Thu Mar 16 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสำหรับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม พ.ศ. 2566


ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสำหรับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม พ.ศ. 2566

ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสาหรับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ เฉพาะด้านเภสัชกรรม พ.ศ. 2566 โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข เพิ่มเติมสาหรับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อให้การจ่ายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อาศัยอานาจตามความในข้อ 4 และข้อ 68.2 แห่งประกาศคณะกรรมการหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การดาเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ ปีงบประมาณ พ .ศ. 2566 และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการ สาธารณสุขของหน่วยบริการ พ.ศ. 2565 สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่าย ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสาหรับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม พ.ศ. 2566 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ข้อ 3 ในประกาศนี้ “ สานักงาน ” หมายความว่า สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ทั้งนี้ ไม่หมายความรวมถึง สำนักงานสาขา “ หน่วยบริการ ” หมายความว่า สถานบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ตามกฎหมายว่าด้วย หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ “ ผู้รับบริการ ” หมายความว่า ผู้มีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขตามกฎหมายว่าด้วยหลักป ระกัน สุขภาพแห่งชาติ “ ค่าใช้จ่าย ” หมายความว่า ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขที่หน่วยบริการมีสิทธิได้รับ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรณีบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสำหรับหน่วยบริการที่รับการส่ง ต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม ข้อ 4 ให้เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุ ขภาพแห่งชาติรักษาการตามประกาศนี้ หมวด 1 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ้ หนา 48 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 63 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 มีนาคม 2566

ข้อ 5 ค่าบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสาหรับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม ประกอบด้วย 5.1 ค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการที่จ่ายตามรายการบริการ 5.2 ค่าบริการทางเภสัชกรรมด้านเภสัชกรรมปฐมภูมิ 5.3 ค่าบริการด้านยาและเวชภัณฑ์สาหรับการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ ร่วมกับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม ข้อ 6 การ จ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคสำหรับบริการที่จ่ายตามรายการบริการ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 6.1 เป็นการให้บริการแก่ผู้รับบริการ โดยกลุ่มเป้าหมายเป็นไปตามเอกสาร หมายเลข 1 แนบท้ายประกาศสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วยการจ่ายค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสาหรับบริการพื้นฐาน กรณีจ่ายตาม รายการบริการ 6.2 หน่วยบริการที่มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพำะ ด้านเภสัชกรรมที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามเอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 7 สำนักงานจะจ่ายค่าใช้จ่ายตามรายการบริการและอัตรา ดังนี้ 7.1 บริการยาเม็ดคุมกาเนิดและบริการให้คาปรึกษา 7.2 บริการยาเม็ดคุมกาเนิดฉุกเฉินและบริการให้คาปรึกษา 7.3 บริการจ่ายถุ งยางอนามัยและบริการให้คำปรึกษา 7.4 บริการคัดกรองและประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิต 7.5 บริการตรวจปัสสาวะเพื่อทดสอบการตั้งครรภ์หรือบริการชุดทดสอบการตั้งครรภ์ ด้วยตัวเอง 7.6 บริการยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กและกรดโฟลิค ทั้งนี้ อัตราการจ่ายค่าใช้จ่ายตาม 7.1 ถึง 7.6 ให้เป็นไปตามเอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วยการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการพื้นฐาน กรณีจ่ายตามรายการบริการ ข้อ 8 กำรจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีค่าบริการทางเภสัชกรรมด้านเภสัชกรรม ปฐมภูมิ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 8.1 เป็นการให้บริการแก่ผู้รับบริการ 8.2 เป็นการให้บริการตามกลุ่มโรค หรือกลุ่มอาการ ที่เป็นไปตามแนวทางและ มาตรฐานการให้บริการเภสัชกรรมด้านเภสัชกรรมปฐมภูมิ โดยสภาเภสัชกรรม ตามเอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศนี้ ้ หนา 49 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 63 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 มีนาคม 2566

