬำ พร้อมทั้งเป็นผู้นําการออกกําลังกาย ที่เหมาะสมกับบุคคลแต่ละช่วงอายุ ในชุมชน กพล . ( กก .) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อ ง ( 3 ) โครงการพัฒนาบุ คลากรด้ำน วิทยาศาสตร์การกีฬา - มี การอบรมบุ คลากรด้ำนวิ ทยาศาสตร์ การกีฬาทั้งรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ - มี บุคลากรด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาผ่านการ ทดสอบตามเกณฑ์ ที ่ กําหนดและได้ รับ ขึ ้ นทะเบี ยนปฏิ บั ติ งานในสมาคมกี ฬา แห่งประเทศไทย บุคลากรด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา สามารถดู แล และ ให้ คําแนะนํา ในการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของ นักกีฬาได้ กกท. (กก.) , มกช . (กก.) , และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 128 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 4 : การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 2. การพั ฒนาเพื่อ ยกระดั บสมรรถนะ ของบุคลากร การ กีฬา (ต่อ) ( 4 ) โครงการพัฒนาผู้ฝึกสอน ผู้ตัดสิน กี ฬา และ ผู ้ บริ หารการกี ฬา ตาม มาตรฐานสากล - มีการอบรมผู้ ฝึกสอน ผู้ ตัดสินกีฬา และ ผู้บริหารการกีฬา ทั้งรูปแบบออนไลน์และ ออฟไลน์ - มี ผู้ฝึกสอน ผู้ตัดสินกีฬา และ ผู้บริหาร กีฬา ที่ ได้รับการพัฒนาศักยภาพและผ่าน การ ทดสอบตามเกณฑ์ที่กําหนด และได้รับ ขึ้น ทะเบี ยนปฏิ บั ติ งานในสมาคมกี ฬาแห่ง ประเทศไทย ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา และ ผู้บริหาร การกี ฬา นําความรู ้ ไปใช้ ใน กำร ปฏิบัติงานได้ อย่างถูกต้อง กกท. (กก.) , ก พล . (กก.) , และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 5 ) โครงการอบรมบุคลากร การกีฬา อื่น ๆ เช่น นักกฎหมายการกีฬา , สถาปนิก การกี ฬา , สื ่ อมวลชนการกี ฬา ผู ้ จั ดการแข่ งขั นกี ฬา และผู ้ ที่ เกี่ยวข้อง ให้มีความรู้เฉพาะด้านของ แต่ละวิชาชีพ - มี การอบรมบุ คลากร การกี ฬาอื ่ น ๆ ทั้งรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ - มี บุคลากร การกีฬาอื่น ๆ ที่ ได้รับการ พัฒนา ศักยภาพให้มีความรู้เฉพาะด้านของ แต่ละ วิชาชีพ บุคลากร การกีฬาอื่น ๆ นําความรู้ เฉพาะ ด้ำนของแต่ ละวิ ชาชี พไป ใช้ ในการ ปฏิบัติงานได้ อย่างถูกต้อง สป. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 129 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 4 : การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 2. การพั ฒนาเพื่อ ยกระดั บสมรรถนะ ของบุคลากร การ กีฬา (ต่อ) ( 6 ) โครงการพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม ด้าน วิทยา ศาสตร์การกีฬา - มี ผลงานด้ำนวิ จั ยหรื อนวั ตกรรมด้ำน วิทยาศาสตร์การกีฬาที่ได้รับการตีพิมพ์ใน ระดับชาติหรือระดับนานาชาติ - มี ผลงานด้ำนวิ จั ยหรื อนวั ตกรรมด้ำน วิทยาศาสตร์การกีฬา ที่นําไปใช้ประโยชน์ใน การพัฒนาการกีฬา ผลงานด้านวิจัยหรือนวัตกรรมด้าน วิทยาศาสตร์การกี ฬาถูกนําไปใช้ ประโยชน์ ในการพั ฒนากี ฬาใน สมาคมกีฬา แห่งประเทศไทย มกช. (กก.) , กกท. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 7 ) โครงการขยายความร่ วมมื อทาง การศึ กษาและพั ฒนาองค์ ความรู้ ทางการกีฬากับองค์กรกีฬาระดับชาติ และนานาชาติ - มี องค์กร กีฬาระดับชาติและนานาชาติที่ให้ ความร่วมมือ ในการ แลกเปลี่ยน องค์ความรู้ ทางการ กีฬา - มีองค์ความรู้ทางการกีฬาที่ได้รับการพัฒนา ร่วมกับองค์กรกีฬาระดับชาติและนานาชาติ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนําองค์ความรู้ ทางการกีฬาไปใช้ประโยชน์ในการ พัฒนาการกีฬา มกช. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 8 ) โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศและ ฐานข้อมูลด้านกีฬา (โดยเชื่ อมโยง ฐานข้อมูลบุคลากรทางการกีฬา และ องค์ ความรู ้ และนวั ตกรรมด้ำน ว ิ ทยาศาสตร์ การกี ฬา เพื ่ อให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนําไปวางแผน การพัฒนาบุคลากร การกีฬา) มีระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลของบุคลากร การกีฬาที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลการพัฒนา บุคลากร การกีฬา หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นําองค์ความรู้ และข้อมูลจากระบบสารสนเทศและ ฐานข้อมูลของบุคลากร การกีฬา ไป วางแผนการพัฒนาบุคลากร การกีฬา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สป. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 130 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 4 : การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 3 . กำ ร ร ั บ ร อ ง มาตรฐานบุ คลากร การกีฬา ( 1 ) โครงการจัดทําเกณฑ์เพื่อรับรองมาตรฐาน สําหรับครู ผู้สอน พลศึกษา - มี เกณฑ์ ในการพิ จารณารั บรอง มาตรฐานสําหรับครู ผู้สอน พลศึกษา - มี ครู ผู ้ สอนพลศึ กษา ที่ ได้ รั บการ รับรองมาตรฐาน ครูผู้สอนพลศึกษาสามารถสอนกีฬา ได้อย่างถูกต้อง มกช . ( กก .) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 2 ) โครงการจัดทําเกณฑ์เพื่อรับรองมาตรฐาน สําหรับอาสาสมัครการกีฬา - มี เกณฑ์ ในการพิ จารณารั บรอง มาตรฐำนสําหร ั บ อำสำส ม ั ค ร การกีฬา - มี อาสาสมัครการกีฬา ที่ ได้รับการ รับรองมาตรฐาน อาสาสมัครการกีฬาสามารถสอนกีฬา ได้ อย่างถูกต้อง กพล . ( กก .) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 3 ) โครงการจัดทําเกณฑ์เพื่อรับรองมาตรฐาน สําหรับผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ ตัดสินกีฬา และ ผู้บริหารการกีฬา - มี เกณฑ์ ในการพิ จารณารั บรอง มำ ต ร ฐำ น ร ะ ด ั บ สำ ก ล สําหรับ ผู้ ฝึกสอนกีฬา ผู้ ตัดสินกีฬา และ ผู้บริหารการกีฬา - มี ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ ตัดสินกีฬา และ ผู้บริหารการกีฬา ที่ ได้รับการรับรอง มาตรฐานระดับสากล ผู ้ ฝึ กสอนกี ฬา ผู้ ตั ดสิ นกี ฬา และ ผู้ บริหาร การกีฬา ได้รับการรั บรอง มาตรฐานเทียบเท่าในระดับสากล กกท . ( กก .) , สมาคมกีฬา แห่งประเทศไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 131 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 4 : การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 3 . กำ ร ร ั บ ร อ ง มาตรฐานบุ คลากร การกีฬา (ต่อ) ( 4 ) โครงการจัดทําเกณฑ์เพื่อรับรอง มาตรฐาน สําหรับนักวิทยาศาสตร์ การกีฬา - มีเกณฑ์ในการพิจารณารับรองมาตรฐาน เ ท ี ย บ เ ท ่ำ ใ น ร ะ ด ั บ สำ ก ล ส ํา ห รั บ นักวิทยาศาสตร์การกีฬา - มี นั กวิ ทยาศาสตร์ การกี ฬา ที่ ได้ รับ การรับรองมาตรฐานในระดับสากล นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ได้รับการ รับรองมาตรฐานเทียบเท่าในระดับ สากล กกท . ( กก .) และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ( 5 ) โครงการจัดทําเกณฑ์เพื่อรับรอง มาตรฐาน สําหรับบุคลากรอื่น ๆ ที ่ เกี ่ ยวข้ องกั บอุ ตสาหกรรม การ กีฬา - มีเกณฑ์ในการพิจารณารับรองมาตรฐาน เทียบเท่าในระดับสากล สําหรับบุคลากร อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม การ กีฬา - มี บุ คลากรอื ่ น ๆ ที ่ เกี ่ ยว ข้ อ ง กั บ อุตสาหกรรม การ กีฬา ที่ ได้รับการรับรอง มาตรฐานในระดับสากล บุ คลากรอื ่ น ๆ ที ่ เกี ่ ยวข้ องกับ อุ ตสาหกรรม การ กี ฬา ได้ รั บการ รับรองมาตรฐานเทียบเท่าในระดับ สากล สป. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 6 ) โครงการบูรณาการกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในการจัดตั้ง สภาวิชาชีพ นั กวิ ทยาศาสตร์ การกี ฬาและ ออกกําลังกาย มีการกําหนดกรอบและแนวทางเพื่อให้เกิด การจั ดตั ้ ง สภาวิ ชาชี พนั กวิ ทยาศาสตร์ การกีฬาและออกกําลังกาย นั กวิ ทยาศาสตร์ การกี ฬำแ ละ ออกกําลั งกายได้ รั บการควบคุม ส่งเสริม และพัฒนาวิชาชีพอย่างเป็น มาตรฐาน กกท. ( กก .) , สป. (กก.) , มกช. (กก.) , อว. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 132 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 : การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 1. การสนั บสนุ นการ พัฒนาศักยภาพในการ แข่ งขั นของธุ รกิ จใน อุตสาหกรรมการกีฬา ( 1 ) โครงการจัดตั้งและพัฒนาคลัสเตอร์ Sport Economy เพื่อส่งเสริมความ ร่ วมมื อและเชื ่ อมโยงกั นระหว่ำง ผู้ ประกอบการในอุตสาหกรรม การ กีฬา ตั้งแต่ต้นน้ํา กลางน้ํา ปลายน้ํา มีการจัดตั้งคลัสเตอร์ Sport Economy ป ร ะ ก อ บ ด ้ ว ย ผ ู ้ ป ร ะ ก อ บ กำ ร ใ น อุตสาหกรรม การ กีฬา ตั้งแต่ต้นน้ํา กลาง น้ํา ปลายน้ํา สมาชิกในคลัสเต อร์เกิดการเชื่อมโยง ธุรกิจในรูปแบบเครือข่ายคลัสเตอร์ และเกิดการพึ่ งพากันภายในกลุ่ม เพื่อให้เกิดความยั่งยืน สป. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 2 ) โครงการผลักดันการสร้าง Thailand Sport Brand ส ู ่ สำ ก ล เ ช ่ น งำ น มหกรรมการจั ดแสดงสิ นค้ำและ บริการด้านการกีฬา ( Sport Expo) มีงานมหกรรมการจัดแสดงสินค้าและ บริการด้านการกีฬา - ผู้ประกอบการที่ จัดแสดงสินค้า แ ล ะ บ ร ิ กำ ร ด ้ำ น กำ ร ก ี ฬำ มีรายได้เพิ่ม มาก ขึ้น - มู ลค่ำรายได้ ที ่ เกิ ดจากงาน มหกรรม ได้ตามที่คาดการณ์ไว้ สสว. , อก . , พณ. และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ( 3 ) โครงการสนับสนุนการเข้าถึงแหล่ง เงินทุนในการลงทุนและพัฒนาธุรกิจ ด้านการกีฬา เพื่อเพิ่มสภาพคล่องทาง การเงินและศักยภาพในการแข่งขัน ทางธุรกิจ มี มาตรการด้ำนการเงิ นที ่ สนั บสนุน ผู้ประกอบการธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการ กีฬา มูลค่าการลงทุนจากภาคเอกชนใน อุตสาหกรรมการกีฬาไทยเพิ่ม มาก ขึ้น สสว. , อก . , พณ. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 133 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 : การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 1. การสนับสนุนการ พัฒนาศักยภาพใน การ แข่ งขั นของธุ รกิ จ ใน อุตสาหกรรมการกีฬา (ต่อ) ( 4 ) โครงการสนั บสนุ นการประมูล สิทธิ์งาน/ร่วมสร้าง/การยกระดับงาน ด้านกีฬาเพื่ อมวลชน/การแข่งขัน กีฬา เช่น วิ่งมาราธอน วิ่งเทรล ปั่น จักรยาน เป็นต้น เพื่อให้ประเทศไทย เป็นจุดหมายปลายทางด้านการกีฬา เชิง ท่องเที่ยว ( International Sport Event ) ในระดับนานาชาติ - มีการจัดงาน มหกรรมด้านกีฬาเพื่อมวลชน/ การแข่งขันกีฬา ( International Spor t Event ) ในระดับนานาชาติ เช่น วิ่งมาราธอน วิ่งเทรล ปั่นจักรยาน เป็นต้น - มีประชาชนชาวไทยเข้าร่วมงาน มหกรรมด้าน กีฬาเพื่อมวลชน ( International Sport Event ) - มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเข้าร่วม งานมหกรรม ด้านกีฬาเพื่ อมวลชน ( International Sport Event ) มูลค่าทางเศรษฐกิจที่เกิดจาก งาน มหกรรมด้านกีฬาเพื่อมวลชน/การ แข่งขันกีฬา ( International Sport Event ) ได้ตามที่คาดการณ์ไว้ สสปน . และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 5 ) โครงการส่งเสริมการจัดกิจกรรมกีฬา เช ิ ง ท่ องเที ่ ยว ทั ้ งภำครั ฐ และ ภาคเอกชนอย่างต่อเนื่อง มีการจัดกิจกรรมกีฬา เชิง ท่องเที่ยว มู ลค่ำทางเศรษฐกิ จที ่ เกิ ดจาก กำ ร จ ั ด ก ิ จ ก ร ร ม ก ี ฬำ เ พื่ อ การท่องเที่ยว ได้ตามที่คาดการณ์ไว้ สป. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 6 ) โครงการการพัฒนา E - sport เพื่อมุ่ง สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ มี แผนพัฒนา E - sport และ platform ในการสร้าง ความรู้ความเข้าใจ สื่อสารถึงกลุ่มเป้าหมายให้เข้า ร่ วมนาเสนอโครงการน ํา ร่ อง และ ขยายผลใน อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ต่างๆ ครอบคลุม การ ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ การ พั ฒนา E - sport เพื ่ อมุ ่ งสู่ เศรษฐกิจสร้ำงสรรค์แบบองค์รวม กกท . (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 134 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 : การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 2. การสนั บสนุน ปัจจัยเอื้อ เพื่อการ ส ่ ง เ ส ร ิ ม แ ล ะ สนับสนุนการพั ฒนา อุ ตสาหกรรมการ กีฬา ( 1 ) โครงการจั ดตั ้ งศู นย์ บริ การแบบ เ บ ็ ด เ ส ร ็ จ ( One Stop Service) (โดยทําหน้าที่เป็นศูนย์กลางของข้อมูล ต่าง ๆ ประสานงานด้านธุรกิจ และ สิทธิประโยชน์ในการให้ข้อมูลด้าน นโยบายการกีฬา และให้คําแนะนํา เบื ้ องต้ นกั บผู ้ ประกอบการในด้ำน อุตสาหกรรม การ กีฬา) มีศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ ( One Stop Service) ที่ทําหน้าที่เป็นศูนย์กลางของ ข้อมูลต่าง ๆ ในการให้ข้อมูลด้านนโยบาย การกีฬา และให้คําแนะนําเบื้องต้นกับ ผู้ประกอบการในด้านอุตสาหกรรม การ กีฬา รวมทั้ งให้คําปรึกษาในการพัฒนา นักกีฬา ประจําจังหวัด และให้บริการและ ประสานงานข้ อมู ลด้ำนกี ฬาและการ จัดการแข่งขันกีฬาประจําจังหวัด - ผู้ ประกอบการด้านอุตสาหกรรม การ กีฬามี ความ พึงพอใจต่อศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ - ทุกจังหวัดจะมีคลีนิ ก กีฬาเพื่อการพัฒนา น ั ก ก ี ฬำ อ ุ ต สำ ห ก ร ร ม กำ ร ก ี ฬำ ผู้ ประกอบการ และบุคลากร การกีฬา สป. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 2 ) โครงการพัฒนาเมืองกีฬาที่ยั่งยืน มีเมืองกีฬาที่สําเร็จและยั่งยืน มูลค่าทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากการเป็นเมือง กีฬา ได้ตามที่คาดการณ์ไว้ สป. (กก.) , กกท. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 3 ) โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลดิจิทัล ด้านอุตสาหกรรม การ กีฬา มีฐานข้อมูลดิจิทัลที่นําเสนอข้อมูลสถิติ กีฬา แนวโน้มอุตสาหกรรม การ กีฬา และ ปฏิทินการแข่งขันกีฬาในประเทศไทย หน่วยงานที่ เกี่ ยวข้องทั้ งภาครัฐและเอกชน สามารถเข้าถึงข้อมูลและนําไปวางแผนส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ สป. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 135 - ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 : การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ เพื่อการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เช่น ผลผลิต ผลลัพธ์ หน่วยงาน ดําเนินการ 2. การสนั บสนุน ปัจจัยเอื้อ เพื่อการ ส ่ ง เ ส ร ิ ม แ ล ะ สนับสนุนการพั ฒนา อุ ตสาหกรรมการ กีฬา (ต่อ) ( 4 ) โครงการสํารวจโครงสร้ำงและ ความต้ องการของแรงงานใน อ ุ ต สำ ห ก ร ร ม กำ ร ก ี ฬำ ข อ ง ประเทศไทย - มีโครงสร้างแรงงานในอุตสาหกรรมการกีฬา - ได้ ผลการสํารวจ ความต้องการของแรงงาน ในอุตสาหกรรมการกีฬา ของประเทศไทย หน่วยงานที่ เกี่ ยวข้อง นําผลจากสํารวจฯ ไปวางแผนส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา แรงงานในอุตสาหกรรมการกีฬาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สป. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 5 ) โครงการสํารวจเครื่ องชี้วัดภาวะ เศรษฐกิจด้านการกีฬาและ จัดทํา บัญชีประชาชาติด้านการกีฬา ( Sport Satellite Accounts: SSA ) - มี กรอบโครงสร้างการเก็บรวบรวมมูลค่าทาง เศรษฐกิจด้านการกีฬา - ได้ ผลการรวบรวมข้อมูลและประเมินมูลค่า ทางเศรษฐกิจของสินค้ากีฬาไทย มูลค่าทาง เศรษฐกิจของการบริการกีฬา มูลค่าทาง เศรษฐกิจของกิจกรรมการกีฬา (ชนิดกีฬาที่ สําคัญ) และการวิเคราะห์ความคุ้มค่าและ ผลกระทบทางเศรษฐกิจของการจัดกิจกรรม กีฬาที่สําคัญ - มี รายงานผลการจัดทําบัญชีประชาชาติด้าน การกีฬา ( Sport Satellite Acc ounts) - หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนํา ข้อมูลด้านมูลค่า เศรษฐกิจการกีฬาของประเทศเบื้องต้น ไปวางแผนและกําหนดนโยบายเกี่ยวกับ การอุ ตสาหกรรมการกี ฬาได้ อย่ำงมี ประสิทธิภาพ - ประเทศไทย มีข้อมูลเครื่องชี้วัดที่สะท้อน ถึงบทบาท โครงสร้าง และทิศทางของ เศรษฐกิจการกีฬาที่ ถูกต้อง น่าเชื่ อถือ และ เป็นระบบ รวมทั้ง สามารถ ประเมินผล กระทบที่ธุรกิจการกีฬามีต่อค่าเศรษฐกิจ หรือ GDP ของประเทศ ได้ สป. (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แ ผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 136 - บรรณานุกรม กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. ( 2 5 6 0 ). แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2 5 6 0 – 2 5 6 4 ) . กรุงเทพฯ : สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา . กระทรวงการท่ องเที่ยวและกีฬา. ( 2 5 6 0 ). ยุทธศาสตร์กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬำ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) . กรุงเทพฯ : สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา . กระทรวงมหาดไทย. ( 2 5 6 0 ). ยุทธศาสตร์ของกรมการปกครองส่วนท้องถิ่น . กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริม การ ปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย. กระทรวงการท่ องเที่ยวและกี ฬำ. ( 2 5 6 0 ). แผนแม่บทระยะ 2 0 ปี ของกรมพลศึกษา (พ.ศ. 2 5 6 0 – 2 5 7 9 ). กรุงเทพฯ : กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. กระทรวงการท่ องเที่ยวและกีฬา. ( 2 5 6 0 ). ยุทธศาสตร์สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและ กีฬา ฉบับ ที่ 4 (พ.ศ. 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) . กรุงเทพฯ : สํานักงานปลั ดกร ะทร วงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา. กระทรวงสาธารณสุข. ( 2 5 6 0 ). ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 2 0 ปี (ด้านสาธารณสุข) กระทรวงสาธารณสุข . กรุงเทพฯ : กระทรวงสาธารณสุข. สํานักนายกรัฐมนตรี. ( 2 5 6 0 ). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 2 (พ.ศ. 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) . กรุงเทพฯ : สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. กระทรวงการท่ องเที่ยวและกีฬา. ( 2 5 6 1 ). ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. 2 5 6 1 – 2 5 6 5 . กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. กระทรวงการพัฒนาสังคมแ ละความมั่นคงของมนุษย์ . ( 2 5 6 1 ). ยุ ทธศาสตร์กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ 2 0 ปี . กรุงเทพฯ : กระทรวงกา รพัฒนาสั งคมและ ความมั่นคงของมนุษย์. กระทรวงการท่ องเที่ยวและกีฬา. ( 2 5 6 1 ). แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ภายใต้กระทรวงการ ท่องเที่ยวและกีฬา พ.ศ . 2 5 6 1 – 2 5 6 5 ) . กรุงเทพฯ : สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและ กีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. สํานักนายกรัฐมนตรี . ( 2 5 6 1 ). ยุทธศาสตร์ชาติ 2 0 ปี (พ.ศ. 2 5 6 1 - 2 5 8 0 ) . กรุงเทพฯ : สํานักงานสภา พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. สํานักนายกรัฐม นตรี. ( 2 5 6 1 ). แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) . กรุงเทพฯ : สํานักงานสภา พัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. สํานักนายกรัฐมนตรี. ( 2 5 6 2 ). แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ . กรุงเทพฯ : สํานักงานสภาพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. สํา นักนายกรัฐม นตรี. ( 2 5 6 2 ). นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2 5 6 2 – 2 5 6 5 ) . กรุงเทพฯ : สํานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี.
แ ผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 137 - กระทรวงการท่ องเที่ยวและกีฬา. ( 2 5 6 3 ). แผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2 5 6 3 - 2 5 6 5 ) สํานักงาน ปลัดกระทรวงกา รท่องเที่ยว แ ละกีฬา . กรุงเทพฯ : สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. กระทรวงการท่ องเที่ยวและกีฬา. ( 2 5 6 3 ). แผนปฏิบัติราชการราย 3 ปี (พ.ศ. 2 5 6 3 - 2 5 6 5 ) กรมพล ศึกษา . กรุงเทพฯ : กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. กระทรวงสาธารณ สุข. ( 2 5 6 3 ). แผนการดําเนินงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2 5 6 3 . กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กระทรวง สาธารณสุข. กระทรวงการท่ องเที่ยวและกีฬา. ( 2 5 6 3 ). แผนปฏิบัติการด้านนันทนาการ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2 5 6 3 - 2 5 6 5 ) . ก รุงเทพฯ : กรมพล ศึ กษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. กระทรวงศึกษาธิการ. ( 2 5 6 3 ). แผนปฏิบัติราชการร ะยะ 3 ปี ( พ.ศ. 2 5 6 3 – 2 5 6 5 ). กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ . กระทรวงมหาดไทย. ( 2 5 6 3 ). แผนปฏิบัติราชการกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2 5 6 3 - 2 5 6 5 ). กรุงเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย. ก ระทรวงการพัฒนาสั ง คมและความมั่นคงขอ งมนุษย์. ( 2 5 6 3 ). แผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ .ศ. 2 5 6 3 – 2 5 6 5 ) ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ . กรุงเทพฯ : กระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. กระทรวงการท่ องเที่ยวและกีฬา. ( 2 5 6 4 ). แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ. 2 5 6 4 สํานักงำ นปลัดกระ ทรวง ท่องเที่ยวและกีฬา . กรุงเทพฯ : สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการ ท่องเที่ยวและกีฬา. กระทรวงการท่ องเที่ยวและกีฬา. ( 2 5 6 4 ). แผนยุทธศาสตร์การกีฬาแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2 5 6 4 – 2 5 7 0 . กรุงเทพฯ : การกีฬาแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬำ. กระทรวงการท่ องเที่ยวและกีฬา. ( 2 5 6 4 ). แผนยุทธศาสตร์กรมพลศึกษา (พ.ศ. 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) . กรุงเทพฯ : การกีฬาแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. กระทรวงการท่ องเที่ยวและกีฬา. ( 2 5 6 4 ). แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2 5 6 4 ) กรมพลศึกษา . ก รุ งเทพฯ : กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ ยวและกีฬา. กระทรวงสาธารณสุข. ( 2 5 6 4 ). แผนปฏิบัติราชการประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2 5 6 4 ของกระทรว ง สาธารณสุ ข. กรุงเทพฯ : กระทรวงสาธารณสุข. กระทรวงสาธารณสุข. ( 2 5 6 4 ). แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ. 2 5 6 4 กรมอนามัย . กรุงเทพฯ : กรมอนามั ย กร ะทรวงสาธารณสุข. กร ะทรวงสาธารณสุข. ( 2 5 6 4 ). แผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2 5 6 3 – 2 5 6 5 ) กรมอนามัย. กรุงเทพฯ : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
แ ผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 138 - กระทรวงศึกษาธิการ. ( 2 5 6 4 ). แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ. 2 5 6 4 ของกระทรวงศึกษาธิการ . กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ . กระทร วงกา รพั ฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์. ( 2 5 6 4 ). แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2 5 6 4 ) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ . กรุงเทพฯ : กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม . ( 2 5 6 4 ). แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ สังคม ( พ.ศ. 2 5 6 4 – 2 5 8 0 ) . กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม . สํานัก นายกรัฐมนตรี. ( 2 5 6 4 ). (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 3 (พ.ศ. 2 5 66 - 2 5 6 9 ) . กรุงเทพฯ : สํานักงานสภาพัฒนาการเ ศรษฐกิจ แล ะสังคมแห่งชาติ ส ํานักนายกรัฐมนตรี. กระทรวงมหาดไทย. ( 2 5 6 5 ). แผนปฏิบัติราชการประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2 5 6 5 กรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย . สํานัก นาย รัฐน ตรี. ( 2565). รายงานสรุปผลการดําเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจําปี 2564 . ก รุงเ ท พฯ : สํานักงาน เ ลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษ ฐกิจและสังคม แห่ งชาติ. สํานัก นาย รัฐน ตรี. ( 2565). รายงานสรุปผลการดําเนินการตาม แผ นการปฏิรูปประเทศ ประจําปี 2564 . ก รุงเ ทพฯ : สํานักงาน เ ลขานุการของคณะกรรมการ ปฏิรู ปประเทศ สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษ ฐกิ จ และสังคมแห่ งชาติ. กฎหมาย นโยบาย และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง – คําแถลงนโยบายของคณะรัฐ มนตรี ลง วั นที่ 2 5 กรกฎาคม 2 5 6 2 – ประกาศกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เรื่องคู่มือการปฏิบัติตามมาตรการผ่อนปรนกิจการและ กิจกรรม ด้านการกีฬา เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด - 19 (ฉบั บที่ 1 - ฉบับที่ 4 ) – พระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. 2 5 6 1 ( National Sport P olicy Act , B.E. 2 5 6 1 ) – ยุทธศาสตร์การฟื้นฟู และขับเคลื่อนภารกิจของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในสถานการณ์ การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID - 19 ) (ภารกิจด้านการกีฬา) – รั ฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2 5 6 0 – รายงานของคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิ รูปประเท ศไ ทย ด้านกีฬา ศิลปะ วัฒนธรรม การศาสนา คุณธรรม และจริยธรรม สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ เรื่อง “ การส่งเสริม อุตสาหกรรมการกีฬา ” (Sports Industry Promotion)
แ ผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) - 139 - เอกสารภาษาต่ำงประเทศ Department of Health, Education, and Welfare . ( 2 0 1 6 ). The National Phys ical Ac ti vity Plan . National Collegiate Athletic Association (NCAA ). ( 2 0 1 6 ). Sport for Excellence . Office for National Statistics. ( 2 0 1 6 ) . The UK Tourism Satellite Account ( UK - TSA ) : 2 0 1 6 . Schmitz KH, Courn e ya KS, Matthews C et al. American College of Sports Medi cine roundtable on exercise guidelines fo r c a n c er survivors. Medicine & Science in S ports & Ex ercise. ( 2 009 ) Statista . ( 2 0 2 1 ). North America sports market size from 2 0 0 9 to 2 0 2 3 . The Ministry of Economy, Trade and Industr y (METI) , Japan Sports Agency, Japa n External Trade Organization (JETRO) and Japan Sport Council (JSC) . ( 2 0 1 8 ) . Sport I ndustry/Tourism . UK Sport and Sport England . ( 2 0 1 9 ). Sport for Excellence and Sport Industry/Tourism . UK Sport a nd Sport England . ( 2 0 1 9 ). Social and economic value of commu nity sport and physical activity in England . UK Sport and Sport England . ( 2 0 1 9 ). British Athletics and Home Country Talent Pathway. UK Sport and Sport England . ( 2 0 1 6 ) . LONDON. HOME OF WO RLD - CLA SS SPORT. UK Sport and Sport England . ( 2 0 1 9 ). Sport Grounds Sa fety Authority Annual Report and Accounts 2 0 1 9 – 2 0 2 0 .
