Mon Mar 27 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ข้อบัญญัติขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยแก้ว เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2562


ข้อบัญญัติขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยแก้ว เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2562

ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหวยแกว เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2562 โดยที่เป็นการสมควรแกไขปรับปรุงขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหวยแกว วาด้วยกิจการ ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยแกว อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 71 แห่งพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 และที่แกไขเพิ่มเติม ประกอบมาตรา 32 มาตรา 54 มาตรา 55 มาตรา 58 มาตรา 63 และมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม องคการบริหารสวนตําบลหวยแกว โดยความเห็นชอบของสภาองคการบริหารสวนตําบลหวยแกว และนายอําเภอแมออน จึงตราขอบัญญัติไว ดังต่อไปนี้ ขอ 1 ขอบัญญัตินี้เรียกวา “ ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหวยแกว เรื่อง กิจการ ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2562 ” ขอ 2 ขอบัญญัตินี้ให้ใชบังคับในเขตขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหวยแกว ตั้งแต่วันถัดจาก วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตนไป ขอ 3 ให้ยกเลิกขอบัญญัติตําบลหวยแกว เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2552 บรรดาขอบัญญัติ ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศหรือคํา สั่งอื่นใดในสวนที่ได้ตราไวแล้ว ในขอบัญญัตินี้หรือซึ่งขัดหรือแยงกับขอบัญญัตินี้ ให้ใชขอบัญญัตินี้แทน ขอ 4 ในขอบัญญัตินี้ “ เจ้าพนักงานทองถิ่น ” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนตําบลหวยแกว “ เจ้าพนักงานสาธารณสุข ” หมายความวา เจ้าพนักงานซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ขอ 5 ให้กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพดังต่อไปนี้เป็นกิจการที่ต้องมีการควบคุมในเขตองคการบริหาร สวนตําบลหวยแกว 1. กิจการที่เกี่ยวกับสัตวเลี้ยง ยกเวนการเลี้ยงไวเพื่อบริโภคในครัวเรือน (1) การเพาะพันธุ เลี้ยง และการอนุบาลสัตวทุกชนิด ยกเวนแมลง ้ หนา 153 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 71 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566

(2) การประกอบกิจการเลี้ยง รวบรวมสัตว หรือธุรกิจอื่นใดอันมีลักษณะทํานองเดียวกัน เพื่อให้ประชาชนเขาชมหรือเพื่อประโยชนของกิจการนั้น ทั้งนี้ ไม่วาจะมีการเรียกเก็บคาดูหรือคาบริการ ในทางตรงหรือทางออม หรือไม่ก็ตาม 2. กิจการที่เกี่ยวกับสัตวและผลิตภัณฑ (1) การฆา หรือชําแหละสัตว ยกเวนในสถานที่จําหนายอาหาร เรขาย หรือขายในตลาด (2) การหมัก ฟอก ตาก หรือสะสมหนังสัตว ขนสัตว (3) การสะสมเขา กระดูก หรือชิ้นสวนสัตวที่ยังมิได้แปรรูป (4) การเคี่ยวหนัง เอ็น หรือไขสัตว (5) การผลิตสิ่งของเครื่องใชหรือผลิตภัณฑอื่น ๆ จากเปลือก กระดอง กระดูก เขา หนัง ขนสัตวหรือสวนอื่น ๆ ของสัตวด้วยการตม นึ่ง ตาก เผาหรือกรรมวิธีใด ๆ ซึ่งมิใชเพื่อเป็นอาหาร (6) การผลิต โม ปน บด ผสม บรรจุ สะสม หรือกระทําอื่นใดต่อสัตวหรือพืช หรือสวนหนึ่งสวนใดของสัตวหรือพืชเพื่อเป็นอาหารสัตวหรือสวนประกอบของอาหารสัตว (7) การผลิต แปรรูป สะสม หรือลางครั่ง 3. กิจการที่เกี่ยวกับอาหาร เครื่องดื่ม ยกเวนในสถานที่จําหนายอาหาร การเรขาย การขายในตลาด และการผลิตเพื่อบริโภคในครัวเรือน (1) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุน้ําพริกแกง น้ําพริกปรุงสําเร็จ เตาเจี้ยว ซีอิ๊ว น้ําจิ้ม หรือซอสปรุงรสชนิดตาง ๆ (2) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุอาหารหมัก ดอง จากสัตว ได้แก ปลารา ปลาเจา กุงเจา ปลาสม ปลาจอม แหนม หม่ํา ไสกรอก กะป น้ําปลา หอยดอง น้ําเคย น้ําบูดู ไตปลา หรือผลิตภัณฑอื่น ๆ ที่คลายคลึงกัน (3) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุอาหารหมัก ดอง แชอิ่ม จากผัก ผลไม หรือพืชอยางอื่น (4) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุอาหารจากพืชหรือสัตว โดยการตาก บด นึ่ง ตม ตุน เคี่ยว กวน ฉาบ ทอด อบ รมควัน ปง ยาง เผา หรือวิธีอื่นใด (5) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุลูกชิ้น ้ หนา 154 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 71 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566

(6) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุเสนหมี่ ขนมจีน กวยเตี๋ยว เตาฮวย เตาหู วุนเสน เกี้ยมอี๋ เนื้อสัตวเทียม หรือผลิตภัณฑอื่น ๆ ที่คลายคลึงกัน (7) การผลิต บะหมี่ มักกะโรนี สปาเกตตี พาสตา หรือผลิตภัณฑอื่น ๆ ที่คลายกัน (8) การผลิต ขนมปงสด ขนมปงแหง จันอับ ขนมเปยะ ขนมอบอื่น ๆ (9) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุน้ํานม หรือผลิตภัณฑจากน้ํานมสัตว (10) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุ เนย เนยเทียม เนยผสม ผลิตภัณฑเนย ผลิตภัณฑเนยเทียม และผลิตภัณฑเนยผสม (11) การผลิตไอศกรีม (12) การคั่ว สะสม หรือแบงบรรจุกาแฟ (13) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุใบชาแหง ชาผง หรือเครื่องดื่ม ชนิดผงอื่น ๆ (14) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุเอทิลแอลกอฮอล สุรา เบียร ไวน น้ําสมสายชู ขาวหมาก น้ําตาลเมา (15) การผลิตน้ํากลั่น น้ําบริโภค น้ําดื่มจากเครื่องจําหนายอัตโนมัติ (16) การผลิต สะสม แบงบรรจุ หรือขนสงน้ําแข็ง (17) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุน้ําอัดลม น้ําหวาน น้ําโซดา น้ําจากพืชผัก ผลไม เครื่องดื่มชนิดตาง ๆ บรรจุกระปอง ขวดหรือภาชนะอื่นใด (18) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุอาหารบรรจุกระปอง ขวด หรือภาชนะอื่นใด (19) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุผงชูรส หรือสารปรุงแต่งอาหาร (20) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุน้ําตาล น้ําเชื่อม (21) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุแบะแซ (22) การแกะ ตัดแต่ง ลางสัตวน้ําที่ไม่ใชเป็นสวนหนึ่งของกิจการหองเย็น (23) การประกอบกิจการหองเย็นแชแข็งอาหาร (24) การเก็บ การถนอมอาหารด้วยเครื่องจักร 4. กิจการที่เกี่ยวกับยา เวชภัณฑ อุปกรณทางการแพทย เครื่องสําอาง ผลิตภัณฑ ทําความสะอาด (1) การผลิต โม บด ผสม หรือบรรจุยา ้ หนา 155 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 71 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566

