Thu Mar 16 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ และบริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี พ.ศ. 2566


ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ และบริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี พ.ศ. 2566

ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ และบริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี พ.ศ. 2566 โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ และบริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี เพื่อให้การจ่ายเงินกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อาศัยอำนาจตามความในข้อ 4 ข้อ 51.1 ข้อ 51.2 ข้อ 51.3 ข้อ 53.1 ข้อ 53.2 ข้อ 53.4 ข้อ 53.5 และข้อ 53.6 แห่งประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การดาเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ พ.ศ. 2565 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่าย ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ และบริการป้องกันการติดเชื้อ เอชไอวี พ.ศ. 2566 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ข้อ 3 ในประกาศนี้ “ สำนักงาน ” หมายความว่า สำ นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ทั้งนี้ ไม่หมายความรวมถึง สำนักงานสาขา “ สำนักงานเขต ” หมายความว่า สำนักงานสาขาของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ “ หน่วยบริการ ” หมายความว่า สถานบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ตามกฎหมายว่าด้วย หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ “ ผู้รับบริการ ” หมายความว่า ผู้มีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ “ ค่าใช้จ่าย ” หมายความว่า ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขที่หน่วยบริการมีสิทธิได้รับจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรณีบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่ว ยเอดส์ และบริการป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวี ข้อ 4 การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ และบริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ 4.1 กรณีให้บริการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสและบริการที่เ กี่ยวข้อง ให้เป็นไปตาม เอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศนี้ ้ หนา 35 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 63 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 มีนาคม 2566

4.2 กรณีให้บริการด้านการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ให้เป็นไปตามเอกสาร หมายเลข 2 แนบท้ายประกาศนี้ 4.3 กรณีการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี และบริการ ติดตามผู้ติดเชื้อเอชไอ วีผู้ป่วยเอดส์ ให้เป็นไปตามเอกสารหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศนี้ 4.4 กรณีการให้บริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีด้วยยาต้านไวรัส และบริการ ให้การปรึกษาและการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ ( Voluntary Counseling and Testing : VCT ) ให้เป็นไปตามเอกสารหมายเลข 4 แนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 5 ให้เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติรักษาการตามประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 256 6 จเด็จ ธรรมธัชอารี เลขาธิการสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ้ หนา 36 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 63 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 มีนาคม 2566

เอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ และบริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี พ.ศ. 256 6 ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2566 กรณีให้บริการด้านการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและบริการที่เกี่ยวข้อง หมวด 1 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 1 ให้การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณี ให้บริการด้านการรักษาด้วยยาต้านไวรัส และบริการที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย บริการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสและ ยารักษาภาวะไขมันในเลือดสูงจาก การรับประทานยาต้านไวรัส บริการ ตรวจ ชันสูตร ทางห้องปฏิบัติการ การตรวจคัดกรองและการตรวจยืนยัน ไวรัสตับอักเสบซี ในผู้ติดเชื้อ เอชไอ วีและผู้ป่วยเอดส์และกลุ่มเสี่ยงการติดเชื้อเอชไอวี ตาม แนวทางการ ตรวจ วินิจฉัยรักษา และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ประเทศไทย ปี 256 4 และ 256 5 เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดัง ต่อไป นี้ 1 . 1 เป็นการให้บริการแก่ ผู้รับบริการ 1 . 2 สาหรับยาต้านไวรัส และยารักษาภาวะไขมันในเลือดสูงจากการรับประทานยาต้าน ไวรัส หน่วยบริการที่มีสิทธิได้ รับค่าใช้จ่าย เป็น เครือข่ายหน่วยบริการด้านยาและเวชภัณฑ์ ที่ดำเนินการจัดหายา เวชภัณฑ์ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จาเป็นตามโครงการพิเศษ และสนับสนุนยาต้านไวรัสเอชไอวี และ ยารักษาภาวะไขมันในเลือดสูงจากการรับประทานยาต้านไวรัส ให้แก่หน่วยบริการ ข้อ 2 สำนักงาน จะ จ่า ยค่าใช้จ่าย ตามรายการและอัตรา ดังนี้ 2 . 1 ค่าบริการดูแลรักษาและให้คาปรึกษาจ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 20 บาทต่อครั้ง ไม่เกิน 12 ครั้ง ต่อ ปี 2 . 2 ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ สำหรับบริการดูแลรักษา ตามรายการและอัตราดังนี้ 2 . 2 . 1 การตรวจ เพื่อวินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวีใน ทารก จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 1 , 000 บาทต่อครั้ง ไม่เกิน 5 ครั้ง ต่อ ปี 2 . 2 . 2 การตรวจ ความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด ระดับน้ำตาลในเลือด การทำงานของไต ไขมันในเลือด ไตรกลีเซอไรด์ การทำงานของตับ จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 25 บาทต่อรายการต่อครั้ง ไม่เกิน 2 ครั้งต่อปี 2 . 2 . 3 การตรวจ หาจำนวนเม็ดเลือดขาว ชนิด CD4 จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 400 บาทต่อครั้ง ไม่เกิน 2 ครั้ง ต่อ ปี 2.2.4 การตรวจ…

