Thu Mar 23 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ระเบียบกรมเจ้าท่า ว่าด้วยการพิจารณาและการออกใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทาง พ.ศ. 2566


ระเบียบกรมเจ้าท่า ว่าด้วยการพิจารณาและการออกใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทาง พ.ศ. 2566

ระเบียบกรมเจ้าท่า ว่าด้วยการพิจารณาและการออกใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทาง พ.ศ. 2566 เพื่อให้การพิจารณาเกี่ยวกับเรือกลเดินประจาทางเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสภาวการณ์ในปัจจุบัน อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือ ในน่านนาไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ประกอบมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 อธิบดีกรมเจ้าท่า จึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี ข้อ 1 ระเบียบนีเรียกว่า “ ระเบียบกรมเจ้าท่าว่าด้วยการพิจารณาและการออกใบอนุญาต ให้เรือกลเดินประจำทาง พ.ศ. 2566” ข้อ 2 ระเบียบนีให้ใช้บังคับตังแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบกรมเจ้าท่าว่าด้วยการพิจารณาและการออกใบอนุญาตให้เรือกล เดินประจำทาง พ.ศ. 2533 ลงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2533 ข้อ 4 คำสั่ง ระเบียบ หรือประกาศใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับร ะเบียบนี ให้ใช้ระเบียบนีแทน หมวด 1 บททั่วไป ข้อ 5 ในระเบียบนี “ เรือกล ” หมายความว่า เรือเดินด้วยเครื่องจักรกล และใช้กำลังอื่นด้วยหรือไม่ก็ตาม “ เดินประจาทาง ” หมายความว่า การเดินรับจ้างบรรทุกคนโดยสารหรือสินค้า หรือจูงเรือ เป็นการประจำระหว่างตาบลใด ๆ ในน่านนาไทย “ คณะกรรมการ ” หมายความว่า คณะกรรมการเพื่อพิจารณาเกี่ยวกับเรือเดินประจาทาง ซึ่งเจ้าท่าแต่งตังขึนโดยความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ตามมาตรา 5 (5) แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านนาไทย แก้ไข เพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 และที่แก้ไขเพิ่มเติม “ เจ้าท่า ” หมายความว่า อธิบดีกรมเจ้าท่าหรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมเจ้าท่ามอบหมาย ข้อ 6 เพื่อเป็นการอานวยความสะดวกแก่ประชาชน กรมเจ้าท่าอาจกาหนดให้การยื่น เอกสารหลักฐานตามหมวด 2 และหมวด 3 ดาเนินการผ่านวิธีการทา งอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ ข้อ 7 มอบหมายให้ผู้อานวยการสานักมาตรฐานทะเบียนเรือ และผู้ว่าราชการจังหวัด เป็น “ เจ้าท่า ” ตามมาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 และมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านนาไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยให้ผู้อำนวยการ ้ หนา 1 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 70 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 มีนาคม 2566