(2) การผลิต บรรจุยาสีฟน แชมพู ผาเย็น กระดาษเย็น เครื่องสําอาง รวมทั้ง สบูที่ใชกับรางกาย (3) การผลิต บรรจุสําลี ผลิตภัณฑจากสําลี (4) การผลิตผาพันแผล ผาปดแผล ผาอนามัย ผาออมสําเร็จรูป (5) การผลิตผงซักฟอก สบู น้ํายาทําความสะอาด หรือผลิตภัณฑทําความสะอาดตาง ๆ 5. กิจการที่เกี่ยวกับการเกษตร (1) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุน้ํามันจากพืช (2) การลาง อบ รม หรือสะสมยางดิบ (3) การผลิต หรือแบงบรรจุแปงมันสําปะหลัง แปงสาคู แปงจากพืช หรือแปงอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน (4) การสีขาว นวดขาวด้วยเครื่องจักร หรือแบงบรรจุขาวด้วยวิธีใด ๆ ก็ตาม (5) การผลิตยาสูบ (6) การขัด กะเทาะ หรือบดเมล็ดพืช (7) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุปุยหรือวัสดุที่นําไปผลิตปุย (8) การผลิตเสนใยจากพืช (9) การตาก สะสม ขนถายผลิตผลของมันสําปะหลัง ขาวเปลือก ออย ขาวโพด 6. กิจการที่เกี่ยวกับโลหะหรือแร (1) การผลิตภาชนะ เครื่องประดับ เครื่องมือ อุปกรณ หรือเครื่องใชตาง ๆ ด้วยโลหะหรือแร (2) การถลุงแร การหลอม หรือหลอโลหะทุกชนิด ยกเวนกิจการที่ได้รับ ใบอนุญาตใน (1) (3) การกลึง เจาะ เชื่อม ตี ตัด ประสาน รีด หรืออัดโลหะด้วยเครื่อ งจักร หรือกาซ หรือไฟฟา ยกเวนกิจการที่ได้รับอนุญาตใน (1) (4) การเคลือบ ชุบโลหะด้วยตะกั่ว สังกะสี ดีบุก โครเมียม นิกเกิล หรือโลหะอื่นใด ยกเวนกิจการที่ได้รับใบอนุญาตใน (1) ้ หนา 156 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 71 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566

(5) การขัด ลางโลหะด้วยเครื่องจักร หรือสารเคมี ยกเวนกิจการที่ได้ใบอนุญาตใน (1) (6) การทําเหมืองแร สะสม แยก คัดเลือก หรือลางแร 7. กิจการที่เกี่ยวกับยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล (1) การต่อ ประกอบ เคาะ ปะผุ พนสี หรือพนสารกันสนิมยานยนต (2) การผลิตยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล (3) การซอม การปรับแต่งเครื่องยนต เครื่องจักร เครื่องกล ระบบไฟฟา ระบบปรับอากาศ หรืออุปกรณที่เป็นสวนประกอบของยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล (4) การประกอบธุรกิจเกี่ยวกับยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล ซึ่งมีไวบริการ หรือจําหนาย และในการประกอบธุรกิจนั้นมีการซอมหรือปรับปรุงยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล ดังกลาวด้วย (5) การลาง ขัดสี เคลือบสี หรืออัดฉีดยานยนต (7) การจําหนาย ซอม ปะ เชื่อมยางยานยนต หรือตั้งศูนยถวงลอ (8) การผลิต ซอม ประกอบ หรืออัดผาเบรก ผาคลัตช (9) การสะสม การซอมเครื่องกล เครื่องจักรเกาหรืออุปกรณที่เป็นสวนประกอบ ของยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกลเกา 8. กิจการที่เกี่ยวกับไมหรือกระดาษ (1) การผลิตไมขีดไฟ (2) การเลื่อย ซอย ขัด ไส เจาะ ขุดรอง ทําคิ้ว หรือตัดไมด้วยเครื่องจักร (3) การผลิต พน ทาสารเคลือบเงา หรือสี แต่งสําเร็จสิ่งของเครื่องใช หรือผลิตภัณฑจากไม หวาย ชานออย (4) การอบไม (5) การผลิต สะสม แบงบรรจุธูป (6) การผลิตสิ่งของ เครื่องใช เครื่องเขียน หรือผลิตภัณฑอื่นใดด้วยกระดาษ (7) การผลิตกระดาษชนิดตาง ๆ (8) การเผาถาน หรือสะสมถาน ้ หนา 157 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 71 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566

  1. กิจการที่เกี่ยวกับการบริการ (1) การประกอบกิจการสปา เวนแต่เป็นการให้บริการในสถานพยาบาลตามกฎหมาย วาด้วยสถานพยาบาล หรือในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพตามกฎหมายวาด้วยสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ (2) การประกอบกิจการอาบ อบ นวด (3) การประกอบกิจการนวดเพื่อสุขภาพ เวนแต่เป็นการให้บริการในสถานพยาบาล ตามกฎหมายวาด้วยสถานพยาบาล หรือในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพตามกฎหมายวาด้วยสถานประกอบการ เพื่อสุขภาพ (4) การประกอบกิจการสถานที่อาบน้ํา อบไอน้ํา อบสมุนไพร เวนแต่เป็นการใ หบริการ ในสถานพยาบาลตามกฎหมายวาด้วยสถานพยาบาล หรือในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพตามกฎหมาย วาด้วยสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ (5) การประกอบกิจการโรงแรม สถานที่พักที่มิใชโรงแรมที่จัดไวเพื่อให้บริการพักชั่วคราว สําหรับคนเดินทางหรือบุคคลอื่นใดโดยมีคาตอบแทน หรือกิจการอื่นในทํานองเดียวกัน ยกเวนกิจการโฮมสเตย (6) การประกอบกิจการหอพัก อาคารชุดให้เชา หองเชา หรือหองแบงเชา หรือกิจการอื่นในทํานองเดียวกัน (7) การประกอบกิจการมหรสพ (8) การจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรี เตนรํา รําวง รองเง็ง ดิสโกเทก คารา โอเกะ หรือตูเพลง หรือการแสดงอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน (9) การประกอบกิจการสระวายน้ํา หรือกิจการอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน เวนแต่เป็นการให้บริการที่ได้รับใบอนุญาตใน (1) (10) การประกอบกิจการการเลนสเกต หรือโรลเลอรเบลด หรือการเลนอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน (11) การประกอบกิจการเสริมสวย หรือแต่งผม เวนแต่กิจการที่อยู่ในบังคับตามกฎหมาย วาด้วยการประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือตามกฎหมายวาด้วยสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ (12) การประกอบกิจการสถานที่ออกกําลังกาย ้ หนา 158 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 71 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566

(13) การประกอบกิจการให้บริการควบคุมน้ําหนัก (14) การประกอบกิจการสวนสนุก โบวลิ่ง หรือตูเกม (15) การประกอบกิจการให้บริการคอมพิวเตอร (16) การประกอบกิจการสนามกอลฟ หรือสนามฝกซอมกอลฟ (17) การประกอบกิจการหองปฏิบัติการทางการแพทย การสาธารณสุข วิทยาศาสตร หรือสิ่งแวดลอม (18) การประกอบกิจการสักผิวหนัง หรือเจาะสวนหนึ่งสวนใดของรางกาย (19) การประกอบกิจการให้บริการเลี้ยงและดูแลเด็กที่บ้านของผู้รับบริการ (20) การประกอบกิจการให้บริการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ (21) การประกอบกิจการให้บริการสปา อาบน้ํา ตัดขน รับเลี้ยงหรือรับฝากสัตวชั่วคราว 10. กิจการที่เกี่ยวกับสิ่งทอ (1) การปนดาย กรอดาย ทอผาด้วยเครื่องจักร หรือทอผาด้วยกี่กระตุก (2) การสะสมปอ ปาน ฝาย นุน หรือใยสังเคราะห (3) การปนฝาย นุน ใยสังเคราะหด้วยเครื่องจักร (4) การทอเสื่อ กระสอบ พรม หรือสิ่งทออื่น ๆ (5) การเย็บ ปกผา หรือสิ่งทออื่น ๆ ด้วยเครื่องจักร (6) การพิมพผา และสิ่งทออื่น ๆ (7) การซัก อบ รีด หรืออัดกลีบผา ด้วยเครื่องจักร (8) การยอม ฟอก กัดสีผาหรือสิ่งทออื่น ๆ 11. กิจการที่เกี่ยวกับหิน ดิน ทราย ซีเมนต หรือวัตถุที่คลายคลึง (1) การผลิตภาชนะดินเผาหรือผลิตภัณฑดินเผา (2) การระเบิด โม บด หรือยอยหินด้วยเครื่องจักร (3) การผลิตสิ่งของ เครื่องใชหรือผลิตภัณฑอื่น ๆ ด้วยซีเมนต หรือวัตถุที่คลายคลึง (4) การสะสม ผสมซีเมนต หิน ดิน ทราย วัสดุกอ สราง รวมทั้งการขุด ตัก ดูด โม บด หรือยอยด้วยเครื่องจักร ยกเวนกิจการที่ได้รับใบอนุญาตใน (2) ้ หนา 159 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 71 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566

