ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสำหรับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2566
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสำหรับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2566
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสาหรับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้าน การพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2566 โดยที่เป็นการสมควรกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการ สาธารณสุขเพิ่มเติมสาหรับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อให้การจ่ายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ อาศัยอานาจตามความในข้อ 4 ข้อ 68.4 และข้อ 86.1 แห่งประกาศคณะกรรมการ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การดาเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่ อนไขการรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ พ.ศ. 2565 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่าย ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสา หรับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ พ.ศ. 2566 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ข้อ 3 ในประกาศนี้ “ สานักงาน ” หมายความว่า สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ทั้งนี้ ไม่หมายความรวมถึง สำนักงานสาขา “ หน่วยบริการ ” หมายความว่า สถานบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ตามกฎหมายว่าด้วย หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ “ ผู้รับบริการ ” หมายความว่า ผู้มีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ “ ค่าใช้จ่าย ” หมายความว่า ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขที่หน่วยบริการมีสิทธิได้รับจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรณีบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสาหรับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ เฉพาะด้านการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ข้อ 4 ให้เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติรักษากา รตามประกาศนี้ หมวด 1 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ้ หนา 62 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 63 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 มีนาคม 2566
ข้อ 5 การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสาหรับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ เฉพาะด้านการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ประกอบด้วย 5.1 ค่าบริการสาธารณสุขปฐมภูมิด้านการพยาบาลและการผดุ งครรภ์ 5.2 ค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค ข้อ 6 การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีค่าบริการปฐมภูมิด้านการพยาบาล และการผดุงครรภ์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 6.1 เป็นการให้บริการแก่ผู้รับบริการ 6.2 หน่วยบริการที่มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้าน การพยาบาลและการผดุงครรภ์ ที่มีคุณสมบัติตามเอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 7 สานักงานจะจ่ายค่าใช้จ่ายตามรายการและอัตราที่กำหนด ตามเอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 8 การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 8.1 เป็นการให้บริการแก่ผู้รับบริการ 8.2 หน่วยบริการที่มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้าน การพยาบาลและการผดุงคร รภ์ที่ให้บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ข้อ 9 สำนักงานจะจ่ายค่าใช้จ่ายตามรายการและอัตรา ดังนี้ 9.1 รายการบริการประกอบด้วย 9.1.1 บริการฝากครรภ์ สำหรับครั้งที่ 2 เป็นต้นไป ในกรณีที่แพทย์ วินิจฉัยแล้วว่าไม่มีภาวะครรภ์เสี่ยง 9.1.2 บริการจ่ายยาเม็ดคุมกาเนิดและบริการให้คาปรึกษา 9.1.3 บริการจ่ายถุงยางอนามัยและบริการให้คำปรึกษา 9.1.4 บริการทดสอบการตั้งครรภ์ 9.1.5 บริการตรวจหลังคลอด และบริการยาเสริมธาตุเหล็ก กรดโฟลิค ไอโอดีน 9.1.6 บริการยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก และกรดโฟลิค 9.1.7 บริการคัดกรองและประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพกายหรือสุขภาพจิต 9.2 กลุ่มเป้าหมายและอัตราการจ่ายค่าใช้จ่ายของแต่ละรายการตาม 9.1 ให้เป็นไปตามเอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วย การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณ สุขกรณีบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสาหรับบริการพื้นฐาน กรณีจ่ายตามรายการบริการ ้ หนา 63 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 63 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 มีนาคม 2566
หมวด 2 วิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 10 ให้หน่วยบริการส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช้จ่าย หรือส่งข้อมูลตามชุดข้อมูลมาตรฐาน ตามที่สำนักงานกำหนด ผ่านระบบ Krungthai Digital Health Platform (ผ่าน Hospital Portal ทาง Website KTB https :// www . healthplatform . krungthai . com ) หรือผ่านระบบบันทึกข้อมูล และประมวลผลข้อมูลการบริการทางการแพทย์ ( e - Claim ) หรือเชื่อมต่อข้อมูลจากระบบข้อมูลของ หน่วยบริการกั บสำนักงาน หรือผ่านระบบโปรแกรมอื่นตามที่สำนักงานกำหนด หมวด 3 เงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 11 ในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ให้หน่วยบริการจัดให้มีการพิสูจน์ตัวตนของผู้รับบริการเพื่อยืนยันการใช้สิทธิในการเข้ารับบริการ ตามแนวทางที่สำนักงานกำหนด ข้อ 12 สำนักงานจะดาเนินการประมวลผลและแจ้งรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยบริการ โดยรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายจะต้องแสดงสถานะข้อมูล ดังนี้ 12.1 ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลตามเงื่อนไขที่กาหนด (ข้อมูล Y ) สานักงาน จะนาเข้าสู่กระบวนการตรวจสอบก่อนการจ่ายค่าใช้จ่าย 12.2 ข้อมูลที่ประมวลผลไม่ผ่านตามเงื่อนไขที่กาหนด: ข้อมูลปฏิเสธการจ่าย (ข้อมูล N ) หน่วยบริการสามารถขอทบทวนเพื่อขอรับค่าใช้จ่า ยตามที่สำนักงานกำหนด ข้อ 13 สานักงานมีกระบวนการตรวจสอบก่อนการจ่ายค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการที่รับ การส่งต่อเฉพาะด้านการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลตามเงื่อนไขที่กาหนด (ข้อมูล Y ) ทุกรายการด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ และระบบการกาหนดเงื่อนไขข้อมูลที่ต้องสงสัย ว่าผิดปกติ โดยรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายต้องแสดงสถานะข้อมูลและดาเนินการ ดังนี้ 13.1 ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบจะนาไปประมวลผลการจ่ายค่าใช้จ่าย 13.2 ข้อมูลที่ไม่ผ่านการตรวจสอบด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ หรือระบบการกาหนด เงื่ อนไขข้อมูลที่ต้องสงสัยว่าผิดปกติ ข้อมูลรายการนั้นจะถูกชะลอการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อให้มีการตรวจสอบ เอกสารหลักฐานการให้บริการจากหน่วยบริการอีกครั้ง หรือสอบถามผู้รับบริการทางโทรศัพท์เพิ่มเติม รายละเอียดตามเอกสารหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศนี้ ้ หนา 64 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 63 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 มีนาคม 2566
13.3 สำนักงานจะกำ หนดเกณฑ์ในการตรวจสอบตามเอกสารหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศนี้ โดยสำนักงานจะรายงานผลการตรวจสอบเอกสารหลักฐานและดาเนินการ ดังนี้ 13.3.1 ข้อมูลที่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบหลักฐานการให้บริการจะนาไป ประมวลผลการจ่ายค่าใช้จ่าย 13.3.2 ข้อมูลที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบหลักฐานการให้บริการ เนื่องจาก ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่าย หรือให้บริการไม่ครบตามที่หลักเกณฑ์กาหนด สานักงาน จะแจ้งผลการตรวจสอบหลักฐานการให้บริการให้หน่วยบริการทราบ โดยหน่วยบริการสามารถขอให้ สานักงานทบทวนผลการตรวจสอ บ ภายในระยะเวลา 10 วัน นับแต่วันที่หน่วยบริการได้รับรายงาน แจ้งผลการตรวจสอบหลักฐานการให้บริการ ทั้งนี้ สำนักงานอาจพิจารณาขยายระยะเวลาได้ตามเหตุผล และความจำเป็น เมื่อหน่วยบริการร้องขอ 13.3.3 ในกรณีที่ข้อมูลไม่ผ่านการตรวจสอบเนื่องจากไม่พบหลักฐาน การให้ บริการ และหน่วยบริการไม่ขอให้สำนักงานทบทวนผลการตรวจสอบดังกล่าว หรือเมื่อสำนักงาน พิจารณาข้อเสนอขอทบทวนแล้วยังตรวจสอบไม่พบหลักฐานการให้บริการ หรือให้บริการไม่ครบ ตามที่หลักเกณฑ์กำหนด สำนักงานจะแจ้งให้หน่วยบริการรับทราบ และพิจารณาจ่ายค่าใช้จ่าย ตามข้อเท็จจริงของบริการที่เกิดขึ้น ข้อ 14 หากพบความผิดปกติอื่นใดของข้อมูลการเบิกจ่ายของหน่วยบริการนั้น ๆ สานักงาน จะดาเนินการตรวจสอบหลักฐานการให้บริการหลังการจ่ายค่าใช้จ่าย ข้อ 15 สานักงานจะพิจารณาปฏิเสธการจ่ายค่าใช้จ่ายการให้บริการสาธารณสุข ในกรณี อย่ำงหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 15.1 การให้บริการไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ตามหมวด 1 15.2 ตรวจสอบไม่พบการยืนยันตัวตนของผู้ป่วยเพื่อยืนยันการใช้สิทธิในการเข้ารับบริการ ตามแนวทางที่สำนักงานกำหนด 15.3 กรณีที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการให้บริการแล้วพบว่าไม่ผ่านเกณฑ์ การตรวจสอบหลักฐานการให้บริการตามเอกสารหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศ ประกาศ ณ วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 256 6 จเด็จ ธรรมธัชอารี เลขาธิการสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ้ หนา 65 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 63 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 มีนาคม 2566
เอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านการพยาบาล และการผดุงครรภ์ พ.ศ. 256 6 ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2566 คุณสมบัติของหน่วยบริการที่ให้บริการ สาธารณสุขสาหรับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะ ด้านการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ดังนี้ 1 . เป็นสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ ของเอกชน หรือของสภากาชาดไทย ที่มีคุณสมบัติ ตามเกณฑ์การตรวจประเมินเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 2 . มีพยาบาลวิชาชีพป ฏิ บัติงานตลอดเวลาที่เปิดให้บริการอย่างน้อย 1 คน และเปิดให้บริการ โดยแสดงวันเวลาในการให้บริการตามที่ตกลงกับหน่ วยบริการประจาหรือสานักงานไว้ในที่เปิดเผยให้เห็นได้ อย่างชัดเจน 3 . มีความพร้อมและสมัครใจเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านการพยาบาล และการผดุงครรภ์ และให้บริการตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ 4 . มีระบบในการพิสูจน์ตัวตนของผู้ป่วยก่อนเข้ารับบริการ
เอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านการพยาบาล และการผดุงครรภ์ พ.ศ. 256 6 ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2566 ค่า บริการสาธารณสุขปฐมภูมิด้านการพยาบาลและการผดุงครรภ์ จ่ายแบบเหมาจ่ายตามรายการ บริการในอัตรา ดังนี้ รายการบริการ ขอบเขตการให้บริการ อัตราจ่ายแบบเหมาจ่าย 1. การให้ยาตามแผนการ รักษาของผู้ประกอบ วิชาชีพเวชกรรม การให้บริการยาพ่น และการให้บริการยาฉีด ให้เป็นไปตามแผนการรักษาของผู้ประกอบ วิชาชีพเวชกรรม และตามมาตรฐาน การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ 1 . บริหารยาพ่น 60 บาทต่อ ครั้ง 2 . บริหารยาฉีด 30 บาทต่อ ครั้ง 2 . การบริการพยาบาล พื้นฐาน การให้บริการการทำแผล บริการล้างตา ล้างจมูก บริการใส่สายยางให้อาหาร และ บริการใส่สายสวนปัสสาวะ ให้เป็นไปตาม มาตรฐานการประกอบวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ 1 . บริการทำแผลแห้งหรือแผลเย็บ 80 บาทต่อ ครั้ง 2 . บริการทำแผลเปิดหรือติดเชื้อ 