ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับประเทศ พ.ศ. 2566
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับประเทศ พ.ศ. 2566
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับประเทศ พ.ศ. 2566 โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับประเทศ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อาศัยอำนาจตามความในข้อ 4 และข้อ 84 แห่งปร ะกาศคณะกรรมการหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การดาเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ของหน่วยบริการ พ.ศ. 2565 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่าย ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับประเทศ พ.ศ. 2566 ” ข้อ 2 ประกาศ นี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ข้อ 3 ในประกาศนี้ “ สานักงาน ” หมายความว่า สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ทั้งนี้ ไม่หมายความรวมถึง สำนักงานสาขา “ หน่วยบริการ ” หมายความว่า สถานบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ตามกฎหมายว่าด้วย หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ “ ผู้รับบริการ ” หมายความว่า ผู้มีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ “ ค่าใช้จ่าย ” หมายความว่า ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขที่หน่วยบริการมีสิทธิได้รับ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรณีค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับประเทศ ข้อ 4 ให้เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติรักษาการตามประกาศนี้ หมวด 1 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 5 ค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับประเทศ ประกอบด้วย 5.1 ค่าวัคซีนต่าง ๆ 5.2 ค่าสมุดบันทึกสุขภาพหรือคู่มือเฝ้าระวังประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ้ หนา 37 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 63 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 มีนาคม 2566
5.3 ค่ายาสำหรับบริการป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย 5.4 โครงการเพิ่มความสะดวกและการเ ข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยหน่วยบริการ 5.4.1 บริการสายด่วนสุขภาพจิต 5.4.1 บริการสายด่วนเลิกบุหรี่ ข้อ 6 การจ่ายค่าวัคซีนต่าง ๆ ได้แก่ ค่าวัคซีนป้องกันโรคพื้นฐานตามแผนการให้วัคซีน ของประเทศ ค่าวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ค่าวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก ค่าวัคซีน ป้องกันโรคท้องร่วง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ 6.1 เป็นการให้บริการแก่ผู้รับบริการ โดยกลุ่มเป้าหมายของวัคซีนแต่ละรายการ ให้เป็นไปตามเอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศนี้ 6.2 หน่วยบริการที่มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเป็นเครือข่ายหน่วยบริการด้านยาและ เวชภัณฑ์ตามแผนและวงเงินการจัดหายา วัคซีน เวชภัณฑ์ อวัยวะเทียม และอุปกรณ์ทางการแพทย์ และชุดตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จำเป็นตามโครงการพิเศษ 6.3 สำนักงานจะจ่ายค่าใช้จ่ายเป็นค่าวัคซีนใ ห้แก่เครือข่ายหน่วยบริการด้านยาและ เวชภัณฑ์ตามแผนและวงเงินการจัดหายา วัคซีน เวชภัณฑ์ อวัยวะเทียม และอุปกรณ์ทางการแพทย์ และชุดตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จำเป็นตามโครงการพิเศษที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เห็นชอบ โดยหน่วยบริการทาหน้าที่เป็นหน่วยคลังวัคซีน และเบิกวัคซีนผ่านระบบ VMI ขององค์การ เภสัชกรรม เพื่อกระจายวัคซีนให้กับหน่วยบริการในเครือข่าย ทั้งนี้ ค่าบริการฉีดวัคซีนอยู่ในงบบริการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการพื้นฐานสำหรับผู้รับบริการ ข้อ 7 การจ่ายค่าสมุดบันทึกสุขภาพหรือคู่มือเฝ้าระวังประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก สานักงานจะจ่ายให้หน่วยบริการที่กรมอนามัยหรือกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข มอบหมายให้ ดาเนินการจัดพิมพ์หรือจัดหา หรืออาจทำในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อกระจายสมุดบันทึกสุขภาพหรือ คู่ มือเฝ้าระวังประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้กับหน่วยบริการ ตามจำนวนที่มีการให้บริการ ข้อ 8 การจ่ายค่ายาสาหรับบริการป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ ดังนี้ 8.1 เป็นการให้บริการแก่ผู้รับบริการ ที่จาเป็นต้องยุติการตั้งคร รภ์ตามเงื่อนไข แห่งประมวลกฎหมายอาญาและข้อบังคับแพทยสภา 8.2 เป็นหน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนด้านการป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย ตามหลักเกณฑ์ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 8.3 สานักงานจะจ่ายค่ายาให้แก่เครือข่ายหน่วยบริการด้านยาและเวชภัณฑ์ตามแผน และวงเงินการจัดหายา วัคซีน เวชภัณฑ์ อวัยวะเทียม และอุปกรณ์ทางการแพทย์ และชุดตรวจ ทางห้องปฏิบัติการที่จำเป็นตามโครงการพิเศษ ้ หนา 38 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 63 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 มีนาคม 2566
ข้อ 9 การจ่ายค่าใช้จ่ายกรณีโครงการเพิ่มความสะดวกและการเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคเป็นการให้บริการแก่ผู้รับบริการ สำหรับบริการให้คาปรึกษาทางโทรศัพท์ ได้แก่ บริการ สายด่วนสุขภาพจิต บริการสายด่วนเลิกบุหรี่ ตามเอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศนี้ หมวด 2 วิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 10 หน่วยบริการที่ให้บริการยายุติการตั้งครรภ์ เบิกยาผ่านโปรแกรมระบบบัญชียา ( http :// drug . nhso . go . th / drugserver ) ของสำนักงาน ข้อ 11 ให้หน่วยบริการที่ให้บริการสายด่วนสุขภาพจิต บริการสายด่วนเลิกบุหรี่ ใช้การยืนยันตัวตน และบันทึกและส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช้จ่าย หรือส่งข้อมูลตามชุดข้อมูลมาตรฐาน ผ่านระบบบันทึกข้อมูล และประมวลผลข้อมูลการบริการทางการแพทย์ ( e - Claim ) มายังสานักงาน หรือเชื่อมต่อข้อมูล จากระบบข้อมูลของหน่วยบริการกับสำนักงาน หรือผ่านระบบโปรแกรมอื่นตามที่สำนักงานกำหนด หมวด 3 เงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 12 ในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ให้หน่วยบริการจัดให้มีการพิสูจน์ตัวตนของผู้รับบริการเพื่อยืนยันการใช้สิทธิในการเข้ารับบริการ ตามแนวทางที่สำนักงานกำหนด ยกเว้นบริการป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย ข้อ 13 สานักงา นจะดาเนินการประมวลผลและแจ้งรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยบริการ ตามรอบที่กำหนด โดยรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายจะต้องแสดงสถานะข้อมูล ดังนี้ 13.1 ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลตามเงื่อนไขที่กาหนด (ข้อมูล Y ) สานักงาน จะจ่ายค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการตามที่ประมวลผลได้ หรือนาเข้าสู่กระบวนการตรวจสอบก่อนการจ่าย ค่าใช้จ่าย 13.2 ข้อมูลที่ประมวลผลไม่ผ่านตามเงื่อนไขที่กาหนด: ข้อมูลปฏิเสธการจ่าย (ข้อมูล N ) หน่วยบริการสามารถขอทบทวนเพื่อขอรับค่าใช้จ่ายตามที่สำนักงานกำหนด ข้อ 14 หากพบความผิดปกติอื่นใดของข้อมูลผลงานหรือการเบิกจ่ายของหน่วยบริการนั้น ๆ สานักงานจะตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ของหน่วยบริการ โดยตรวจสอบหลักฐานการให้บริการ และกาหนดเกณฑ์ในการตรวจสอบ ตามเอกสารหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศ นี้ ้ หนา 39 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 63 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 มีนาคม 2566
ข้อ 15 สานักงานจะพิจารณาปฏิเสธการจ่ายค่าใช้จ่ายการให้บริการสาธารณสุข ในกรณี อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 15.1 การให้บริการไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายการให้บริการสาธารณสุข ตามหมวด 1 15.2 ตรวจสอบไม่พบการพิสูจน์ตัวตนของผู้ป่วยเพื่อยืนยันการใช้สิทธิในการเข้ารับบริการ ตามแนวทางที่สำนักงานกำหนด 15.3 กรณีที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการให้บริการแล้วพบว่าไม่ผ่านเกณฑ์ การตรวจสอบหลักฐานการให้บริการตามเอกสารหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 256 6 จเด็จ ธรรมธัชอารี เลขาธิการสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ้ หนา 40 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 63 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 มีนาคม 2566
เอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณี ค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับประเทศ พ.ศ. 256 6 ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 256 6 รายละเอียดการให้วัคซีน ต่างๆ และกลุ่มเป้าหมาย ที่ต้องได้รับ รายการวัคซีน กลุ่มเป้าหมาย ความถี่ หมายเหตุ 1 . กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ - บาดทะยัก ( dT ) หญิงตั้งครรภ์ 1 - 3 ครั้ง แล้วแต่ กรณี 1 . กรณีในรายที่ไม่เคยได้รับวัคซีนหรือไม่มีประวัติ การได้รับวัคซีนนี้มาก่อ น กาหนดให้ฉีดวัคซีน dT จานวน 3 ครั้ง โดยฉีดทันทีที่ฝากครรภ์ครั้งแรก โดยมีระยะห่าง 0 , 1 และ 6 เดือน ตามลาดับ 2 . กรณีที่มีประวัติการได้รับวัคซีนนี้มาแล้ว 2 ครั้ง กำหนดให้ฉีดวัคซีน dT 1 ครั้ง ห่างจากครั้งสุดท้าย ที่เคยได้รับ 6 เดือน 3 . กรณีที่มีประวัติการได้รับวัคซีนนี้มาแล้ว 1 ครั้ง กาหนดให้ฉีดวัคซีน dT 2 ครั้ง โดยครั้งที่ 2 ห่าง จากเข็มสุดท้าย 1 เดือน และครั้งที่ 3 ห่างจาก ครั้งที่ 2 ไม่น้อยกว่า 6 เดือน 4 . กรณีที่มีประวัติการได้รับวัคซีน dT ครบ 3 ครั้ง ในระยะเวลาไม่เกิน 10 ปี ไม่ต้องให้วัคซีน dT ใน ครรภ์นี้ 5 . กรณีที่มีประวัติกา รได้รับวัคซีน dT