สานักมาตรฐานทะเบียนเรือมีอานาจหน้าที่ในพืนที่กรุงเทพมหานครและในพืนที่ที่มีการเดินเรือระหว่างจังหวัด และให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจหน้าที่ในพื นที่จังหวัดที่รับผิดชอบ หมวด 2 การขอรับใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทาง ข้อ 8 เจ้าของเรือหรือผู้ประกอบการที่ประสงค์ขออนุญาตให้เรือกลเดินประจาทาง ต้องยื่นคำขอ ตามแบบ ก.5 ที่แนบท้ายระเบียบนี ต่อสานักมาตรฐานทะเบียนเรือหรือสำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขา ในพืนที่ที่ประสงค์จะใช้เรือเดินประจาทาง กรณีที่มีความประสงค์จะเดินเรือปร ะจาทางระหว่างจังหวัด ตั งแต่สองจังหวัดขึ นไป ให้ยื่นคำขอต่อสำนักมาตรฐานทะเบียนเรือ พร้อมทั งเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี ( 1 ) หลักฐานเกี่ยวกับใบอนุญาตใช้เรือ ( 2 ) แผนการเดินเรือประจำทาง อย่างน้อย ประกอบด้วย (ก) ข้อมูลเกี่ยวกับเรือที่จะใช้เดินประจาทาง ได้ แก่ จานวนเรือ ขนาดเรือ ชนิดและ กาลังเครื่องจักรของเรือ จานวนคนโดยสารหรือนาหนักบรรทุกหรือกาลังลากจูงเรือ การสับเปลี่ยนเรือ ใช้แทนกันชั่วคราว (ข) ข้อมูลเกี่ยวกับการเดินเรือประจาทาง ได้แก่ เส้นทางเดินเรือประจาทาง ท่าเรือ ที่ให้บริการ แผนที่แสดงเส้นทางการเดินเรือและจุดจอดเรือ จานวนเที่ยวเรือ ตารางการเดินเรือ เวลาออกเรือ เวลาถึงท่าเรือปลายทาง อัตรากำลังบุคลากร อัตราค่าโดยสาร หรือค่าระวาง หรือค่าบริการจูงเรือ (ค) ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนในการเดินเรือประจาทาง ได้แก่ ราคาเรือ ค่าใช้จ่ายในการ เดินเรือ เช่น ค่าเชือเพลิง ค่านามันเครื่อง ค่านามันเกียร์ ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบารุงเรือ ค่าใช้จ่าย ในการประกันภัย ค่าเช่าท่าเรือ ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงท่าเรือ ค่าใช้จ่ายการขุดลอกและบารุงรักษา ร่องนาเพื่อการเดินเรือ ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ ค่าจ้างบุคลากร โดยแสดงข้อมูลในระยะเวลาสามปีย้อนหลัง (ถ้ามี) และประมาณการล่วงหน้า เป็นระยะเวลาห้าปี (ง) ข้อมูลเกี่ยวกับผลตอบแทนจากการเดินเรือประจำทาง ได้แก่ ปริมาณผู้โดยสาร หรือ ปริมาณสินค้า หรือปริมาณการให้บริการจูงเรือ รายรับจากค่าโดยสาร หรือค่าระวาง หรือค่าบริการจูงเรือ มูลค่าในการประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทางด้วยระบบการขนส่งอื่น (ถ้ามี) โดยแสดงข้อมูล ในระยะเวลาสามปีย้อนหลัง (ถ้ามี) และประมาณการล่วงหน้าเป็นระยะเวลาห้าปี (จ) ข้อมูลเกี่ยวกับการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ ได้แก่ ผลการวิเคราะห์ต้นทุน และผลตอบแทน ( Cost Benefit Analysis : CBA ) ผลการประเมินความคุ้มค่าของการลงทุนและ ้ หนา 2 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 70 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 มีนาคม 2566

ระยะเวลาคืนทุน ผลการวิเคราะห์อัตราค่าโดยสาร หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตามแบบที่แนบท้ำย ระเบียบนี (ฉ) หลักฐานหรือเอกสารอื่นที่อธิบดีกรมเจ้าท่าประกาศกาหนด ( 3 ) กรณีเจ้าของเรือหรือผู้ประกอบการเป็นบุคคลธรรมดาและมายื่นคำร้องด้วยตนเอง ให้แสดงบัตรประจาตัวประชาชนของเจ้าของเรือหรือผู้ประกอบการต่อเจ้าหน้าที่ผู้รับคาร้องเพื่อจัดทา สำเนาไว้เป็นหลัก ฐาน ( 4 ) กรณีเจ้าของเรือหรือผู้ประกอบการเป็นบุคคลธรรมดาและมิได้มายื่นคาร้องด้วยตนเอง ให้ผู้รับมอบอานาจทาหนังสือมอบอำนาจตามแบบ บ.92 ที่แนบท้ายระเบียบนีหรือด้วยหนังสือ มอบอานาจอื่นใดอันชอบด้วยกฎหมาย พร้อมสาเนาบัตรประจาตัวประชาชนของผู้มอบอานาจ และ ให้แสดงบัตรประจำตัวประชาชนของผู้รับมอบอำนาจต่อเจ้าหน้าที่ผู้รับคำร้องเพื่อจัดทำสำเนาไว้เป็นหลักฐาน ( 5 ) กรณีเจ้าของเรือหรือผู้ประกอบการเป็นนิติบุคคลและผู้มีอานาจลงนามแทนนิติบุคคล มายื่นคาร้องด้วยตนเอง ให้ผู้มีอานาจลงนามแทนนิติบุคคลเป็นผู้ลงลายมือชื่อและป ระทับตราของ นิติบุคคลนั น (ถ้ามี) ในคำร้อง ก. 5 ตามแบบที่แนบท้ายระเบียบนี พร้อมด้วยหนังสือรับรอง การจดทะเบียนนิติบุคคล ซึ่งรับรองจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้าหรือหน่วยงานที่มีอานาจตามกฎหมาย ไม่เกินหกเดือน และให้แสดงบัตรประจาตัวประชาชนของผู้มีอานาจลงนามแทน นิติบุคคลต่อเจ้าหน้าที่ ผู้รับคาร้องเพื่อจัดทำสำเนาไว้เป็นหลักฐาน ( 6 ) กรณีเจ้าของเรือหรือผู้ประกอบการเป็นนิติบุคคลและผู้มีอานาจลงนามแทนนิติบุคคล มิได้มายื่นคาร้องด้วยตนเอง ให้ทาหนังสือมอบอานาจตามแบบ บ. 92 ที่แนบท้ายระเบียบนี หรือ ด้วยหนังสือมอบอำนา จอื่นใดอันชอบด้วยกฎหมาย พร้อมด้วยหนังสือรับรองการจดทะเบียน ซึ่งรับรอง จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้าหรือหน่วยงานที่มีอานาจตามกฎหมายไม่เกินหกเดือน และสาเนาบัตร ประจาตัวประชาชนของผู้มีอานาจลงนามแทนนิติบุคคล และให้แสดงบัตรประจาตัวประชาชนของ ผู้รับมอบอำนาจต่อเจ้าห น้าที่ผู้รับคาร้องเพื่อจัดทำสำเนาไว้เป็นหลักฐาน ( 7 ) กรณีเจ้าของเรือหรือผู้ประกอบการเป็นส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรของรัฐ ให้หัวหน้าส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจเป็นผู้ลงลายมือชื่อในคาร้อง ก. 5 ตามแบบที่แนบท้ายระเบียบนี หรือใช้หนังสือราชการของ ส่วนราชการนันมอบอานาจให้ผู้ใดมาดาเนินการแทนก็ได้ พร้อมสาเนาบัตร ประจำตัวประชาชนของผู้มอบอานาจ และให้แสดงบัตรประจาตัวประชาชนของผู้รับมอบอานาจ ต่อเจ้าหน้าที่ผู้รับคาร้องเพื่อจัดทำสำเนาไว้เป็นหลักฐาน ข้อ 9 เมื่อเจ้าหน้าที่ได้รับคำขอพร้อมด้วยเอกสารหลักฐานคร บถ้วนแล้ว ให้ดาเนินการ ดังนี ( 1 ) กรณีสานักมาตรฐานทะเบียนเรือเป็นหน่วยรับคาขอ ให้ผู้อานวยการสานักมาตรฐาน ทะเบียนเรือเสนอเรื่องต่อคณะทางานเพื่อพิจารณาเกี่ยวกับเรือกลเดินประจาทางที่แต่งตังโดยอธิบดี กรมเจ้าท่า ซึ่งประกอบด้วย รองอธิบดีกรมเจ้าท่า ผู้แทนสานักความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมทางนา ผู้แทนสำนักมาตรฐานทะเบียนเรือ ผู้แทนสำนักมาตรฐานเรือ ผู้แทนกองวิศวกรรม ผู้แทนกองมาตรฐาน ้ หนา 3 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 70 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 มีนาคม 2566