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 1 ภาคผนวก ก. : นิยามและแนวทางการเก็บข้อมูลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด 1 . นิยามศัพท์ทางการกีฬา ศัพท์ทางการกีฬา นิยาม กีฬาขั้นพื้นฐาน การออกกําลังกายหรือการเล่นกีฬา ที่ใช้ความรู้หรือทักษะกีฬา ตั้งแต่ในระดับเริ่มต้น เพื่อการพัฒนาด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ก่อให้เกิดคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัย และน้ําใจนักกีฬา กีฬาเพื่อมวลชน การออกกําลังกายหรือการเล่นกีฬา ให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายของประชาชนในชีวิตประจําวัน หรือในการประกอบอาชีพ เพื่อให้เกิด ประโยชน์ต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิต กีฬาเพื่อความเป็นเลิศ กีฬาที่มุ่งทําการแข่งขันภายใต้การกํากับดูแลของสหพันธ์กีฬานานาชาติโดยใช้วิทยาศาสตร์การกีฬาที่เหมาะสม ตั้งแต่ระดับนักเรียน ระดับเยาวชน ระดับนิสิตนักศึกษา ระดับชาติ และระดับนานาชาติ ทั้งที่มุ่งประสงค์ต่อชัยชนะ หรือผลตอบแทน ตามความต้องการส่วนบุคคลของนักกีฬาแต่ละ คน กีฬาเพื่อการอาชีพ กีฬาที่นักกีฬาและบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย สามารถใช้ประกอบกิจกรรมเพื่อหารายได้ในการดํารงชีวิตหรือเป็นอาชีพหลัก รวมทั้ง สามารถประกอบวิชาชีพทางการกีฬาได้ตามต้องการ อุตสาหกรรม การ กีฬา กลุ่มของตลาดที่ ครอบคลุมภาคการผลิต ภาคการค้า และภาคบริการ โดย ประกอบไปด้วยผลิตภัณฑ์และบริการด้านการกีฬา การออกกําลังกายและนันทนาการ ซึ่งสามารถจะจัดให้อยู่ในรูปแบบของสินค้า บริการ บุคลากร สถานที่ และกิจกรรม รวมถึง กิจกรรม กีฬาเชิงท่องเที่ยว ( S port T ourism)
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 2 2 . นิยามและแนวทางการเก็บข้อมูลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดหลัก ตัวชี้วัดหลัก นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 1 . ป ร ะ ชำ ก ร ท ุ ก ภำ ค ส ่ ว น อ อ ก ก ํา ล ั ง กำ ย แ ล ะ เ ล ่ น ก ี ฬำ อย่างสม่ําเสมอ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ภายในปี 2570 การเคลื่ อนไหวร่างกายหรือการออกแรงในกิจกรรม การออกกําลังกาย หรือการเล่นกีฬา โดยแบ่งเกณฑ์ การออกกําลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ําเสมอไว้ 2 ช่วง คือ - อายุ 5 - 17 ปี ต้ องมี การออกกําลั งกาย หรือ การเล่นกีฬาครั้ งละไม่น้อยกว่า 30 นาที ต่อ วัน ที่ระดับความเหนื่อยอย่างน้อยปานกลางทุกวัน หรือ 200 นาที ต่อ สัปดาห์ ที่ระดับความเหนื่อยอย่างน้อย ปานกลาง - อายุ 17 ปี ขึ้นไป ต้องมีการออกกําลังกาย หรือการ เล่นกีฬา ครั้งละไม่น้อยกว่า 30 นาที ต่อ วัน ที่ระดับ ความเหนื่อยอย่างน้อยปานกลาง อย่างน้อย 3 ครั้ง ต่อสัปดาห์ สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาและ ดําเนิ นการจั ดเก็ บข้ อมู ลตั วชี ้ วั ด ในแต่ ล ะ ปี งบประมาณในการสํารวจกา รออกกําลังกายหรือ เล่ นกี ฬาอย่ำงสม่ ําเสมอของประชาชน โดยใช้ หลักเกณฑ์การออกกําลังกายหรือการเล่นกี ฬา ดังนิยาม สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 3 2. นิยามและแนวทางการเก็บข้อมูลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดหลัก (ต่อ) ตัวชี้วัดหลัก นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 2 . อันดับการแข่งขันกีฬาในมหกรรม กีฬาระดับนานาชาติของนักกีฬาไทย อยู่ในอันดับ 6 ในระดับเอเชีย ใน รายการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกเกมส์ กีฬาพาราลิมปิกเกมส์ กีฬาเอเชียน เกมส์ และกีฬาเอเซียนพาราเกมส์ ภายใน ปี 2570 อันดับการแข่งขันกีฬา หมายถึง อันดับเหรียญรางวัลรวม ของประเทศไทย ในการแข่ งขั นมหกรรมกี ฬาระดับ นานาชาติ โดยจะพิจารณาจากรายงานสรุปผลการแข่งขัน อย่างเป็นทางการ ( Official Report) โดย มหกรรมกีฬา ระดับนานาชาติ หมายถึง รายการการแข่งขันกีฬาระดับ นานาชาติที่มีการแข่งขัน และชนิดกีฬา ( Multi Sports) ซึ่ งครอบคลุมรายการการแข่งขันของนักกีฬาปกติ และ นักกีฬาคนพิการระดับนานาชาติ ทั้งนี้ อันดับการแข่งขันกีฬาในมหกรรมกีฬาระดับนานาชาติ สามารถวัดผลได้จากรายการแข่งขันในระดับเอเชีย และ ระดับโลกเท่านั้น โดย - รายการแข่งขันในระดับเอเชีย คือ กีฬาเอเชียนเกมส์ และกีฬาเอเชียน พาราเกมส์ - รายการแข่งขันในระดับโลก คือ กีฬาโอลิมปิกเกมส์ และกีฬาพาราลิมปิกเกมส์ การกี ฬาแห่ งประเทศไทยเป็ นผู ้ รั บผิ ดชอบ รวบรวมข้อมูลจากการแข่งขันกีฬาระดับเอเชีย และระดับโลก โดยรายการแข่งขันในระดับโลก คือ กีฬาโอลิมปิกเกมส์ และกีฬาพาราลิมปิกเกมส์ นั้น จะคํานวณอันดั บจากรายชื่อประเทศในทวีป เอเชียที่ เข้าร่วมการแข่งขันในแต่ละครั้ ง โดย พิจารณาจากผลการแข่งขันอย่างเป็นทางการ ( Official Report) การกีฬา แห่งประเทศไทย
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 4 2. นิยามและแนวทางการเก็บข้อมูลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดหลัก (ต่อ) ตัวชี้วัดหลัก นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 3 . บุ คลากรด้ำนการกี ฬาได้ รับ การรับรองมาตรฐาน เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี บุคลากรด้านการกีฬา ประกอบด้วย ครู ผู้สอน พลศึกษา อาสาสมัคร การกีฬา ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา ผู้บริหาร การกีฬา และ นักวิทยาศาสตร์การกีฬา รวมถึงบุคลากร การ กีฬาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่ได้รับการพัฒนา ผ่านการประเมิน และทดสอบด้วยมาตรฐานที่กําหนดขึ้นสําหรับบุคลากรกีฬา ในแต่ละประเภท โดยมาตรฐาน หมายถึง การพัฒนา บุคลากร การกีฬาให้มีสมรรถนะ ความรู้ ทักษะ และ จรรยาบรรณสอดคล้องกับแนวปฏิบัติ หรือกฎระเบียบที่ องค์การด้านการกีฬาของแต่ละชนิดกีฬายอมรับและถือแนว ปฏิบัติ สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็นผู้รวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมพลศึกษา การกีฬาแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยการกีฬา แห่งชาติ สมาคมธุรกิจภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องใน อุตสาหกรรม การ กีฬา เป็นต้น ที่ เป็นผู้จัดเก็บ ข้ อมู ลเป็ นรายปี โดยวิ ธี การแจงนั บจํานวน บุคลากร การกีฬา ที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 5 2. นิยามและแนวทางการ จัด เก็บข้อมูลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดหลัก (ต่อ) ตัวชี้วัด หลัก นิยาม วิธีการและความถี่ ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 4 . มูลค่าอุตสาหกรรม การกี ฬามี อั ตราการ เ ต ิ บ โ ต โ ด ย เ ฉ ลี่ ย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี อุตสาหกรรมการกีฬาของประเทศไทย ประกอบด้วย ภาคธุรกิจ หลัก 2 ด้าน ได้แก่ 1 ) การประกอบธุรกิจภาคการผลิตสินค้าและภาคการค้า ได้แก่ อุปกรณ์กีฬา เสื้อผ้ากีฬา อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ การกีฬา การก่อสร้างสนามกีฬา 2 ) การประกอบธุรกิจภาคบริการการกีฬา ประกอบด้วย การศึกษาเกี่ยวกับการกีฬา สโมสรกีฬาอาชีพ สโมสรกีฬา เพื่อบริการบุคคลทั่วไป ผู้ประกอบการและเจ้าของสนาม ผู้ประกอบการบริการที่เกี่ยวกับนักวิทยาศาสตร์ การกีฬา นักกายภาพบําบัด วิทยาศาสตร์การฟื้นฟูสุขภำพ เวชศาสตร์การกีฬา การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ทางการกีฬา การเป็นผู้สนับสนุนการกีฬา และนักกีฬาอาชีพ โดยอุตสาหกรรมและธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา แจกแจงเป็น 12 กลุ่มหลัก ๆ ดังนี้ ( 1 ) กลุ่มผู้ผลิตอุปกรณ์กีฬา ( 2 ) กลุ่มผู้ค้าปลีกและค้าส่งอุปกรณ์กีฬา ( 3 ) กลุ่มผู้นําเข้าและส่งออกอุปกรณ์กีฬา ( 4 ) กลุ่มธุรกิจประเภทสถานที่บริการออกกําลังกาย ( 5 ) กลุ่มสโมสรกีฬาสมัครเล่น ( 6 ) กลุ่มสื่อสารมวลชนกิจกรรมการตลาดและโฆษณา การประชาสัมพันธ์ทางการกีฬา ( 7 ) กลุ่มการจัดการแข่งขันกีฬา ( 8 ) กลุ่มการจัดการท่องเที่ยวเชิ งกีฬาและนันทนาการ ( 9 ) กลุ่มการจัดการสิทธิประโยชน์และลิขสิทธิ์ทางการกีฬา ( 10 ) กลุ่มการบริการทางวิทยาศาสตร์การกีฬา ( 11 ) กลุ่มสถาบันผู้ผลิตบุคลากรกีฬา ( 12 ) กลุ่มกีฬาอาชีพ ที่มา : สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท) ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาข้อมูลข้างต้น สามารถเชื่อมโยงกับการให้คําจํา กัดความของธุรกิจกีฬาโดยกรมพัฒนา ธุรกิจการค้า ว่าครอบคลุม การจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรม ( ประเทศไทย) ( Thailand Standard Industrial Classification: TSIC) ดังต่อไปนี้ ส ํา น ั ก งำ น ป ล ั ด ก ร ะ ท ร ว ง การท่องเที่ยวและกีฬา รวบรวม ข้อมูลเป็นรายปี จากแหล่งข้อมูล ที่เกี่ยวข้อง 2 ส่วน ดังนี้ 1) รวบรวมมูลค่าของรายได้ของ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม การ กีฬาโดยรวบรวมข้อมูลจาก กรมพัฒนาธุรกิจการค้า 2) รวบรวมข้ อมู ลมู ลค่ำทาง เศรษฐกิจในการจัดรายการแข่งขัน กีฬา จากหน่วยงานภาครัฐและ ภาคเอกชนที่มีการจัดเก็บข้อมูล การจัดกิจกรรม/รายการแข่งขัน กี ฬาทั ่ วประเทศ โดยมู ล ค่า ทางเศรษฐกิจในการจัดรายการ แข่งขันกีฬา ครอบคลุม รายได้ ที ่ เกิ ดจากเงิ นหมุ นเวี ยนจาก ค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการจัดรายการ แข่งขัน เงินหมุนเวียนในระบบ เศรษฐกิ จจากการใช้ จ่ำยเงิน ห ม ุ น เ ว ี ย น ใ น ร ะ บ บ จำ ก การท่องเที่ยว และเงินหมุนเวียน ใ น ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ ก ิ จ จำ ก อุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง กับการ จัดกิจกรรมรายการแข่งขันกีฬา สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 6 ตัวชี้วัด หลัก นิยาม วิธีการและความถี่ ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 1 . การผลิตชุดและอุปกรณ์กีฬากิจกรรมนันทนาการและการแข่งขันกีฬา - TSIC 14115 การผลิตชุดกีฬา - TSIC 15204 การผลิตรองเท้ากีฬา - TSIC 32301 การผลิตลูกบอลที่ใช้ในการกีฬา - TSIC 32309 การผลิตอุปกรณ์กีฬาอื่น ๆ ซึ่งมิได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น 2 . การผลิตและจําหน่ายเครื่องดื่มกีฬา - TSIC 11044 การผลิตเครื่องดื่มให้พลังงานรวมถึงเครื่องดื่มเกลือแร่ - TSIC 11049 การผลิตเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์อื่น ๆ ซึ่งมิได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น 3 . การขายส่งและส่งออกสินค้าเกี่ยวกับกีฬา - TSIC 46433 การขายส่งเครื่องกีฬา 4 . การขายปลีกสินค้าเกี่ยวกับกีฬา - TSIC 47630 การขายปลีกเครื่องกีฬาในร้านค้าเฉพาะ 5 . การดําเนินการให้ความรู้ทางการกีฬา - TSIC 85410 การศึกษาด้านกีฬาและนันทนาการ 6 . การดําเนินการให้เช่าสถานที่และอุปกรณ์กีฬา - TSIC 77210 การให้เช่าและให้เช่าแบบลีสซิ่งสินค้าเพื่อการนันทนาการและการกีฬา - TSIC 93111 การดําเนินงานเกี่ยวกับสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับการแข่งขัน กีฬา - TSIC 93112 การดําเนินงานของสถานที่ออกกําลังกาย 7 . การดําเนินการซ่อมบํารุงเกี่ยวกับการกีฬา - TSIC 95295 การซ่อมเครื่องกีฬา 8 . กิจกรรมอื่น ๆ ทางด้านกีฬา - TSIC 93190 กิจกรรมอื่น ๆ ทางด้านการกีฬา - TSIC 93191 กิจกรรมการจัดการแข่งขันกีฬา - TSIC 93192 กิจกรรมของสมาคม/สมาพันธ์กีฬา - TSIC 93199 กิจกรรมอื่น ๆ ทางด้านการกีฬาซึ่งมิได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น ดั งนั้ น มู ลค่าอุตสาหกรรมการกีฬาจะเกิดจาก 2 ปัจจั ย คือ มู ลค่าทางเศรษฐกิจจากรายได้ของธุรกิจ ที ่ เกี ่ ยวข้ องกั บอุ ตสาหกรรมกี ฬา และมู ลค่ำทางเศรษฐกิ จจากการจั ดกิ จกรรม/รายการแข่ งขั นกีฬา ทั่วประเทศ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 7 2. นิยามและแนวทางการจัดเก็บข้อมูลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดหลัก (ต่อ) ตัวชี้วัดหลัก นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 5. มีฐานข้อมูล องค์ความรู้ และ แพลตฟอร์ มการประมวลผล ด้ำนการส่ งเสริ มและพั ฒนา การกีฬาอย่างมีประสิทธิภาพ สํานั กงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ ยวและกีฬา ร่ วมกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดทํา ระบบฐานข้อมูลกลาง ประกอบด้วย ข้อมูลต่าง ๆ เพื่ อการวางแผนและการบริหารจัดการ ด้าน การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาอย่างมีประสิทธิภาพ สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ ยวและกีฬา ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดทํา ระบบฐานข้อมูล กลาง สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬำ 6. มีแผนการขับเคลื่อนติดตาม และประเมินผลการดําเนินงาน ตามประเด็นการพัฒนาและมี การรายงานตามแผนรายไตร มาสและรายปี คณะทํางานภายใต้ คณะอนุ กรรมการจั ดทําและติ ดตาม การดําเนินงานตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ประกอบด้วยหน่วยงานที่ มีหน้าที่ ดําเนินการตามภารกิจที่ กําหนดไว้ในแผนฯ มีการประชุม ร่วมกัน เพื่อบูรณาการขับเคลื่อน ตามประเด็นการพัฒนา และมี การรายงานตามแผนรายไตรมาสและรายปี สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ ยวและกีฬา ป ร ะ สำ น ข อ ข ้ อ ม ู ล ก ั บ ค ณ ะ ท ํา งำ น ภำ ย ใ ต้ คณะอนุกรรม การจัดทําและติดตามการดําเนินงาน ตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา 7. มี การประเมิ นผลกระทบ ทำ ง เ ศ ร ษ ฐ ก ิ จ แ ล ะ ส ั ง ค ม ที่ เกิดขึ้ นจากการดําเนินงาน ตาม ตาม ประเด็นการพัฒนา ใน ระยะครึ่งแผนฯ และสิ้นแผนฯ โครงการที ่ ผ่ำนกระบวนการกลั ่ นกรองและบู รณา กำร งบประมาณจากทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแล้ว เมื่อได้ดําเนินการ จะต้ องมี การประเมิ นผลกระทบทางเศรษฐกิ จและสังคม ที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงานโครงการด้วย สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ ยวและกีฬา มี การจั ดเก็ บข้ อมู ลตั วชี ้ วั ด โดยจั ดทํารายงาน ประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 8 2. นิยามและแนวทางการจัดเก็บข้อมูลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดหลัก (ต่อ) ตัวชี้วัดหลัก นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 8. มี แผนการจั ดการความเสี ่ ยง เพื่ อเตรียมความพร้อมและป้องกัน ผลกระทบที ่ เกิ ดจากความเสี ่ ยง ในด้านต่าง ๆ เช่น โรคติดต่ออุบัติใหม่ ที่ส่งผลต่อการส่งเสริมและพัฒนาการ ออกกําลั งกายและกี ฬาในแต่ ละ ประเด็นพัฒนา คณะทํางานภายใต้ คณะอนุ กรรมการจั ดทําและติ ดตาม การดําเนิ นงานตามแผนพั ฒนาการกี ฬาแห่ งชาติ ฉบั บที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) มีการจัดทํา แผนการจัดการความเสี่ยงเพื่อ เตรียมความพร้อมและป้องกันผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงใน ด้านต่าง ๆ ในอนาคต ที่ส่งผลต่อการส่งเสริมและพัฒนาการออ ก กําลังกายและกีฬาในแต่ละประเด็นพัฒนา สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและ กีฬา ประสานขอข้อมูลกับคณะทํางานภายใต้ คณะอนุ กรรมการจั ด ทําแล ะติ ด ตำ ม การดําเนิ นงานตามแผนพั ฒนาการกี ฬา แห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 9 3 . นิยามและ แนวทางการ จัด เก็บข้อมูลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดระดับ ประเด็นการพัฒนา ประเด็นการพัฒนา ที่ 1 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัด ระดับ ประเด็นการพัฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 1. 1 เด็ กและเยาวชนทั ่ วประเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย ส ั ด ส ่ ว น ข อ ง เ ด ็ ก แ ล ะ เ ยำ ว ช น ท ั ่ ว ป ร ะ เ ท ศ มีผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายเฉลี่ยผ่านเกณฑ์ ที่กําหนด โดยกรมพลศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบในการ จัดทําเกณฑ์มาตรฐานการทดสอบสมรรถภาพทางกาย - เด็ก หมายถึง บุคคลซึ่งอายุต่ํากว่า 15 - เยาวชน หมายถึง บุคคลซึ่งมีอายุตั้งแต่ 15 ปี บริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 18 ปีบริบูรณ์ กรมพลศึ กษา จั ดเก็ บข้ อมู ลตั วชี ้ วั ดในแต่ ละ ปีงบประมาณ ทําการสุ่ มเด็กและเยาวชนทั่วประเทศ โดยร้อยละของจํานวนเด็กและเยาวชนที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย คํานวณจาก ( จํานวนเด็กและเยาวชน ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย จํานวนเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม และเข้าร่วมการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ) x 100 กรมพลศึกษา 1. 2 มีการนําหลักการวิทยาศาสตร์ การกีฬาขั้ นพื้ นฐานและการฉลาดรู้ ทางกาย ( Physical Literacy) มาสอน ในวิชาพลศึกษา หรือวิชาอื่น ๆ ที่มี ความเหมาะสม มี การนําหลักการวิทยาศาสตร์การกีฬาขั้นพื้นฐานและ การฉลาดรู ้ ทางกาย ( Physical Literacy) มาสอน ในวิชาพลศึกษา หรือวิชาอื่น ๆ ที่มีความเหมาะสม สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ ยวและกีฬา ประสานขอข้อมูลกับกระทรวงศึกษาธิการและ หน่ วยงานในสั งกั ดของกระทรวงมหาดไทย ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 10 ประเด็นการพัฒนำที่ 1 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน (ต่อ) ตัวชี้วัด ระดับประเด็นการพัฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 1. 3 สถานศึกษาจัดให้มีวิชาพลศึกษา อย่างน้อย 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ว ิ ชำพลศึ กษาที ่ สถานศึ กษา จั ดให ้ นั ก เ ร ี ย น เรียนในชั่วโมงเรียน อย่างน้อย 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ ยวและกีฬา ประสานขอข้อมูลกับกระทรวงศึกษาธิการและ หน่ วยงานในสั งกั ดของกระทรวงมหาดไทย ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา 1. 4 มี การจั ดกิ จกรรมกี ฬาหรือ การแข่ งขั นกี ฬาสําหรั บเด็ กและ เยาวชนทุกโรงเรียน อย่างน้อยโรงเรียน ละ 1 ครั้ง ต่อ ปี มีการจัดกิจกรรม หรือการแข่งขันกีฬา สําหรับเด็กและ เยาวชนทั่วประเทศอย่างสม่ําเสมอ ตั้งแต่ระดับอําเภอ จังหวัด และประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยกรมพลศึกษา มีการบูรณาการจัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬาสําหรับ เด็กและเยาวชนร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการและ หน่วยงานในสังกัดของกระทรวงมหาดไทยที่เกี่ยวข้อง กับสถานศึกษา กรมพลศึ กษา จั ดทําระบบข้ อมู ลสารสนเทศ จั ดเก็ บข้ อมู ลสถิ ติเพื ่ อให้เป็นฐานข้อมู ลกลาง ด้านการกีฬา โดยมีการจัดเก็บข้อมูลการจัดกิจกรรม หรื อการแข่ งขั นกี ฬา สําหรั บเด็ กและเยาวชน ทั่วประเทศ กรมพลศึกษา 1. 5 มีการแข่งขันกีฬาที่มีมาตรฐาน ตามที่กําหนดสําหรับเด็กและเยาวชน ในระดับอําเภอทุกอําเภอ อย่างน้อย อําเภอละ 1 ครั ้ ง ต่ อ ปี และระดับ จังหวัดทุกจังหวัด อย่างน้อยจังหวัดละ 1 ครั้ง ต่อ ปี มีการแข่งขันกีฬาที่ มีมาตรฐานตามที่ สมาคมกีฬา แห่งประเทศไทย กําหนด สําหรับเด็กและเยาวชน ในระ ดับอําเภอทุกอําเภอ และระดับจังหวัดทุกจังหวัด กรมพลศึ กษา จั ดทําระบบข้ อมู ลสารสนเทศ จั ดเก็ บข้ อมู ลสถิ ติเพื ่ อให้เป็นฐานข้อมู ลกลาง ด้านการกีฬา โดยมีการจัดเก็บข้อมูล การแข่งขันกีฬา ที่มีมาตรฐานตามที่สมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย กําหนด สําหรับเด็กและเยาวชนทั่วประเทศ กรมพลศึกษา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 11 ประเด็นการพัฒนาที่ 1 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน (ต่อ) ตัวชี้วัด ระดับประเด็นการ พัฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 1. 6 มีการจัดเตรียมและพัฒนา สถานที่ออกกําลังกายและเล่น กีฬาของเด็กและเยาวชนที่ มี ความปลอดภัยและเหมาะสม ในทุกโรงเรียน ภายในปี 2570 สถานที่ออกกําลังกายและเล่นกีฬาของเด็กและเยาวชนที่มี ความปลอดภัยและมีความเหมาะสมกับช่วงวัยของเด็กและ เยาวชน โดยครอบคลุมพื้นที่บริเวณสนามกี ฬา และอาคาร สิ่งปลูกสร้างที่ใช้ในการออกกําลังกาย กรมพลศึ กษา จั ดทําระบบข้ อมู ลสารสนเทศ จั ดเก็ บข้ อมู ลสถิ ติเพื ่ อให้เป็นฐานข้ อมู ลกลาง ด้ำนการกี ฬา โดยมี การจั ดเก็ บข้ อมู ล สถานที่ ออกกําลังกายและเล่นกีฬาของเด็กและเยาวชน ในสถานศึกษา ที่มีความปลอดภัยและเหมาะสม กรมพลศึกษา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 12 ประเด็นการพัฒนา ที่ 2 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาเพื่อมวลชนให้เป็นวิถีชีวิต ตัวชี้วัด ระดับ ประเด็นการพัฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 2. 1 สัดส่วนของประชากร ทุกกลุ่ม ที่มีค่าดัชนีมวลกาย ( BMI) อยู่ใน ระดับมาตรฐาน ดีขึ้ นร้อยละ 5 ต่อปี ดัชนีมวลกาย ( Body mass index) เป็นค่า ดัชนีความสัมพันธ์ระหว่างส่วนสูงและน้ําหนัก ตัว โดยคํานวณจากน้ําหนักตัว (กิโลกรัม) หารด้ วยส่ วนสู ง (เมตรยกกําลั งสอง) ซึ่ งองค์การอนามัยโลกได้มีการแบ่งเกณฑ์ ค่าระดับดัชนีมวลกาย ( BMI) เพื่อใช้เป็นแบบ คั ดกรองภาวะน้ ําหนั กเกิ นและโรคอ้ วน โดยกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ โดยใช้ BMI ตามเกณฑ์คนเอเชีย กรมพลศึกษา จัดทํา ข้อมูล โดยบูรณาการการดําเนินงานร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุข เพื่อ รวบรวม ข้อมูล ของประชากรวัยทํางาน อายุ 18 - 59 ปี ที่ มีค่าดัชนีมวลกายปกติ แยกตามรายปี และ เขตพื้นที่ต่าง ๆ - กรมพลศึกษา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 13 ประเด็นการพัฒนาที่ 2 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาเพื่อมวลชนให้เป็นวิถีชีวิต (ต่อ) ตัวชี้วัด ระดับประเด็นการพัฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 2. 2 มี การจั ดกิ จกรรมกี ฬาหรือ การแข่งขันกีฬาสําหรับประชาชน ทุกกลุ่ มในทุกท้องถิ่ นทั่ วประเทศ โดยในภาพรวมเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 ต่อปี กิจกรรมกีฬาหรือการแข่งขันกีฬา ครอบคลุมการออกกําลัง - กายในชีวิตประจําวัน และการออกกําลังกายในการประกอบ อาชีพ ที่ประชาชนทุกกลุ่ม รวมทั้งบุคคลกลุ่มพิเศษ และ ผู้ด้อยโอกาสได้ออกกําลังกายและเล่นกีฬาให้เหมาะสมกับ สภาพร่างกายของตน เพื่อมีสุขภาพดี และมีคุณภาพชีวิต ที่ดี กรมพลศึกษา จัดทําระบบข้อมูลสารสนเทศ จัดเก็บข้อมูลสถิติ เพื่อให้เป็นฐานข้อมูลกลาง ด้านการกีฬา โดยมีการจัดเก็บข้อมูลการจัด กิ จกรรมกี ฬาหรื อการแข่ งขั นกี ฬาสําหรับ ประชาชนทุกกลุ่ม กรมพลศึกษา 2. 3 มีการยกระดับพื้นที่สาธารณะที่ มีศักยภาพในชุมชนเป็นลานกี ฬา ท้ องถิ ่ นครบทุ กหมู ่ บ้ำนภายในปี 2570 มีการพัฒนาพื้นที่สาธารณะที่มีศักยภาพในชุมชน เช่น พื้นที่ ใต้ทางยกระดับ รวมถึงพื้ นที่ ของหน่วยงานราชการหรือ หน่วยงานในกํากับที่ เหมาะสมกับประชาชนทุกกลุ่ ม ทุก ช่วงวัย รวมทั้ งกลุ่มผู้พิการและกลุ่มพิเศษ โดยการยกระดับ พื้นที่สาธารณะที่มีศักยภาพในชุมชนเป็นลานกีฬาท้องถิ่น กรมพลศึกษา จัดทําระบบข้อมูลสารสนเทศ จัดเก็บข้อมูลสถิติเพื่อให้เป็นฐานข้อมูลกลาง ด้านการกีฬา โดยมีการจัดเก็บข้อมูลลานกีฬา ท้องถิ่น ที่ได้รับการยกระดับจากพื้นที่สา ธารณะ ที่มีศักยภาพในชุมชน กรมพลศึกษา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 14 ประเด็นการพัฒนาที่ 2 : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกําลังกายและกีฬาเพื่อมวลชนให้เป็นวิถีชีวิต (ต่อ) ตัวชี้วัด ระดับประเด็นการพัฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 2. 