ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ว่าด้วยการตรวจแรงงาน และการดำเนินคดีอาญาผู้กระทำความผิด ตามกฎกระทรวงคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566
ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ว่าด้วยการตรวจแรงงาน และการดำเนินคดีอาญาผู้กระทำความผิด ตามกฎกระทรวงคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566
ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ว่าด้วยการตรวจแรงงาน และการดาเนินคดีอาญาผู้กระทำความผิด ตามกฎกระทรวงคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 256 5 พ.ศ. 2566 โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานว่าด้วยการตรวจแรงงาน และการดาเนินคดีอาญาผู้กระทำความผิดตามกฎกระทรวงว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 2561 ให้เป็นปัจจุบันและสอดคล้องกับกฎกระทรวงคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 เพื่อแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน การใช้แรงงานบังคับ และการใช้แรงงานประมงที่ผิดกฎหมาย ซึ่งเป็นนโยบายสาคัญและเร่งด่วนของรัฐบาลจึงสมควรกาหนดระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ในการตรวจแรงงานในงานประมงทะเลและการดาเนินคดีอาญาผู้กระทาความผิด ไว้ เป็นการเฉพาะ เพื่อให้การตรวจแรงงานและการดาเนินคดีในงานประมงทะเลเป็นไปด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบั บที่ 5) พ.ศ. 2545 อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จึงวางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานว่าด้วยการตรวจแรงงาน และการดาเนินคดีผู้กระทาความผิดตามกฎกระทรวงว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ” ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานว่าด้วยการตรวจแรงงานและ การดาเนินคดีอาญาผู้กระทาความผิดตามกฎกระทรวงว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 2561 ข้อ 4 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ และคาสั่งอื่นใด ในส่วนที่กาหนดไว้แล้วในระเบียบนี้ หรือซึ่งขั ดหรือแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน ข้อ 5 ในระเบียบนี้ “ การตรวจแรงงานในงานประมงทะเล ” หมายความว่า การที่พนักงานตรวจแรงงาน ตรวจสอบเอกสาร ณ ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้า - ออก ( PIPO ) การตรวจบริเวณท่าเรือ แพปลา การเข้าไปตรวจในเรือประมงขณะหรือระหว่างทาการประมงในทะเล เพื่อตรวจสอบสภาพการจ้าง การทำงานของลูกจ้าง สอบถามข้อเท็จจริง ถ่ายภาพ บันทึกวิดีโอ ถ่ายสำเนาเอกสารที่เกี่ยวกับสัญญาจ้าง เอกสารการจ่ายค่าจ้าง ทะเบียนลูกจ้าง หลักฐานเวลาพัก และกระทาการอย่างอื่นเ พื่อให้ได้ข้อเท็จจริง ในอันที่จะปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎกระทรวงว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล ้ หนา 8 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 72 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566
“ การดาเนินคดี ” หมายความว่า การดาเนินคดีโดยการเปรียบเทียบ รวมทั้งการร้องทุกข์ หรือกล่าวโทษผู้กระทาผิดตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และกฎกร ะทรวงว่าด้วย การคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล “ นิติกร ” หมายความว่า ข้าราชการที่ดารงตำแหน่งนิติกร กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน “ พนักงานเจ้าหน้าที่ ” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมาย ว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานในงานประมง “ พนักงานตรวจแรงงาน ” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้เป็นพนักงานตรวจแรงงาน ตามกฎหมายว่าด้วยคุ้มครองแรงงาน “ ผู้บังคับบัญชา ” หมายความว่า สวัสดิการแ ละคุ้มครองแรงงานจังหวัดหรือผู้อา นวยการ สานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ และให้ หมายความรวมถึงบุคคลที่ได้รับ มอบหมาย “ ผู้มีอานาจเปรียบเทียบ ” หมายความว่า อธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย สาหรับความผิด