คนประจำเรือ ผู้แทนสำนักพัฒนาและบำรุงรักษาทางนา ผู้แทนกองส่งเสริมการพานิชยนาวี ผู้แทนสานักแผนงาน โดยให้พิจารณาและวิเค ราะห์ในเรื่องดังต่อไปนี เป็นอย่างน้อย ให้แล้วเสร็จ ภายในสามสิบวันทำการ (ก) ความถูกต้องของข้อมูลเรือที่จะใช้เดินประจำทาง (ข) ความเหมาะสมของเรือ ข้อมูลต้นทุนในการเดินเรือประจาทาง ได้แก่ ราคาเรือ ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบารุงเรือ ค่าใช้จ่ายในการเดินเรื อ เช่น ค่าเชือเพลิง ค่านามันเครื่อง ค่านามันเกียร์ จำนวนเรือที่ให้บริการ การสับเปลี่ยนเรือใช้แทนกันชั่วคราว (ค) ความเหมาะสมของเส้นทางการเดินเรือ ท่าเรือ มาตรการเกี่ยวกับความปลอดภัย ในการขนส่งคนโดยสารและสินค้าทางนาและการป้องกันและรักษาสิ่งแวด ล้อมทางนา (ง) ความเหมาะสมของค่าเช่าท่าเรือ และค่าใช้จ่ายในการซ่อมบารุงท่าเรือ (จ) ความเหมาะสมของค่าใช้จ่ายในการขุดลอกและบำรุงรักษาเส้นทางการเดินเรือ (ถ้ามี) (ฉ) ความเหมาะสมของคนประจำเรือ และค่าจ้างบุคลากร (ช) ความเหมาะสมของอัตราค่าโดยสาร ค่าระวาง ค่าบริการจูงเรือ ให้คณะทางานเสนอผลการพิจารณาต่อผู้อานวยการสานักมาตรฐานทะเบียนเรือ และให้ ผู้อานวยการสานักมาตรฐานทะเบียนเรือเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณาเกี่ยวกับเรือเดินประจำทาง ภายในเจ็ดวันทำการ ( 2 ) กรณีสานักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาเป็นหน่วยรับคาขอ ให้ผู้ อานวยการสานักงานเจ้าท่า ภูมิภาคสาขาเสนอเรื่องต่อคณะทำงานเพื่อพิจารณาเกี่ยวกับเรือกลเดินประจำทางที่แต่งตั งโดย ผู้อานวยการสำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาซึ่งประกอบด้วย เจ้าพนักงานตรวจท่า เจ้าพนักงานตรวจเรือ นักวิชาการขนส่ง นิติกร และเจ้าพนักงานขนส่ง โดยให้พิ จารณาและวิเคราะห์ในเรื่องที่กาหนดในข้อ 9 (1) (ก) ถึง (ช) เป็นอย่างน้อย ให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันทำการ กรณีที่สานักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาไม่มีเจ้าหน้าที่ตาม (2) ในตาแหน่งใดตาแหน่งหนึ่ง ให้เสนอผู้อานวยการสานักงานเจ้าท่าภูมิภาค เพื่อมอบหมายให้เจ้า หน้าที่ในสานักงานเจ้าท่าภูมิภาค ร่วมเป็นคณะทำงานก็ได้ ให้คณะทำงานเสนอผลการพิจารณาต่อผู้อำนวยการสำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขา และ ให้ผู้อานวยการสานักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณาเกี่ยวกับเรือเดินประจาทาง ประจำจังหวัด ภายในเจ็ดวันทำการ ข้อ 10 ให้คณะกรรมการเพื่อพิจารณาเกี่ยวกับเรือเดินประจำทางหรือคณะกรรมการ เพื่อพิจารณาเกี่ยวกับเรือเดินประจำทางประจำจังหวัดพิจารณาคำขอให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวันทาการ โดยแจ้งผลการพิจารณาต่อผู้อานวยการสานักมาตรฐานทะเบียนเรือหรือผู้อานวยการสานักงานเจ้าท่า ภู มิภาคสาขา แล้วแต่กรณี เพื่อรายงานให้อธิบดีกรมเจ้าท่าทราบ ภายในเจ็ดวันทำการ ้ หนา 4 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 70 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 มีนาคม 2566

ข้อ 11 ให้เจ้าหน้าที่จัดเก็บค่าธรรมเนียมตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2534) ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านนาไทย พระพุทธศักราช 2456 ก่อนดาเนินการ ให้ผู้อานวย การสานักมาตรฐานทะเบียนเรือออกใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจาทาง สาหรับเส้นทาง เดินเรือในพืนที่กรุงเทพมหานคร และเส้นทางเดินเรือระหว่างจังหวัด