8.3 หน่วยบริการที่มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้าน เภสัชกรรมที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามเอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 9 สำนักงานจะจ่ายค่าใช้จ่ายตามรายการและอัตรา ดังนี้ 9.1 ค่าบริการให้คาปรึกษาด้านเภสัชกรรม 9.2 ค่ายาและเวชภัณฑ์ 9.3 ค่าติดตามอาการและผลการดูแล ทั้งนี้ ค่าบริการตาม 9.1 ถึง 9.3 สานักงานจะจ่ายค่าใช้จ่ายแบบเหมาจ่าย ในอัตรา 180 บาทต่อครั้ง ข้อ 10 การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีค่าบริการด้านยาและเวชภัณฑ์สำหรับ การจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการร่วมกับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 10.1 เป็นการให้บริการแก่ผู้รับบริการ ที่ได้รับกา รวินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหอบหืด โรคจิตเวช หรือโรคเรื้อรังอื่นที่ไม่มีความซับซ้อน ในการดูแลที่สมัครใจและสะดวกในการมารับบริการที่หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม 10.2 หน่วยบริการที่มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่าย ได้ แก่ 10.2.1 เป็นหน่วยบริการอื่นซึ่งไม่ใช่หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะ ด้านเภสัชกรรม 10.2.2 เป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรมที่มีคุณสมบัติ เป็นไปตามเอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศนี้ 10.3 รูปแบบการจัดบริการด้านยาและเวชภัณฑ์ระหว่างหน่วยบริการหรือหน่วยบริการ ที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม ตาม 10.2.1 และ 10.2.2 เป็นไปตามเอกสารหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศนี้ 10.4 จ่ายเป็นค่าบริการด้านยาและเวชภัณฑ์ตามประเภทของรูปแบบการจัดการ รายละเอียดเป็นไปตามเอกสารหมายเลข 4 แนบท้ายประกาศนี้ หมวด 2 วิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 11 ให้หน่วยบริการที่ให้บริการบันทึกและส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช่จ่าย ผ่านระบบโปรแกรม ดังต่อไปนี้ 11.1 กรณีบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสาหรับบริการที่จ่ายตามรายการ บริการให้หน่วยบริการที่ให้บริการบันทึก หรือส่งข้อมูลตามชุดข้อมูลมาตรฐานตามที่สานักงานกาหนด ผ่านระบบ Krungthai Digital Health Platform (ผ่าน Hospital Portal ทาง Website KTB ้ หนา 50 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 63 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 มีนาคม 2566

https :// www . healthplatform . krungthai . com ) หรือผ่านระบบบันทึกข้อมูลและประมวลผลข้อมูล การบริการทางการแพทย์ ( e - Claim ) หรือเชื่อมต่อข้อมูลจากระบบข้อมูลของหน่วยบริการกับสำนักงาน หรือผ่านระบบโปรแกรมอื่นตามที่สำนักงานกำหนด 11.2 กรณีบริการเภสัชกรรมด้านเภสัชกรรมปฐมภูมิ ให้หน่วยบริการที่ให้บริการ บันทึกหรือส่งข้อมูลตามชุดข้อมูลมาตรฐาน ผ่านระบบโปรแกรม A - MED Care หรือเชื่อมต่อข้อมูล จากระบบข้อมูลของหน่วยบริการกับสำนักงาน หรือผ่านระบบโปรแกรมอื่นตามที่สำนักงานกำหนด 11.3 กรณีบริการด้านยาและเวชภัณฑ์สำหรับการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการร่วมกับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม ให้หน่วยบริการบันทึกข้อมูล ในโปรแกรมระบบข้อมูลการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ ( E - Prescription ) หรือเชื่อมต่อข้อมูลจากระบบข้อมูล ของหน่วยบริกำรกับสำนักงาน หรือผ่านระบบโปรแกรมอื่นตามที่สำนักงานกำหนด หมวด 3 เงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 12 ในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ให้หน่วยบริการจัดให้มีการพิสูจน์ตัวตนของผู้รับบริการเพื่อยืนยันการใช้สิทธิในการเข้ารับบริการ ตามแนวทางที่สำนักงานกำหนด ข้อ 13 สานักงานจะดาเนินการประมวลผลและแจ้งรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยบริการ ตามรอบที่กำหนด โดยรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายจะต้องแสดงสถา นะข้อมูล ดังนี้ 13.1 ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลตามเงื่อนไขที่กาหนด (ข้อมูล Y ) สานักงาน จะนาเข้าสู่กระบวนการตรวจสอบก่อนการจ่ายค่าใช้จ่าย 13.2 ข้อมูลที่ประมวลผลไม่ผ่านตามเงื่อนไขที่กำหนด: ข้อมูลปฏิเสธการจ่าย (ข้อมูล N ) หน่วยบริการสามารถขอทบทวนเพื่อขอรับค่าใช้จ่ายตามที่สำนักงานกำหนด ข้อ 14 สานักงานมีกระบวนการตรวจสอบก่อนการจ่ายค่าใช้จ่าย ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล ตามเงื่อนไขที่กำหนด (ข้อมูล Y ) ทุกรายการด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ และระบบการกาหนดเงื่อนไข ข้อมูลที่ต้องสงสัยว่าผิดปกติ โดยรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายต้องแสดงสถานะข้อมูล และดาเนินการ ดังนี้ 14.1 ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ จะนำไปประมวลผลจ่ายค่าใช้จ่ายบริการสาธารณสุข 14.2 ข้อมูลที่ไม่ผ่านการตรวจสอบด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ หรือระบบการกาหนด เงื่อนไขข้อมูลที่ต้องสงสัยว่าผิดปกติ ข้อมูลรายการนั้นจะถูกชะลอการจ่ายค่าใช้จ่าย เพื่อให้มีการตรวจสอบ เอกสารหลักฐานการให้บริการจากหน่วยบริการอีกครั้ง หรือสอบถามผู้รับบริการทางโทรศัพท์เพิ่มเติม รายละเอียดตามเอกสารหมายเลข 5 แนบท้ายประกาศ นี้ 14.3 สานักงานกำหนดเกณฑ์ในการตรวจสอบตามเอกสารหมายเลข 5 แนบท้าย ประกาศนี้ โดยสำนักงานจะรายงานผลการตรวจสอบเอกสารหลักฐานและดาเนินการ ดังนี้ ้ หนา 51 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 63 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 มีนาคม 2566