4 มีการสร้างหรือพัฒนาให้มีศูนย์ฝึกกีฬา ที่มีมาตรฐานตามที่กําหนดประจําอําเภอ 1 แห่งต่ออําเภอ การสร้างหรือพัฒนาศูนย์ฝึกกีฬาให้มีมาตรฐานของ องค์ประกอบภายในศูนย์ฝึกกีฬาและมาตรฐานของ แต่ละชนิดกีฬาตามที่กรมพลศึกษากํา หนด โดยการ ยกระดับ ศูนย์ฝึกกีฬา ของโรงเรียน สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัย หรือ หน่วยงานราชการ ให้ มีมาตรฐาน ตามที่กําหนดประจําอําเภอ โดยกรมพลศึกษาร่วมกับ โรงเรียน สถาบันการศึกษา หรือ หน่วยงานราชการ ใน พื้นที่ กรมพลศึกษา จัดทําระบบข้อมูลสารสนเทศ จัดเก็บข้อมูลสถิติเพื่อให้เป็นฐานข้อมูลกลาง ด้ำนการกี ฬา โดยมี การจั ดเก็ บข้ อ มูล ศูนย์ฝึกกีฬาที่มีมาตรฐานประจําอําเภอ กรมพลศึกษา 2. 5 มีประเด็นการส่งเสริมการออกกําลัง กายและการพัฒนาการกีฬาในแผนพัฒนา จังหวัดและแผนพัฒนาท้องถิ่ น ภายในปี 2566 ทุกจังหวัดมีประเด็นการส่งเสริมการออกกําลังกายและ การพั ฒนาการกี ฬาในแผนพั ฒนาจั งหวั ดและ แผนพัฒนาท้องถิ่น สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา รวบรวม ข้อมูล จำก สํานักงานการท่องเที่ยวและ กีฬาจังหวัดของแต่ละจังหวัด สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 15 ประเด็นการพัฒนา ที่ 3 : การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ ตัวชี้วัด ระดับ ประเด็นการพัฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 3.1 มี จํานวนนั กกี ฬาหน้ำใหม่ เพิ ่ มขึ้น ในระดับชาติ และ / หรือระดับนานาชาติ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี นักกีฬาหน้าใหม่ หมายถึง นักกีฬาที่ได้เข้า ร่วมการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ หรือ กีฬาแห่งชาติ ซึ่งเป็นนักกีฬาใหม่ ที่ ยังไม่เคย เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ หรือ กีฬาแห่งชาติมาก่อน การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดําเนินการตามตัวชี้วัด จัดเก็บข้อมูล โดยคํานวณจา กจํานวนนักกีฬาหน้าใหม่ ที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ หรือกีฬา แห่งชาติจากฐานข้อมูลของสมาคมกีฬา การกีฬา แห่งประเทศไทย 3.2 มี จํานวนนั กกี ฬาอาชี พเพิ ่ มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี ร้ อยละนักกีฬาอาชีพตามพระราชบัญญัติ ส่ งเสริ มกี ฬาอาชี พ พ.ศ. 2556 และ ขึ้นทะเบียนในระบบฐานข้อมูลของการกีฬา แห่งประเทศไทย กำรกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดําเนินการตามตัวชี้วัด จั ด เก็บข้อมูล โดยคํานวณจากจํานวนนักกีฬาอาชีพ ในระบบฐานข้อมูล การกีฬา แห่งประเทศไทย 3. 3 จํานวนรายการการแข่งขันในระดับ นานาชาติ มีผลงำนตั้งแต่อันดับที่สามของ รายการขึ้นไปเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่ อปี ของจํานวนรายการที ่ เข้ำร่ วม การแข่งขัน รายการการแข่ งขั นในระดั บนานาชาติ ที่ มีนักกีฬาจากประเทศไทย เข้าร่วม การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดําเนินการจัดเก็บข้อมูล เป็นรายปี โดยคํานวณจากจํานวนรายการการแข่งขัน ในระดับนานาชาติ ที่ มีผลงานตั้งแต่อันดับที่สามของ รายการขึ้นไป เปรียบเทียบกับรายการแข่งขันในระดับ นานาชาติที่นักกีฬาจากประเทศไทยเข้าร่วมทั้งหมด การกีฬา แห่งประเทศไทย 3.4 อันดับการแข่งขันกีฬามหกรรมกีฬา ซีเกมส์ และกีฬาอาเซียนพาราเกมส์ อยู่ใน อันดับ 1 (นับเฉพาะกีฬาสากล) รายการแข่งขันกีฬาในรูปแบบ Multi - Sport โดยพิจารณา เฉพาะกีฬาสากลใน มหกรรม กีฬาซีเกมส์ อาเซียนพาราเกมส์ การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้รับผิดชอบรวบรวมข้อมูล จากการเผยแพร่ผลการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ อาเซียน พาราเกมส์ การกีฬา แห่งประเทศไทย
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 16 ประเด็นการพัฒนาที่ 3 : การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ (ต่อ) ตัวชี้วัด ระดับประเด็นการพัฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 3. 5 มี การพั ฒนาศู นย์ วิ ทยาศาสตร์ การกีฬาให้มีมาตรฐานระดับอาเซียน จํานวนไม่น้อยกว่า 10 แห่งภายในปี 2570 การพั ฒนาศู นย์ วิ ทยาศาสตร์ การกี ฬา ให้ มี มาตรฐานระดั บอาเซี ยน หมายถึง ศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาที่สามารถรองรับ การพัฒนานักกีฬาไปสู่ความเป็นเลิศใกล้เคียง กับประเทศชั้นนําในระดับเอเชียหรืออาเซียน มีองค์ประกอบที่จําเป็นสําหรับการ ดํา เนินงาน ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา ดังนี้ ( 1 ) ด้านสถานที่ สิ่งอํานวยความสะดวก และความปลอดภัย ( 2 ) ด้านอุปกรณ์การให้บริการทดสอบ และเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ( 3 ) ด้านบุคลากร ( 4 ) ด้านการบริหารจัดการ ( 5 ) ด้านการให้บริการ การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดําเนินการตามตัวชี้วัด จัดเก็บข้อมูลในแต่ละ ปี งบประมาณในการสํารวจประเมิน ศูนย์วิทยาศาสตร์การ กีฬา ที่มีมาตรฐานระดับอาเซียน การกีฬา แห่งประเทศไทย
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 17 ประเด็นการพัฒนาที่ 3 : การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ (ต่อ) ตัวชี้วัด ระดับประเด็นการพัฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 3. 6 มี การพั ฒนาศู นย์ ฝึ กกี ฬา ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสากล จํานวน ไม่น้อยกว่า 12 แห่งภายในปี 2570 การพัฒนาศูนย์ฝึกกีฬา ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสากล หมายถึง พัฒนา สถานที่สําหรับการเก็บตัวฝึกซ้อมเพื่อสร้างความเป็นเลิศให้แก่นักกีฬา และชนิดกีฬาที่ประเทศไทย มีโอกาสที่จะพัฒนาจนสามารถชนะ ประเทศอื่น ๆ จนได้รับรางวัลจากการแข่งขันหรือประสบความสําเร็จ เป็ นลําดั บต้ นของโลก การพั ฒนาผ่ำนเกณฑ์ มาตรฐานสากล จะกําหนดขึ้นในแผนฯ 7 โดยการกีฬาแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ แนวคิด ในการจัดทํารูปแบบและจัดตั้ งศูนย์ฝึกกีฬาตามมาตรฐานสากล จะพิจารณาตามบริบท สภาวะทางกายภาพ และบุคลากรที่มีอยู่เดิม ของการกี ฬาแห่ งประเทศไทย ภายในศู นย์ ฝึ กและสนามกี ฬา ที่ การกีฬาแห่งประเทศไทย หรือสมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย ดูแล บริ หารจัดการ การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดําเนินการ ตามตั วชี ้ วั ด จั ดเก็ บข้ อมู ล ในแต่ ละ ปี งบประมาณในการสํารวจประเมิน ศูนย์ฝึกกีฬาที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสากล การกีฬา แห่งประเทศไทย 3.7 จั ดตั ้ งศู นย์ฝึกกี ฬาแห่งชาติ ( National Training Center: NTC) แห่งแรกได้สําเร็จภายในปี 2570 ศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติ ( National Training Center: NTC) เป็นสถานที่ เก็บตัว ฝึกซ้อม และให้บริการที่ได้มาตรฐานสากล แก่นักกีฬาและ บุคลากรกีฬาอย่างครบวงจร ประกอบด้วย สนามฝึกซ้อม อุปกรณ์ กีฬา สถานที่พัก ห้ องอาหาร ห้องฝึกกล้ามเนื้อ ห้องสันทนาการ ศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬา เพื่อพัฒนาศักยภาพของนักกีฬา การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดําเนินการ ตามตัวชี้วัด จัดเก็บข้อมูล การกีฬา แห่งประเทศไทย
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 18 ประเด็นการพัฒนาที่ 3 : การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ (ต่อ) ตัวชี้วัด ระดับประเด็นการพัฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 3. 8 มีองค์กรกีฬาเป็นเลิศและอาชีพ ที่ผ่านเกณฑ์การบริหารจัดการองค์กร ตามมาตรฐานที่ กําหนด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 เกณฑ์ การบริ หารจั ดการองค์ กรตามมาตรฐานที ่ กําหนด เพื่อยกระดับการบริหารจัดการองค์กรกีฬาเป็นเลิศและอาชีพ โดยจะพิจารณา 6 ประเด็น มีรายละเอียดดังนี้ - ด้านที่ 1 การบริหารจัดการ (น้ําหนักความส ําคัญ ร้อยละ 40) - ด้านที่ 2 การพัฒนาบุคลากรทางการกีฬา (น้ําหนักความสําคัญ ร้อยละ 15) - ด้านที่ 3 การพัฒนานักกีฬา (น้ําหนักความสําคัญ ร้อยละ 15) - ด้านที่ 4 การจัดการแข่งขัน/กิจกรรมกีฬา (น้ําหนักความสําคัญ ร้อยละ 10) - ด้านที่ 5 ผลสําเร็จจากการแข่งขัน (น้ําหนักความสําคัญ ร้อยละ 15) - ด้านที่ 6 การมีส่วนร่วมและระบบสวัสดิการ (น้ําหนักความสําคัญ ร้อยละ 5) การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดําเนินการ ตามตั วชี ้ วั ด จั ดเก็ บข้ อมู ลในแต่ ละ ปีงบประมาณในการสํารวจประเมินองค์กร กีฬาเป็นเลิศและอาชีพในด้านการบริหาร จัดการองค์กร การกีฬา แห่งประเทศไทย 3.9 มี หลั กสู ตรเฉพาะทางสําหรับ ผ ู ้ ท ี ่ ต ้ อ ง กำ ร ห ร ื อ ม ี ศ ั ก ย ภำ พ ที่ จะพัฒนาเป็นนักกีฬาในการศึกษาทุก ระดับ ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึง อุดมศึกษา ภายในปี 2566 หลักสูตรเฉพาะทางในแต่ละชนิดกีฬา โดยเป็นหลักสูตรการสอน สําหรับผู้ที่ต้องการหรือมีศักยภาพที่จะพัฒนาเป็นนักกีฬาใน การศึกษาทุกระดับ ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึงอุดมศึกษา โดยการ กีฬาแห่งประเทศไทยบูรณาการจัดทําหลักสูตรร่วมกับ สมาคมกีฬาและกระทรวงศึกษาธิการ การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดําเนินการ ตามตัวชี้วัด จัดเก็บข้อมูล การกีฬา แห่งประเทศไทย
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 19 ประเด็นการพัฒนา ที่ 4 : การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา ตัวชี้วัด ระดับ ประเด็นการ พัฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 4 . 1 ค ร ู ผ ู ้ ส อ น พ ล ศ ึ ก ษำ ในโรงเรียนทั่ วประเทศได้รับ การพัฒนาศักยภาพในการจัด กิจกรรมการออกกําลังกาย และ การเล่นกีฬา ผ่านการทดสอบ ตามเกณฑ์ที่กําหนด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ภายในปี 2570 การพัฒนาศักยภาพครู ผู้สอน พลศึกษา เพื่อให้มีความรู้ พื้นฐานการออกกําลังกาย และการเล่นกีฬาพื้นฐาน และ ทักษะด้านพลศึกษาหรือการกีฬา รวมถึงควา มสามารถ ในการใช้ ทั กษะควำมรู้ ใ หม่ ๆ เป็ นเครื ่ อ งมื อ ในการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างบทเรียนใหม่ และต่อยอด เป็นนวัตกรรมการจัดกิจกรรมการศึกษาได้ เพื่ อให้ การสอนพลศึกษาในโรงเรียนบรรลุตามจุดมุ่งหมาย กรมพลศึกษา เป็นผู้จัดเก็บข้อมูลเป็นรายปี โดยวิธีการ แจงนับจํานวนครูผู้ สอนวิชาพลศึกษาในโรงเรียนสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที ่ ได้ รั บการพั ฒนาศั กยภาพในการจั ดกิ จกรรมทาง พลศึกษา การออกกําลังกาย และการเล่นกีฬาพื้นฐาน กรมพลศึกษา 4 .2 มี อาสาสมั ครการกี ฬา ท ี ่ ไ ด ้ ร ั บ กำ ร พ ั ฒ นำ ค ร บ ทุกหมู่ บ้าน ภายในปี 2567 และได้ปฏิบัติหน้าที่ผู้นําในการ อ อ ก ก ํา ล ั ง กำ ย ตำ ม เ ก ณ ฑ์ ที่ กําหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ภายในปี 2570 การพัฒนาอาสาสมั คร การกี ฬา เพื ่ อให้ เป็ นผู ้ ที ่ มี องค์ความรู้ด้านการพลศึกษา กีฬา นันทนาการและ จิตอาสา ตามหลักสูตรที่กรมพลศึกษากําหนด ให้เป็น ผู้นําเล่นกีฬา ออกก ําลังกายในแต่ละหมู่บ้าน/ชุมชน และได้ไปปฏิบัติหน้าที่ผู้นําการออกกําลังกายจริง กรมพลศึกษาเป็นผู้ดําเนินการจัดเก็บข้อมูลเป็นรายปี โดยวิธีการแจงนับจํานวนอาสาสมัคร การ กีฬาที่ ได้รับ การพัฒนา และได้ไปปฏิบัติหน้าที่ผู้นําการออกกําลังกาย แก่ชุมชนอย่างแท้ จริง