(5) การเจียระไนเพชร พลอย กิน หรือกระจก หรือวัตถุที่คลายคลึง (6) การเลื่อย ตัด หรือประดิษฐหินเป็นสิ่งของ เครื่องใช หรือผลิตภัณฑตาง ๆ (7) การผลิตชอลก ปูนปลาสเตอร ปูนขาว ดินสอพอง หรือเผาหินปูน (8) การผลิตผลิตภัณฑตาง ๆ ที่มีแรใยหินเป็นสวนประกอบหรือสวนผสม (9) การผลิต ตัด บดกระจกหรือผลิตภัณฑแกว (10) การผลิตกระดาษทราย หรือผาทราย (11) การผลิตใยแกว หรือผลิตภัณฑจากใยแกว (12) การลาง การขัดด้วยการพนทรายลงบนพื้นผิวกระจก แกว หิน หรือวัตถุอื่น ใดยกเวนกิจการที่ได้รับใบอนุญาตใน 6 (5) 12. กิจการที่เกี่ยวกับปโตรเลียม ปโตรเคมี ถานหิน ถานโคก และสารเคมีตาง ๆ (1) การผลิต สะสม บรรจุ หรือขนสงกรด ดาง สารออกซิไดซ หรือสารตัวทําละลาย (2) การผลิต สะสม บรรจุ หรือขนสงกาซ (3) การผลิต สะสม กลั่น หรือขนสงปโตรเลียมหรือผลิตภัณฑปโตรเลียม (4) การผลิต สะสม หรือขนสงถานหิน หรือถานโคก (5) การพนสี ยกเวนกิจการที่ได้รับใบอนุญาตใน 7 (1) (6) การผลิตสิ่งของเครื่องใชหรือผลิตภัณฑด้วยยางเทียม พลาสติก เซลลูลอยด เบเกอรไลท หรือวัตถุที่คลายคลึง (7) การโม สะสม หรือบดชัน (8) การผลิตสีหรือน้ํามันผสมสี (9) การผลิต ลางฟลมรูปถายหรือฟลมภาพยนต (10) การเคลือบ ชุบวัตถุด้วยพลาสติก เซลลูลอยด เบเกอรไลท หรือวัตถุที่คลายคลึง (11) การผลิตพลาสติก เซลลูลอยด เบเกอรไลท หรือวัตถุที่คลายคลึง (12) การผลิต หรือบรรจุสารเคมีดับเพลิง (13) การผลิตน้ําแข็งแหง (14) การผลิต สะสม ขนสงดอกไมเพลิง หรือสารเคมีอันเป็นสวนประกอบ ในการผลิตดอกไมเพลิง ้ หนา 160 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 71 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566

(15) การผลิตเชลแล็ก หรือสารเคลือบเงา (16) การผลิต สะสม บรรจุ ขนสงสารกําจัดศัตรูพืชหรือพาหะนําโรค (17) การผลิต สะสม หรือบรรจุกาว 13. กิจการอื่น ๆ (1) การพิมพหนังสือหรือสิ่งพิมพอื่นที่มีลักษณะเดียวกันด้วยเครื่องจักร (2) การผลิต ซอมเครื่องอิเล็กทรอนิกส เครื่องไฟฟา อุปกรณอิเล็กทรอนิกส หรืออุปกรณไฟฟา (3) การผลิตเทียน หรือเทียนไข หรือวัตถุที่คลายคลึง (4) การพิมพแบบ พิมพเขียว หรือถายเอกสาร (5) การสะสมวัตถุหรือสิ่งของที่ชํารุด ใชแล้วหรือเหลือใช (6) การประกอบกิจการโกดังสินคา (7) การลางขวด ภาชนะหรือบรรจุภัณฑที่ใชแล้วเพื่อนําไปใชใหมหรือแปรสภาพ เป็นผลิตภัณฑใหม (8) การพิมพ เขียน พนสี หรือวิธีอื่นใดลงบนวัตถุที่มิใชสิ่งทอ (9) การบรรจุหีบหอสินคาโดยใชเครื่องจักร (10) การให้บริการควบคุมปองกันและกําจัดแมลง หรือสัตวพาหะนําโรค (11) การผลิตสิ่งของ เครื่องใช หรือผลิตภัณฑจากยาง (12) การผลิต สะสม หรือขนสงไบโอดีเซลและเอทานอล ขอ 6 เมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับตั้งแต่ขอบัญญัตินี้มีผลใชบังคับ หามมิให้ผู้ใดดําเนินกิจการ ตามที่ระบุไวในขอ 5 ในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยแกวในลักษณะที่เป็นการคา เวนแต่จะได้รับ ใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่น ขอ 7 ผู้ใดประสงคที่จะประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพซึ่งต่อควบคุมตามขอบัญญัตินี้ ให้ยื่นคําขอรับใบอนุญาตตามแบบ กอ. 1 ต่อเจ้าพนักงานทองถิ่น พรอมหลักฐานตาง ๆ ตามที่องคการบริหารสวนตําบลหวยแกวกําหนด ้ หนา 161 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 71 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566

ขอ 8 ผู้ขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพซึ่งต้องควบคุมตามขอบัญญัตินี้ ต้องปฏิบัติรวมทั้งจัดสถานที่สําหรับประกอบกิจการนั้น ๆ ให้เป็นไปตามเงื่อนไขอันเกี่ยวด้วยสุขลักษณะ ดังต่อไปนี้ (1) สถานที่นั้นต้องตั้งอยู่ในทําเลที่จะมีรางระบายน้ํารับน้ําโสโครกได้อยางเหมาะสม ตามคําแนะนําของเจ้าพนักงานสาธารณสุข (2) ต้องจัดทํารางระบายน้ํา หรือบอรับน้ําโสโครกด้วยวัตถุถาวร เรียบ ไม่ซึม ไม่รั่ว ระบายน้ําได้สะดวก (3) การระบายน้ําต้องไม่เป็นที่เดือดรอนแกผู้ใชน้ําในทางสาธารณะ หรือผู้ใกลเคียง (4) จัดให้มีระบบบําบัดน้ําเสียตามคําแนะนําของเจ้าพนักงานสาธารณสุข (5) เมื่อเจ้าพนักงานสาธารณสุขเห็นวา สถานที่ใดสมควรจะต้องทําพื้นด้วยวัตถุถาวร เพื่อปองกันไม่ให้น้ําซึม รั่วไหลหรือขังอยู่ได้ หรือเห็นวาควรมีบอพักน้ําโสโครกหรือทําการกําจัดน้ําโสโครก ไขมันให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลหรือต้องมีเครื่องระบายน้ํา เครื่องปองกันกลิ่น ไอเสีย ความกระเทือน ฝุนละออง เขมา เถา หรือสิ่งอื่นใด อันอาจเป็นเหตุรําคาญแกผู้อยู่ขางเคียง ขอกําหนดดั งกลาว ผู้ขอรับใบอนุญาตต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามคําแนะนําของเจ้าพนักงานสาธารณสุข (6) ต้องให้มีแสงสวางและการระบายอากาศเพียงพอ และต้องจัดสถานที่มิให้เป็นที่อยู่อาศัย ของสัตวนําโรค (7) ต้องจัดให้มีน้ําสะอาดเพียงพอแกกิจการนั้น ๆ (8) ต้องมีที่รองรับมูลฝอย และสิ่งปฏิกูลอันได้สุขลักษณะจํานวนเพียงพอ (9) ต้องจัดให้มีสวมอันได้สุขลักษณะ จํานวนเพียงพอกับจํานวนคนที่ทําการอยู่ในสถานที่นั้น และต้องตั้งอยู่ในทําเลที่เหมาะสม รวมทั้งการกําจัดสิ่งปฏิกูลด้วยวิธีที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล ตามคําแนะนําของเจ้าพนักงานสาธารณสุข ( 10) สถานที่เลี้ยงสัตวที่ขัง และที่ปลอยสัตวกวางขวางเพียงพอ และต้องจัดให้ได้สุขลักษณะ (11) สถานที่เกี่ยวกับการตากหรือผึ่งสินคาต้องมีที่สําหรับตากหรือผึ่งสินคา ตามที่เจ้าพนักงานสาธารณสุขเห็นชอบ (12) ปฏิบัติการอื่นใดเกี่ยวด้วยสุขลักษณะตามคําแนะนําของเจ้าพนักงานสาธารณสุข และคําสั่งเจ้าพนักงานทองถิ่น รวมทั้งระเบียบ ขอบัญญัติและประกาศขององคการบริหารสวนตําบลหวยแกว ้ หนา 162 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 71 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566