และให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ออกใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทางในเส้นทางเดินเรือภายในจังหวัด แล้วแต่กรณี ข้อ 12 กรณีผู้อา นวยการสานักมาตรฐานทะเบียนเรือหรือผู้ว่าราชการจังหวัดไม่อนุญาต ให้เรือเดินประจำทาง ให้ออกคำสั่งพร้อมแจ้งเหตุผลต่อผู้ยื่นคาขอ หากผู้ยื่นคาขอไม่เห็นด้วยกับคาสั่งตามวรรคหนึ่ง ให้อุทธรณ์ต่อผู้ออกคาสั่งภายในสิบห้าวัน นับแต่ได้รับแจ้งตามวรรคหนึ่ง โดยให้ผู้อาน วยการสานักมาตรฐานทะเบียนเรือหรือผู้ว่าราชการจังหวัด เสนอผู้ซึ่งมีอานาจพิจารณาคาอุทธรณ์ และแจ้งผลให้ผู้อุทธรณ์ทราบตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครอง ข้อ 13 ใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจาทางให้เป็นไปตามแบบแนบท้ายระเบียบนี โดยให้ กำหนดรายการและเงื่อนไขท้ายใบอนุญาตอย่างน้อย ดังนี ( 1 ) รายการข้อห้ามและเงื่อนไขเกี่ยวกับเขตหรือทางที่จะใช้เดินเรือนั น (2) รายการเกี่ยวกับจานวน ขนาด ชนิดและกาลังเครื่องจักรของเรือที่ จะใช้เดินจากตาบลหนึ่ง ถึงตาบลหนึ่ง ตลอดจนถึงการสับเปลี่ยนเรือใช้แทนกันชั่วคราว (3) รายการเส้นทางการเดินเรือ จำนวนท่าเรือที่ให้บริการ ท่าเรือต้นทาง ท่าเรือระหว่างทาง และท่าเรือปลายทาง เวลาออกเรือและเวลาเรือถึงท่าเรือปลายทาง ( 4 ) รายการอัตราค่าโดยสาร ค่าระวาง ค่าจูงเรือ ค่าบริการอื่น ( 5 ) ต้องปิดประกาศอัตราค่าโดยสารไว้ในเรือและบริเวณท่าเรือให้ชัดเจน และต้องเก็บ ค่าโดยสารตามอัตราที่ได้รับอนุญาต รวมทั งห้ามปรับขึ นค่าโดยสารก่อนได้รับอนุญาต ( 6 ) ต้องเดินเรือตามเส้นทางที่ได้รับอ นุญาต เว้นแต่มีเหตุฉุกเฉินหรือเหตุจำเป็นในด้าน ความปลอดภัยหรือสิ่งแวดล้อม โดยนายเรือหรือผู้รับใบอนุญาตต้องแจ้งเหตุการณ์ให้เจ้าท่าทราบ ภายในยี่สิบสี่ชั่วโมง ( 7 ) ต้องดูแล บารุงรักษาสภาพตัวเรือ อุปกรณ์ และเครื่องใช้ประจาเรือ ให้อยู่ในสภาพปลอดภัย และใช้ การได้ตามมาตรฐานที่กำหนดในใบสำคัญรับรองการตรวจเรือและใบอนุญาตใช้เรือ ( 8 ) ต้องทาประกันผู้โดยสารไม่น้อยกว่าจานวนผู้โดยสารที่กาหนดไว้ในใบอนุญาตใช้เรือและ ต้องต่ออายุใบอนุญาตใช้เรือให้เป็นไปตามกฎหมายโดยเคร่งครัด ( 9 ) ต้องดูแลความสะอาดในเรือและท่าเรือ โดยจัดใ ห้มีที่หรือภาชนะสาหรับทิงและจัดเก็บขยะ และสิ่งปฏิกูลอย่างเพียงพอ และให้มีการกาจัดขยะและสิ่งปฏิกูลอย่างเหมาะสม ( 10 ) ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กาหนด เพื่อความปลอดภัยในการขนส่งคนโดยสารและสินค้า ทางนา รวมทั งรักษาสิ่งแวดล้อมทางนาอย่างเคร่งครัด ้ หนา 5 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 70 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 มีนาคม 2566

( 11 ) กรณีปรา กฏว่า ผู้ได้รับอนุญาตไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามที่ได้รับอนุญาต หรือฝ่าฝืนเงื่อนไข ท้ายใบอนุญาต เจ้าท่าจะออกหนังสือเตือนและแจ้งให้กระทาการปรับปรุงแก้ไขภายในกาหนดเวลา และเจ้าท่าสามารถเรียกค่าปรับบังคับการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง หรือสั่งงด การเดินเรือของเรือนันเสียชั่วคราว หรือยึดใบอนุญาตสำหรับเรือนั นไว้มีกำหนดไม่เกินหกเดือนได้ ( 12 ) ห้ามโอนสิทธิในใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทาง ข้อ 14 ใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทางตามข้อ 13 ให้มีอายุห้าปี นับตังแต่วันที่ได้รับอนุญาต ข้อ 15 กรณีที่ใบอนุ ญาตจะครบกาหนดและผู้รับใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจาทางประสงค์ เดินเรือกลประจาทางต่อไป ให้ยื่นขออนุญาตให้เรือกลเดินประจาทางฉบับใหม่ก่อนใบอนุญาตให้เรือกล เดินประจำทางฉบับเดิมสิ นอายุไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน หมวด 3 การเปลี่ยนแปลงผู้รับอนุญาต การขอใบแทนใบอนุญาต แล ะการขอยกเลิกเดินเรือกลเดินประจำทาง ข้อ 1 6 ห้ามโอนสิทธิในใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทาง ข้อ 1 7 เพื่อคงไว้ซึ่งความต่อเนื่องของบริการสาธารณะกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตให้เรือกล เดินประจาทางถึงแก่ความตายในระหว่างใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจาทางยังไม่สินอายุ ให้ทายาท ตามกฎหมายหรือผู้จัดการมรดกของผู้รับใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทางยื่นขออนุญาตภายใน เก้าสิบวันนับจากวันที่ผู้รับใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทางถึงแก่ความตาย โดยให้ใบอนุญาต ให้เรือกลเดินประจาทางฉบับเดิม ยังคงใช้ได้ต่อไปจนกว่าจะได้รับใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจาทางฉบับใหม่ หรือจนกว่าใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทางฉบับเดิมสิ นอายุ หากทายาทตามกฎหมายหรือผู้จัดการมรดกไม่ดาเนินการภายในระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง ให้ใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทางฉบับเดิมเป็นอันสิ นอายุ ข้อ 1 8 กรณีที่ใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจาทางลบเลือนหรือชารุด หรือสูญหาย ให้ผู้รับ ใบอนุญาตยื่นคาร้อง ก.5 ตามแบบแนบท้ายระเบียบนี พร้อมแนบใบอนุญาตฉบับที่ลบเลือนหรือชำรุด หรือแนบหลักฐานการแจ้งความต่อสถานีตารวจกรณีเอกสารสูญหาย โดยชี แจงเหตุผลต่อสำนักมาตร ฐาน ทะเบียนเรือหรือสำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาที่ออกใบอนุญาต เมื่อเจ้าหน้าที่รับคาร้องขอแล้ว ให้จัดเก็บค่าธรรมเนียมตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 34 (พ.ศ. 2521) ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านนาไทย (ฉบับที่ 6) พุทธศักราช 2481 ก่อนดาเนินการให้ ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานทะเบียนเรือหรือผู้ว่าราชการจังหวัดออกใบแทนใบอนุญาต ให้เรือกลเดินประจำทาง แล้วแต่กรณี ให้ผู้อานวยการสานักมาตรฐานทะเบียนเรือหรือผู้ว่าราชการจังหวัดออกใบแทนใบอนุญาต ให้เรือกลเดินประจำทาง โดยให้มีอักษรว่า “ สำเนาใบอนุญาต ” ลงไว้เป็นสำคั ญ ้ หนา 6 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 70 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 มีนาคม 2566