  • 2 - 2 . 2 . 4 การตรวจหาปริมาณไวรัสในกระแสเลือด จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 1 , 350 บาทต่อครั้ง ไม่เกิน 2 ครั้ง ต่อ ปี และสามารถตรวจเพิ่มเติมได้ในกรณีดังต่อไปนี้ ( 1 ) ผู้ รับบริการ เปลี่ยนสูตรยาเนื่องจากผลข้างเคียงของยา ( 2 ) หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีสามารถตรวจประเมินความเสี่ยงต่อการติด เชื้อในทารกที่อายุครรภ์มากกว่า 32 สัปดาห์ ( 3 ) ตรวจ VL Base line ก่อนเริ่มยาด้วย Abacavir ( ABC ) + Lamivudine ( 3TC ) + Dolutegravir ( DTG ) 2 . 2 . 5 การตร วจการดื้อต่อยาต้านเอชไอวี จ่ายแบบเหมาจ่าย ไม่เกิน 1 ครั้ง ต่อ ปี โดยตรวจด้วยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ( 1 ) กรณีตรวจด้วยชุดตรวจสาเร็จรูป จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 6 , 000 บาท ต่อครั้ง ( 2 ) กรณีตรวจด้วยชุดตรวจที่ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้นมาใช้เอง จ่ายแบบ เหมาจ่ายในอัตรา 5 , 500 บาทต่อครั้ง 2 . 2 . 6 ค่าวัสดุอุปกรณ์เจาะ เก็บเลือด และค่าขนส่ง ( 1 ) กรณีการส่ง ตรวจหาจานวนเม็ดเลือดขาว และ การส่งตรวจหาปริมาณไวรัส ในกระแสเลือด จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 20 บาทต่อครั้ง ( 2 ) กรณีการส่งตรวจ การดื้อต่อยาต้านเอชไอวี จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 100 บาทต่อครั้ง 2 . 2 . 7 การตรวจ หาภูมิคุ้มกัน ไวรัสตับอักเสบซี ในผู้ติดเชื้อ เอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ และกลุ่มเสี่ยงการติดเชื้อเอชไอวี การตรวจเพื่อยืนยันก่อนการรักษา หรือเพื่อติดตามการรักษาการติดเชื้ อไวรัส ตับอักเสบซี ในผู้ติดเชื้อ เอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์และกลุ่มเสี่ยงการติดเชื้อเอชไอวี และการตรวจประเมิน ความรุนแรงของโรคตับ อัตราและเงื่อนไขการจ่าย เป็นไปตาม ประกาศสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วย การจ่ายค่า ใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการคัดกรองและวินิจฉัยรักษาโรคไวรัสตับอักเสบซี หมวด 2 วิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 3 ให้หน่วยบริการบันทึกและส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช้จ่าย หรือส่งข้อมูลตามชุดข้อมูล มาตรฐาน ผ่านระบบบันทึกข้อมูล โปรแกรม National AIDS Program : NAP มายังสำนักงาน หมวด 3 …