กรมพลศึกษา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 20 ประเด็นการพัฒนา ที่ 4 : การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา ( ต่อ) ตัวชี้วัด ระดับ ประเด็นการพัฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 4 .3 จํานวนหลักสูตรมาตรฐาน เพื่ อพัฒนาครูผู้ สอนพลศึ กษา ไม่น้อยกว่า 2 หลักสูตรต่อปี หลักสูตรทางพลศึกษาและกีฬา เพื่อพัฒนาครูผู้สอน พลศึกษา เช่น หลักสูตรการจัดประสบการณ์เด็ก ปฐมวัยแบบเรียนปนเล่น การพัฒนาสมรรถนะครู สร้าง น วัตกรรมจัดการเรียนรู้ด้วยทักษะกระบวนการ คิ ด GPAS ในเรื ่ องธรรมชาติ ของการเติ บโตและ พัฒนาการของมนุษย์ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ ประสานขอข้อมูลกับ กระทรวงศึ กษาธิ การและหน่ วยงานในสั งกั ดของ กระทรวงมหาดไทยที่ เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา ที่เป็น ผู้พัฒนาหลักสูตรและผู้จัดเก็บข้อมูล โดยวิธีการแจงนับ จํานวนหลักสูตรมาตรฐานเพื่อ พัฒนาครูผู้สอนพลศึกษา มหาวิทยาลัย การกีฬาแห่งชาติ 4 .4 จํานวนหลักสูตรมาตรฐาน เพื่อพัฒนาอาสาสมัครการกีฬา ไม่น้อยกว่า 2 หลักสูตรต่อปี หลักสูตรทางพลศึกษาและกีฬา เพื่อพัฒนาอาสาสมัคร การกีฬา เช่น หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพผู ้ นํา การออกกําลังกายผู้สูงอายุ หลักสูตรการส่งเสริมวิถี ชีวิตตามแนวคิดวิทยาศาสตร์การกีฬาเพื่อการพัฒนา สุขภาวะที่ยั่งยืน กรมพลศึกษาเป็นผู้ดําเนินการตามตัวชี้วัด จัดเก็บข้อมูล โดยวิธีการแจงนับจํานวนหลักสูตรมาตรฐาน เพื่อพัฒนา อาสาสมัคร การกีฬา กรมพลศึกษา 4 .5 จํานวนหลักสูตรการอบรม เพื่อการพัฒนาบุคลากรการกีฬา ที ่ ได้ มาตรฐานในระดั บสากล ไม่น้อยกว่า 10 หลักสูตรต่อปี หลักสูตรเพื่อการพัฒนาบุคลากร การกีฬา โดยบุคลากร ทางการกีฬา ครอบคลุมถึง ผู้ฝึกสอน ผู้ตัดสิน ผู้บริหาร การกีฬำ และนักวิทยาศาสตร์การกีฬาหรือบุคลากรอื่น ๆ ที่ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดําเนินการตามตัวชี้วัด จัดเก็บข้อมูล โดยวิธีการแจงนับจํานวนหลักสูตรการอบรม เพื่อการพัฒนาบุคลากร การกีฬาที่ได้มาตรฐานสากล ของ กำ ร ก ี ฬำ แ ห ่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ ส มำ ค ม ก ี ฬำ แห่งประเทศไทย การกีฬา แห่งประเทศไทย
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 21 ประเด็นการพัฒนาที่ 4 : การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา (ต่อ) ตัวชี้วัด ระดับประเด็นการพัฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 4.6 จํานวนบุคลากร การกีฬาเพื่อ ความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการ อาชีพ (ผู้ ฝึกสอนกีฬา ผู้ ตัดสิน กี ฬา ผู ้ บริ หาร การกี ฬา และ นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ) ผ่าน การอบรม เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อย ละ 5 ต่อปี หลักสูตรการอบรมด้านการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและ กีฬาเพื่อการอาชีพ สําหรับการพัฒนาผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัด สินกีฬา ผู้บริหารการกีฬา และนักวิทยาศาสตร์ การกีฬา การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดําเนินการตามตัวชี้วัด จัดเก็บข้อมูล โดยวิธีการแจงนับจํานวนบุคลากรด้าน การกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพที่เข้ารับ การอบรม การกีฬา แห่งประเทศไทย 4.7 จํานวนบุคลากร การ กีฬา ประเภทอื ่ น ๆ เพื ่ อรองรับ อุตสาหกรรม การ กีฬา 5 ประเภท ธุ รกิ จ ผ่ำนการอบรม เพิ่ มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี หลักสูตรการอบรมเฉพาะด้าน สําหรับการพัฒนา บุคลากรกีฬาประเภทอื่น ๆ ที่ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ การกีฬา เพื่อรองรับอุตสาหกรรม การ กีฬา 5 ประเภท ธุรกิ จ ประกอบด้วย - ธุรกิจวิทยาศาสตร์การกีฬา - ธุรกิจกีฬาอาชีพ - ธุรกิจบริการกีฬา - ธุรกิจการแข่งขันกีฬา - ธุรกิจผลิตภัณฑ์กีฬา/อาหารและยา สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาประสาน ขอข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นต้น ที่เป็นผู้ พัฒนาหลักสูตร และผู้จัดเก็บข้อมูล โดยวิธีการแจงนับจํานวนหลักสูตร การอบรม เพื่อการพัฒนาบุคลากร การ กีฬาประเภทอื่น ๆ เพื่อรองรับอุตสาหกรรม การ กีฬา สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 22 ประเด็นการพัฒนาที่ 4 : การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา (ต่อ) ตัวชี้วัด ระดับประเด็นการพัฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 4 . 8 มีจํานวนผลงานด้านวิ จัย หรือนวัตกรรมด้านการพัฒนา การกี ฬาที ่ นําไปใช้ ประโยชน์ ในการพัฒนาการกีฬา อย่างน้อย 6 ผลงานต่อปี ผลงานด้านวิจัยและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์ การกีฬา เช่น การศึกษาเปรียบเทียบความสามารถ ในการสร้ำงแรงสําหรั บกี ฬาที ่ ต้ องใช้ แรงระเบิด การศึกษาน้ําหนักหมัดในการทําคะแนนของมวยสากล สมัครเล่นที่ถูกนําไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการกีฬา ด้านเทคนิคกีฬาหรือวิทยาศาสตร์การกีฬาของปร ะเทศ สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาประสาน ขอข้อมูลกับหน่วยงานที่ เกี่ ยวข้อง เช่น มหาวิทยาลัย การกีฬาแห่งชาติ สมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย เป็นต้น ที่เป็นผู้จัดเก็บข้อมูล โดยวิธีการแจงนับจํานวนผลงานด้าน วิจัยและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาที่นําไปใช้ ประโยช น์ในการพัฒนาการกีฬา สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 23 ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 : การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา ตัวชี้วัด ระดับ ประเด็นการพัฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 5. 1 จํานวนและมู ลค่า รายได้ของผู้ประกอบการ ที ่ เกี ่ ยวข้ องกั บธ ุ รกิจ การกีฬา มีอัตราเพิ่ มขึ้น อย่างต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 5 ต่อปี อุตสาหกรรมการกีฬาที่มีการดําเนินธุรกิจกีฬา โดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า มีการให้คําจํากัดความ ของธุรกิจกีฬา ว่าครอบคลุม การจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรม ( ประเทศไทย) ( Thailand Standard Industrial Classification: TSIC) ดังต่อไปนี้ 1 . การผลิตชุดและอุปกรณ์กีฬากิจกรรมนันทนาการและการแข่งขันกีฬา - TSIC 14115 การผลิตชุดกีฬา - TSIC 15204 การผลิตรองเท้ากีฬา - TSIC 32301 การผลิตลูกบอลที่ใช้ในการกีฬา - TSIC 32309 การผลิตอุปกรณ์กีฬาอื่น ๆ ซึ่งมิได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น 2 . การขายส่งและส่งออกสินค้าเกี่ยวกับกีฬา - TSIC 46433 การขายส่งเครื่องกีฬา 3 . การผลิตและจําหน่ายเครื่องดื่มกีฬา - TSIC 11044 การผ ลิตเครื่องดื่มให้พลังงานรวมถึงเครื่องดื่มเกลือแร่ - TSIC 11049 การผลิตเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์อื่น ๆ ซึ่งมิได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น 4 . การขายปลีกสินค้าเกี่ยวกับกีฬา - TSIC 47630 การขายปลีกเครื่องกีฬาในร้านค้าเฉพาะ 5 . การดําเนินการให้ความรู้ทางการกีฬา - TSIC 85410 การศึกษาด้านกีฬาและนันทนาการ 6 . การดําเนินการให้เช่าสถานที่และอุปกรณ์กีฬา - TSIC 77210 การให้เช่าและให้เช่าแบบลีสซิ่งสินค้าเพื่อการนันทนาการและการกีฬา - TSIC 93111 การดําเนินงานเกี่ยวกับสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับการแข่งขัน กีฬา - TSIC 93112 การดําเนินงานของสถานที่ออกกําลังกาย 7 . การดําเนินการซ่อมบํารุงเกี่ยวกับการกีฬา - TSIC 95295 การซ่อมเครื่องกีฬา 8 . กิจกรรมอื่น ๆ ทางด้านกีฬา - TSIC 93190 กิจกรรมอื่น ๆ ทางด้านการกีฬา - TSIC 93191 กิจกรรมการจัดการแข่งขันกีฬา - TSIC 93192 กิจกรรมของสมาคม/สมาพันธ์กีฬา - TSIC 93199 กิจกรรมอื่น ๆ ทางด้านการกีฬาซึ่งมิได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น สํานั กงานปลั ดกระทรวงการ ท่องเที่ยวและกีฬาจัดทําข้อมูลเป็น รายปี โดยรวบรวมข้ อมู ลจาก กรมพั ฒนาธุ รกิ จการค้ำ ที ่ มี การจัดเก็บข้อมูล จํานวนและมูลค่า รายได้ของผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจการกีฬา ที ่ ขึ ้ นทะเบี ยน นิติบุคคล แบ่งประเภทธุรกิจโดยใช้ ร ห ั ส มำ ต ร ฐำ น อ ุ ต สำ ห ก ร ร ม ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย (TSIC) ค ื อ แ บ่ ง ประเภทของมาตรฐานอุตสาหกรรม ด้วยการจัดประเภทอุตสาหกรรม ที่คล้ำยกันเข้าอยู่ในกลุ่มเดียวกัน แบ่ งเป็ นหมวดใหญ่ หมวดย่ อย หมู่ใหญ่ และหมู่ย่อย สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 24 ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 : การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา (ต่อ) ตัวชี้วัด ระดับ ประเด็นการพัฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 5. 2 มู ลค่ำการส่ งออก ทำง กำ ร ก ี ฬำ โ ด ย ร ว ม ม ี อ ั ต รำ กำ ร เ ต ิ บ โ ต อ ย ่ำ ง ต ่ อ เ น ื ่ อ ง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี การส่งออกทางการกีฬา โดยครอบคลุมพิกัดอัตราศุลกากร ( HS CODE) ดังต่อไปนี้ เครื่องแต่งกายและของที่ใช้ประกอบกับเครื่องแต่งกาย HS CODE 62113210 เสื้อผ้าสําหรับกีฬาฟันดาบหรือกีฬามวยปล้ํา HS CODE 62111100 ชุดว่ายน้ําของบุรุษหรือเด็กชาย HS CODE 62111200 ชุดว่ายน้ํา ของสตรีหรือเด็กหญิง HS CODE 62112000 ชุดสกี HS CODE 62113210 เสื้อผ้าสําหรับกีฬาฟันดาบหรือกีฬามวยปล้ํา ทําด้วย ผ้าฝ้าย ของบุรุษหรือเด็กชาย HS CODE 62113310 เสื้อผ้าสําหรับกีฬาฟันดาบหรือกีฬามวยปล้ํา ทําด้วย เส้นใยประดิษฐ์ ของบุรุษหรือเด็กชาย HS CODE 62 113910 เสื้อผ้าสําหรับกีฬาฟันดาบหรือกีฬามวยปล้ํา ทําด้วย วัตถุทออื่น ๆ ของบุรุษหรือเด็กชาย HS CODE 62114210 เสื้อผ้าสําหรับกีฬาฟันดาบหรือกีฬามวยปล้ํา ทําด้วย ผ้าฝ้าย ของสตรีหรือเด็กหญิง HS CODE 62114340 เสื้อผ้าสําหรับกีฬาฟันดาบหรือกีฬามวยปล้ํา ทําด้วย เส้นใยประดิษ ฐ์ของสตรีหรือเด็กหญิง HS CODE 62114910 เสื้อผ้าสําหรับกีฬาฟันดาบหรือกีฬามวยปล้ํา ทําด้วย วัตถุทออื่น ๆ ของสตรีหรือเด็กหญิง HS CODE 62129012 อุปกรณ์ช่วยพยุงสําหรับใส่เล่นกีฬา ทําด้วยฝ้าย HS CODE 62129092 อุปกรณ์ช่วยพยุงสําหรับใส่เล่นกีฬา ทําด้วยวัตถุทออื่น ๆ สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยว แ ล ะ ก ี ฬำ ป ร ะ สำ น ข อ ข ้ อ ม ู ล จำ ก กรมศุ ลกากร ที ่ เป็ นผู ้ จั ดเก็ บข้ อมูล การนําเข้า - ส่งออก โดยใช้ HS CODE (Harmonized System) ห ร ื อ พ ิ กั ด ศุลกากร เป็นระบบการจําแนกประเภท และระบุ ชนิ ดสิ นค้ำด้ วยรหั สตั วเลข เผยแพร่ข้อมูลเป็นรายเดือน สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 25 ประเด็นการพัฒนาที่ 5 : การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา (ต่อ) ตัวชี้วัด ระดับประเด็นการพั ฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก รองเท้ากีฬา HS CODE 640212 รองเท้าอื่น ๆ ที่มีพื้นรองเท้าด้านนอกและส่วนบนของรองเท้า ทําด้วยยางหรือพลาสติก — รองเท้าสกี รองเท้าสําหรับสกีแบบครอสคันทรีย์ และ รองเท้าสําหรับสโนว์บอร์ด HS CODE 640219 รองเท้าอื่น ๆ ที่มีพื้นรองเท้าด้านนอกและส่วนบนของรองเท้า ทําด้วยยางหรือพลาสติก – รองเท้ากีฬาอื่น ๆ (นอกจากรองเท้าสกี รองเท้าสําหรับ สกีแบบครอสคันทรี และรองเท้าสําหรับสโนว์บอร์ด) ที่มีพื้นรองเท้าด้านนอกและ ส่วนบนของรองเท้าทําด้วยยางหรือพลาสติก HS CODE 640312 รองเท้าที่ มีพื้ นรองเท้าด้านนอกทําด้วยยาง พลาสติก หนังฟอก หรือหนังอัด และส่วนบนของรองเท้าทําด้วย หนังฟอก — รองเท้าสกี รองเท้าสําหรับสกีแบบครอสคันทรีย์ และรองเท้าสําหรับสโนว์บอร์ด 5 . 