170 บาทต่อ ครั้ง 3 . บริการทำแผลขนาดใหญ่ 320 บาทต่อ ครั้ง 4 . บริการล้างตา 80 บาทต่อ ครั้ง 5 . บริการเช็ดตา 50 บาทต่ อ ครั้ง 6 . บริการล้างจมูก 80 บาทต่อ ครั้ง 7 . บริการใส่สายยาง กระเพาะอาหาร จ่ายเฉพาะค่าบริการ (ไม่รวม ค่าอุปกรณ์) 80 บาทต่อ ครั้ง 8 . บริการใส่สายสวนปัสสาวะ จ่ายเฉพาะค่าบริการ (ไม่รวม ค่าอุปกรณ์) 110 บาทต่อ ครั้ง 9 . จ่ายเป็นค่าอุปกร ณ์และ เวชภัณฑ์ ตามรายการบริการและอัตราที่ กำหนดเป็นไปตาม ประกาศ สำนักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ ว่าด้วย การจ่ายค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข กรณี บริการสร้างเสริมสุขภาพและ
-
2 - รายการบริการ ขอบเขตการให้บริการ อัตราจ่ายแบบเหมาจ่าย ป้องกันโรคสำหรับบริการพื้นฐาน กรณีจ่ายตามรายการบริการ 3 . การบริการดูแล สุขภาพผู้ป่วยที่บ้าน 1 . กลุ่มผู้ป่วยที่สามารถรักษาหายได้ เน้นการให้บริการและคาแนะนำกับ ตัวผู้ป่วย เช่น หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง หญิงหลังคลอดที่มี ภำวะแทรกซ้อน กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีความรุนแรง ไม่มาก ควบคุมโรคได้ เป็นต้น มีกิจกรรม บริการ ดังนี้ 1 . 1 Health Assessment ( ประเมิน ความรู้ ความสามารถในการดูแล ตนเองของผู้รับบริการ ผู้ดูแลที่อยู่ อาศัย สภาพแวดล้อม) 1 . 2 ให้ความรู้ในเรื่องโรคและการดูแล ตนเอง เช่น การ วางแผนครอบครัว ในหญิงหลังคลอด การปฏิบัติสำหรับ ผู้ป่วยเบาหวาน 1 . 3 ให้การพยาบาลและฝึกทักษะ ในการดูแลตนเองให้กับผู้ป่วย และ ผู้ดูแล เช่น การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างต่อเนื่อ ง อย่างน้อย 6 เดือน 1 . 4 ให้การปรึกษาปัญหาต่าง ๆ ที่จะเป็น อุปสรรคในการดูแลตนเอง 1 . 5 กรณีพบความเสี่ยง หรืออาการป่วย รุนแรงขึ้น ให้ส่งต่อหน่วยบริการ ประจา เพื่อให้การดูแลต่อเนื่อง 2 . กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถควบคุม อาการได้ เช่น ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุม น้ำตาลไม่ได้ หรือที่มีปัญหาในการ ปฏิบัติตน มีกิจกรรมบริการ ดังนี้ 2 . 1 Health Assessment ( ประเมิน ความรู้ ความสามารถในการดูแล 1 . กลุ่มผู้ป่วยที่สามารถรักษาหายได้ จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 400 บาทต่อครั้ง และไม่เกิน 4 ครั้งต่อปี 2 . กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถ ควบคุมอาการได้ จ่ายแบบ เหมาจ่ายในอัตรา 600 บาท ต่อครั้ง และไม่เกิน 6 ครั้งต่อปี
-
3 - รายการบริการ ขอบเขตการให้บริการ อัตราจ่ายแบบเหมาจ่าย ตนเองของผู้รับบริการ ผู้ดูแลที่อยู่ อาศัย และสภาพแวดล้อม) 2 . 2 ให้ความรู้ ในเรื่องโรคและการดูแล ตนเอง 2 . 3 ให้การพยาบาล และฝึกทักษะในการ ดูแลตนเองให้กับผู้ป่วยและผู้ดูแล 2 . 4 ตั้งเป้าหมายร่วมกันกับผู้รับบริการ และผู้ดูแลในการดูแลตนเอง 2 . 5 ปรับเปลี่ยนพฤติกกรร มให้เหมาะสม กับการเจ็บป่วย 2 . 6 ให้การปรึกษาปัญหาต่าง ๆ ที่จะเป็น อุปสรรคในการดูแลตนเอง 2 . 7 กรณีพบความเสี่ยง หรืออาการป่วย รุนแรงขึ้น ให้ส่งต่อหน่วยบริการ ประจำเพื่อให้การดูแลต่อเนื่อง 3 . กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและไร้ความสามารถ เล็กน้อย เช่น ผู้ป่วยที่ต้องพึ่งพาอุปกรณ์ ทำงการแพทย์ เช่น ผู้ป่วยใส่ NG ผู้ป่วย ล้างไตทางช่องท้อง มีกิจกรรมบริการ ดังนี้ 3 . 1 Health Assessment ( ประเมิน ความรู้ ความสามารถในการดูแล ตนเองของผู้รับบริการ ผู้ดูแลที่อยู่ อาศัย และสภาพแวดล้อม) 3 . 2 ให้ความรู้ ในเรื่องโรคและการดูแล ตนเอง 3 . 3 ให้การพยาบาล และฝึกทักษะในการ ดูแลตนเองให้กับผู้ป่วย 3 . 4 ฝึกทักษะให้ผู้ดูแลสามารถให้การดูแล ผู้รับบริการได้ เช่น NG tube feeding / การดูแลผู้ป่วยที่คาสาย สวนปัสสาวะ 3 . 5 ให้การปรึกษาปัญหาต่าง ๆ ที่จะเป็น อุปสรรคในการดูแลตนเอง 3 . กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและ ไร้ความสามารถเล็กน้อย จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 800 บาทต่อครั้ง และไม่เกิน 8 ครั้งต่อปี
-