ข้อ 19 เพื่อคงไว้ซึ่งความต่อเนื่องของบริการสาธารณะกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตให้เรือกล เดินประจำทางมีความประสงค์ขอยกเลิกการเดินเรือประจำทาง ให้ยื่นคำร้องด้วยแบบ ก.5 ตามแบบที่ แนบท้ายระเบียบนี ก่อนวันที่จะยกเลิกการเดินเรือประจาทางไม่น้อยกว่าสามสิบวัน พร้ อมกับสาเนา ใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจาทางและสาเนาใบอนุญาตใช้เรือ โดยชีแจงเหตุผลและความจาเป็น ต่อสำนักมาตรฐานทะเบียนเรือหรือสำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาที่ออกใบอนุญาต เมื่อเจ้าหน้าที่รับคำร้องขอแล้ว ให้เสนอต่ออธิบดีกรมเจ้าท่าหรือผู้ว่าราชการจังหวัด เพื่อพิ จารณาว่าสมควรจะให้ยกเลิกการเดินเรือประจาทางหรือไม่ หากเห็นสมควรให้ยกเลิก ให้อธิบดี กรมเจ้าท่ามอบให้ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานทะเบียนเรือออกคำสั่งยกเลิกใบอนุญาตให้เรือกล เดินประจาทางหรือให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการให้ผู้ว่าราชการจังหวัดออกคาสั่งยกเลิกใบอนุญาตให้เรื อกล เดินประจาทาง แล้วแต่กรณี โดยหมายเหตุการยกเลิก วัน เดือน ปี ที่ยกเลิก ไว้ในใบอนุญาตให้ เรือกลเดินประจำทาง พร้อมลงนามกำกับไว้ ผู้อานวยการสานักมาตรฐานทะเบียนเรือหรือผู้ว่าราชการจังหวัดอาจพิจารณากาหนดวันที่ยกเลิก การเดินเรือประจำทางได้ โดยต้องไม่เป็นวันก่อนหน้าที่จะมีการลงนามตามวรรคสอง หากอธิบดีกรมเจ้าท่าหรือผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาแล้วเห็นว่า เส้นทางการเดินเรือ ที่ขอยกเลิกมีผลกระทบรุนแรงต่อประโยชน์สาธารณะและอาจก่อให้เกิดความเดือดร้อนต่อประชาชน ให้ออกคาสั่งให้ผู้ได้รับใบอนุญาตเดิน เรือต่อไปพลางก่อน และให้ผู้ได้รับใบอนุญาตรายนันประกาศ ให้ประชาชนทราบด้วย ข้อ 20 กรณีมีเหตุจำเป็นต้องหยุดการเดินเรือประจาทางเป็นการชั่วคราว ให้ผู้รับใบอนุญาต ให้เรือกลเดินประจาทางยื่นคาร้องด้วยแบบ ก.5 ตามแบบที่แนบท้ายระเบียบนี ก่อนวันที่จะหยุด การเดิ นเรือประจำทางไม่น้อยกว่าสามสิบวัน พร้อมกับสำเนาใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจาทาง และสำเนาใบอนุญาตใช้เรือ โดยชี แจงเหตุผลและความจำเป็นต่อสำนักมาตรฐานทะเบียนเรือ หรือสำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาที่ออกใบอนุญาต เมื่อเจ้าหน้าที่รับคำร้องขอแล้ว ให้เสนอต่ออธิบดีก รมเจ้าท่าหรือผู้ว่าราชการจังหวัด เพื่อพิจารณาว่าสมควรอนุญาตให้หยุดการเดินเรือประจาทางเป็นการชั่วคราวหรือไม่ หากเห็นสมควร อนุญาตให้อธิบดีกรมเจ้าท่ามอบให้ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานทะเบียนเรือออกคำสั่งอนุญาต ให้หยุดการเดินเรือประจาทางเป็นการชั่วคราว หรือให้เจ้า หน้าที่ดาเนินการให้ผู้ว่าราชการออกคาสั่ง อนุญาตให้หยุดการเดินเรือประจำทางเป็นการชั่วคราว แล้วแต่กรณี โดยหมายเหตุการหยุด และช่วงเวลาที่หยุดไว้ในใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทาง พร้อมลงนามกำกับไว้ หากอธิบดีกรมเจ้าท่าหรือผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาแล้ว เห็น ว่าเส้นทางการเดินเรือ ที่ขอหยุดการเดินเรือประจำทางเป็นการชั่วคราวมีผลกระทบรุนแรงต่อประโยชน์สาธารณะและ ้ หนา 7 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 70 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 มีนาคม 2566

