Tue Jan 10 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6866 (พ.ศ. 2565) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส : ประสิทธิภาพขั้นต่ำ และกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เครื่องจักรกลไฟฟ้าชนิดหมุน เล่ม 30(101) ระดับชั้นประสิทธิภาพของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ ชนิดเหนี่ยวนำสามเฟส


ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6866 (พ.ศ. 2565) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส : ประสิทธิภาพขั้นต่ำ และกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เครื่องจักรกลไฟฟ้าชนิดหมุน เล่ม 30(101) ระดับชั้นประสิทธิภาพของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ ชนิดเหนี่ยวนำสามเฟส

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6866 (พ.ศ. 2565) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส : ประสิทธิภาพขั้นต่ำ และกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เครื่องจักรกลไฟฟ้าชนิดหมุน เล่ม 30(101) ระดับชั้นประสิทธิภาพของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ ชนิดเหนี่ยวนำสามเฟส โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอเตอร์เหนี่ยวนาสามเฟส : ประสิทธิภาพขั้นต่า มาตรฐานเลขที่ มอก. 867 - 2550 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2558 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหก รรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3705 (พ.ศ. 2550) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส และกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอเตอร์เหนี่ยวนาสามเฟส : ประสิทธิภาพขั้นต่า ลงวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2550 และออกประกาศกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เครื่องจักรกลไฟฟ้า ชนิดหมุน เล่ม 30(101) ระดับชั้นประสิทธิภาพของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ ชนิดเหนี่ยวนาสามเฟส มาตรฐานเลขที่ มอก . 866 เล่ม 30(101) - 2561 ขึ้นใหม่ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลเมื่อพ้นกาหนด 120 วัน นับตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 25 6 5 สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ้ หนา 27 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 7 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 มกราคม 2566

ขอมูลมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม แนบทายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6866 (พ.ศ. 2565) ชื่อมาตรฐาน : เครื่องจักรกลไฟฟาชนิดหมุน เลม 30(101) ระดับชั้นประสิทธิภาพ ของมอเตอรไฟฟากระแสสลับชนิดเหนี่ยวนําสามเฟส ROTATING ELECTRICAL MACHINES PART 30-101 EFFICIENCY CLASSES OF AC THREE PHASE INDUCTION MOTORS มาตรฐานเลขที่ : มอก. 866 เลม 30(101)−2561 ผู้จัดทํา : สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กรรมการวิชาการ : อนุกรรมการวิชาการรายสาขา คณะที่ 1011/4 มาตรฐานเครื่องจักรไฟฟา ชนิดหมุน ขอบขาย : มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ - ครอบคลุมระดับชั้นประสิทธิภาพของมอเตอรไฟฟากระแสสลับ ชนิดเหนี่ยวนํา สามเฟส ที่มีความเร็วเดียว ซึ่งมีพิกัดเป็นไปตาม มอก. 866 เลม 1 ที่มีพิกัดในการทํางานกับแหลงจายแรงดันไฟฟาที่เป็น รูปคลื่นไซน ดังนี้  มีกําลังที่พิกัด P N จาก 0.12 kW ถึง 375 kW  มีแรงดันไฟฟาที่พิกัด U N สูงกวา 50 V ถึง 1 kV  มี 2, 4, 6 หรือ 8 ขั้ว  สามารถทํางานอยางต่อเนื่องที่กําลังที่พิกัด ด้วยอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นอยู่ ภายใตขอกําหนดของระดับชั้นอุณหภูมิของฉนวน หมายเหตุ 1 มอเตอรตามมาตรฐานฉบับนี้คือมอเตอรที่มี ประเภทการทํางาน S1 (ทํางานต่อเนื่อง) ตาม มอก. 866 เลม 1 อยางไรก็ตามมอเตอรไฟฟาที่มี ประเภทการทํางานชนิดอื่น ที่สามารถทํางานอยางต่อเนื่องที่กําลังที่ พิกัดได้ให้เป็นไปตามมาตรฐานฉบับนี้ด้วย  แสดงเครื่องหมายอุณหภูมิภายนอกใดๆ ที่อยู่ในชวงระหวาง –20 o C ถึง +60 o C หมายเหตุ 2 ประสิทธิภาพที่พิกัด และระดับชั้นประสิทธิภาพจะอางอิงที่อุณหภูมิ ภายนอก 25 o C ตาม มอก. 866 เลม 2(1) หมายเหตุ 3 มอเตอรที่มีพิกัดอุณหภูมิอยู่นอกยาน –20 o C และ +60 o C สามารถ พิจารณาได้วาเป็นมอเตอรที่มีโครงสรางพิเศษ เป็นผลให้ถูกยกเวนจาก มาตรฐานฉบับนี้ หมายเหตุ 4 มอเตอรชนิดสกัดควัน (smoke extraction motors) ที่มีคาระดับชั้น อุณหภูมิสูงถึง 400 o C ครอบคลุมตามมาตรฐานฉบับนี้  แสดงเครื่องหมายด้วยระดับความสูงถึง 4 000 m จากระดับน้ําทะเล หมายเหตุ 5 ประสิทธิภาพที่พิกัด และระดับชั้นประสิทธิภาพจะอางอิงที่ระดับความ สูง 1 000 m จากระดับน้ําทะเล