ที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย สำหรับความผิด ที่เกิดขึ้นในจังหวัดอื่น “ อธิบดี ” หมายความว่า อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ข้อ 6 ให้อธิบดีรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอำนาจตีความ วินิจฉัยปัญหา กาหนด หลักเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติเพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ หมวด 1 การตรวจแรงงานในงานประมงทะเล ข้อ 7 ให้พนักงานตรวจแรงงานที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ ในสังกัดกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน ซึ่งปฏิบัติงานใน 22 จังหวัดชายทะเล หรือปฏิบัติงานอยู่ในราชการส่วนกลาง พนักงานตรวจแรงงานท้องที่อื่นที่อธิบดีมีคาสั่งให้ไปปฏิบัติงานใน 22 จังหวัดชายทะเล ดาเนินการ ตรวจแรงงานในงานประมงทะเลซึ่งอยู่ในเขตท้องที่ในความรับผิดชอบ การตรวจแรงงานในงานประมงทะเล ให้พนักงานตรวจแรงงานดาเนินการตามแนวปฏิบัติคู่มือ และข้อสั่งการตามนโยบายของผู้บริหาร โดยรวบรวมพยานหลักฐานทุกชนิดเท่าที่จะสามารถทาได้ เพื่อทราบข้อเท็จจริงแล ะพฤติการณ์ต่าง ๆ เพื่อจะรู้ตัว หรือยืนยัน หรือชี้ชัด และพิสูจน์ให้เห็นว่า นายจ้างฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล กรณีตามวรรคสอง หากพบว่านายจ้างฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงว่าด้วยการคุ้มครอง แรงงานในงานประมงท ะเล ให้พนักงานตรวจแรงงานรายงานหัวหน้าศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้า - ออก ( PIPO ) ทันที เพื่อดำเนินการตามอานาจหน้าที่ต่อไป และรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบและดาเนินการ ออกคาสั่งทางปกครองตามมาตรการทางปกครอง หรือดาเนินคดีอาญาต่อไป ้ หนา 9 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 72 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566
ข้อ 8 ในกรณีพนักงานตรวจแรงงานที่เป็นข้าราชการในสังกัดส่วนราชการอื่นนอกจากข้อ 7 ดาเนินการตรวจแรงงานในงานประมงทะเล ให้ประสานการตรวจกับพนักงานตรวจแรงงานตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง โดยเร็ว เพื่อมิให้เกิดความซ้าซ้อนในการตรวจ หากพบว่านายจ้างฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม กฎกระ ทรวงว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล ให้ส่งเรื่องให้พนักงานตรวจแรงงานตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง เพื่อดำเนินการออกคาสั่งทางปกครองตามมาตรการทางปกครอง หรือดาเนินคดีอาญาต่อไป ข้อ 9 ในกรณีที่มีคา ร้องหรือความปรากฏแก่พนักงานตรวจแรงงานตามข้อ 7 ว่าการกระทา ขอ งนายจ้างอาจฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ให้พนักงานตรวจแรงงานนั้นดาเนินการสอบสวน ข้อเท็จจริงโดยด่วน หากพบว่านายจ้างฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ให้ดาเนินการออกคาสั่ง ทางปกครองตามมาตรการทางปกครอง หรือดาเนินคดีอาญาต่อไป ในกรณีมีคา ร้องหรือความปรากฏแก่พนักงานตรวจแรงงานในสังกัดส่วนราชการอื่นให้ประสานงาน กับพนักงานตรวจแรงงานตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง โดยด่วน เพื่อดำเนินการตามวรรคหนึ่ง กรณีตามวรรคหนึ่ง และวรรคสอง หากเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับสิทธิการได้รับเงินตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และลูกจ้างประสงค์ให้พนักงานตรวจแรงงานตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ดาเนินการตามหมวด 12 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ให้พนักงานตรวจแรงงาน แจ้งให้ลูกจ้างหรือทายาทโดยธรรมของลูกจ้างกรณีลูกจ้างถึงแก่ความตาย แล้วแต่กรณี ยื่นคาร้องต่อ พนักงานตรวจแรงงาน เมื่อพนักงานตรวจแรงงานผู้รับผิดชอบได้รับคำร้องแล้ว ให้ดำเนินการ ตามระเบียบกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงานว่าด้วยการรับคำร้องและการพิจารณาคำ ร้องของ พนักงานตรวจแรงงาน ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ข้อ 10 ในกรณีที่ พนักงานตรวจแรงงานได้ออกคาสั่งทางปกครองตามมาตรการทางปกครอง ให้นายจ้างปฏิบัติ ให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจติดตามผลการปฏิบัติตามคำสั่งเมื่อครบกาหนด ระยะเวลาปฏิบัติตามคาสั่ง และรายงานหัวหน้าศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้า - ออก ( PIPO ) ทันที พร้อมทั้งรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบต่อไป หากพบว่านายจ้างไม่ปฏิบัติตามคาสั่งภายในระยะเวลา ที่กำหนดให้ดาเนินการเปรียบเทียบตามหมวด 2 ต่อไป ข้อ 11 ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่านายจ้างกระทาความผิดฐานค้ามนุษย์ด้านแรงงานหรือ ฐานบังคับใช้แรงงานหรือบริการ ตามกฎ หมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์และ ความผิดเกี่ยวกับการใช้แรงงานเด็กตามมาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ประกอบข้อ 4 แห่งกฎกระทรวงคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ให้พนักงานตรวจ แรงงานแจ้งทีมสหวิชาชีพตามแผนปฏิบัติ การว่าด้วยกลไกการส่งต่อระดับชาติ การบริหารจัดการคดี และการช่วยเหลือคุ้มครองผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ และการบังคับใช้แรงงานหรือบริการ เพื่อตรวจสอบ และดาเนินการต่อไป ้ หนา 10 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 72 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566
ข้อ 12 ในกรณีที่มีการกระทาความผิดซึ่งเข้าหลักเกณฑ์ต้องมีการออกคาสั่งทางปกครอง ตามมาตรการทางปกครอง หากนายจ้างได้กระทาความผิดขึ้นภายในสองปี หลังจากวันที่กระทา ความผิดครั้งก่อน ไม่ว่าจะเป็นความผิดฐานเดียวกันหรือไม่ก็ตาม ให้พนักงานตรวจแรงงานหรือนิติกร ดาเนินการเสนอผู้มีอานาจเปรียบเทียบเพื่อดำเนินการเปรียบเทียบตามหมวด 2 โดยไม่ต้องออก คำสั่ง ข้อ 13 กรณีที่มีการอุทธรณ์คาสั่ง ให้นา ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานว่าด้วย การตรวจสถานประกอบกิจการตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และแนวปฏิบัติ เกี่ยวกับการรับและการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง มาใช้บังคับโดยอนุโลม ข้อ 14 ให้พนั กงานตรวจแรงงานหรือนิติกรซึ่งได้รับมอบหมายจากอธิบดีดาเนินคดีอาญา โดยร้องทุกข์หรือกล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวนทันที ในกรณีพบการกระทำความผิด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ความผิดฐานค้ามนุษย์ด้านแรงงาน หรือฐานบังคับใช้แรงงานหรือบริการ ตามกฎหมาย ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรำมการค้ามนุษย์ ( 2 ) ความผิดเกี่ยวกับการใช้แรงงานเด็ก ตามมาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ประกอบข้อ 4 แห่งกฎกระทรวงคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ( 3 ) ความผิดตามมาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ประกอบข้อ 3 แห่งกฎกระทรวงคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 เฉพาะมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 โดยการเรียกเก็บบัตรประจำ ตัวประชาชน ของลูกจ้างหนังสือเดินทาง หนังสือเดินทางชั่วคราว เอกสารใช้แทนหนังสือเดินทาง เอกสารรับรอง บุคคล ใบอนุญาตทำงาน และบัตรประจา ตัวบุคคลซึ่งไม่มีสัญชาติไทยของลูกจ้างเพื่อเป็นหลักประกันการทำงาน ( 4 ) ความผิดตามมาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ประกอบข้อ 3 แห่งกฎกระทรวงคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 เฉพาะมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ( 5 ) ความผิดตามมาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ประกอบข้อ 3 แห่งกฎกระทรวงคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 เฉพาะมาตรา 76 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 อันมีลักษ ณะเป็นการหักเพื่อชำ ระหนี้ที่เป็น ค่าใช้จ่ายหรือ ที่ทดรองจ่ายอันเนื่องมาจากการนา ลูกจ้างมาทางาน ไม่ว่าหนี้นั้นจะมีอยู่จริงหรือไม่ก็ตาม หรือมีลักษณะเป็นการหักค่าจ้างอันเนื่องมาจากการหลอกลวงให้ลูกจ้างเป็นหนี้เกินกว่ามูลหนี้ที่แท้จริง ( 6 ) ความผิดตามมาตรา 139 (2) แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ( 7 ) ความผิดที่มีการกระทำความผิดอาญาตามกฎหมายอื่นรวมอยู่ด้วย ( 8 ) ความผิดฐานจ่ายค่าจ้างและค่าทางานในวันหยุด แต่ไม่จ่ายผ่านบัญชีธนาคารของลูกจ้าง เกินร้อยละห้าสิบของจำนวนลูกจ้างซึ่งทำงานในเรือประมงที่พบการกระทำค วามผิด ( 9 ) ความผิดที่มีพฤติการณ์พิเศษ และอธิบดีมีคาสั่งให้ดาเนินการร้องทุกข์กล่าวโทษต่อ พนักงานสอบสวนทันที ้ หนา 11 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 72 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566