14.3.1 ข้อมูลที่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบหลักฐานการให้บริการ จะนาไป ประมวลผลจ่ายค่าใช้จ่าย 14.3.2 ข้อมูลที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบหลักฐานการให้บริการ เนื่องจาก ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่าย หรือให้บริการไม่ครบตามที่หลักเกณฑ์กาหนด สานักงาน จะแจ้งผลการตรวจสอบหลักฐานการให้บริการให้หน่วยบริการทราบ โดยหน่วยบริการสามารถขอให้ สานักงานทบทวนผลการตรวจ สอบภายในระยะเวลา 10 วัน นับแต่วันที่หน่วยบริการได้รับรายงาน แจ้งผลการตรวจสอบหลักฐานการให้บริการ ทั้งนี้ สานักงานจะพิจารณาขยายระยะเวลาได้ตามเหตุผล และความจำเป็นเมื่อหน่วยบริการร้องขอ 14.3.3 ในกรณีที่ข้อมูลไม่ผ่านการตรวจสอบเนื่องจากไม่พบหลักฐาน การให้บริ การ และหน่วยบริการไม่ขอให้สำนักงานทบทวนผลการตรวจสอบดังกล่าว หรือเมื่อสำนักงาน พิจารณาข้อเสนอขอทบทวนแล้วยังตรวจสอบไม่พบหลักฐานการให้บริการ หรือให้บริการไม่ครบตามที่ หลักเกณฑ์กำหนด สำนักงานจะแจ้งให้หน่วยบริการรับทราบ และพิจารณาจ่ายค่าใช้จ่ายตามข้อเท็จจริง ของบริการที่เกิดขึ้น ข้อ 15 หากพบความผิดปกติอื่นใดของข้อมูลการเบิกจ่ายของหน่วยบริการนั้น ๆ สานักงาน จะดาเนินการตรวจสอบหลักฐานการให้บริการหลังการจ่ายค่าใช้จ่าย ข้อ 16 สานักงานจะพิจารณาปฏิเสธการจ่ายค่าใช้จ่ายการให้บริกำรสาธารณสุข ในกรณี อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 16.1 การให้บริการไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ตามหมวด 1 16.2 ตรวจสอบไม่พบการยืนยันตัวตนของผู้ป่วยเพื่อยืนยันการใช้สิทธิในการเข้ารับ บริการตามแนวทางที่สำนักงานกำหนด 16.3 กรณีที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการให้บริการแล้วพบว่าไม่ผ่านเกณฑ์ การตรวจสอบหลักฐานการให้บริการตามเอกสารหมายเลข 5 แนบท้ายประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 256 6 จเด็จ ธรรมธัชอารี เลขาธิการสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ้ หนา 52 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 63 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 มีนาคม 2566

เอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่า ใช้จ่ายเพื่อ บริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสำหรับ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม พ.ศ. 256 6 ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2566 คุณสมบัติของหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม ดังนี้ 1 . หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม ที่มีสิทธิรับค่า บริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคสาหรับบริการที่จ่ายตามรายการบริการ ต้องเป็นร้านขายยาแผนปัจจุบัน (ขย. 1 ) และ ผ่าน การรับรองจาก สภาเภสัชกรรม 2 . หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรมที่มีสิทธิรับค่าบริการ ทาง เภสัชกรรม ด้านเภสัชกรรมปฐมภูมิ ต้องเป็นร้านขายยาแผนปัจจุบัน (ขย. 1 ) และ 2.1 ผ่านการรับรองร้านยาคุณภาพจากสภาเภสัชกรรม หรือ 2.2 อยู่ ใน กระบวนการสมัครเข้าร่วมเพื่อขอรับรองร้านยาคุณภาพจากสภาเภสัชกรรม และ จะต้อง ได้รับการรับรองร้านยาคุณภาพภายใน วันที่ 30 กันยายน 2566 3 . หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรมที่มีสิทธิ รับ ค่าบริการด้านยาและเวชภัณฑ์สาหรับ การจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการร่วมกับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรมต้องเป็น ร้านขายยาแผนปัจจุบัน (ขย. 1 ) ทั้งนี้ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม ที่ ่ เข้าร่วมให้บริการต่อเนื่อง ต้องได้รับ การต่ออายุ ใบอนุญาตร้านขายยาแผนปัจจุบัน (ข.ย. 1) หาก ไม่ไ ด้รับการต่ออายุ จะถือว่าไม่ มีคุณสมบัติ เป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม

เอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่า ใช้จ่ายเพื่อ บริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสำหรับ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม พ.ศ. 256 6 ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2566 กลุ่มโรคหรือกลุ่มอาการสำหรับการให้บริการเภสัชกรรมด้านเภสัชกรรมปฐมภูมิ ลำดับ อาการนา ชื่ออาการ/โรค ICD10 MEDICATION 1 HEADACHE 1 . MIGRAINE G43 Paracetamol 325 mg 2 . MIGRAIN WITHOUT AURA G430 Paracetamol 500 mg 3 . MIGRAIN WITH AURA G431 Paracetamol 240 - 250 mg / 5 ml 4 . OTHER HEADACHE SYNDROMES G44 Ergotamine + Caffeine 1 mg + 100 mg 5 . TENSION - TYPE HEADACHE G442 Tramodol 50 mg 6 . CLUSTER HEADACHE SYNDROME G44O Ibuprofen 200 mg Ibuprofen 400 mg Ibuprofen 100 mg / 5 ml . suspension Diclofenac sodium 25 mg Diclofenac sodium 50 mg Mefenamic acid 250 mg Mefenamic acid 500 mg Naproxen 250 mg Naproxen sodium 275 mg Amitriptylline 10 mg Amitriptylline 25 mg Propanolol 10 mg Propanolol 40 mg Omeprazole 20 mg * Ranitidine 150 mg *

  • 2 - ลำดับ อาการนา ชื่ออาการ/โรค ICD10 MEDICATION 2 Dizziness 7 . DIZZINESS AND GIDDINESS R42 Betahistine mesylate 6 mg Betahistine mesylate 12 mg Dimenhydrinate 50 mg Cinnarizine 25 mg Flunarizine 5 mg 3 PAIN IN JOINT 8 . PRIMARY GENERALIZED ( OSTEO ) ARTHROSIS M150 Paracetamol 325 mg 4 MUSCLE PAIN 9 . PAIN IN JOINT M255 Paracetamol 500 mg 10 . LOW BACK PAIN M545 Paracetamol 240 - 250 mg / 5 ml 11 . MUSCLE STRAIN M626 Diclofenac sodium 25 mg 12 . MYALGIA M791 Diclofenac sodium 50 mg Ibuprofen 200 mg Ibuprofen 400 mg Ibuprofen 100 mg / 5 ml . suspension Mefenamic acid 250 mg Mefenamic acid 500 mg Naproxen 250 mg Naproxen sodium 275 mg Paracetamol + Orphenadrine Tramadol 50 mg Diclofenac gel Piroxicam gel Methyl salicylate Capsaicin 5 FEVER 13 . ACUTE NASOPHARYNGITIS [ COMMON COLD ] J00 Paracetamol 325 mg 6 COUGH 14 . ACUTE SINUSITIS J01 Paracetamol 500 mg

  • 3 - ลำดับ อาการนา ชื่ออาการ/โรค ICD10 MEDICATION 7 SORE THROAT 15 . ACUTE PHARYNGITIS J02 Paracetamol 120 mg / 5 ml 16 . ACUTE TONSILLITIS J03 Paracetamol 240 mg / 5 ml 17 . ACUTE BRONCHITIS J20 Brompheniramine 4 mg + Phenylephrine 10 mg 18 . ALLERGIC RHINITIS, UNSPECIFIED J304 Brompheniramine 2 mg / 5 ml .+ Phenylephrine 5 mg / 5 ml syrup 19 . ACUTE UPPER RESPIRATORY INFECTION, UNSPECIFIED J069 Chlorpheniramine 4 mg 20 . FEVER, UNSPECIFIED R509 Chlorpheniramine 4 mg + Phenylephrine 10 mg Chlorpheniramine 2 mg / 5 ml syrup Chlorpheniramine 2 mg / 5 ml + Phenylephrine 5 mg / 5 ml syrup Cetirizine 10 mg Loratadine 10 mg Cetirizine 5 mg / 5 ml syrup Loratadine 5 mg / 5 ml . Ambroxol 30 mg Bromhexine 8 mg Bromhexine 4 mg / 5 ml . Carbocysteine 250 mg Carbocysteine 100 mg / 5 ml . Procaterol 0 . 25 mcg N - Acetylcysteine 100 mg N - Acetylcysteine 200 mg Glyceryl guiacolate 100 mg / 5 ml . Terbutaline + glycerylguaicolate ORS