ขอ 9 เมื่อเจ้าหนักงานทองถิ่นพิจารณาแล้วเห็นวา ผู้ขอรับใบอนุญาตได้ปฏิบัติการครบถวน ตามความในขอ 8 และการอนุญาตนั้นไม่เป็นเหตุกระทบกระเทือนต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน ก็ให้ออกใบอนุญาตให้ตามแบบ กอ. 2 ขอ 10 ผู้ได้รับอนุญาตต้องมารับใบอนุญาตพรอมกับชําระคาธรรมเนียมตามอัตราทายขอบัญญัตินี้ ภายในกําหนดสิบหาวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจงจากเจ้าพนักงานทองถิ่น หากมิได้มารับใบอนุญาต และชําระคาธรรมเนียมภายในระยะเวลาที่กําหนดจะถือวาสละสิทธิ์ อัตราคาธรรมเนียมทายขอบัญญัตินี้ เมื่อได้ชําระแล้วให้ถือเป็นรายได้ขององคการบริหารสวนตําบลหวยแกว ขอ 11 ผู้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการคาซึ่งกําหนดให้ควบคุมตามขอบัญญัตินี้ จะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขอันเกี่ยวด้วยสุขลักษณะ ดังต่อไปนี้ (1) ต้องรักษาเครื่องมือเครื่องใชในการประกอบการคาทุกอยางให้สะอาดอยู่เสมอ ถาวัตถุแห่งการคานั้นจักใชเป็นอาหารต้องปองกันวัตถุนั้น ให้พนจากฝุนละออง และสัตวพาหะนําโรค (2) ต้องมีการดูแลรักษาความสะอาดที่รองรับขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลไม่ให้เป็นที่เพาะพันธุ แมลงและสัตวพาหะนําโรคได้ และต้องมีการกําจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลให้ถูกต้องด้วยสุขลักษณะ (3) ถาจะเปลี่ยนแปลง แกไข หรือเพิ่มเติมสถานที่ต้องได้รับอนุญาตจาก เจ้าพนักงานทองถิ่นกอน (4) ต้องยอมให้เจ้าพนักงานทองถิ่น หรือเจ้าพนักงานทองถิ่น หรือเจ้าพนักงานสาธารณสุข หรือผู้ที่ได้รับแต่งตั้งจากพนักงานทองถิ่น เขาตรวจสถานที่ เครื่องมือ เครื่องใช ตลอดจน วิธีประกอบการคานั้นได้ในเวลาอันสมควร เมื่อได้รับแจงความประสงคให้ทราบแล้ว (5) ปฏิบัติการอื่นใดเกี่ยวด้วยสุขลักษณะตามคําแนะนําของเจ้าพนักงานสาธารณสุข และคําสั่งของเจ้าพนักงานทองถิ่น รวมทั้งระเบียบ ขอบังคับ และประกาศองคการบริหารสวนตําบลหวยแกว ขอ 12 ให้เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจกําหนดเงื่อนไข โดยเฉพาะระบุไวในใบอนุญาต ให้ผู้รับใบอนุญาตปฏิบัติเพื่อปองกันอันตรายต่อสุขภาพของสาธารณชน ขอ 13 ให้เจ้าพนักงานทองถิ่น เรียกเก็บคาธรรมเนียมการออกใบอนุญาตให้ประกอบกิจการคา ซึ่งกําหนดให้ควบคุมตามอัตราทายขอบัญญัตินี้ ใบอนุญาตฉบับหนึ่ง ให้ใชสําหรับกิจการคาประเภทเดียว และสําหรับสถานที่แห่งเดียว ถาประกอบกิจการคาซึ่งกําหนดให้ควบคุมหลายประเภทในขณะและสถานที่เดียวกันให้เรียกเก็บ คาธรรมเนียมในประเภทที่มีอัตราสูงเต็มอัตราแต่ประเภทเดียว ประเภทอื่นให้เก็บเพียงกึ่งอัตรา ้ หนา 163 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 71 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566

ขอ 14 ใบอนุญาตให้มีอายุหนึ่งปนับแต่วันที่ออกใบอนุญาตและให้ใชได้เพียงในเขตอํานาจ ขององคการบริหารสวนตําบลหวยแกว ขอ 15 การต่ออายุใบอนุญาตจะต้องยื่นคําขอต่อเจ้าพนักงานทองถิ่นตามแบบ กอ. 3 กอนใบอนุญาตสิ้นอายุ เมื่อได้ยื่นคําขอพรอมกับชําระคาธรรมเนียมแล้วให้ประกอบกิจการต่อไปได้ จนกวาเจ้าพนักงานทองถิ่นจะสั่งไม่ต่ออายุใบอนุญาต หากมิได้ชําระคาธรรมเนียมกอนใบอนุญาตสิ้นอายุ จะต้องชําระคาธรรมเนียมเพิ่มขึ้นอีกรอยละยี่สิบของจํานวนคาธรรมเนียมที่คางชําระ ขอ 16 เมื่อผู้รับใบอนุญาตไม่ประสงคจะประกอบกิจการต่อไปให้ยื่นคํารองบอกเลิกกิจการ ต่อเจ้าพนักงานทองถิ่นตามแบบ กอ. 4 ขอ 17 หากผู้รับใบอนุญาต ประสงคจะ แกไขรายการในใบอนุญาตให้ยื่นคําขอ ต่อเจ้าพนักงานทองถิ่นตามแบบ กอ. 4 ขอ 18 ในกรณีใบอนุญาตสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุดในสาระสําคัญให้ผู้รับใบอนุญาต ยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตต่อเจ้าพนักงานทองถิ่นตามแบบ กอ. 4 ภายในสิบหาวันนับแต่วันที่ได้ทราบ ถึงการสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุดในสาระสําคัญแล้วแต่กรณี พรอมหลักฐาน ดังต่อไปนี้ (1) เอกสารแจงความต่อสถานีตํารวจ กรณีการสูญหายหรือถูกทําลาย (2) ใบอนุญาตเดิม กรณีชํารุดในสาระสําคัญ ขอ 19 การออกใบแทนใบอนุญาตให้เจ้าพนักงานทองถิ่น ดําเนินการตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข ดังนี้ (1) การออกใบแทนใบอนุญาตให้ใชแบบ กอ. 2 โดยประทับตราสีแดงคําวา “ ใบแทน ” กํากับไวด้วย และให้มีวัน เดือน ป ที่ออกใบแทน พรอมทั้งลงลายมือชื่อเจ้าพนักงานทองถิ่น หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากเจ้าพนักงานทองถิ่นในใบแทนและตนขั้วใบแทน (2) ให้ใชใบแทนใบอนุญาตได้เทากับเวลาที่เหลือของอายุใบอนุญาตเดิมนั้น (3) บันทึกดานหลังตนขั้วใบอนุญาตเดิม ระบุสาเหตุการสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุด ในสาระสําคัญของใบอนุญาตเดิม แล้วแต่กรณี และลงเลมที่ เลขที่ ป ของใบแทนใบอนุญาต ขอ 20 ผู้รับใบอนุญาตตามขอบัญญัตินี้ต้องแสดงใบอนุญาตไวโดยเปดเผยและเห็นได้งาย ณ สถานที่ประกอบกิจการตลอดเวลาที่ประกอบกิจการ ขอ 21 ให้ใชแบบพิมพตาง ๆ ตามที่กําหนดไวทายขอบัญญัตินี้ ดังต่อไปนี้ (1) คําขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพให้ใชแบบ กอ. 1 ้ หนา 164 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 71 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566

