ประกาศสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน เรื่อง ให้ผู้เสียหายยื่นคำร้องขอคุ้มครองสิทธิจากการกระทำความผิดมูลฐาน [ราย นางสาวพีรยากร วิยากูล กับพวก]
ประกาศสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน เรื่อง ให้ผู้เสียหายยื่นคำร้องขอคุ้มครองสิทธิจากการกระทำความผิดมูลฐาน [ราย นางสาวพีรยากร วิยากูล กับพวก]
ประกาศสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน เรื่อง ให้ผู้เสียหายยื่นคำร้องขอคุ้มครองสิทธิจากการกระทำความผิดมูลฐาน ด้วยคณะกรรมการธุรกรรมได้มีมติในการประชุมครั้งที่ 3/2566 เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2566 ให้อายัดทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดไว้ชั่วคราว ในความผิดเกี่ยวกับการร่วมกันฉ้อโกงประชาชน ตามกฎหมายอาญาและความผิดเกี่ยวกับการฉ้อโกงตามประมวลกฎหมายอาญาอันมีลักษณะเป็นปกติธุระ ราย นางสาวพีรยากร วิยากูล กับพวก มีกำหนดไม่เกิน 90 วัน (เก้าสิบวัน) นับตั้งแต่วันที่ คณะกรรมการธุรกรรมมีมติ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 49/1 แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2 565 จึงขอให้ผู้เสียหายที่ได้รับความเสียหายโดยตรงจากการกระทาความผิดมูลฐานในรายคดีดังกล่าว และไม่มีส่วนร่วมในการกระทำความผิดนั้น ยื่นคำร้องพร้อมหลักฐานแสดงรายละเอียดแห่งความเสียหาย และจานวนความเสียหายที่ได้รับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สานักงานป้องกันและปรำบปรามการฟอกเงิน ภายใน 90 วัน (เก้าสิบวัน) นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ทั้งนี้ รายละเอียดการยื่นคาร้อง ปรากฏตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 2 1 มีนาคม พ.ศ. 25 6 6 สมชัย พลายด้วง นิติกรชำนาญการพิเศษ รักษาราชการแทน ผู้อำนวยการกองคดี 5 ปฏิบัติราชการแทน เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ้ หนา 37 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 70 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 มีนาคม 2566
เอกสารแนบท้าย ประกาศสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน เรื่อง ให้ผู้เสียหายยื่นคาร้องขอคุ้มครองสิทธิจากการกระทำความผิดมูลฐาน ราย นางสาวพีรยากร วิยากูล กับพวก หลักเกณฑ์และวิธีการยื่นคาร้อง 1. ผู้มีสิทธิยื่นคำร้องฯ ต้องเป็น ผู้ เสียหายตามมาตรา 49/1 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ซึ่งเพิ่ม โดย พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2565 กล่าวคือ ต้องเป็นบุคคลผู้ได้รับความเสียหายโดยตรงจากการกระทาความผิดมูลฐาน และไม่มีส่วนร่วมในการกระทำความผิดนั้น โดย ควร มี เอกสารประกอบ การพิจารณา ดังนี้ (1) ส ําเนําบัตร ประจ ําตัว ประชําชน ของผู้เสียหําย (2) ส ําเนําค ําสั่งหรือค ําพิพํากษํา ของศําลให้ได้รับคืนทรัพย์สินหรือได้รับชดใช้ค่ําเสียหํายจํากกํารกระทํา ควํามผิดมูลฐําน (3) หนังสือมอบอํานําจ พร้อมติดอํากรแสตมป์ (ถ้ํามี) (4) ส ําเนําเอกสําร หลักฐําน ที่แสดงให้เห็นว่ําเป็นผู้เสียหํายและ รํายละเอียดแห่งควํามเสียหําย (5) ส ําเนํารํายกํารเคลื่อนไหวทํางบัญชีธนําคําร (Bank Statement) (6) ส ําเนําหลักฐํานกําร ทํา ธุรกรรม เช่น ส ําเนําสัญญํากํารกู้ยืมเงินพร้อมหลักทรัพย์คําประกันสัญญํา ส ําเนําใบน ําฝํากเงิน สําเนํากํารโอน เงิน เป็นต้น ( 7 ) ส ําเนําค ําให้กํารที่ให้ถ้อยค ําต่อ พนักงําน สอบสวน (ถ้ํามี) ( 8 ) ส ําเนํา หลักฐํานกํารฟ้องร้องด ําเนินคดีเพื่อเรียกร้องค่ําเสียหํายจํากกํารกระท ําควํามผิดมูลฐําน หรือเอกสํารกํารร้องทุกข์ ต่อพนักงํานสอบสวนเพื่อให้ดําเนินคดีอําญําในควํามผิดมูลฐําน (9) ส ําเนํา เอกสําร หลักฐําน อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (ถ้ํามี) 2. วิธีการยื่นคาร้องฯ มี 2 ช่องทาง ดังนี้ ( 1 ) ยื่นด้วยตนเอง ที่ส ํานักงําน ปปง. เลขที่ 422 ถนนพญําไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพ มหํานคร ( 2 ) ยื่นทํา งไปรษณีย์ลงทะเบียน (จ่ําหน้ําซองไป ที่ สํานักงําน ปปง. เลขที่ 422 ถนนพญําไท แขวงวั งใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพ มหํานคร 10330 โดยวงเล็บมุมซองด้ํานบนว่ํา “ ส่งแบบคําร้องขอคุ้มครองสิทธิ คดีรําย นํางสําวพีรยํากร วิยํากูล กับพวก ” ทั งนี สํามํารถยื่นค ําร้องขอคุ้มครองสิทธิด้วยตนเองหรือ ม อบอ ํานําจ ให้บุคคลอื่นมําด ําเนินกํารแทน ก็ได้ (โดยมีหนังสือมอบอ ํา นําจพร้อมติดอํากรแสตมป์ 30 บําท) และเอกสํารทุกฉบับต้องรับรองส ําเนําถูกต้อง 3. ระยะเวลายื่นคาร้องฯ ภํายใน 90 วัน นับแต่วันที่ประกํา ศในรําชกิจจํานุเบกษํา กล่ําวคือ ตังแต่วันที่ 24 มีนําคม 2566 ถึงวันที่ 21 มิถุนํายน 2566 ทั งนี ในวันและเวลํารําชกําร ( 08 . 3 0 นําฬิกํา ถึ ง 16.30 นําฬิกํา ) เว้น แต่กรณีมีเหตุ ตํามที่กฎหมํายบัญญัติ อนึ่ง สํามํารถดําวน์โหลดแบบฟอร์มคําร้องเพื่อขอให้ศําลนําทรัพย์สินที่เกี่ยวกับ กํารกระท ําควํามผิดไปคืนหรือชดใช้ให้แก่ผู้เสียหํายในควํามผิดมูลฐําน ได้ที่เว็บไซต์ ส ํานักงําน ปปง. www. amlo.go.th หรือสแกนคิวอําร์โค้ดด้ํานล่ํางนี