  • 4 - ลำดับ อาการนา ชื่ออาการ/โรค ICD10 MEDICATION Normal saline irrigation 500 ml with syring and Nasal plug Montelukast 5 mg Montelukast 10 mg Amoxicillin 250 mg Amoxicillin 500 mg Amoxicillin 125 mg / 5 ml . Amoxicillin 250 mg / 5 ml . Roxithromycin 150 mg Ibuprofen 200 mg Ibuprofen 400 mg Ibuprofen 100 mg / 5 ml . suspension Dextromethophan 15 mg Clindamycin 150 mg Clindamycin 300 mg ยาอมมะแว้ง ฟ้าทะลายโจร 8 STOMACHACHE 21 . GASTRO - OESOPHAGEAL REFLUX DISEASE K21 Omeprazole 20 mg 22 . PEPTIC ULCER, SITE UNSPECIFIED K27 Ranitidine 150 mg 23 . DYSPEPSIA K30 Famotidine 20 mg 24 . OTHER DISEASE OF STOMACH AND DUODENEM K31 Simethicone 40 mg Simethicone 80 mg Domeridone 10 mg Gastro - Bismol 524 mg Antacid tablet Antacid suspension

  • 5 - ลำดับ อาการนา ชื่ออาการ/โรค ICD10 MEDICATION Na alginate / NaHCO 3 / CaCO 3 suspension ซอง Hyoscine - N - butylbromide 10 mg Enzyme tablet 9 DIARRHEA 25 . BACTERIAL FOOD - BORNE INTOXICATION, UNSPECIFIED A059 ORS 26 . VIRAL INTESTINAL INFECTION, UNSPECIFIED A084 Domeridone 10 mg 27 . DIARRHOEA AND GASTROENTERITIS OF PRESUMED INFECTION ORIGIN A09 Paracetamol 325 mg Paracetamol 500 mg Ciprofloxacin 500 mg Norfloxacin 400 mg Ofloxacin 200 mg Doxycycline 100 mg Metronidazole 400 mg Hyoscine - N - butylbromide 10 mg Activated Charcoal 250 mg Dioctahedral smectite 3 g Probiotic ราคาต่อซอง Loperamide HCL 2 mg 10 CONSTIPATION 28 . CONSTIPATION K590 Lactulose 29 . HAEMORRHOID, UNSPECIFIED K649 Milk of magnesia suspension Bisacodyl tablet Sennoside tablet Glycerine suppository

  • 6 - ลำดับ อาการนา ชื่ออาการ/โรค ICD10 MEDICATION Bisacodyl suppository Ispaghula husk powder Methylcellulose powder Sodium chloride enema Protosedyl suppository Protosedyl cream เพชรสังฆาต 11 DYSURIA 30 . ACUTE CYSTITIS N300 Trimethoprim / sulphamethoxazole 160 / 180 mg Ciprofloxacin 500 mg Norfloxacin 400 mg Ofloxacin 200 mg Amoxicillin 500 mg - clavulanic acid Hyoscine - N - butylbromide 10 mg Flavoxate HCl 10 mg Doxycycline 100 mg Azithromycin 500 mg 12 VAGINAL DISCHARGE 31 . CANDIDIASIS OF VULVA AND VAGINA B373 Metronidazole 400 mg 32 . ACUTE VAGINITIS N760 Tinidazole 500 mg ราคาต่อแผง 4 เม็ด 33 . VAGINITIS, VULVITIS AND VULVOVAGINITIS IN INFECTIOUS AND PARASITIC DISEASE N771 Clindamycin 300 mg Amoxicillin 500 mg + clavulanic acid Topical clindamycin cream 2 % Fluconazole 150 mg ราคาต่อเม็ด Clotrimazole 100 mg vaginal tablet ราคาต่อกล่อง