หมวด 2 การดำเนินคดีโดยการเปรียบเทียบ ข้อ 1 5 ในกรณีที่ต้องดาเนินการเปรียบเทียบ ให้นิติกรหรือพนักงานตรวจแรงงานดาเนินการ แสวงหาข้อเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐาน และเสนอผู้บังคับบัญชาตามแบบ กสร.นก. 1 และ กสร.นก. 2 ภายในห้าวันทำการนับแต่วันที่พบการกระทำความผิด ในการยื่นคำให้การรวมถึงนาส่งเอกสารหลักฐานหรือสำเนาเอกสารหลักฐานประกอบคำให้การ ผู้ถูกกล่าวหาจะดาเนินการ โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาสานวนและเสนอผู้มีอานาจเปรียบเทียบตามแบบ กสร.นก. 3 ภายในสองวันทำการนับแต่วันที่ได้รับสำนวน ให้ผู้มีอำนาจเปรียบเทียบพิจารณาออกคำสั่งให้แล้วเสร็จภายในสามวันทำการนับแต่วันที่ได้รับสำนวน เมื่อผู้มีอานาจเปรียบเทียบมีคาสั่งให้เปรียบเทียบแล้ว ให้นิติกรหรือพนักงานตรวจแรงงาน มีหนังสือแจ้งจานวนค่าปรับและให้ผู้ถูกกล่าวหานาเงินค่าปรับมาชาระภายในสามสิบวันนั บแต่วันที่ได้รับ หนังสือแจ้ง โดยต้องมีหนังสือแจ้งไปยังผู้ถูกกล่าวหาภายในหนึ่งวันทาการนับแต่วันที่ผู้มีอานาจมีคาสั่ง ให้เปรียบเทียบ กรณีผู้ถูกกล่าวหานำเงินมาชำระค่าปรับให้นาเงินค่าปรับส่งเป็นรายได้กองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง ข้อ 16 กรณีที่นิติกรหรือพนักงานตรวจแรงงานดาเนินการแสวงหาข้อเท็จจริงและรวบรวม พยานหลักฐานตามข้อ 15 แล้ว ผู้ถูกกล่าวหาไม่ยอมรับสารภาพและไม่ยินยอมให้เปรียบเทียบ หรือผู้ถูกกล่าวหายอมรับสารภาพและยินยอมให้เปรียบเทียบแต่ไม่มาชาระค่าปรับภายในกาหนด ให้นิติกรหรือพนัก งานตรวจแรงงาน ส่งสำ นวนให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาภายในห้าวันทำการนับแต่วันที่พบ การกระทาความผิด หรือนับแต่วันที่พ้นกาหนดชาระค่าปรับ แล้วแต่กรณี และให้ผู้บังคับบัญชา พิจารณาสานวนภายในสองวันทาการนับแต่วันที่ได้รับสานวนและมอบหมายให้นิติกรหรือพนักงานตรวจแรงงาน ร้ องทุกข์กล่าวโทษตามหมวด 3 ภายในสองวันทำการ หมวด 3 การดำเนินคดีทางพนักงานสอบสวน ข้อ 17 ในกรณีที่ต้องดำเนินคดีโดยการร้องทุกข์หรือกล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวน ตามข้อ 7 วรรคสาม หรือกรณีตามข้อ 14 และข้อ 16 ให้นิติกรหรือพนักงานตรวจแรงงาน รวบรวมพยานหลักฐาน และเสนอผู้บังคับบัญชาพิจารณาภายในห้าวันทำการนับแต่วันที่พบการกระทำความผิด และให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาสำนวนภายในสองวันทำการนับแต่วันที่ได้รับสำนวน และมอบหมายให้นิติกร หรือพนักงานตรวจแรงงานดาเนินการร้องทุกข์หรือกล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวนที่ความผิดเกิดอ้างหรือ เชื่อว่าได้เกิดภายในเขตท้องที่ภายในสองวันทำการ ้ หนา 12 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 72 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566
ข้อ 1 8 กรณีพนักงานสอบสวนได้สอบสวนแล้วพบว่าผู้ต้องหากระทาความผิดและยินยอม ให้เปรียบเทียบโดยส่งเรื่องให้ผู้มีอำนาจเปรียบ เทียบภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่บุคคลนั้นแสดงความยินยอม ให้เปรียบเทียบ ให้นิติกรหรือพนักงานตรวจแรงงานเสนอผู้มีอำนาจเปรียบเทียบภายในสองวันทำการ ข้อ 19 กรณีผู้ต้องหายินยอมเปรียบเทียบในชั้นพนักงานอัยการและพนักงานอัยการได้ส่ง สานวนคืนไปยังพนักงานสอบสวนเพื่อดาเนินกำรเปรียบเทียบ ให้นา ความในข้อ 15 มาใช้บังคับ โดยอนุโลม หมวด 4 การรายงานผลการตรวจแรงงาน และการดำเนินคดีอาญา ข้อ 20 ให้เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายรายงานผลการตรวจแรงงานในงานประมงทะเลการดาเนินคดี การชา ระค่าปรับ และการส่งเงินค่าปรับเข้ากองทุนสงเคราะห์ลูกจ้างให้อธิบดีโดยผ่านกองนิติการทราบ และบันทึกผลการตรวจแรงงานและการดาเนินคดีอาญาผ่านระบบคอมพิวเตอร์โดยเร็ว ในกรณีที่พนักงานสอบสวนมีความเห็นควรสั่งไม่ฟ้องคดี กรณีพนักงานอัยการมีคำสั่งไม่ฟ้องคดี หรือในกรณีศาลมีคา พิพากษายกฟ้อง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่สรุปข้อเท็จจริง และรวบรวมพยานหลักฐาน รายงานผลคดีให้กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานทราบโดยเร็ว ทั้งนี้ ให้กองนิติการตรวจสา นวนคดี พร้อมทั้งสรุปและวิเคราะห์ผลคดีเพื่อหาแนวทางแก้ไข เสนอต่ออธิบดีโดยไม่ชักช้า บทเฉพาะกาล ข้ อ 21 การดำเนินการของพนักงานเจ้าหน้าที่ที่อยู่ระหว่างการดำเนินการตามระเบียบ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานว่าด้วยการตรวจแรงงาน และการดำเนินคดีอาญาผู้กระทำความผิด ตามกฎกระทรวงว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 2561 ในวันที่ระเบียบนี้ ใช้บังคับให้ปฏิบัติตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 256 6 นิยม สองแก้ว อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ้ หนา 13 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 72 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566
มาตรการทางปกครอง หรือ ดําเนินคดี อาญา เอกสารแนบท้าย ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ว่าด้วยการตรวจแรงงาน และการดําเนินคดีอาญาผู้กระทําความผิด ตามกฎกระทรวง คุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 จํานวน 9 แผ่น (รวมปก)
-
2 - มาตรการทางปกค รอง หรือ ดําเนินคดี อาญา ตารางที่ 1 การจ้างงาน รายละเอียดในการตรวจแรงงานในกิจการประมงทะเลและการดําเนินการเกี่ยวกับการจ้างงาน ลําดับ ฐานความผิด ฝ่าฝืน มาตรการ 1 จ้างเด็กอายุต่ํากว่า 18 ปี ทํางานในเรือประมง กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้ อ 4 ดําเนินคดีอาญาโดย แจ้ งควำมร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน 2 ความผิดฐานค้ามนุษย์ และความผิดฐานบังคับใช้แรงงาน หรือบริการ พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม การค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 มาตรา 6 และ มาตรา 6/1 ดําเนินคดีอาญาโดย แจ้งความร้อ งทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน 3 ความผิดฐาน เป็นธุระจัดหา ซื้อ ขาย จําหน่าย พามาจากหรือส่งไ ปยังที่ใด หน่วงเหนี่ยวกักขัง จัดให้อยู่อาศัย หรือรับไว้ ซึ่งบุคคลอายุไม่เกินสิบห้า ปี ให้ทํางาน หรือให้บริการที่เป็น อั น ต รำ ย อ ย่ำ งร้ำ ย แ ร งแ ล ะ มี ผลกระทบต่อร่างกายหรือจิตใจ การ เจริญเ ติบโต หรือพัฒนาการ หรือใน ลักษณะหรือใ นสภาพแวดล้อมที่เป็น อันต รายต่อความปลอดภัยของบุคคล นั้น หรือขัดต่อศีลธรรมอันดี พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม การค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 มาตรา 56/1 ดําเนินคดีอาญาโดย แจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน
-
3 - ตารางที่ 2 เวลาพัก ราย ละเอียดในการตรวจแรงงานในกิจการ ประมงทะเลและการดําเนินกา รเกี่ยวกับ เวลาพัก ลําดับ ฐานความผิด ฝ่าฝืน มาตรการ 4 ไม่จัดให้ลูกจ้างมีเวลาพัก กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 6 วรรคหนึ่ง ดําเนินคดีอาญา โดย ให้เปรียบเทียบผู้ ถูกกล่าว หา ก่อน (ในกทม.เป็นอํา นาจของอธิ บดี หรื อผู้ซึ่งอธิ บดีมอบหมาย , ในส่ว นภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่ำฯ) 5 จั ดเวลาพักไม่เป็นไปตามที่กฎหมาย กําหนด หรื อจัดทําหลักฐาน อันเป็นเท็จ กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 6 วรรคหนึ่ ง ดําเนินคดีอาญา โดย ให้เปรียบเทียบผู้ ถูกกล่าว หา ก่อน (ในกทม.เป็นอํา นาจของอธิ บดี หรื อ ผู้ ซึ่งอธิ บดีมอบหมาย , ในส่ว นภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่า ฯ) 6 จัดให้ลูกจ้างมีเวลาพักตามที่กฎหมาย กําหนดแต่ ไม่จัดทําหลักฐานเวลาพัก กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 6 วรรค หนึ่ง ดําเนินคดีอาญา โดย ให้เปรียบเทียบผู้ ถูกกล่าว หา ก่อน (ในกทม.