3 ม ู ล ค ่ำ ทำ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ใ น กำ ร จ ั ด กำ ร แ ข ่ ง ข ั น ก ี ฬา ในประเทศ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 5 ต่อปี มูลค่ารายได้ที่เกิดจากการใช้จ่ายต่าง ๆ ในโซ่อุปทานที่เกิดขึ้ นจาก การจัดการแข่งขันกีฬาในประเทศ เงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจจาก การใช้จ่ายเงินหมุนเวียนในระบบจากการท่องเที่ยวและเงินหมุนเวียน ในระบบเศรษฐกิจจากอุตสาหกรรมที่ เกี่ ยวเนื่องกับการจัดกิจกรรม การแข่งขันกีฬาในประเทศ สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา ดําเนินการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด ในการสํารว จเป็นรายปี โดยการสํารวจ รายได้ ที ่ เกิ ดจากเงิ นหมุ นเวี ยนจาก ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการจัดการ แข่งขันกีฬาภายในประเทศ ทั้ งที่ อยู่ ภายใต้ กกท . และหน่วยงานท้องถิ่น สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 26 ประเด็นการพัฒนาที่ 5 : การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา (ต่อ) ตัวชี้วัด ระดับประเด็นการพัฒนา นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 5.4 จํานวนกิ จกรรมกี ฬาเชิง ท่ องเที ่ ยวทั ้ งของภาครั ฐและ ภาคเอกชนทุกจังหวัด เพิ่มขึ้นไม่ น้อยกว่าร้อยละ 10 ต่อปี กิจกรรมกีฬา เชิงท่องเที่ยว หมายถึง การเดินทางออก จากถิ่นที่อยู่หรือถิ่นที่ประกอบอาชีพอยู โดยปกติเพื่อ วัตถุประสงค์ใด ๆ ไปยังอีกสถานที่หนึ่งเป็น ร ะยะเวลา ไม่เกิ น 1 ปี โดยมีการเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาเป็นส วนหนึ่ง ของกิจกรรมในการท่องเที่ยว โดยวัตถุประสงค์หลัก ในการเดินทางอาจจะเป็นกา ร เข้าร่วมในกิจกรรมกีฬา นั ้ นหรื อไม่ ก็ ได้ ทั ้ งนี้ ประเภทของกิ จกรรม กี ฬา เชิงท่องเที่ยว มี 3 ประเภท คือ ( 1 ) การเล่ นกี ฬา เชิ งท่ องเที ่ ยว เช่ น การเข้ำร่ วม กิจกรรมที่มีการเล่นกีฬา หรือเข้าร่วมแข่งขัน ( 2 ) การท่องเที่ยวในงานหรือมหกรรมกีฬา ( 3 ) การกี ฬา เชิ งท่ องเที ่ ยว เพื ่ อความทรงจํา เช่น การเดินทางไปเที่ยวสถานกีฬาที่มีชื่อเสียง สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาจัดทํา ระบบข้ อมู ลสารสนเทศจั ดเก็ บ โดย ให้ สํานั กงาน การท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดรวบรวมข้อมูล จํานวน กิจกรรมกีฬาเชิงท่องเที่ยว ภายในจังหวัดและจัดเก็บ ข้อมูลในระบบ สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา 5.5 มีกิจกรรมกีฬาเชิงท่องเที่ยว ที่ เป็นอัตลักษณ์ประจําจังหวัด ทั่วประเทศ (ทุกจังหวัดภายในปี 2570) มีการจัดกิจกรรมกีฬาเชิงท่องเที่ยว โดยนําอัตลักษณ์ ของจังหวัดที่เป็นอัตลักษณ์เฉพาะตัวที่สามารถบ่งบอก ความเป็นตัวตนของจังหวัดมาผสมผสานกับการจัด กิจกรรมกีฬา สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาจัดทํา ระบบข้ อมู ลสารสนเทศจั ดเก็ บ โดยให้ สํานั กงาน การท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัดรวบรวมข้อมูลกิจกรรม กีฬาเชิงท่องเที่ยวที่เป็นอัตลักษณ์ประจําจังหวัดและ จัดเก็บข้อมูลในระบบ สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 27 ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 : การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา ( ต่อ ) ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์ นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 5. 6 มีมาตรการด้านการเงินและ/ ห ร ื อ ภำ ษ ี เ พ ื ่ อ ส น ั บ ส นุ น ผู้ ประกอบการธุรกิจที่ เกี่ ยวข้อง กับการกีฬา มาตรการด้านการเงินและ/หรือภาษี ที่สถาบันการเงิน / หน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวข้อง ให้การสนับสนุน ผู ้ ประกอบการธุ รกิ จที ่ เกี ่ ยวข้ องกั บการกี ฬา เช่น มาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต่ํา ( Soft loan) สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาจัดเก็บ ข้อมูลมาตรการด้านการเงิน และ/หรือภาษี ที่ สนับสนุน ผู้ประกอบการธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา 5. 7 การลงทุนจากภาครัฐและ/ หรือภาคเอกชนในการค้นคว้าและ วิ จั ยที ่ เกี ่ ยวข้ องกั บการส ร้ำง นวั ตกรรมการกี ฬา มี อัตราการ เ ติ บโตไม่ น้ อยกว่ำอั ตราการ เจริญเติบโตของมูลค่าการลงทุน ด้ำนการวิ จั ยและพัฒนา ( R&D) ในภาพรวมของประเทศในแต่ละปี มู ลค่ำการลงทุ นจากภาครั ฐและ/หรื อภาคเอกชน ในการค้นคว้าและวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างนวัตกรรม การกีฬา โดยการสร้างนวัตกรรมการกีฬา ครอบคลุม เครื่องมือหรืออุปกรณ์ซึ่งช่วยเพิ่มขีดความสามารถให้กับ นักกีฬา โดยแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ๆ ดังนี้ - เครื่องมือหรืออุปกรณ์ส่วนบุคคล ได้แก่ เสื้อผ้า รองเท้า - เครื่อง มือหรืออุปกรณ์ที่ใช้เพื่อการแข่งขัน ตลอดจน อุปกรณ์สนาม ได้แก่ พื้นลู่วิ่ง สระว่ายน้ํา สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาประสาน ขอข้ อมู ลจากสํานั กงานคณะกรรมการนโยบาย วิ ทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวั ตกรรมแห่ งชาติ (สวทน.) สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา 5. 8 การยื ่ นจดอนุ สิ ทธิ บั ตร สิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์ นวัตกรรม ทางการกีฬาเชิงพาณิชย์ เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า 2 ชิ้นงานต่อปี จํานวนอนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์ ด้าน นวัตกรรม ทางการกีฬา เชิงพาณิชย์ ที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์ จากกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาประสาน ขอข้ อมู ลจากกรมทรั พย์ สิ นทางปั ญญา กระทรวง พาณิชย์ ที่เป็นผู้จัดเก็บข้อมูล โดยวิธีการแจงนับจํานวน อนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์ ด้านนวัตกรรม ทางการกีฬาเชิงพาณิชย์ ที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตรหรือ ลิขสิทธิ์ สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 28 ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 : การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา (ต่อ) ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์ นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 5. 9 การพัฒนาเมืองกีฬาให้สําเร็จและ ยั่งยืนอย่างน้อยปีละ 1 แห่ง เมืองกีฬา หมายถึง จังหวัดหรือพื้นที่ ทางการปกครอง ที่มีความพร้อมในการพัฒนาและจัดกิจกรรมการกีฬา เพื่อประโยชน์ สุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน การสร้างความเป็นเลิศ การพัฒนาองค์ความรู้ ทาง การกีฬา การฝึกซ้อม และการจัดการแข่งขันกีฬา รวมถึงการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจของประเทศ ด้ วยการส่ งเสริ มการมี ส่ วนร่ วมของภาครั ฐและ ภาคประชาสังคม โดยการพัฒนาเมืองกีฬาให้สําเร็จ และยั่งยืนจะเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่กําหนด การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ ดําเนินการตาม ตัวชี้วัด จัดเก็บข้อมูลในแต่ละปีงบประมาณในการ สํารว จประเมินจังหวัดที่ เสนอตัวเป็นเมืองกีฬา พร้อมให้คําปรึกษาในการเป็ นเมืองกีฬาที่สําเร็จและ ยั่ง ยืน ดังคํานิยาม การกีฬา แห่งประเทศไทย
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ก - 29 ประเด็นการพัฒนา ที่ 5 : การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา (ต่อ) ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์ นิยาม วิธีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานหลัก 5 . 10 มีการจัดทําข้อมูลผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศด ้ำน การกีฬา ( Gross Domestic Sport Product: GDSP) และการประเมิน ผลตอบแทนทางสั งคม ( Social R eturn O n I nvestment: SROI) ที่เกี่ยวข้อง ภายในปี 2566 - ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศด้านการกี ฬา ( GDSP) คื อ มู ลค่ำตลาดของสิ นค้ำและบริ การ ขั้นสุดท้ายด้านการกีฬาที่ผลิตในประเทศในช่วงเวลา หนึ ่ งๆ โดยไม่ คํานึ งว่าผลผลิตนั้ นจะเป็ นผลผลิต ที่ได้จากทรัพยากรภายในหรือภายนอกประเทศ - การประเมิ นผลตอบแทนทางสั งคม ( SROI) ที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา เป็นการประเมินที่ครอบคลุม มูลค่า ทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา ทั้ งผลลัพธ์ ที่เป็น ตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน โดยการวัดมูลค่าทาง เศรษฐกิจของผลประโยชน์ทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับ การ กีฬา ด้วยการนําผลตอบแทนด้านสังคมในเรื่องต่าง ๆ ซึ่ งเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพมาแปลงค่าเป็นตัวเงิน ( M onetized V alue) โดยใช้การวัดตัวเงินแบบคิดลด ( D iscount ed M onetized M easurement) ข อ ง มูลค่าทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา จัดทํา ผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศด้านการกีฬา ( GDSP) และ ประเมิ นผลตอบแทนทางสั งคม ( SROI) เพื ่ อ เป็น แหล่ง ข้อมูลอ้างอิง ด้านมูลค่าทางเศรษฐ กิ จด้านการกีฬา และ มูลค่าทางเศรษฐกิจของผลประโยชน์ทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา กองเศรษฐกิจ การท่องเที่ยวและ กีฬา ( สํานักงานปลัด กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา )
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2565 - 2570) ข - 1 ภาคผนวก ข . : คําสั่ง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดทําและติดตามการดําเนินงาน ตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 – 2570) ค ําสั่งคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ ที่ 1 / 2 5 6 3 เรื่อง แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการจัดทํา และติดตามการดําเนินงาน ตาม แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2 5 6 5 – 2 5 7 0 ) ----------------------------------- ตามพระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. 2 5 6 1 มาตรา 1 3 ให้คณะกรรมการ นโยบาย การ กีฬาแห่งชาติ ดําเนินการจัดทําแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติเสนอคณะรัฐมนตรี และในการประชุม คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่ งชาติ ครั้งที่ 1 / 2 5 6 3 เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2 5 6 3 มีมติเห็นชอบให้แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการจัดทํา และติดตามการดําเนินงาน ตา ม แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2 5 6 5 – 2 5 7 0 ) และ ครั้งที่ 2 / 2 5 6 3 เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2 5 6 3 มีมติเห็นชอบองค์ประกอบ และอํานาจหน้าที่ ของ คณะอนุกรรมการ จัดทํา และติดตามการดําเนินงาน ตาม แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2 5 6 5 – 2 5 7 0 ) ดังนั้น เพื่อให้ การจัดทําแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ชาติ 2 0 ปี (พ.ศ. 2 5 6 1 – 2 5 8 0 ) แผน แม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผน การ ปฏิ รูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 2 (พ.ศ. 2 5 6 0 – 2 5 6 4 ) และแผนความมั่นคง แห่งชาติ ตลอดจน ติดตำมการดําเนินการตามภารกิจที่กําหนดไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติให้เป็นไปตาม เจตนารมณ์ของกฎหมาย อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัตินโยบาย การ กีฬำ แห่งชาติ พ.ศ. 2 5 6 1 จึงแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการจัดทํา และติดตามการดําเนิน งาน ตาม แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ .ศ. 2 5 6 5 – 2 5 7 0 ) โดยมีองค์ประกอบและอํานาจหน้าที่ ดังนี้ องค์ประกอบ 1 . พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา ที่ปรึกษา 2 . รัฐมนตรีว่า การกระทรวงการท่องเที่ยวและกี ฬา ประธานอนุกรรมการ 3 . ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจํากระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา รองประธานอนุกรรมการ 4 . ปลัดกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา รองประธานอนุกรรมการ / 5 . เลขานุการ …