  • 7 - ลำดับ อาการนา ชื่ออาการ/โรค ICD10 MEDICATION Clotrimazole 500 mg vaginal tablet ราคาต่อกล่อง Nystatin 100,000 U Clotrimazole 1 % cream Miconazole 2 % cream 13 SKIN RASH / LESION 34 . HERPESVIRAL ( HERPES SIMPLEX ) INFECTIONS B00 Desoximetasone 0 . 25 % cream 35 . DERMATOPHYTOSIS B35 hydrocortisone 1 - 2 % cream 36 . PITYRIASIS VESICOLOR B360 prednisolone 0 . 5 % cream 37 . ATOPIC DERMATITIS L20 triamcinolone acetonide 0 . 02 % cream 38 . SEBORRHOEIC DERMATITIS L21 triamcinolone acetonide 0 . 1 % cream 39 . ALLERGIC CONTACT DERMATITIS L23 prednicarbate 0 . 1 % cream 40 . IRRITANT CONTACT DERMATITIS L24 betamethasone dipropionate 0 . 05 % cream 41 . PSORIASIS L40 Chlorpheniramine maleate 2 mg 42 . PITYRIASIS ROSEA L42 Chlorpheniramine maleate 2 mg / 5 ml 43 . URTICARIA L50 Cetirizine 10 mg 44 . RASH AND OTHER NONSPECIFIC SKIN ERUPTION R21 Loratadine 10 mg Cetirizine 5 mg / 5 ml syrup Loratadine 5 mg / 5 ml . hydroxyzine 10 mg hydroxyzine 25 mg hydroxyzine 5 mg / 5 ml . syrup cotrimazole cream ketoconazole cream

  • 8 - ลำดับ อาการนา ชื่ออาการ/โรค ICD10 MEDICATION selenium sulfide shampoo Ketoconazole shampoo Fluconazole 150 mg Fusidic acid cream 10 % urea cream 5 % Acyclovir cream Acyclovir 200 mg Acyclovir 400mg ราคาต่อแผง Triamcinolone lotion 0 . 1 % 30 ml . 1 4 WOUND 45 . OPEN WOUND OF UNSPECIFIED BODY REGION T141 Betadine 46 . BURN OF FIRST DEGREE, BODY REGION UNSPECIFIED T301 Alcohol 70 % 47 . OTHER AND UNSPECIFIED SUPERFICIAL INJURIES OF THROAT S101 Fusidic acid cream Mupirocin cream Normal saline irrigation Silver sulfadiazine cream Triamcinolone oral paste 5 gm Gauze cotton 1 5 EYE DISORDER 48 . HORDEOLUM AND CHALAZION H00 Antazoline eyedrop 48 . INFLAMMATION OF EYELID H01 Polymyxin eyedrop 50 . CONJUNCTIVITIS H10 Tetacycline eye ointment Chloramphenicol eyeointment Dicloxacilline 250 mg

  • 9 - ลำดับ อาการนา ชื่ออาการ/โรค ICD10 MEDICATION Dicloxacilline 500 mg Tear eye drop Prednisolone eye drop Dexamethasone eye drop Eye wash 1 6 EAR DISORDER 51 . OTITIS EXTERNA H60 Chloramphenicol ear drop 52 . OTITIS MEDIA, UNSPECIFIED H669 Amoxicillin 250 mg 53 . TINITUS H931 Amoxicillin 500 mg Amoxicillin 125 mg / 5 ml . Amoxicillin 250 mg / 5 ml . Roxithromycin 150 mg Ibuprofen 200 mg Ibuprofen 400 mg Ibuprofen 100 mg / 5 ml . suspension Docusate sodium ear drop Betahistine mesylate 6 mg Betahistine mesylate 12 mg ที่มา: หนังสือสภาเภสัชกรรมเรื่อง แจ้งความพร้อมการกาหนดมาตรฐานร้านยาและแนวทางการ ให้บริการของร้านยาในทุกบริการที่เป็นส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพภาครัฐ ที่ สภ 01/11/555 ลงวันที่ 21 กันยายน 2565

เอกสารหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่า ใช้จ่ายเพื่อ บริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสำหรับ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม พ.ศ. 256 6 ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2566 รูปแบบการจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ สาหรับการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ ร่วมกับ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม รูปแบบ การจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ สาหรับการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการร่วมกับ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม แบ่งเป็น 3 รูปแบบ ดังนี้ รูปแบบที่ 1 หน่วยบริการจัดยารายบุคคลส่งให้ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม รูปแบบที่ 2 หน่วยบริการจัดสารองยาไว้ที่ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม รูปแบบที่ 3 หน่ วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม ดำเนินการจัดหายาเอง การดำเนินงาน รูปแบบที่ 1 รูปแบบที่ 2 รูปแบบที่ 3 1 . การคัดเลือก และจัดซื้อ จัดหายาสำหรับให้บริการแก่ ผู้ป่วย หน่วยบริการ เป็น ผู้ ดำเนินการ หน่วยบริการ เป็น ผู้ดำเนินการ - การคัดเลือกกลุ่มยาและ รายการยาเป็นข้อตกลง ร่วมกันของเครือข่าย - การจัดหายาเป็น ความรับผิดชอบ - ของ หน่วยบริการ ที่รับการส่งต่อเฉพาะ ด้านเภสัชกรรม 2 . การสำรองยาสำหรับผู้ป่วย ( Sub stock ) หน่วยบริการ เป็น ผู้ดำเนินการ เป็นยาของหน่วย บริการ/ หน่วยบริการ ที่รับการส่งต่อเฉพาะ ด้านเภสัชกรรม เป็น ผู้ดูแลยานั้น หน่วยบริการที่รับการส่ง ต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม เป็นผู้ดำเนินการ 3 . การจัดเตรียมยาให้แก่ผู้ป่วย รายบุคคล หน่วยบริการ เป็น ผู้ดำเนินการ หน่วยบริการที่รับการ ส่งต่อเฉพาะด้านเภสัช กรรม เป็นผู้ดำเนินการ หน่วยบริการที่รับการส่ง ต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม เป็นผู้ดำเนินการ 4 . การจ่ายยาให้แก่ผู้ป่วย หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม เป็นผู้ดำเนินการ