4 - รายการบริการ ขอบเขตการให้บริการ อัตราจ่ายแบบเหมาจ่าย 3 . 6 กรณีพบความเสี่ยง หรืออาการป่วย รุนแรงขึ้น ให้ส่งต่อหน่วยบริการ ประจำเพื่อให้การดูแลต่อเนื่อง 4 . บริการการรักษา โรคเบื้องต้น ตามข้อกำหนด แห่ง ข้อบังคับของสภาการ พยาบาล ว่าด้วยข้อจำ กัดและเงื่อนไขในการ ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง ครรภ์ พ.ศ. 2564 หมวด 3 การรักษาโรค เบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค จ่ายเป็นค่าบริการตรวจวินิจฉัย ให้คำปรึกษา ค่ายาและเวชภัณฑ์ ในอัตรา 150 บาทต่อ ครั้ง
เอกสารหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านการพยาบาล และการผดุงครรภ์ พ.ศ. 256 6 ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2566 เอกสารหลักฐานเพื่อประกอบการตรวจสอบและเกณฑ์การตรวจสอบการจ่ายค่าใช้จ่าย การให้บริการสาธารณสุขสำหรับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านการพยาบาลและการผดุงครรภ์ 1 . เอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการโด ย ตรวจสอบ หลักฐานการให้บริการ ดังนี้ 1 . 1 เอกสารหลักฐานการให้บริการ การบันทึกรายกิจกรรม ตามรายการที่ หน่วยบริการ เรียกเก็บค่าใช้จ่าย 1 . 2 เอกสารหลักฐานคาสั่งแพทย์ ในการ บริหารยาตามคาสั่งแพทย์ การบริการพยาบาล พื้นฐานตามคำสั่งแพทย์ ในกรณีที่หน่วยเรียกเก็บค่าใช้จ่ายการบริการตามคำสั่งแพทย์ 1 . 3 เอกสารหลักฐานบันทึกลักษณะแผล ในกรณีที่หน่วยบริการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายบริการ ทำแผล 1 . 4 เอกสาร หลักฐานการวินิจฉัยโรค การจัดกลุ่มโรคเป็นกลุ่มผู้ป่วยที่สามารถรักษาหายได้ กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถควบคุมอาการได้ กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและไร้ความสามารถเล็กน้อ ย และ กิจกรรมบริการตามที่กาหนด ในขอบเขตบริการ ตามเอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศ นี้ ในกรณี ที่หน่วยเรียกเก็บค่าใช้จ่ายบริการดูแลสุขภาพผู้ป่วยที่บ้าน 1 . 5 เอกสาร หลักฐาน การรักษาโรคเบื้องต้น ตามข้อกาหนด แห่ง ข้อบังคับของสภาการพยาบาล ว่าด้วยข้อจา กัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2564 หมวด 3 การรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค และมีรายละเอียดของการให้บริการการตรวจวินิจฉัย การให้คำปรึกษา การสั่งยาและเวชภัณฑ์ หลักฐานการจัดส่งยาและเวชภัณฑ์ไปยังผู้ป่วยท ำงไปรษณีย์ ตามบริการที่หน่วยบริการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายกรณีบริการการรักษาโรคเบื้องต้น 2 . เกณฑ์ในการตรวจสอบเวชระเบียน หรือข้อมูลการให้บริการของหน่วยบริการ ดังนี้ 2 . 1 พบเอกสารหลักฐานการให้บริการ การบันทึกรายกิจกรรม ตามรายการที่ หน่วยบริการ เรียกเก็บค่าใช้จ่าย 2 . 2 พบเอกสารหลักฐานคาสั่งแพทย์ ในการ บริหารยาตามคาสั่งแพทย์ การบริการพยาบาล พื้นฐานตามคำสั่งแพทย์ ในกรณีที่หน่วยเรียกเก็บค่าใช้จ่ายการบริการตามคำสั่งแพทย์ 2 . 3 พบเอกสารหลักฐานบันทึกลักษณะแผล ในกรณีที่หน่วยบริการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย บริการทำแผล 2.4 พบเอกสาร…
- 2 - 2 . 4 พบ เอกสาร หลักฐานการวินิจฉัยโรค การจัดกลุ่มโรคเป็นกลุ่มผู้ป่วยที่สามารถรักษาหาย ได้ กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถควบคุมอาการได้ กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและไร้ความสามารถเล็กน้อย และ กิจกรรมบริการตามที่กาหนด ในขอบเขตบริการ ตามเอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศ นี้ ในกรณี ที่หน่วยเรียกเก็บค่าใช้จ่ายบริการดูแลสุขภาพผู้ป่วยที่บ้าน 2 . 5 พบเอกสารหลักฐานการรักษาโรคเบื้องต้นตามข้อกาหนด แห่ง ข้อบังคับของสภาการพยาบาล พ.ศ. 2564 หมวด 3 การรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค และมีรายละเอียดของการให้บริการ การตรวจวินิจฉัย การให้คาปรึกษา การสั่งยาและเวชภัณฑ์ หลักฐานการจัดส่งยาและเวชภัณฑ์ไปยังผู้ป่วย ทางไปรษณีย์ ตามบริการที่หน่วยบริการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย กรณีบริการการรักษาโรคเบื้องต้น