เป็นอํานาจของ อธิบดี หรื อ ผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย , ในส่วนภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่าฯ) ตารางที่ 3 สัญญาจ้าง รายละเอียดในการตรวจแรงงานในกิจการประมงทะเลและการดําเนินการเกี่ยวกับสัญญาจ้าง ลําดับ ฐานความผิด ฝ่าฝืน มาตรการ 7 ไม่ จัด ทําสัญญาจ้างเป็นหนังสือ กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงำนป ระมงท ะเ ล พ.ศ. 2565 ข้อ 7 วรรคหนึ่ง ดําเนินคดีอาญาโดย แจ้งความร้องทุกข์ ต่อพนักงานสอบสวน 8 ทําสัญญาจ้างแต่ ไม่มอบสัญญาจ้างให้ ลูกจ้าง กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 7 วรรคห นึ่ง ดําเนิ นคดีอำญา โดย ให้เปรียบเทียบผู้ ถูกกล่าว หา ก่อน (ในกทม.เป็ นอํานาจของอ ธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย , ในส่วนภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่าฯ) 9 สัญญาจ้างไม่เป็นตามแบบ ที่ อ ธิ บดีประกาศกําหนด กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 7 วรรค สอ ง พนักงานตรวจแรงงาน ออกคําสั่งทางปกครองให้นายจ้างปฏิบัติตามคําสั่งให้ถูกต้อง ภำยใน 3 วั น
-
4 - ตารางที่ 4 การายงานตัว รายละเอียดในการตรวจแรงงานในกิจการประมงทะเลและการดําเนินการเกี่ยวกับ การ ราย งานตัว ลําดับ ฐานความผิด ฝ่าฝืน มาตรการ 10 ไม่นําลูกจ้าง ซึ่งเป็นคน ปร ะจําเรือ เข้ามาในราชอา ณาจักรเพื่ อให้ พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบ กฎกระทรวงคุ้มค รองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 8 ดําเนินคดีอาญำ โดย ให้เปรียบเทียบผู้ ถูกกล่าว หา ก่อน (ในกทม.เป็นอํานาจของอธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมำย , ในส่วนภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่าฯ) 1 1 ไม่จัดให้ลูกจ้างซึ่งเป็นคนประจําเรือ ในเรือประมงนอ กน่านน้ํา มีเวลาพักก่อนนําเรือออก กฎกระทรวงคุ้ มครองแรงงา น ในงานประมงทะเล พ.ศ.2565 ข้อ 8 ดําเนินคดีอาญา โดย ให้เปรียบเทียบผู้ ถูกกล่าว หา ก่อน (ในกทม.เป็นอํานาจของอธิบดี ห รือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย , ในส่วนภูมิภาคเป็ นอํานาจของผู้ว่ำฯ) ตารางที่ 5 ทะเบียนลูกจ้าง รายละเอียดในการตรวจแรงงานในกิจการประมงทะ เลและการดําเนินการเกี่ยวกับทะเบียนลูกจ้าง ลําดับ ฐานค วา มผิด ฝ่าฝืน มาตรการ 12 ไม่ จัดทําทะเบียนลูกจ้าง กฎกระทรว งคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 9 ว รรคหนึ่ ง ดําเนินคดีอาญา โดย ให้เปรียบเทียบผู้ ถูกกล่าว หา ก่อน (ในกทม.เ ป็ นอํานาจของอ ธิบดี หรือผู้ซึ่ งอธิบดี มอบหมาย , ในส่วนภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่าฯ) 13 ไม่จัดเก็บทะ เบียนลูกจ้าง ไว้ ณ สถานที่ทํางานของ นายจ้าง และ ลูกจ้าง กฎกระทรวงคุ้มครอ งแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 9 วรรคหนึ่ง ดําเนินคดีอาญา โดย ให้เปรียบเทียบผู้ ถูกกล่าว หา ก่อน (ในกทม.เป็นอํานาจของอธิบดี หรือผู้ ซึ่งอธิบดีมอบหมาย , ในส่วนภูมิภาคเป็นอ ํานาจของผู้ว่าฯ) 14 ทะเบียนลูกจ้างไม่เป็นตามแบบ ที่อธิ บดีประกาศกําหนด กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประ มง ทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 9 ว รรคสอง พนัก งานตรวจแรงงานออกคํา สั่งทางปกครองให้นายจ้างปฏิ บัติตามคําสั่ง ให้ถู กต้อง ภายใน 3 วัน
-
5 - ตารางที่ 6 เอกสารการจ่ายค่าจ้าง รายละเอียดในการตรวจแรงงานในกิจการประมงทะเลและการดําเนินการเกี่ยวกับเอกสารการจ่ายค่าจ้าง ลําดับ ฐานควา ม ผิ ด ฝ่าฝืน มาตรการ 1 5 ไม่จัดทําเอกสารเกี่ยวกับการจ่าย ค่าจ้างและค่าทํางานในวั นหยุด กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงท ะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 10 ว รรคหนึ่ง ดําเนินคดีอาญา โดย ให้เปรียบเทียบผู้ ถูกกล่าว หา ก่อน (ในกทม.เป็นอํานาจของอธิบดี หรือผู้ซึ่ง อธิบดีมอบหมาย , ในส่วนภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่าฯ) 1 6 เอกสารเกี่ยวกับการจ่ายค่าจ้าง แ ละค่าทํางานในวันหยุดไม่เป็นไปตาม แบบที่อธิบดีประกาศกําหนด กฎก ระท รวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ.2565 ข้อ 10 วร รค หนึ่ ง พนักงานตรวจแรงงานออกคํา สั่งทางปกครองให้นายจ้างปฏิบัติตามคําสั่ง ให้ถู กต้อง ภายใน 3 วัน 1 7 ไม่ จัดให้ลูกจ้างลงลายมื อ ชื่ อ ในเอกสารเกี่ยวกับ การจ่ายค่ำจ้าง และค่ำทําางานในวั นหยุด กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ . 2565 ข้อ 10 วรรคสอง ดําเนินคดีอาญา โดย ให้เปรียบเทียบผู้ ถูกกล่าว หา ก่ อน (ในกทม.เป็นอํานาจของอธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย , ในส่วนภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่าฯ) 18 ไม่จ่ายค่าจ้าง และค่าทํางาน ในวัน หยุด กฎ กระทรวงคุ้มครองแร งงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 1 2 วรรคหนึ่ง ดําเนินคดีอาญาโดย แจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน 1 9 จ่ายค่าจ้างและค่าทํา งาน ในวันหยุด ไม่ ถู กต้อง กฎกระ ทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 12 วรรคหนึ่ง ด ําเนินคดีอาญาให้เปรียบเทียบผู้ถูก กล่ำ วหาก่อน (ในกทม.เป็นอํา นาจของอธิ บดี หรื อ ผู้ซึ่งอธิ บดีมอบหมาย , ในส่ว นภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่ำฯ) 20 จ่ายค่าจ้างและค่าทํา งาน ในวันหยุด ไม่ตรงตามกําหนดเว ลา กฎกระทรวงคุ้ มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 12 วรรคหนึ่ง ด ําเนินคดีอาญาให้เปรียบเทียบผู้ถูก กล่าวหาก่อน(ในกทม .เป็นอํา นาจของอธิ บดี หรื อ ผู้ซึ่ งอธิ บดีมอบหมาย , ในส่ว นภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่า ฯ) 2 1 จ่ายเงินส่ว นแบ่ งตามมูลค่าสัตว์ น้ํา ที่จับได้ไม่ตรงตามกําหนดเว ลา กฎกระท รวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 12 วรรค สอง ด ําเนินคดีอาญาให้เปรียบเทียบผู้ถูก กล่าวหาก่อน (ใ นกทม.เป็นอํา นาจของอธิ บดี หรื อผู้ซึ่งอธิ บดีมอบหมาย , ในส่ว นภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่ำฯ)
-
6 - ตารางที่ 7 ค่าจ้าง รายละเอียดในการตรวจแรงงานในกิจการประมง ทะเลและการดําเนินการเกี่ยวกับ ค่าจ้าง ลําดับ ฐานความผิด ฝ่าฝืน มาตรการ 2 2 ไม่ได้กําหนดค่าจ้างให้ลูกจ้าง เป็นรา ยเ ดือน กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 1 3 ดํา เนินคดีอาญาให้เปรียบเทียบผู้ถูก กล่ำ วหาก่อน(ในกทม. เป็นอํานาจของอธิ บดี หรื อ ผู้ ซึ่งอธิบดี มอบหมาย , ในส่วนภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่าฯ) 2 3 จ่าย ค่าจ้างน้อยกว่า อัตราค่าจ้างขั้นต่ํา กฎกระทรวงคุ้มครองแรง งา น ในงานประมงทะ เล พ.ศ. 2565 ข้อ 1 3 ด ําเนินคดีอาญาให้เปรียบเทียบผู้ถูกกล่าวหำก่อน (ในกทม.เป็นอํานาจของอธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิ บดีมอบหมาย , ในส่ว นภูมิภาคเ ป็ นอํานาจของผู้ว่า ฯ) 2 4 จ่ายค่าจ้างและค่าทํางาน ในวัน หยุด แต่ไม่จ่าย ผ่านบัญชีธนาคารของ ลูกจ้าง กฎกร ะท รวงคุ้มครอ งแรงงำน ในงานปร ะมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 1 4 วรรคหนึ่ง ด ําเนินคดีอาญาให้เปรียบเทียบผู้ถูกกล่าวหาก่อน (ในกทม.เป็นอํานาจของอธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิ บดีมอบหมาย , ในส่ว นภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่า ฯ) 2 5 ให้ลูกจ้างออกค่าใช้จ่ายในการโอน เงินเข้าบัญชีลูกจ้าง กฎกระทรวงคุ้ม ครองแร งงาน ในงานประมงท ะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 1 4 วรรคหนึ่ง ด ําเนินคดีอาญาให้เปรียบเทียบผู้ถูกกล่าวหาก่อน (ในกทม.เป็นอํานาจของอธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิ บดีมอบหมาย , ในส่วนภูมิภาคเป็น อํา นาจของผู้ว่า ฯ)
-