  • 3 - หมวด 3 เงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 4 สานักงานจะประมวลผลและแจ้งรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยบริการเป็นรายเดือน โดยรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายจะแสดงสถานะข้อมูล ดังนี้ 4 . 1 ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลตามเงื่อนไขที่กำหนด (ข้อมูล Y ) สำนักงานจะ จ่าย ค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการตามที่ประมวลผลได้ 4 . 2 ข้อมูลที่ประมวลผลไม่ผ่านตามเงื่อนไขที่กาหนด: ข้อมูลปฏิเสธการจ่าย (ข้อมูล N ) หน่วยบริการสามารถขอทบทวนเพื่อขอรับค่าใช้จ่ายตามที่ สำนักงาน กำหนด ข้อ 5 หาก พบความผิดปกติอื่นใดของข้อมูลผลงานหรือการเบิกจ่ายของหน่วยบริการนั้น ๆ สานักงานจะตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ของหน่วยบริการ โดย ตรวจสอบหลักฐานการให้บริการ และกำหนดเกณฑ์ในการตรวจสอบ ดังนี้ 5 . 1 ตรวจสอบพบ หลักฐานการให้บริการ การบันทึกรายกิจกรรม การสั่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ หรือการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม ตามรายการที่ หน่วย บริการ เรียกเก็บค่าใช้จ่าย 5 . 2 ตรวจสอบพบ หลักฐานการสั่งจ่ายยาที่ระบุชื่อยาและจานวน ของยา ตามรายการ ที่สำนักงานสนับสนุน 5 . 3 ตรวจสอบพบ รายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม ตามรายการที่ หน่วยเรียกเก็บค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ จานวนครั้งในการตรวจและข้อบ่งชี้ในการตรวจเป็นไปตามเกณฑ์ ที่สำนักงานกาหนด ข้อ 6 สำนักงานจะพิจารณาปฏิเสธการจ่ายค่าใช้จ่ายการให้บริการสาธารณสุข ในกรณี อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 6.1 การให้บริการไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายการให้บริการสาธารณสุข ตามหมวด 1 6.2 กรณีที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการให้บริการแล้วพบว่าไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบ หลักฐานการให้บริการตามข้อ 5

เอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ และบริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี พ.ศ. 256 6 ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2566 กรณีให้บริการด้านการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี หมวด 1 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 1 การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณี ให้บริการด้านการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ประกอบด้วย การบริการเพื่อให้มีการเข้าถึงและชักนา ผู้ รับบริการ ที่ มีความเสี่ยงให้เข้ารับบริการ การสร้าง ความต้องการในการรับบริการผ่านเครือข่ายสังคมและเครือข่ายสุขภาพ การขยายบริการเชิงรุกการตรวจ เอชไอวี การดาเนินการให้ผู้ติดเชื้อรับการรักษาต่อเนื่องตามแผนการรักษา และดาเนินการให้ผู้ที่ยังไม่ติดเชื้อ ยังคงภาวะ การไม่ติดเชื้อ การตรวจการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์อื่ น ๆ ใน ผู้ รับบริการ กลุ่มเสี่ยงร่วมกับการตรวจ การติดเชื้อเอชไอวี และถุงยางอนามัยสาหรับใช้ในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 1 . 1 เป็นการให้บริการแก่ ผู้รับบริการ โดย เป็นกลุ่ม เป้าหมาย ดังนี้ 1 . 1 . 1 กลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย 1 . 1 . 2 กลุ่มสตรีข้ามเพศ 1 . 1 . 3 กลุ่มพนักงานบริการหญิง 1 . 1 . 4 กลุ่มพนักงานบริการชาย 1 . 1 . 5 กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดด้วยวิธีฉีด 1 . 2 หน่วยบริการที่มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่าย มีดังนี้ 1 . 2 . 1 หน่วยบริการ ที่ รับ การ ส่งต่อ ทั่วไป 1 . 2 . 2 หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเวชกรรม ที่เป็นสานักงานสาธารณสุข จังหวัดหรือสำนักงานป้องกันควบคุมโรค 1 . 2 . 3 หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้าน การ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ที่เป็นสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหรือสำนักงานป้องกันควบคุมโรค 1 . 2 . 4 หน่วยบริการที่รับการส่งต่ อเฉพาะด้าน เอชไอวี และโรคติ ด ต่อ ทางเพศสัมพันธ์ ในชุมชน 1 . 2 . 5 องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อดาเนินการ แสวงหาผลกาไร และ ดาเนินการ ตามสัญญา หรือ ข้อตกลงดาเนินการตามโครงการ เพื่อให้บริการด้านการป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวีร่วมกับสานักงานเขต 1.2.6 เป็นเครือข่าย…