ครบ 3 ครั้ง ในระยะเวลาเกิน 10 ปี ให้วัคซีน dT 1 ครั้ง วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัด ใหญ่ ( Flu ) หญิงตั้งครรภ์ 1 ครั้ง - ช่วงอายุครรภ์ตั้งแต่ 14 สัปดาห์ขึ้นไป 2 . กลุ่มเด็กเล็กอายุ 0 - 5 ปี วัคซีนป้องกันวัณโรค ( BCG ) เด็กแรกเกิด 1 ครั้ง - ฉีดเมื่อแรกเกิด (ภายใน 7 วันหลังคลอดหรือ ก่อนออกโรงพยาบาล) วัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับ อักเสบบี ( HB ) เด็กแรกเกิด – 1 เดือน 1 - 2 ครั้ ง แล้วแต่กรณี - ฉีดเข็มที่ 1 เมื่อแรกเกิด ภายใน 24 ชั่ วโมง กรณี ที่แม่เป็นพาหะตับอักเสบบี ให้ฉีดภายใน 12 ชั่ วโมง - ฉีดเพิ่มอีก 1 ครั้งเมื่ออายุ 2 เดือน กรณีที่มารดา เป็นพาหะตับอักเสบบี วัคซีนป้องกันโรคคอตี บ บาดทะยั ก ไ อ ก ร น ตั บ อักเสบบีและเยื่อหุ้มสมอง อักเสบ ( DTwP - HB - Hib ) เด็กอายุ 2 เดือน - 6 เดือน 3 ครั้ง - ฉีดเข็มที่ 1 เมื่ออายุ 2 เดือน - ฉีดเข็มที่ 2 เมื่ออายุ 4 เดือน - ฉีดเข็มที่ 3 เมื่ออายุ 6 เดือน
-
2 - รายการวัคซีน กลุ่มเป้าหมาย ความถี่ หมายเหตุ วัคซีนป้องกันโรคอุจจาระ ร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า ( RV ) เด็กอายุ 2 เดือน - 6 เดือน 2 ครั้ง หรือ 3 ครั้ง (ตามวัคซีนที่จัดหำ ให้บริการ) กรณีวัคซีนชนิดกิน 2 ครั้ง - กินครั้งที่ 1 เมื่ออายุ 2 เดือน (ไม่ควรเกินอายุ 15 สัปดาห์ ) - กินครั้งที่ 2 เมื่ออายุ 4 เดือน (ไม่ควรเกินอายุ 32 สัปดาห์) กรณีวัคซีนชนิดกิน 3 ครั้ง - กินครั้งที่ 1 เมื่ออายุ 2 เดือน (ไม่ควรเกินอายุ 15 สัปดาห์) - กินครั้งที่ 2 เมื่ออายุ 4 เดือน - กินครั้งที่ 3 เมื่ออายุ 6 เดือน (ครั้งสุดท้ายไม่ควร เกินอายุ 32 สัปดาห์) วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ ( OPV ) เด็กอายุ 2 เดือน - 6 ปี 5 ครั้ง - กินครั้งที่ 1 เมื่ออายุ 2 เดือน - กินครั้งที่ 2 เมื่ออายุ 4 เดือน - กินครั้งที่ 3 เมื่อ อายุ 6 เดือน - กระตุ้นครั้งที่ 1 เมื่ออายุ 18 เดือน - กระตุ้นครั้งที่ 2 เมื่ออายุ 4 - 6 ปี วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ ชนิดฉีด ( IPV ) เด็กอายุ 4 เดือน 1 ครั้ง - ฉีดพร้อมกิน OPV ครั้งที่ 2 เมื่ออายุ 4 เดือน วัคซีนป้องกันโรคหัด หัด เ ย อ ร มั น แ ล ะ คำ ง ทู ม ( MMR ) เด็กอายุ 9 เดือน - 3 ปี 2 ครั้ง - ฉีดเข็มที่ 1 เมื่ออายุ 9 - 12 เดือน - ฉีดเข็มที่ 2 เมื่ออายุ 2 ปี 6 เดือน วัคซีนป้องกันโรคไข้สมอง อักเสบเจอี ( JE ) เด็กอายุ 12 เดือน - 3 ปี 2 - 3 ครั้งแล้วแต่ กรณี กรณีวัคซีน JE เชื้อเป็น - ฉีดเข็มที่ 1 เมื่ออายุ 12 เดือน - ฉีดเข็มที่ 2 เมื่ออายุ 2 ปี 6 เดือน กรณีวัคซีน JE เชื้อตาย - ฉีดเข็มที่ 1 เมื่ออายุ 12 เดือน - ฉีดเข็มที่ 2 ห่างจากเข็มแรก 4 สัปดาห์ - ฉีดเข็มที่ 3 เมื่ออายุ 2 ปี 6 เดือน วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก และไอกรน ( DTwP ) เด็กอายุ 18 เดือน - 6 ปี 2 ครั้ง - กระตุ้นครั้งที่ 1 เมื่ออายุ 18 เดือน - กระตุ้นครั้งที่ - เมื่ออายุ 4 - 6 ปี วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล ( Flu ) - เด็กอายุ 6 เดือน – 2 ปี ทุกคน - เด็กอายุ 3 - 5 ปี ที่มีโรค เรื้อรัง 7 กลุ่ม (ปอดอุดกั้น เรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอด เลือดสมอง ไตวาย ผู้ป่วย มะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด และเบาหวาน) ผู้พิการทาง 1 - 2 ครั้งต่อปี แล้วแต่กรณี - ฉีด 2 ครั้งห่างกันอย่างน้อย 1 เดือนในกรณีที่ไม่ เคยฉีดมาก่อน หรือฉีด 1 ครั้งกรณีเคยฉีดในปีที่ ผ่านมา