(2) ใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพให้ใชแบบ กอ. 2 (3) คําขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบกิจการที่อันตรายต่อสุขภาพให้ใชแบบ กอ. 3 (4) คําขออนุญาตตาง ๆ ให้ใชแบบ กอ. 4 ขอ 22 ผู้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการคาซึ่งกําหนดให้ควบคุมตามขอบัญญัตินี้ไม่ปฏิบัติ หรือปฏิบัติไม่ถูกต้องตามขอบัญญัตินี้ หรือเงื่อนไขโดยเฉพาะที่ระบุไวในใบอนุญาตนั้น เจ้าพนักงานทองถิ่น มีอํานาจสั่งพักใชใบอนุญาตได้ภายในเวลาที่เห็นสมควรครั้งละไม่เกิน 15 วัน กรณีที่ถูกสั่งพักใช ใบอนุญาตมาแล้วสองครั้ง และมีเหตุที่จะต้องถูกสั่งพักใบอนุญาตอีก เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจ ออกคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาตเสียก็ได้ ขอ 23 ผู้ใดฝาฝนขอบัญญัตินี้ในขอ 5 ต้องระวางโทษตามมาตรา 71 แห่งพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ขอ 24 ผู้ใดฝาฝนขอบัญญัตินี้ในขอ 7 หรือขอ 10 ต้องระวางโทษตามมาตรา 73 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ขอ 25 ผู้ใดฝาฝนขอบัญญัตินี้ในขอ 8 ต้องระวางโทษตามมาตรา 76 แห่งพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ขอ 26 ผู้ใดฝาฝนขอบัญญัตินี้ในขอ 17 หรือขอ 19 ต้องระวางโทษตามมาตรา 83 แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ขอ 27 ผู้รับใบอนุญาตผู้ใดดําเนินกิจการในระหวางถูกสั่งพักใบอนุญาตตามขอ 21 ต้องระวางโทษ ตามมาตรา 84 แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ขอ 28 บรรดาใบอนุญาตการคาซึ่งเป็นที่รังเกียจหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพที่ได้ออกกอน วันใชขอบัญญัตินี้ให้คงใชต่อไปจนสิ้นอายุใบอนุญาตนั้น ขอ 29 ให้นายกองคการบริหารสวนตําบลหวยแกวมีหน้าที่รักษาการให้เป็นไปตามขอบัญญัตินี้ และให้มีอํานาจออกระเบียบ ขอบังคับ หรือคําสั่ง เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามขอบัญญัตินี้ ประกาศ ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2562 อาคม สมณะ นายกองคการบริหารสวนตําบลหวยแกว ้ หนา 165 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 71 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 มีนาคม 2566

บัญชีคาธรรมเนียมทายขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหวยแกว เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2562 ที่ ประเภทของกิจการ อัตราคาธรรมเนียมต่อป (บาท) 1 2 3 กิจการที่เกี่ยวกับสัตวเลี้ยง ยกเวนการเลี้ยงไวเพื่อบริโภคในครัวเรือน (1 ) การเพาะพันธุ เลี้ยง และการอนุบาลสัตวทุกชนิด ยกเวนแมลง (1.1) จํานวนไม่เกิน 10 ตัว (1.2) จํานวนตั้งแต่ 11 ตัวขึ้นไป (2) การประกอบกิจการเลี้ยง รวบรวมสัตว หรือธุรกิจอื่นใดอันมีลักษณะ ทํานองเดียวกัน เพื่อให้ประชาชนเขาชมหรือเพื่อประโยชนของกิจการนั้น ทั้งนี้ ไม่วาจะมีการเรียกเก็บคาดูหรือคาบริการในทางตรงหรือทางออม หรือไม่ก็ตาม กิจการที่เกี่ยวกับสัตวและผลิตภัณฑ (1) การฆา หรือชําแหละสัตว ยกเวนในสถานที่จําหนายอาหาร เรขาย หรือขายในตลาด (2) การหมัก ฟอก ตาก หรือสะสมหนังสัตว ขนสัตว (3) การสะสมเขา กระดูก หรือชิ้นสวนสัตวที่ยังมิได้แปรรูป (4) การเคี่ยวหนัง เอ็น หรือไขสัตว (5) การผลิตสิ่งของเครื่องใชหรือผลิตภัณฑอื่น ๆ จากเปลือก กระดอง กระดูก เขา หนัง ขนสัตวหรือสวนอื่น ๆ ของสัตวด้วยการตม นึ่ง ตาก เผาหรือกรรมวิธีใด ๆ ซึ่งมิใชเพื่อเป็นอาหาร (6) การผลิต โม ปน บด ผสม บรรจุ สะสม หรือกระทําอื่นใดต่อสัตว หรือพืชหรือสวนหนึ่งสวนใดของสัตวหรือพืชเพื่อเป็นอาหารสัตว หรือสวนประกอบของอาหารสัตว (7) การผลิต แปรรูป สะสม หรือลางครั่ง กิจการที่เกี่ยวกับอาหาร เครื่องดื่ม ยกเวนในสถานที่จําหนายอาหาร การเรขาย การขายในตลาด และการผลิตเพื่อบริโภคในครัวเรือน (1) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุน้ําพริกแกง น้ําพริกปรุงสําเร็จ เตาเจี้ยว ซีอิ๊ว น้ําจิ้ม หรือซอสปรุงรสชนิดตาง ๆ ( 2) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุอาหารหมัก ดอง จากสัตว ได้แก ปลารา ปลาเจา กุงเจา ปลาสม ปลาจอม แหนม หม่ํา ไสกรอก กะป น้ําปลา หอยดอง น้ําเคย น้ําบูดู ไตปลา หรือผลิตภัณฑอื่น ๆ ที่คลายคลึงกัน (3) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุอาหารหมัก ดอง แชอิ่ม จากผัก ผลไม หรือพืชอยางอื่น (4) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุอาหารจากพืชหรือสัตว โดยการตาก บด นึ่ง ตม ตุน เคี่ยว กวน ฉาบ ทอด อบ รมควัน ปง ยาง เผา หรือวิธีอื่นใด (5) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุลูกชิ้น (6) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุเสนหมี่ ขนมจีน กวยเตี๋ยว เตาฮวย เตาหู วุนเสน เกี้ยมอี๋ เนื้อสัตวเทียม หรือผลิตภัณฑอื่น ๆ ที่คลายคลึงกัน 200 500 5 , 000 3 , 000 10 , 000 10 , 000 1 , 000 1 , 000 10 , 000 1 , 000 1 , 000 1 , 000 1 , 000 500 2 , 000 1 , 000

  • 2 - ที่ ประเภทของกิจการ อัตราคาธรรมเนียมต่อป (บาท) 4 (7) การผลิต บะหมี่ มักกะโรนี สปาเกตตี พาสตา หรือผลิตภัณฑอื่น ๆ ที่คลายกัน (8) การผลิต ขนมปงสด ขนมปงแหง จันอับ ขนมเปยะ ขนมอบอื่น ๆ (9) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุน้ํานม หรือผลิตภัณฑจากน้ํานมสัตว (10) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุเนย เนยเทียม เนยผสม ผลิตภัณฑเนย ผลิตภัณฑเนยเทียม และผลิตภัณฑเนยผสม (11) การผลิตไอศกรีม (12) การคั่ว สะสม หรือแบงบรรจุกาแฟ (12.1) ปริมาณไม่เกิน 50 กิโลกรัม ต่อเดือน (12.2) ปริมาณมากกวา 50 กิโลกรัมขึ้นไป ต่อเดือน (13) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุใบชาแหง ชาผง หรือเครื่องดื่ม ชนิดผงอื่น ๆ (14) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุเอทิลแอลกอฮอล สุรา เบียร ไวน น้ําสมสายชู ขาวหมาก น้ําตาลเมา (15) การผลิตน้ํากลั่น น้ําบริโภค น้ําดื่มจากเครื่องจําหนายอัตโนมัติ (16) การผลิต สะสม แบงบรรจุ หรือขนสงน้ําแข็ง (17) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุน้ําอัดลม น้ําหวาน น้ําโซดา น้ําจากพืชผัก ผลไม เครื่องดื่มชนิดตาง ๆ บรรจุกระปอง ขวดหรือภาชนะอื่นใด (17.1) โดยใชเครื่องจักร (17.2) โดยไม่ใชเครื่องจักร (18) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุอาหารบรรจุกระปอง ขวด หรือภาชนะอื่นใด (19) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุผงชูรส หรือสารปรุงแต่งอาหาร (20) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุน้ําตาล น้ําเชื่อม (21) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุแบะแซ (22) การแกะ ตัดแต่ง ลางสัตวน้ําที่ไม่ใชเป็นสวนหนึ่งของกิจการ หองเย็น (23) การประกอบกิจการหองเย็นแชแข็งอาหาร (24) การเก็บ การถนอมอาหารด้วยเครื่องจักร กิจการที่เกี่ยวกับยา เวชภัณฑ อุปกรณทางการแพทย เครื่องสําอาง ผลิตภัณฑทําความสะอาด (1) การผลิต โม บด ผสม หรือบรรจุยา (2) การผลิต บรรจุยาสีฟน แชมพู ผาเย็น กระดาษเย็น เครื่องสําอาง รวมทั้งสบูที่ใชกับรางกาย (3) การผลิต บรรจุสําลี ผลิตภัณฑจากสําลี (4) การผลิตผาพันแผล ผาปดแผล ผาอนามัย ผาออมสําเร็จรูป (5) การผลิตผงซักฟอก สบู น้ํายาทําความสะอาด หรือผลิตภัณฑ ทําความสะอาดตาง ๆ 10 , 000 1 , 000 1 , 000 1 , 000 1 , 000 100 1 , 000 500 2 , 000 500 5 , 000 1 , 000 500 5 , 000 5 , 000 5 , 000 5 , 000 1 , 000 5 , 000 1 , 000 5 , 000 5 , 000 5 , 000 5 , 000 5 , 000