อาจก่อให้เกิดความเดือดร้อนต่อประชาชน ให้ออกคาสั่งให้ผู้ได้รับใบอนุญาตเดินเรือต่อไป และให้ ผู้ได้รับใบอนุญาตรายนันประกาศให้ประชาชนทราบด้วย หมวด 4 การฝ่าฝืนเงื่อนไข ข้อ 21 กรณีมีผู้ได้รับใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจาทางหยุดเดินเรือประจาทางโดยไม่มี เหตุจำเป็นหรือเหตุอันควร ให้เป็นบุคคลต้องห้ามในการออกใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทาง เป็นระยะเวลาสามปี โดยนับตังแต่วันหมดอายุของใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทาง ข้อ 22 กรณีมีผู้ได้รับใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจาทางไม่ปฏิบัติตามที่ได้รับอนุญาต หรือ ฝ่าฝืนเงื่อนไขท้ายใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจาทาง ให้เจ้าท่ามีคาเตือนเป็นหนังสือให้ดาเนินการ เป็นไปตามที่ได้รับอนุ ญาตภายในระยะเวลาที่กำหนด และแจ้งจำนวนค่าปรับบังคับการตามกฎกระทรวง กำหนดเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจกำหนดค่าปรับบังคับการ พ.ศ. 2562 หากผู้ได้รับใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทางไม่ดำเนินการภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้ใช้มาตรการบังคับทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิ บัติราชการทางปกครอง โดยเจ้าท่า อาจพิจารณาสั่งงดการเดินเรือของเรือนันเสียชั่วคราว หรือยึดใบอนุญาตสาหรับเรือนันไว้มีกาหนด ไม่เกินหกเดือน ตามมาตรา 7 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านนาไทย พุทธศักราช 2477 และที่แก้ไขเพิ่มเติม เรือใดที่ถู กสั่งงดการเดินเรือหรือถูกยึดใบอนุญาตแล้วยังขืนเดินหรือเรือใดกระทาการรับจ้าง บรรทุกคนโดยสารหรือสินค้าหรือจูงเรือเป็นการประจำทางโดยมิได้รับใบอนุญาต นายเรือ หรือ ผู้ที่ควบคุมเรือ หรือเจ้าของเรือ หรือเจ้าของกิจการเดินเรือต้องระวางโทษปรับตังแต่หนึ่งพันบาท ถึ งหนึ่งหมื่นบาทตามมาตรา 7 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านนาไทย พุทธศักราช 2477 และที่แก้ไขเพิ่มเติม หมวด 5 บทเฉพาะกาล ข้อ 23 ให้ถือว่าการดาเนินการใด ๆ ตามระเบียบกรมเจ้าท่าว่าด้วยการพิจารณาและการออก ใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทาง พ.ศ. 2533 เป็นการดาเนินการตามระเบียบนี ้ หนา 8 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 70 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 มีนาคม 2566

ข้อ 24 การดาเนินการส่วนใดตามระเบียบกรมเจ้าท่าว่าด้วยการพิจารณาและการออกใบอนุญาต ให้เรือกลเดินประจาทาง พ.ศ. 2533 ที่ยังไม่แล้วเสร็จ ให้นาความในระเบียบนีไปบังคับใช้กับ การดาเนินการต่อไปโดยอนุโลม ข้อ 25 ใบอนุญาตให้เรื อกลเดินประจาทางที่ออกตามระเบียบกรมเจ้าท่าว่าด้วยการพิจารณา และการออกใบอนุญาตให้เรือกลเดินประจำทาง พ.ศ. 2533 ให้ใช้ได้ต่อไปจนกว่าครบกำหนดอายุ ประกาศ ณ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25 6 6 สรพงศ์ ไพฑูรย์พงษ์ รองปลัดกระทรวงคมนาคม รักษาราชการแทน อธิบดีกรมเจ้าท่า ้ หนา 9 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 70 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 มีนาคม 2566