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ข - 2 5 . เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา อนุกรรมการ 6 . ผู้แทนคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศ ไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ อนุกรรมการ 7 . ผู้แทนคณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งประเทศไทย อนุกรรมกา ร 8 . อธิบดีกรมพลศึกษา อนุกรรมกา ร 9 . อธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ อนุกรรมการ 10 . ผู้ว่าการการกีฬาแห่งประเทศไทย อนุกรรมการ 11 . ผู้แทนกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อนุ กร รมการ 12 . ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ อนุกรรมการ 13 . ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย อนุกรรมการ 14 . ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข อนุกรรมการ 15 . ผู้แทนสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อนุกรรมการ 16 . ผู้แทนสํานักงบประมาณ อนุกรรมการ 17 . นายพัฒนาชาติ กฤดิบวร อนุกรรมการ 18 . นายธนดร พุทธรั กษ์ อนุกรรมการ 19 . นายบุญชัย หล่อพิพัฒน์ อนุกรรมการ 20 . ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร . วัฒนชัย พงษ์นาค อนุกรรมการ 21 . รอง ปลัดก ระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ที่ได้รับมอบหมาย อนุกรรมการและเลขานุการ 22 . ผู้อํานวยการกองงานคณะกรรมการ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ นโยบา ยการกีฬาแห่งชาติ สํานักงานปลัดก ระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 23 . หัวหน้ากลุ่มขับเคลื่อนงานคณะกรรมการ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ น โยบายการกีฬาแห่งชาติ กองงานคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา อํานาจหน้าที่ 1. พิจารณา กําหนดแน วทาง และให้ข้อเ สนอแนะการจั ด ทํา แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2 5 6 5 – 2 5 7 0 ) ให้มีความ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 2 0 ปี ( พ .ศ. 2 5 6 1 - 2 5 8 0 ) แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชำติ แผน การ ป ฏิ รูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 2 (พ.ศ. 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) แผ นความมั่นคง แห่ง ชาติ และแผนอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง สถานการณ์และแนวโน้มกีฬาที่สําคัญ ให้คณะกรรมการ นโยบายการกีฬาแห่งชาติพิจารณำ เห็นชอบแล้วจัดทําแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2 5 6 5 - 2 5 7 0 ) ตามที่คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติเห็นชอบ 2. ติดตาม การดําเนิ น งาน ตามภารกิจที่ ก ํา หนดไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ และผลักดัน ขับเคลื่อน ให้ข้อเสนอแนะ การพัฒนาตามแผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติ ไปสู่ กำรปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ในการจัดทํา แผน ปฏิบัติการขององค์กรและหน่วยงานที่รับผิดชอบตามพระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. 2 5 6 1 ใ ห้ เป็นไปตามเจตนำรมณ์ของพระราช บัญญัติ / 3. ดําเนินการอื่น …
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ข - 3 3 . ดําเนินการอื่นตามที่ประ ธานกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติหรือคณะกรรมการ นโยบาย การกีฬาแห่งชำ ติมอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2 5 6 3 พลเอ ก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รอ ง นายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการนโยบายการกีฬา แห่งชาติ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ข - 4 ค ําสั่งคณะกรรม การนโยบายการกีฬาแห่งชาติ ที่ 2 / 2 5 6 4 เรื่อง แก้ไขเพิ่มเติมคําสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดทําและติดตามการดําเนินงานตามแผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2565 - 2570) ---------- ------------------------- ตามที่คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติมีคําสั่งคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ ที่ 1/ 2563 ลงวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจั ดทําและติดตามการดําเนินงาน ตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2565 - 25 70) นั้น ในคราวการประชุมคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 1 / 2564 เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2564 มีมติเห็นชอบให้แก้ไขเพิ่มเติมคําสั่งคณะอนุกรรมการจัดทําและติดตามการดําเนินงาน ตามแผ นพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2565 - 2570) เพื่อให้การขับเคลื่อนแผ นพัฒนาการกีฬา แห่งชาติ ฉบับที่ 7 ที่ได้กําหนดให้มีคณะทํางานเพื่อทําหน้าที่ดําเนิ นการตามภารกิจที่กําหนดไว้ในแผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติ ดําเนินการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานในแต่ละประเด็นการพั ฒนาของแผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 25 66 - 2570) รายไตรมาสและรายปี จนสิ้นสุดแผนได้อย่า งมี ประสิทธิภาพ ประกอบกับสํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา มีคําสั่งสํานักงานปลัดกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา ที่ 580/2564 ลงวันที่ 23 เมษายน 2564 จัดตั้งกอง งานคณะกรรมการนโยบาย การท่องเที่ยวและกีฬาแห่งชาติ ป ฏิบัติงานเลขานุการของคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ อาศัย อํานาจตามความในมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 จึงแก้ไขเพิ่มเติม คําสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดทําและติดตาม การดําเนินงานตามแผน พัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2565 - 2570) ดังนี้ 1. ชื่อคณะอนุกรรมการ จากเดิม “ คณะอนุกรรมการจัดทําและติดตาม การดําเนินงานตาม แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2565 - 2570) ” เป็น “ คณะอนุกรรมการ จัดทําและติดตาม การดําเนินงานตาม แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570)” / 2. องค์ประกอบ …
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ข - 5 2. องค์ปร ะกอ บ จากเดิม 22. ผู้อํานวยการกองงานคณะกรรมการนโยบาย การ กีฬา อนุกรรมการแล ะ ผู้ช่วยเลขานุการ แห่งชาติ สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 23. หัวหน้ากลุ่มขับเคลื่อนงานคณะกรรมการ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ นโยบายการกีฬาแห่งชาติ กองงานคณะกรรมกา รนโยบายการกีฬาแห่งชาติ สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็น 22. ผู้อํานวยการกองงานคณะกรรมการนโยบาย อนุกรรมการและ ผู้ ช่วยเลขานุการ การท่องเที่ยวและกีฬาแห่งชาติ สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 23. หัวหน้ากลุ่มงานเลขานุการคณะกรรมการน โยบาย อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ การกีฬาแห่งชาติ กองงานคณะกรรมการนโยบายกา รท่องเที่ยวและกีฬาแห่งชาติ สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 3. อํานาจหน้าที่ จากเดิม 1 . พิจารณา กําหนดแนวทาง และให้ข้อเสนอแนะการจัดทํา แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2565 - 2570) ให้มีความ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ แผน การ ป ฏิ รูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนความมั่นคงแห่งชาติ และแผนอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสถานการณ์และ แนวโน้มกีฬาที่สําคัญ ให้คณะกร รมการ นโยบายการกีฬาแห่งชาติพิจารณาเห็นชอบแล้วจัดทําแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2565 - 2570) ตามที่คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติเห็นชอบ 2. ติดตาม การดําเนิน งาน ตามภารกิจที่ก ํา หนดไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ และผลักดัน ขั บเคลื่อน ให้ข้อเสนอแนะ การพัฒนาตามแผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ในการจัดทํา แผนปฏิบัติการขององค์กรและหน่วยงานที่รับผิดชอบตามพระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ให้ เป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ 3. ดําเนินการอื่นตามที่ปร ะธานกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติหรือคณะกรรมการนโยบาย การกีฬาแห่งชาติมอบหมาย เป็น 1. พิจารณากําหนดแนวทาง และให้ข้อเสนอแนะการจัดทํา แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ให้มีความ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ แผน การ ป ฏิ รูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนความมั่นคงแห่งชาติ และแผนอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสถานการณ์และแนวโน้มกีฬาที่สําคัญ ให้คณะกร รมการ นโยบายการกีฬาแห่งชาติพิจารณาเห็นชอบแล้วจัดทําแผนพัฒนาการกีฬาแ ห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ตามที่คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติเห็นชอบ 2. ติดตาม การดําเนิน งาน ตามภารกิจที่ก ํา หนดไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ และผลักดัน ขับเคลื่อน ให้ข้อเสนอแนะ การพัฒนาตามแผนพัฒนา การกีฬาแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ในกา รจัดทํา แผนปฏิบัติการขององค์กรและหน่วยงานที่รับผิดชอบตามพระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ให้ เป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ / 3. แต่งตั้ง …
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) ข - 6 3. แต่งตั้งคณะทํางาน เพื่อดําเนินการ อย่างหนึ่งอย่างใดตาม ที่ คณะอนุกรรมการ จัดทําและติดตาม แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 256 6 - 2570) มอบหมายได้ตามความจําเป็น 4. ดําเนินการอื่นตามที่ประธานกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติหรือคณะกรรมการนโยบาย การกีฬาแห่งชาติมอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2 5 6 4 พลเอ ก ประวิตร วงษ์สุวรร ณ รอ ง นายกรัฐมน ตรี ประธานกรรมการนโยบายการกีฬา แห่งชาติ
¡ÃзÃǧ¡Ò÷‹Í§à·ÕèÂÇáÅСÕÌÒ ministry of Tourism and Sports ô ¶¹¹ÃÒª ́Óà¹Ô¹¹Í¡ á¢Ç§ÇÑ ́âÊÁÁ¹ÑÊ à¢μ»‡ÍÁ»ÃÒºÈÑμÃÙ¾‹Ò ¡ÃØ§à·¾Ï ñðñðð â·Ã ð òòøó ñõðð â·ÃÊÒà ð òñôó ÷÷òð www.mots.go.th