7 - ตารางที่ 8 วันหยุ ด และวันลา รายละเอียดในการตรวจแรงงานในกิจการป ระ มงทะเลและการดําเนินการเกี่ยวกับ วันหยุดและวันลา ลําดับ ฐานความผิด ฝ่าฝืน มาตรการ 2 6 ไม่จัดให้ลูกจ้างมีวันหยุดประจําปี หรือจัดไม่ครบตามที่กฎหมายกําหนด กฎกระทรวงคุ้มครอง แรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 1 5 วรรคหนึ่ง ด ําเนินคดีอาญาให้เปรียบเทียบ ผู้ ถู ก กล่าวหำก่อน (ในกทม.เป็นอํานาจของอธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิ บดีมอบหมาย , ในส่วนภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่าฯ) 2 7 ไม่ จ่าย ค่า จ้างสําหรับวันหยุดประจําปี กฎ กระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 1 5 วรรคหนึ่ง ดําเนินคดีอาญาให้เปรียบเที ยบผู้ถูกกล่าวหำ ก่อน (ในกท ม. เป็นอํานา จของอธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิ บดีมอบหมาย , ในส่วนภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่าฯ) 28 จ่าย ค่าทํางานในวันหยุด ประจําปี น้อยก ว่าที่กฎหมายกําหนด กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 1 5 วรรค สอง ด ําเนินคดีอาญาให้เปรียบเทียบผู้ถูกกล่าวหาก่อน ( ในกทม.เป็น อํา นาจของอธิ บดี หรือผู้ซึ่งอธิ บดีมอบหมาย , ในส่วนภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่าฯ) 29 ไม่ให้ลูกจ้างลาป่ วย เมื่อลูกจ้างป่วยจริง กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 1 6 ด ําเนินคดีอาญาให้เปรียบเทียบผู้ถูก กล่ำวหาก่อน (ในกทม.เป็นอํานาจของอธิบดี หรือผู้ซึ่ งอ ธิ บดีมอบ หมาย , ในส่วนภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่าฯ) 3 0 ไม่จ่ายค่าจ้างในวันลาป่วย กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 16 ด ําเนินคดีอาญาให้เปรียบเทียบผู้ถูกกล่ำวหาก่อน (ในกทม. เป็นอํานาจของอธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิ บดีมอบหมาย , ในส่วนภูมิภาคเ ป็นอํานาจขอ งผู้ ว่าฯ)
-
8 - ตารางที่ 9 สวัสดิการ รายละเอียดในการตรวจแรง งานในกิจการประมงทะเลและการดําเนินการเกี่ยวกับ สวัสดิการ ลําดับ ฐานความผิด ฝ่าฝืน มาตรการ 3 1 ไม่จัดให้มีอาหารและน้ําดื่ม ที่ถู กสุขลักษณะ กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้ อ 18 วรรค หนึ่ง ด ําเนินคดีอาญาให้เปรียบเทียบผู้ถูกกล่าว หาก่อน (ในกทม.เป็นอํานาจของอธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิ บดีมอบหมาย , ในส่วนภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่าฯ) 3 2 ไม่จัดให้มียาและเวชภัณฑ์ที่จําเป็น กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 18 วรรคสอ ง ดําเนินคดี อำญาให้เป รียบเทียบผู้ถูกกล่าวหาก่อน (ในกทม.เป็นอํานาจข องอธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย , ในส่วนภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่าฯ) 3 3 ไม่จัดให้มีห้องส้วมตามกฎหมายว่าด้วย การประมง กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 18 วรรคสาม ดําเนินคดีอาญำให้เปรียบ เที ยบผู้ถู กกล่าวหาก่อน (ในกทม.เป็นอํานาจของอธิบดี หรือผู้ ซึ่งอธิบดีมอบหมาย , ในส่วนภูมิภาคเป็นอํานาจของผู้ว่าฯ) 3 4 - ไม่จัดอุปกรณ์สื่อสารบนเรือประมง ให้กับลูกจ้าง - จัดอุปกรณ์การสื่อสารดาวเทียม น้อยกว่า 1 0 เมกะไบท์ หรือรองรับการ สนทนาด้วยเสียง น้อยกว่ำสิบห้านา ที ต่อคนต่อเดื อน - ไม่ ให้ลูกจ้างเข้าถึ งอุปก รณ์และระบบ การสื่ อสาร กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 19 วรรคหนึ่ง พนักงานตรวจแรงงานออกคํา สั่งทางปกครองให้นายจ้างปฏิบัติตามคําสั่ง ให้ถู กต้อง ภายใน 3 วัน 3 5 ไม่จัดให้มีเอกสารที่แสดง หมายเ ลขโทรศัพท์ ของ กรม ประมง แล ะของหน่วยช่วยเหลือคนประจําเรือ ( Seafarer Help) กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 19 วรรคสำม พนักงานตรวจแรงงานออกคํา สั่งทางปกครองให้นายจ้างปฏิบัติตามคําสั่ง ให้ถู กต้อง ภายใน 3 วัน
-
9 - 3 6 นายจ้างไม่ให้ความรู้แก่ลูก จ้างเกี่ยว กั บ สภำพการทํางา น การใช้เครื่องมือ สุข ภาพ อนามัยสภาพความเป็นอยู่บน เรือและอุปกรณ์ความปลอดภัย ก่อนทํางาน กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. 2565 ข้อ 20 พนักงานตรวจแรงงานออกคําสั่งทางปกครองให้นายจ้างปฏิบัติตามคําสั่ง ให้ถูกต้อง ภายใน 3 วัน 3 7 หักค่าจ้าง ( ไม่เป็ นไปตาม ที่ก ฎหมายกําหนด) กฎกระทร วงคุ้มครองแร งงำน ในงานประมงทะเลพ.ศ. 2565 ข้อ 3 ประกอบมาตรา 22 และมาตรา 76 พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ด ําเนินคดีอาญาให้เปรียบเทียบผู้ถูกกล่าวหาก่อน (ในกทม.เป็นอํานาจของอธิบดี หรือผู้ซึ่ งอธิ บดีมอบหมาย , ในส่ว นภูมิภาคเป็น อํานาจของผู้ว่ำ ฯ)