  • ประสิทธิภาพของระบบขับเคลื่อนไม่ครอบคลุมตามมาตรฐานฉบับนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งความสูญเสียของมอเตอรที่เกิดจากสวนประกอบฮารมอนิ กของแรงดันไฟฟาที่จาย กําลังสูญเสียในสายเคเบิล ตัวกรอง และตัวแปลง ผันความถี่ ทั้งหมดนั้นไม่ครอบคลุมตามมาตรฐานฉบับนี้ - มอเตอรที่มีหน้าจาน (flanges) ขาตั้ง (feet) และ/หรือ แกน (shaft) ที่ ขนาดทางกลแตกตางไปจาก IEC 60072-1 ครอบคลุมตามมาตรฐานฉบับนี้ - มอเตอรเกียรครอบคลุมตามมาตรฐานฉบับนี้ รวมทั้งที่มีแกนและหน้าจานที่ ไม่เป็นมาตรฐาน - ไม่ครอบคลุมถึง  มอเตอรชนิดซิงโครนัส หรือมอเตอรชนิดแมเหล็กถาวร  มอเตอรไฟฟาเฟสเดียว  มอเตอรที่มีจํานวนขั้ว 10 ขั้วขึ้นไป  มอเตอรที่มีหลายความเร็ว  มอเตอรที่มีคอมมิวเตเตอรทางกล (เชน มอเตอรกระแสตรง)  มอเตอรที่ประกอบรวมเบ็ดเสร็จในเครื่องจักร (ตัวอยางเชน เครื่องสูบ (pump) พัดลม และเครื่องอัด (compressor)) ซึ่งในการปฏิบัติไม่ สามารถทดสอบแยกออกจากเครื่องจักร แมวาจะมีการจัดเตรียมกระบังปด ปลาย (end-shield) และรองลื่นปลายดานขับเคลื่อน (drive-end bearing) ชั่วคราว หมายความวามอเตอรจะต้อง ก) ใชอุปกรณรวมกัน (นอกเหนือจากใชตัวต่อ เชน สลักเกลียว) กับหนวยขับเคลื่อน (ตัวอยางเชน แกน หรือตัวโครงครอบเครื่อง) และ ข) ไม่ได้ถูกออกแบบ ให้สามารถที่จะแยกมอเตอรออกจากหนวยขับ แมวามอเตอรจะสามารถ ทํางานอยางอิสระจากหนวยขับ นั่นคือถากระบวนการในการแยกจะทําให้ มอเตอรไม่ทํางาน มอเตอรนั้นจะไม่ครอบคลุมตามมาตรฐานฉบับนี้ (TEAO, IC418) เครื่องจักรกลชนิดปดหุมอากาศทั้งหมด (Totally Enclosed Air-Over Machine) ตัวอยางเชน เครื่องจักรกลที่ระบาย ความรอนที่พื้นผิวของตัวโครงครอบเครื่องทั้งหมด ใชระบบการระบาย ความรอนภายนอกโดยใชวิธีการระบายอากาศนอกเครื่องจักรกลเป็นไป ตามมาตรฐานฉบับนี้ การทดสอบประสิทธิภาพมอเตอรเชนนี้อาจจะทําโดย การนําพัดลมออกและจัดระบบการระบายความรอนโดยการใชเครื่องเปา ลมที่พิกัดการไหลของอากาศคลายคลึงกับพัดลมดั้งเดิม  มอเตอรที่มีตัวแปลงผันความถี่ประกอบรวมกัน (compact drives) เมื่อ มอเตอรไม่สามารถทดสอบแยกจากตัวแปลงผันได้ ระดับชั้นประสิทธิภาพ พลังงานของชุ ดขับเคลื่อนจะต้องอยู่บนพื้นฐานของผลิตภัณฑชุดสําเร็จ (PDS: Power Drive System) และจะต้องถูกกําหนดในมาตรฐานที่แยก ออกตางหาก

หมายเหตุ 6 มอเตอรจะไม่อยู่นอกขอบขายเมื่อมอเตอรและตัวแปลงผันความถี่ สามารถแยกออกจากกันได้ และมอเตอรสามารถทดสอบแยกตางหาก จากตัวแปลงผัน  มอเตอรเบรก เมื่อระบบเบรกรวมเป็นสวนหนึ่งภายในโครงสรางของ มอเตอร ซึ่งไม่สามารถถอดออกหรือจายแรงดันจากแหลงจายอื่นในขณะที่ ทําการทดสอบประสิทธิภาพของมอเตอร หมายเหตุ 7 มอเตอรเบรกที่มีขดเบรกรวมอยู่กับหน้าจานของมอเตอรจะครอบคลุม ตามมาตรฐานนี้ ถาสามารถที่จะทดสอบประสิทธิภาพได้โดยไม่เกิด ความสูญเสียจากเบรก (ตัวอยางเชน การรื้อเบรกออก หรือการจาย พลังงานให้แกขดลวดเบรกจากแหลงจายที่แยกตางหาก) - เมื่อผู้ผลิตเสนอมอเตอรที่มีการออกแบบอยางเดียวกันทั้งโดยมีหรือไม่มีเบรก การทดสอบประสิทธิภาพสามารถทําได้โดยการทดสอบมอเตอรที่ไม่มีเบรก ดังนั้น ในการหาคาประสิทธิภาพอาจจะใชเป็นพิกัดสําหรับมอเตอรและเบรก มอเตอรได้ทั้งคู่  มอเตอรที่แชน้ําได้ ที่ออกแบบเฉพาะให้ใชงานในของเหลว  มอเตอรชนิดสกัดควัน (smoke extraction motors) ที่มีคาระดับ อุณหภูมิสูงกวา 400 o C เนื้อหาประกอบด้วย : ขอบขาย เอกสารอางอิง บทนิยามและสัญลักษณ การจําแนกประเภท ประสิทธิภาพ และบรรณานุกรม จํานวนหน้า : 16 หน้า ISBN : 978-616-475-131-6 ICS : 29.160.01 สถานที่ จัดเก็บ : หองสมุดสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 02 430 6834 ต่อ 2440-2441 สถานที่จําหนาย : สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพมหานคร 10400 https://www.tisi.go.th