เอกสารหมายเลข 4 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่า ใช้จ่ายเพื่อ บริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสำหรับ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม พ.ศ. 256 6 ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2566 อัตราการจ่ายชดเชยค่าบริการด้านยาและเวชภัณฑ์สาหรับการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการร่วมกับ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม จ่ายในอัตรา ดังนี้ รูปแบบ อัตราค่าบริการ สำหรับหน่วย บริการที่สั่งจ่ายยา อัตราค่าบริการ สำหรับ หน่วยบริการที่รับการ ส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม อัตราค่ายาและ เวชภัณฑ์ที่จ่ายชดเชย ให้กับ หน่วยบริการ ที่รับการส่งต่อเฉพาะ ด้านเภสัชกรรม รูปแบบที่ 1 หน่วยบริการจัดยำ รายบุคคลส่งให้ หน่วย บริการที่รับการส่งต่อ เฉพาะด้านเภสัชกรรม 49 บาทต่อใบสั่งยา ผู้ป่วยนอก 70 บาทต่อใบสั่งยา ผู้ป่วยนอก - รูปแบบที่ 2 หน่วยบริการ จัดสารองยาไว้ที่ หน่วย บริการที่รับการส่งต่อ เฉพาะด้านเภสัชกรรม 47 บาทต่อใบสั่งยา ผู้ป่วยนอก 80 บาทต่อใบสั่งยา ผู้ป่วยนอก - รูปแบบที่ 3 หน่วยบริการที่รับการ ส่งต่อเฉพาะด้านเภสัช กรรม ดำเนินการจัดหา ยาเอง 42 บาทต่อใบสั่งยา ผู้ป่วยนอก 90 บาทต่อใบสั่งยา ผู้ป่วยนอก ตาม ประกาศสำนักงาน หลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ ว่าด้วยการจ่าย ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการ สาธารณสุข กรณีบริการ สร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคสำหรับ บริการพื้นฐาน กรณีจ่าย ตามรายการบริการ

เอกสารหมายเลข 5 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่า ใช้จ่ายเพื่อ บริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสำหรับ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม พ.ศ. 256 6 ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2566 เอกสารหลักฐานเพื่อประกอบการตรวจสอบและเกณฑ์การตรวจสอบการจ่ายค่าบริการ สาธารณสุขเพิ่มเติมสำหรับ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม พ.ศ. 2566 1. เอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข หรือข้อมูลการให้บริการของ หน่วยบริการ และหน่วยบริกา รที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม โดยตรวจสอบหลักฐานการให้บริการ ดังนี้ 1. 1 กรณีบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสาหรับบริการที่จ่ายตามรายการบริการ ( Fee schedule ) การตรวจสอบเอกสารหลักฐานการให้บริการ เป็นไปตามเอกสารหมายเลข 2 แนบท้าย ประกาศสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วย การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการพื้นฐาน กรณีจ่ายตามรายการบริการ 1. 2 กรณี บริการเภสัชกรรมด้านเภสัชกรรมปฐมภูมิ 1 . 2 . 1 หลักฐานการให้บริการ คาปรึกษาด้านเภสัชกรรม และมี การบันทึก รหัสโรค ( ICD - 10 ) ตามกลุ่มโรค หรือกลุ่มอาการ ตามแนวทางและมาตรฐานการให้บริการเภสัชกรรมด้านเภสัชกรรม ปฐมภูมิ โดยสภาเภสัชกรรม ใน เอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศ นี้ 1 . 2 . 2 หลักฐานการสั่งจ่ายยา และเวชภัณฑ์ ตามที่ระบุรายกา ร ในแต่ละกลุ่มโรค หรือ กลุ่มอาการ ตามแนวทางและมาตรฐานการให้บริการเภสัชกรรมด้านเภสัชกรรมปฐมภูมิ โดยสภาเภสัชกรรม ใน เอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศ นี้ ทั้งนี้รายการของยาและเวชภัณฑ์ที่สั่งจ่ายเป็นไปตามดุลยพินิจ ของเภสัชกรผู้ให้บริการแต่ต้องมีความเหมาะสมตามมาตรฐานวิชาชีพ 1 . 2 . 3 หลักฐานกำร ติดตามอาการและผลการดูแล 1. 3 กรณีบริการด้านยาและเวชภัณฑ์สาหรับการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ ร่วมกับ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม 1 . 3 . 1 หลักฐานการให้บริการ ตามจานวนใบสั่งยาผู้ป่วยนอกที่หน่วยบริการเรียกเก็บ ค่าใช้จ่าย 1 . 3 . 2 หลักฐานการสั่งจ่ายยาของ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม ที่ระบุชนิดและจานวนยา ตามรายการที่เรียกเก็บค่าใช้จ่าย ในกรณีที่เป็นการจัดบริการ รูปแบบที่ 3 และ มีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายค่ายา และเวชภัณฑ์ จาก สปสช. 2. เกณฑ์…