  • 3 - ที่ ประเภทของกิจการ อัตราคาธรรมเนียมต่อป (บาท) 5 6 7 กิจการที่เกี่ยวกับการเกษตร (1) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุน้ํามันจากพืช (2) การลาง อบ รม หรือสะสมยางดิบ (3) การผลิต หรือแบงบรรจุแปงมันสําปะหลัง แปงสาคู แปงจากพืช หรือแปงอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน (4) การสีขาว นวดขาวด้วยเครื่องจักร หรือแบงบรรจุขาวด้วยวิธีใด ๆ ก็ตาม (5) การผลิตยาสูบ (6) การขัด กะเทาะ หรือบดเมล็ดพืช (7) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุปุยหรือวัสดุที่นําไปผลิตปุย (7.1) โดยใชเครื่องจักร (7.2) โดยไม่ใชเครื่องจักร (8) การผลิตเสนใยจากพืช (9) การตาก สะสม ขนถายผลิตผลของมันสําปะหลัง ขาวเปลือก ออย ขาวโพด กิจการที่เกี่ยวกับโลหะหรือแร (1) การผลิตภาชนะ เครื่องประดับ เครื่องมือ อุปกรณ หรือเครื่องใชตาง ๆ ด้วยโลหะหรือแร (2) การถลุงแร การหลอม หรือหลอโลหะทุกชนิด ยกเวนกิจการที่ได้รับ ใบอนุญาตใน (1 ) (3) การกลึง เจาะ เชื่อม ตี ตัด ประสาน รีด หรืออัดโลหะด้วยเครื่องจักร หรือกาซ หรือไฟฟา ยกเวนกิจการที่ได้รับอนุญาตใน (1) (4) การเคลือบ ชุบโลหะด้วยตะกั่ว สังกะสี ดีบุก โครเมียม นิกเกิล หรือโลหะอื่นใด ยกเวนกิจการที่ได้รับใบอนุญาตใน (1) (5) การขัด ลางโลหะด้วยเครื่องจักร หรือสารเคมี ยกเวนกิจการที่ได้รับ ใบอนุญาตใน (1) (6) การทําเหมืองแร สะสม แยก คัดเลือก หรือลางแร กิจการที่เกี่ยวกับยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล (1) การต่อ ประกอบ เคาะ ปะผุ พนสี หรือพนสารกันสนิมยานยนต (2) การผลิตยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล (3) การซอม การปรับแต่งเครื่องยนต เครื่องจักร เครื่องกล ระบบไฟฟา ระบบปรับอากาศ หรืออุปกรณที่เป็นสวนประกอบของยานยนต เครื่องจักร หรือเครื่องกล (4) การประกอบธุรกิจเกี่ยวกับยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล ซึ่งมีไวบริการหรือจําหนาย และในการประกอบธุรกิจนั้นมีการซอม หรือปรับปรุงยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกลดังกลาวด้วย (5) การลาง ขัดสี เคลือบสี หรืออัดฉีดยานยนต (6) การผลิต สะสม จําหนาย ซอม หรืออั ด แบตเตอรี่ 2 , 000 2 , 000 2 , 000 1 , 000 5 , 000 1 , 000 5 , 000 500 1 , 000 500 5,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 5,000 10,000 500 2,000 2,000 3,000

  • 4 - ที่ ประเภทของกิจการ อัตราคาธรรมเนียมต่อป (บาท) 8 9 (7) การจําหนาย ซอม ปะ เชื่อมยางยานยนต หรือตั้งศูนยถวงลอ (8) การผลิต ซอม ประกอบ หรืออัดผาเบรก ผาคลัตช (9) การสะสม การซอมเครื่องกล เครื่องจักรเกาหรืออุปกรณที่เป็น สวนประกอบของยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกลเกา กิจการที่เกี่ยวกับไมหรือกระดาษ (1) การผลิตไมขีดไฟ (2) การเลื่อย ซอย ขัด ไส เจาะ ขุดรอง ทําคิ้ว หรือตัดไมด้วยเครื่องจักร (3) การผลิต พน ทาสารเคลือบเงา หรือสี แต่งสําเ ร็จสิ่งของเครื่องใช หรือผลิตภัณฑจากไม หวาย ชานออย (4) การอบไม (5) การผลิต สะสม แบงบรรจุธูป (6) การผลิตสิ่งของ เครื่องใช เครื่องเขียน หรือผลิตภัณฑอื่นใดด้วยกระดาษ (7) การผลิตกระดาษชนิดตาง ๆ (8) การเผาถาน หรือสะสมถาน กิจการที่เกี่ยวกับการบริการ (1 ) การประกอบกิจการสปา เวนแต่เป็นการให้บริการในสถานพยาบาล ตามกฎหมายวาด้วยสถานพยาบาล หรือในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ตามกฎหมายวาด้วยสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ (2) การประกอบกิจการอาบ อบ นวด (3) การประกอบกิจการนวดเพื่อสุขภาพ เวนแต่เป็นการให้บริการ ในสถานพยาบาลตามกฎหมายวาด้วยสถานพยาบาล หรือในสถานประกอบการ เพื่อสุขภาพตามกฎหมายวาด้วยสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ (4) การประกอบกิจการสถานที่อาบน้ํา อบไอน้ํา อบสมุนไพร เวนแต่ เป็นการให้บริการในสถานพยาบาลตามกฎหมายวาด้วยสถานพยาบาล หรือในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพตามกฎหมายวาด้วยสถานประกอบการ เพื่อสุขภาพ (5) การประกอบกิจการโรงแรม สถานที่พักที่มิใชโรงแรมที่จัดไวเพื่อให้บริการ พักชั่วคราวสําหรับคนเดินทางหรือบุคคลอื่นใดโดยมีคาตอบแทน หรือกิจการอื่นในทํานองเดียวกัน ยกเวนกิจการโฮมสเตย (6) การประกอบกิจการหอพัก อาคารชุดให้เชา หองเชา หรือหองแบงเชา หรือกิจการอื่นในทํานองเดียวกัน (7) การประกอบกิจการมหรสพ (8) การจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรี เตนรํา รําวง รองเง็ง ดิสโกเทก คาราโอเกะ หรือตูเพลง หรือการแสดงอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน (9) การประกอบกิจการสระวายน้ํา หรือกิจการอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน เวนแต่เป็นการให้บริการที่ได้รับใบอนุญาตใน 9 (1) (10) การประกอบกิจการการเลนสเกต หรือโรลเลอรเบลด หรือการเลนอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน 500 1,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 5,000 10,000 500 1,000 500 500 3,000 1,000 2,000 1,000