-
3 - รายการวัคซีน กลุ่มเป้าหมาย ความถี่ หมายเหตุ สมองช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ โรคธาลัสซีเมีย ภูมิคุ้มกัน บกพร่อง (รวมถึงผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่มี อาการ) 3 . กลุ่มเด็กโตและวัยรุ่นอายุ 6 - 24 ปี วัคซีนป้องกันวัณโรค ( BCG ) เด็ก ป. 1 หรืออายุต่ากว่า 7 ปี ที่ไม่เคยฉีดวัคซีนนี้ 1 ครั้ง - ฉีดในกรณีที่ไม่มีหลักฐานว่าเคยได้รับเมื่อแรก เกิด และไม่มีแผลเป็น - หากไม่ได้ฉีดที่โรงเรียน สามารถไปรับบริการที่ หน่วยบริการได้ วัคซี นป้ องกันโรคคอตี บ บาดทะยัก ( dT ) เด็ก ป. 1 (อายุ 6 – 7 ปี) ที่ ไม่เคยฉีดหรือฉีดวัคซีนนี้ไม่ ครบ 1 ครั้ง - หากไม่ได้ฉีดที่โรงเรียน สามารถไปรับบริการที่ หน่วยบริการได้ วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ ( OPV ) เด็ก ป. 1 (อายุ 6 – 7 ปี) ที่ ไม่เคยได้รับหรือได้รับวัคซีน นี้ไม่ครบ 1 ครั้ง - หากไม่ได้รับวัคซีนที่โรงเรียน สามารถไปรับ บริการที่หน่วยบริการได้ วัคซีนป้องกันโรคหัด หัด เยอรมันและคางทูม ( MMR ) เด็ก ป. 1 (อายุ 6 – 7 ปี) ที่ ไม่เคยฉีดหรือฉีดวัคซีนนี้ไม่ ครบ 1 ครั้ง - หากไม่ได้ฉีดที่โรงเรียน สามารถไปรับบริการที่ หน่วยบริการได้ วัคซีนป้องกั นโรคไวรัสตับ อักเสบบี ( HB ) เด็ก ป. 1 (อายุ 6 – 7 ปี) ที่ ไม่เคยฉีดหรือฉีดวัคซีนนี้ไม่ ครบ 1 ครั้ง - หากไม่ได้ฉีดที่โรงเรียน สามารถไปรับบริการที่ หน่วยบริการได้ วัคซีนป้องกันโรคไข้สมอง อักเสบเจอี ( JE ) เด็ก ป. 1 (อายุ 6 – 7 ปี) ที่ ไม่เคยฉีดหรือฉีดวัคซีนนี้ไม่ ครบ 1 ครั้ง - หากไม่ได้ฉีดที่โรงเรียน สามารถไปรับบริการที่ หน่วยบริการได้ วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ ชนิดฉีด ( IPV ) เด็ก ป. 1 (อายุ 6 – 7 ปี) ที่ ได้รับวัคซีนโปลิโอไม่ครบ ตามเกณฑ์ 1 ครั้ง - หากไม่ได้ฉีดที่โรงเรียน สามารถไปรับบริการที่ หน่วยบริการได้ วัคซีนป้องกันมะเ ร็งปาก มดลูกจากเชื้อเอชพีวี ( HPV ) - เด็กหญิง ป. 5 - เด็กหญิง อายุ 11 - 12 ปี 1 ครั้ง - ฉีดครั้งที่ 1 ป. 5 เทอม 1 - หากไม่สามารถฉีดที่โรงเรียน สามารถไปรับ บริการที่หน่วยบริการได้ - หาก ป. 5 รายใดไม่ได้ฉีดด้วยเหตุจำเป็น สามารถ ฉีดได้เมื่ออยู่ ป. 6 เช่น เด็กหญิงไทยในสถานเลี้ยงเด็กกาพร้าที่ไม่ได้ เรียนหนังสือ หรือเด็กหญิงไทยที่มีความพิการทาง สมอง
-
4 - รายการวัคซีน กลุ่มเป้าหมาย ความถี่ หมายเหตุ วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ( dT ) เด็ก ป. 6 (อายุ 12 ปี) 1 ครั้ง - หากไม่ได้ฉีดที่โรงเรียน สามารถไปรับบริการที่ หน่วยบริการได้ วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ( dT ) ผู้ที่อายุ 20 - 24 ปีที่ไม่เคย ฉีดวัคซีนนี้ในรอบ 10 ปีที่ ผ่านมา 1 ครั้ง วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล ( Flu ) เด็กโตและเยาวชนที่มีโรค เรื้อรัง 7 กลุ่ม (ปอดอุดกั้น เรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอด เลือดสมอง ไตวาย ผู้ป่วย มะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด และเบาหวาน) ผู้พิการทาง สมองช่วย เหลือตัวเองไม่ได้ โรคธาลัสซีเมีย ภูมิคุ้มกัน บกพร่อง (รวมผู้ติดเชื้อเอช ไอวีที่มีอาการ) และผู้ที่มี