  • 2 - 2. เกณฑ์ในการตรวจสอบเวชระเบียน หรือข้อมูลการให้บริการของหน่วยบริการ ดังนี้ 2.1 กรณีบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสาหรับบริการที่จ่ายตามรายการบริการ ( Fee schedule ) 2 . 1 . 1 ตรวจสอบพบเอกสารหลักฐานการให้บริการเป็นไปตามเอกสาร หมายเลข 2 ประกาศสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่ งชาติ ว่าด้วย การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการพื้นฐาน กรณีจ่ายตามรายการบริการ 2 . 1 . 2 ตรวจสอบพ บ การพิสูจน์ตัวตนของผู้รับบริการ 2.2 กรณี บริการเภสัชกรรมด้านเภสัชกรรมปฐมภูมิ 2 . 2 . 1 กลุ่มโรคที่ให้บริการ เป็น กลุ่มโรค หรือกลุ่มอาการ ตามแนวทางและมาตรฐาน การให้บริการเภสัชกรรมด้านเภสัชกรรมปฐมภูมิ โดยสภาเภสัชกรรม ตาม เอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศ นี้ 2 . 2 . 2 ตรวจสอบพ บ การพิสูจน์ตัวตนของผู้รับบริการ 2 . 2 . 3 พบ หลักฐานการให้บริการ คาปรึกษาด้านเภสัชกรรม และมีการบันทึกรหัสโรค ( ICD - 10 ) ตามกลุ่มโรค หรือกลุ่มอาการ ตามแนวทางและมาตรฐานการให้บริการเภสัชกรรมด้านเภสัชกรรม ปฐมภูมิ โดยสภาเภสัชกรรม ในเอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศ นี้ 2 . 2 . 4 พบ หลักฐานการสั่งจ่ายยาและเวชภัณฑ์ ตามที่ระบุรายการในแต่ละกลุ่มโรค หรือ กลุ่มอาการ ตามแนวทางและมาตรฐานการให้บริการเภสั ชกรรมด้านเภสัชกรรมปฐมภูมิ โดยสภาเภสัชกรรม ในเอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศ นี้ ทั้งนี้ รายการของยาและเวชภัณฑ์ที่สั่งจ่ายเป็นไปตามดุลยพินิจ ของเภสัชกรผู้ให้บริการแต่ต้องมีความเหมาะสมตามมาตรฐานวิชาชีพ 2 . 2 . 5 พบ หลักฐานการติดตามอาการและผลการดูแล 2 . 3 กรณีบริการด้านยาและเวชภัณฑ์สาหรับการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ ร่วมกับ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเภสัชกรรม 2 . 3 . 1 ตรวจสอบพ บ การพิสูจน์ตัวตนของผู้รับบริการ 2 . 3 . 2 พบ หลักฐานการให้บริการตามจานวนใบสั่งยาผู้ป่วยนอกที่หน่วยบริการเรียกเก็บ ค่าใช้จ่าย 2 . 3 . 3 พบ หลักฐานการสั่งจ่ายยา และเวชภัณฑ์ ของ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะ ด้านเภสัชกรรม ที่ระบุชนิดและจำนวนยา หรือเวชภัณฑ์ ตามรายการที่เรียกเก็บค่าใช้จ่าย ในกรณีที่เป็น การจัดบริการ รูปแบบที่ 3 และมีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายค่ายาและเวชภัณฑ์จาก สำนักงาน