  • 5 - ที่ ประเภทของกิจการ อัตราคาธรรมเนียมต่อป (บาท) 10 11 (11) การประกอบกิจการเสริมสวย หรือแต่งผม เวนแต่กิจการที่อยู่ในบังคับ ตามกฎหมายวาด้วยการประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือตามกฎหมาย วาด้วยสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ (12) การประกอบกิจการสถานที่ออกกําลังกาย (13) การประกอบกิจการให้บริการควบคุมน้ําหนัก (14) การประกอบกิจการสวนสนุก โบวลิ่ง หรือตูเกม (15) การประกอบกิจการให้บริการคอมพิวเตอร (16) การประกอบกิจการสนามกอลฟ หรือสนามฝกซอมกอลฟ (17) การประกอบกิจการหองปฏิบัติการทางการแพทย การสาธารณสุข วิทยาศาสตรหรือสิ่งแวดลอม ( 18) การประกอบกิจการสักผิวหนัง หรือเจาะสวนหนึ่งสวนใดของรางกาย (19) การประกอบกิจการให้บริการเลี้ยงและดูแลเด็กที่บ้านของผู้รับบริการ (20) การประกอบกิจการให้บริการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ (21) การประกอบกิจการให้บริการสปา อาบน้ํา ตัดขน รับเลี้ยงหรือรับฝากสัตว ชั่วคราว กิจการที่เกี่ยวกับสิ่งทอ (1) การปนดาย กรอดาย ทอผาด้วยเครื่องจักร หรือทอผาด้วยกี่กระตุก (2) การสะสมปอ ปาน ฝาย นุน หรือใยสังเคราะห (3) การปนฝาย นุน ใยสังเคราะหด้วยเครื่องจักร (4) การทอเสื่อ กระสอบ พรม หรือสิ่งทออื่น ๆ (5) การเย็บ ปกผา หรือสิ่งทออื่น ๆ ด้วยเครื่องจักร (6) การพิมพผา และสิ่งทออื่น ๆ ( 7) การซัก อบ รีด หรืออัดกลีบผาด้วยเครื่องจักร (7.1) การให้บริการเครื่องซักผาอัตโนมัติแบบหยอดเหรียญ (7.1.1) จํานวนไม่เกิน 5 เครื่อง (7.1.2) จํานวนมากกวา 5 เครื่อง เครื่องละ (7.2) การให้บริการ ซัก อบ รีด (8) การยอม ฟอก กัดสีผาหรือสิ่งทออื่น ๆ กิจการที่เกี่ยวกับหิน ดิน ทราย ซีเมนต หรือวัตถุที่คลายคลึง (1) การผลิตภาชนะดินเผาหรือผลิตภัณฑดินเผา (2) การระเบิด โม บด หรือยอยหินด้วยเครื่องจักร (3) การผลิตสิ่งของ เครื่องใชหรือผลิตภัณฑอื่น ๆ ด้วยซีเมนต หรือวัตถุที่คลายคลึง (4) การสะสม ผสมซีเมนต หิน ดิน ทราย วัสดุกอสราง รวมทั้งการขุด ตัก ดูด โม บด หรือยอยด้วยเครื่องจักร ยกเวนกิจการที่ได้รับใบอนุญาต ใน (2) (5) การเจียระไนเพชร พลอย กิน หรือกระจก หรือวัตถุที่คลายคลึง (6) การเลื่อย ตัด หรือประดิษฐหินเป็นสิ่งของ เครื่องใช หรือผลิตภัณฑตาง ๆ 200 500 500 5,000 1,000 10,000 5 , 000 2 , 000 500 500 1 , 000 5 , 000 2 , 000 2 , 000 2 , 000 2 , 000 1 , 000 2 , 000 200 100 2,000 2,000 2,000 10,000 5,000 10,000 2,000 2,000

  • 6 - ที่ ประเภทของกิจการ อัตราคาธรรมเนียมต่อป (บาท) 12 13 (7) การผลิตชอลก ปูนปลาสเตอร ปูนขาว ดินสอพอง หรือเผาหินปูน (8) การผลิตผลิตภัณฑตาง ๆ ที่มีแรใยหินเป็นสวนประกอบหรือสวนผสม (9) การผลิต ตัด บดกระจกหรือผลิตภัณฑแกว (10) การผลิตกระดาษทราย หรือผาทราย (11) การผลิตใยแกว หรือผลิตภัณฑจากใยแกว (12) การลาง การขัดด้วยการพนทรายลงบนพื้นผิวกระจก แกว หิน หรือวัตถุอื่นใด ยกเวนกิจการที่ได้รับใบอนุญาตใน 6 (5) กิจการที่เกี่ยวกับปโตรเลียม ปโตรเคมี ถานหิน ถานโคก และสารเคมีตาง ๆ (1) การผลิต สะสม บรรจุ หรือขนสงกรด ดาง สา รออกซิไดซ หรือสารตัวทําละลาย (2) การผลิต สะสม บรรจุ หรือขนสงกาซ (3) การผลิต สะสม กลั่น หรือขนสงปโตรเลียมหรือผลิตภัณฑปโตรเลียม (3.1) ประเภทที่ 2 (3.2) ประเภทที่ 3 (4) การผลิต สะสม หรือขนสงถานหิน หรือถานโคก (5) การพนสี ยกเวนกิจการที่ได้รับใบอนุญาตใน 7 (1) (6) การผลิตสิ่งของเครื่องใชหรือผลิตภัณฑด้วยยางเทียม พลาสติก เซลลูลอยด เบเกอรไลท หรือวัตถุที่คลายคลึง (7) การโม สะสม หรือบดชัน (8) การผลิตสีหรือน้ํามันผสมสี (9) การผลิต ลางฟลมรูปถายหรือฟลมภาพยนตร (10) การเคลือบ ชุบวัตถุด้วยพลาสติก เซลลูลอยด เบเกอรไลท หรือวัตถุที่คลายคลึง (11) การผลิตพลาสติก เซลลูลอยด เบเกอรไลท หรือวัตถุที่คลายคลึง (12) การผลิต หรือบรรจุสารเคมีดับเพลิง (13) การผลิตน้ําแข็งแหง (14 ) การผลิต สะสม ขนสงดอกไมเพลิง หรือสารเคมีอันเป็นสวนประกอบ ในการผลิตดอกไมเพลิง (15) การผลิตเชลแล็ก หรือสารเคลือบเงา (16) การผลิต สะสม บรรจุ ขนสงสารกําจัดศัตรูพืชหรือพาหะนําโรค (17) การผลิต สะสม หรือบรรจุกาว กิจการอื่น ๆ ( 1) การพิมพหนังสือหรือสิ่งพิมพอื่นที่มีลักษณะเดียวกันด้วยเครื่องจักร (2) การผลิต ซอมเครื่องอิเล็กทรอนิกส เครื่องไฟฟา อุปกรณอิเล็กทรอนิกส หรืออุปกรณไฟฟา (3) การผลิตเทียน หรือเทียนไข หรือวัตถุที่คลายคลึง (4) การพิมพแบบ พิมพเขียว หรือถายเอกสาร 5,000 10,000 5,000 5,000 5,000 5,000 10,000 200 200 500 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 3,000 1,000 1,000 1,000

  • 7 - ที่ ประเภทของกิจการ อัตราคาธรรมเนียมต่อป (บาท) (5) การสะสมวัตถุหรือสิ่งของที่ชํารุด ใชแล้วหรือเหลือใช (6) การประกอบกิจการโกดังสินคา (7) การลางขวด ภาชนะหรือบรรจุภัณฑที่ใชแล้วเพื่อนําไปใชใหม หรือแปรสภาพเป็นผลิตภัณฑใหม (8) การพิมพ เขียน พนสี หรือวิธีอื่นใดลงบนวัตถุที่มิใชสิ่งทอ (9) การบรรจุหีบหอสินคาโดยใชเครื่องจักร (10) การให้บริการควบคุมปองกันและกําจัดแมลง หรือสัตวพาหะนําโรค (11) การผลิตสิ่งของ เครื่องใช หรือผลิตภัณฑจากยาง (12) การผลิต สะสม หรือขนสงไบโอดีเซลและเอทานอล 3,000 3,000 1,000 1,000 1,000 1,000 5,000 5,000