น้ำหนักตั้งแต่ 100 กิโลกรัม หรือดั ชนีมวลกายตั้งแต่ 35 กิโลกรัมต่อตารางเมตร 1 - 2 ครั้งต่อปี แล้วแต่กรณี - กรณีอายุต่ำกว่า 9 ปีที่มีโรคเรื้อรัง ถ้าไม่เคยฉีด ฉีด 2 ครั้งห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน ถ้าเคยฉีดปีที่ ผ่านมา ให้ฉีด 1 ครั้ง - กรณีอายุ 9 ปีขึ้นไปที่มีโรคเรื้อรัง ฉีด 1 ครั้ง 4 . กลุ่มผู้ใหญ่อายุ 25 - 59 ปี วัคซีนป้องกันโรคคอตีบและ บาดทะยัก ( dT ) ผู้ที่อายุ 25 ปีขึ้นไปที่ไม่เคย ฉีดวัคซีนนี้ในรอบ 10 ปีที่ ผ่านมา 1 ครั้งทุก 10 ปี หรือ 1 ครั้ง เมื่อ อายุ 30 , 40 , 50 ปี วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล ( Flu ) ผู้ที่อายุ 25 - 59 ปีที่มีโรค เรื้อรัง 7 กลุ่ม (ปอดอุดกั้น เรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอด เลือดสมอง ไตวาย ผู้ป่วย มะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด และเบาหวาน) ผู้พิการทาง สมองช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ โรคธาลัสซีเมีย ภูมิคุ้มกัน บกพร่อง (รวมผู้ติดเชื้อเอช ไอวีที่มีอาการ) และผู้ที่มี น้ำหนักตั้งแต่ 100 กิโลกรัม หรือดัชนีมวลกายตั้งแต่ 35 กิโลกรัมต่อตารางเมตร 1 ครั้งต่อปี
-
5 - รายการวัคซีน กลุ่มเป้าหมาย ความถี่ หมายเหตุ 5 . กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป วัคซีนป้องกันโรคคอตีบและ บาดทะยัก ( dT ) - ผู้ที่อายุ 60 ปีขึ้นไปที่ไม่ เคยฉีดวัคซีนนี้ ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา 1 ครั้งทุก 10 ปี หรือ 1 ครั้ง เมื่อ อายุ 60 , 70 , 80 ปี วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล ( Flu ) - ผู้ที่อายุ 60 – 64 ปีที่มี โรคเรื้อรัง 7 กลุ่ม (ปอดอุด กั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมี บำบัด และเบาหวาน) ผู้ พิการทางสมองช่วยเหลือ ตัวเองไม่ได้ โรคธาลัสซีเมีย ภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมผู้ติด เชื้อเอชไอวีที่มีอาการ) และผู้ ที่ มี น้ำ ห นั ก ตั้ ง แ ต่ 1 0 0 กิโลกรัมหรือดัช นีมวลกาย ตั้งแต่ 35 กิโลกรัมต่อตาราง เมตร - ผู้มีอายุ 65 ปีขึ้นไป 1 ครั้งต่อปี
เอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณี ค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับประเทศ พ.ศ. 256 6 ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2566 แนวทาง เงื่อนไข และอัตราการให้บริการ สำหรับ โครงการเพิ่มความสะดวกและการเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยหน่วยบริการ รายการ กลุ่มเป้าหมาย หน่วยบริการ แนวทาง และอัตราการจ่าย 1 . บริการ สายด่วน สุขภาพจิต ผู้ รับบริการ หน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่มี ศักยภาพในการให้ บริ กำรให้ คาปรึ กษาด้าน สุ ขภาพจิ ต ทางโทรศั พท์ตามมาตรฐานที่กรมสุขภาพจิตกำหนด ได้แก่ สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ 1 . ขอบเขต การให้ บริการ และหลักเกณฑ์การจ่าย มีดังนี้ 1 . 1 ให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิตทางโทรศัพท์ แก่ผู้ที่มี ปัญหาด้านสุขภาพจิต ภาวะเครียด ภาวะซึมเศร้า หรือ เสี่ยงต่อการทำร้ายตัวเอง หรือผู้อื่น 1 . 2 ให้บริการตามมาตรฐานของกรมสุขภาพจิต ครอบคลุมการประเมินอาการ ความรุนแรง การให้ คำปรึกษา และ / หรือ ประสานส่งต่อ และ / หรือ ติดตามอาการหลังให้บริการ สาหรับกรณีที่มีความ เ สี่ยงจะทาร้ายตัวเอง 1 . 3 ให้บริการโดยนักจิตวิทยาให้คาปรึกษา หรือผู้ที่ได้ผ่าน การฝึกอบรมตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพตาม มาตรฐานการให้บริการของกรมสุขภาพจิต 2 . อัตราการจ่ายชดเชย ค่าบริการ ในอัตรา 50 บาท/ครั้ง โดย จ่ายเฉพาะรายที่มีการพิสูจน์ตัวตน
- 2 - รายการ กลุ่มเป้าหมาย หน่วยบริการ แนวทาง และอัตราการจ่าย 2. บริการ สายด่วนเลิกบุหรี่ ผู้ รับบริการ ที่ ติดบุหรี่ แ ล ะ ส มั ค ร ใ จ เ ข้ำ รั บ บริการ หน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่มี ศักยภาพในการให้บริการให้คาปรึกษาเลิกบุหรี่ทาง โทรศัพท์ตามมาตรฐานที่กรมควบคุมโรคกาหนด ได้แก่ ศูนย์บริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์แห่งชาติ 1 . ขอบเขตการใ ห้บริการและหลักเกณฑ์การจ่ายมีดังนี้ 1 . 1 ให้คำปรึกษา ติดตามผลและป้องกันการเสพซ้ำ ทาง โทรศัพท์ 1 . 2 ประสานส่งต่อผู้ที่มีปัญหาเข้ารับบริการในระบบ บริการ 1 . 3 รับส่งต่อจากหน่วยบริการเพื่อติดตามอาการผู้เสพติด ติดสารนิโคตินที่อยู่ระหว่างการเลิกบุหรี่ 2 . อัตราการจ่ายชดเชยในอัตรา 50 บาท/ครั้ง โดยจ่ายเฉพาะ รายที่มีการพิสูจน์ตัวตน
เอกสารหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับประเทศ พ.ศ. 256 6 ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2566 เกณฑ์ในการตรวจสอบการจ่ายค่าใช้จ่ายการให้บริการสาธารณสุข โครงการเพิ่มความสะดวกและการเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยหน่วยบริการ รายการบริการ การบันทึกข้อมูลขอรับค่าใช้จ่าย การกำหนดเกณฑ์ในการตรวจสอบและ ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการให้บริการ จากหน่วยบริการ 1. บริการสายด่วนสุขภาพจิต หน่วยบริการ บันทึกและส่งข้อมูลเรียกเก็บ ค่าใช้จ่าย หรือส่งข้อมูลตามชุดข้อมูลมาตรฐาน ผ่านระบบบันทึกข้อมูลและประมวลผลข้อมูล การบริการทางการแพทย์ ( e - Claim ) มายัง สำนักงาน หรือเชื่อมต่อข้อมูลจากระบบข้อมูล ของหน่วยบริการกับสำนักงาน หรือผ่านระบบ โปรแกรมอื่นตามที่สำนักงานกำหนด 1 . การให้บริการต้องเป็นไปตามแนวทางการจ่ายค่าใช้จ่าย ในเอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศ 2 . ตรวจสอบพบหลักฐานการพิสูจน์ตัวตน 3 . ตรวจสอบพบหลักฐานการให้บริการให้คาปรึกษาด้ำนสุขภาพจิตทางโทรศัพท์ ตามจานวนครั้งที่หน่วยบริการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย ทั้งนี้หลักฐานการให้บริการมี รายละเอียดการให้บริการตามมาตรฐานของกรมสุขภาพจิต 2 . บริการ สายด่วนเลิกบุหรี่ หน่วยบริการ บันทึกและส่งข้อมูลเรียกเก็บ ค่าใช้จ่าย หรือส่งข้อมูลตามชุดข้อมูลมาตรฐาน ผ่านระบบบันทึกข้อมูลและประมวลผลข้อมูล การบริการทางการแพทย์ ( e - Claim ) มายัง สำนักงาน หรือเชื่อมต่อข้อมูลจากระบบข้อมูล ของหน่วยบริการกับสำนักงาน หรือผ่านระบบ โปรแกรมอื่นตามที่สำนักงานกำหนด 1. การให้บริการต้องเป็นไปตามแนวทางการจ่า ยค่าใช้จ่าย ในเอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศ 2. ตรวจสอบพบหลักฐานการพิสูจน์ตัวตน 3 . ตรวจสอบพบหลักฐานการให้บริการให้คาปรึกษาเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์ ตาม จานวนครั้งที่หน่วยบริการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย ทั้งนี้หลักฐานการให้บริการ มีขอบเขต การให้บริการตามที่สำนักงานกำหนด