แบบ กอ. 1 เลขที่รับ…/… แบบคําขอรับใบอนุญาต ประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เขียนที่… วันที่…เดือน…พ.ศ. … เรียน เจ้าพนักงานทองถิ่น ขาพเจ้า…อายุ…ป สัญชาติ… อยู่บ้านเลขที่…หมู่ที่…ตรอก/ซอย…ถนน… ตําบล/แขวง…อําเภอ/เขต…จังหวัด… โทรศัพท…โทรสาร… ขอยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพประเภท … … … ต่อเจ้าพนักงานทองถิ่น ดังต่อไปนี้ 1. ชื่อสถานประกอบการวา… 2. สถานที่ตั้งอยู่ ณ เลขที่…หมู่ที่…ตําบล…อําเภอ… จังหวัด…โทรศัพท…โทรสาร… 3. พื้นที่ประกอบการ…ตารางเมตร กําลังเครื่องจักร…แรงม้า จํานวนคนงาน…คน พรอมคําขอนี้ ขาพเจ้าได้แนบเอกสารและหลักฐานตาง ๆ มาด้วยแล้ว คือ  สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน/ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ จํานวน 1 ฉบับ  สําเนาทะเบียนบ้านของผู้ขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการ จํานวน 1 ฉบับ  สําเนาหนังสือรับรองนิติบุคคล (กรณีเป็นนิติบุคคล)  หลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ คือ 1) … 2) … 3) … ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอความในแบบคําขอนี้เป็นความจริงทุกประการ และจะปฏิบัติตามกฎหมาย ขอบัญญัตินี้ ตลอดจนเงื่อนไขอื่นใดที่องคการบริหารสวนตําบลหวยแกว กําหนดไวทุกประการ ( ลงชื่อ)…ผู้ขอรับใบอนุญาต (…)

(ดานหลังคําขอรับใบอนุญาต) แผนผังที่ตั้งสถานที่ประกอบกิจการโดยสังเขป สวนของเจ้าหน้าที่ เลขที่…ได้รับเรื่องเมื่อวันที่…เดือน…พ.ศ. … ตรวจสอบแล้ว เอกสารหลักฐาน ( ) ครบ ( ) ไม่ครบ คือ (1)… (2)… (3)… (ลงชื่อ)… (…) ตําแหนง…

ความเห็นของเจ้าพนักงานสาธารณสุข ( ) เห็นสมควรอนุญาตโดย ไม่มีเงื่อนไข มีเงื่อนไข ดังนี้ … … ( ) ไม่สมควรอนุญาต เพราะ … … (ลงชื่อ)…เจ้าพนักงานสาธารณสุข (…) ตําแหนง… วันที่…/…/… ความเห็นของรองปลัดองคการบริหารสวนตําบลหวยแกว ( ) เห็นสมควรอนุญาตโดย ไม่มีเงื่อนไข มีเงื่อนไข ดังนี้ … … ( ) เห็นควรไม่อนุญาต เพราะ … … (ลงชื่อ)… (…) ปลัดองคการบริหารสวนตําบลหวยแกว วันที่…/…/… คําสั่งของเจ้าพนักงานทองถิ่น ( ) อนุญาตให้ประกอบกิจการได้ ( ) ไม่อนุญาตให้ประกอบกิจการ (ลงชื่อ)… (…) ตําแหนง … วันที่…/…/…

แบบ กอ. 2 ใบอนุญาต ประกอบกิจการกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เลมที่…เลขที่…/… (1) เจ้าพนักงานทองถิ่นอนุญาตให้…สัญชาติ… อยู่บ้านเลขที่…หมู่ที่…ตําบล…อําเภอ…จังหวัด… หมายเลขโทรศัพท… ชื่อสถานประกอบกิจการ…ประเภท… ตั้งอยู่เลขที่…หมู่ที่…ตําบล…อําเภอ…จังหวัด… หมายเลขโทรศัพท… เสียคาธรรมเนียมปละ…บาท (…) ตามใบเสร็จรับเงินเลมที่…เลขที่…ลงวันที่… (2) ผู้รับใบอนุญาตต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดในขอบัญญัติองคการบริหาร สวนตําบลหวยแกว เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2562 (3) หากปรากฏในภายหลังวาการประกอบกิจการที่ได้รับอนุญาตนี้เป็นการขัดต่อกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ โดยมิอาจแกไขได้ เจ้าพนักงานทองถิ่นอาจพิจารณาให้เพิกถอนการอนุญาตนี้ได้ (4) ผู้รับใบอนุญาตต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขเฉพาะดังต่อไปนี้อีกด้วย คือ ( 4.1) … ( 4.2) … (5) ใบอนุญาตฉบับนี้ออกให้เมื่อวันที่…เดือน…พ.ศ. … (6) ใบอนุญาตฉบับนี้สิ้นอายุวันที่…เดือน…พ.ศ. … ( ลงชื่อ ) … (…) ตําแหนง… เจ้าพนักงานทองถิ่น

รายการการต่ออายุใบอนุญาตและการเสียคาธรรมเนียม วันที่/ เดือน/ ปที่ออกใบ วัน/ เดือน/ ป ใบเสร็จรับเงิน ลงลายมือชื่อ ที่ออกใบอนุญาต ที่หมดอายุ เลมที่ เลขที่ ว/ ด/ ป เจ้าพนักงานทองถิ่น คําเตือน ต้องแสดงใบอนุญาตนี้ไวในที่เปดเผย ณ สถานที่ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ

แบบ กอ. 3 เลขที่รับ…/… แบบคําขอต่ออายุใบอนุญาต ประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เขียนที่… วันที่…เดือน…พ.ศ. … เรียน เจ้าพนักงานทองถิ่น ขาพเจ้า…อายุ…ป สัญชาติ… อยู่บ้านเลขที่…หมู่ที่…ตรอก/ซอย…ถนน… ตําบล/แขวง…อําเภอ/เขต…จังหวัด… โทรศัพท…โทรสาร… ขอยื่นคําขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ประเภท … … … …ตามใบอนุญาตเลขที่รับ…/… ออกให้เมื่อวันที่…เดือน…พ.ศ. …ต่อเจ้าพนักงานทองถิ่น ดังต่อไปนี้ 1. ชื่อสถานประกอบการวา… 2. สถานที่ตั้งอยู่ ณ เลขที่…หมู่ที่…ตําบล…อําเภอ… จังหวัด…โทรศัพท…โทรสาร… พรอมคําขอนี้ ขาพเจ้าได้แนบเอกสารและหลักฐานตาง ๆ มาด้วยแล้ว คือ  สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน/ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ จํานวน 1 ฉบับ  สําเนาทะเบียนบ้านของผู้ประกอบกิจการ จํานวน 1 ฉบับ  สําเนาหนังสือรับรองนิติบุคคล (กรณีเป็นนิติบุคคล)  ใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจงเดิม  หลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ คือ 1 ) … 2 ) … 3) … … ขอรับรองวา ขอความในแบบคําขอต่ออายุใบอนุญาตนี้เป็นความจริงทุกประการ และจะปฏิบัติตามกฎหมาย ขอบัญญัตินี้ หรือเงื่อนไขอื่นใดที่องคการบริหารสวนตําบลหวยแกว กําหนดไวทุกประการ ( ลงชื่อ)…ผู้ขอต่ออายุใบอนุญาต (…)

(ดานหลังคําขอต่ออายุใบอนุญาต) แผนผังที่ตั้งสถานที่ประกอบกิจการโดยสังเขป สวนของเจ้าหน้าที่ เลขที่…ได้รับเรื่องเมื่อวันที่…เดือน…พ.ศ. … ตรวจสอบแล้ว เอกสารหลักฐาน ( ) ครบ ( ) ไม่ครบ คือ (1)… (2)… (3)… (ลงชื่อ)… (…) ตําแหนง…

แบบ กอ. 4 เลขที่รับ…/… คําขออนุญาตการตาง ๆ เกี่ยวกับการประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เขียนที่… วันที่…เดือน…พ.ศ. … ขาพเจ้า…อายุ…ป สัญชาติ… อยู่บ้านเลขที่…หมู่ที่…ตรอก/ซอย…ถนน… ตําบล/แขวง…อําเภอ/เขต…จังหวัด… โทรศัพท…โทรสาร… โดยใชชื่อสถานประกอบการวา… ตั้งอยู่ ณ เลขที่…หมู่ที่…ตําบล…อําเภอ…จังหวัด… โทรศัพท…โทรสาร… ขอยื่นคําขอต่อนายกองคการบริหารสวนตําบลหวยแกว ด้วยขาพเจ้ามีความประสงคจะขอดําเนินการ เกี่ยวกับกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ดังต่อไปนี้ (1) … … ( 2 ) … … ทั้งนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวาขอความในใบคําขอนี้เป็นความจริงทุกประการ ( ลงชื่อ)…ผู้ขออนุญาต (…)