  • 2 - 1 . 2 . 6 เป็นเครือข่ายหน่วยบริการด้านยาและเวชภัณฑ์ สำหรับดาเนินการจัดหา ถุงยางอนามัยตามโครงการพิเศษ และสนับสนุนให้แก่หน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 1 . 3 เป็นรายการกิจกรรมบริการเชิงรุกประกอบด้วย 5 กิจกรรมดังนี้ 1 . 3 . 1 การให้บริการเชิงรุกนอกสถานพยาบาล ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อค้นหาและ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ( Reach ) และเชิญชวนให้กลุ่มเป้าหมายให้เข้ารับบริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี การให้ ความรู้ คาปรึกษา สร้างทัศนคติและความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับเอดส์ สร้างความตระหนักให้เห็นควำมสาคัญ ของการรับรู้สถานะผลเลือดของตนเองตั้งแต่เนิ่น ๆ 1 . 3 . 2 การเข้าสู่ระบบบริการ ( Recruit ) โดยส่งต่อกลุ่มเป้าหมายจากผู้ให้บริการ เชิงรุก เครือข่ายเพื่อน หรือผ่านการนัดหมายทางสื่อสังคมทางอิเล็กทรอนิกส์หรือเข้าสู่ระบบบริการด้วยตนเอง ไปที่สถานพยาบาลหรือหน่วยบริการเค ลื่อนที่ ได้แก่ บริการให้การปรึกษาเพื่อตรวจเอชไอวี ( pre - test counseling ) โดยอาจตรวจหรือยังไม่ตรวจการติดเชื้อเอชไอวี บริการให้คำปรึกษาการตรวจคัดกรองและรักษา โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1 . 3 . 3 การให้บริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี ( Test ) โดยให้จัดหน่วยบริการ ตรวจเอชไอวีในชุมชนซึ่งอาจจัดกิจกรรมรณรงค์ร่วมด้วย และมีการประสานการดาเนินงานร่วมกันระหว่าง โรงพยาบาลและหน่วยบริการเชิงรุก 1 . 3 . 4 การส่งต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวี เข้ารับบริการรักษาด้วยยาต้านไวรัส ( Treat ) จัดการให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี มารับบริการรักษาด้วยยาต้านไวรัส และให้ ข้อมูลความรู้เรื่องประโยชน์ของการรักษา ด้วยยาต้านไวรัสเพื่อให้มั่นใจว่าผู้ติดเชื้อ เอชไอวี จะมารับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส หลังจากการวินิจฉัยโดยเร็ว 1 . 3 . 5 การติดตามดูแลให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี และ กลุ่ม ผู้ รับบริการ หลักคงอยู่ระบบ การรักษาและการป้องกัน ( Reta in ) ใน 2 กรณี ดังนี้ ( 1 ) การติดตามผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังไม่เริ่มรับยา หรือผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่ขาดการรักษา ให้ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่อง ( Retain positive ) โดยการประสานงาน ระหว่างหน่วยบริการและผู้ให้บริการเชิงรุกด้วยเงื่อนไขของการรักษาความลับ ของผู้รับบริการ ดาเนินการ โดยหน่วยบริการ ( 2 ) การจัดระบบกระตุ้นให้ผู้ที่ผลตรวจเอชไอวีเป็นลบมารับบริการคาปรึกษา ถุงยางอนามัย หรือยา ป้องกันก่อนการสัมผัสเชื้อเอชไอวี ( Pre - Exposure Prophylaxis : PrEP ) หรือการตรวจ เอชไอวีสม่ำเสมอ และชวนคู่มาตรวจเป็นประจำอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ควรมีระยะห่างของการตรวจไม่น้อยกว่า 30 วัน ( Retain negative ) ดำเนินการโดยองค์กรชุมชนหรือหน่วยบริการ ข้อ 2 สำนักงาน…

  • 3 - ข้อ 2 สำนักงาน จะ จ่ายค่าใช้จ่าย ตามรายการและอัตรา ดังนี้ 2 . 1 ค่า บริการเชิงรุก ตามรายการและอัตราดังนี้ 2 . 1 . 1 กลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย กลุ่ม สตรีข้ามเพศ กลุ่มพนักงานหญิงบริกา ร และกลุ่ม พนักงาน ชายบริการ จ่ายแบบเหมาจ่าย ตามกิจกรรม ดังนี้ ( 1 ) กิจกรรม Reached & Recruited จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 800 บาท ต่อ คน ( 2 ) กิจกรรม Recruit to Tested จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 550 บาท ต่อ คน ( 3 ) กิจกรรม Retained จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 4 50 บาท ต่อ คน 2 . 1 . 2 กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดด้วยวิธีฉีด จ่ายแบบเหมาจ่ายตามกิจกรรม ดังนี้ ( 1 ) กิจกรรม Reached & Recruited จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 1,800 บาทต่อ คน ( 2 ) กิจกรรม Recruit to Tested จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 1,200 บาท ต่อ คน ( 3 ) กิจกรรม Retained จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 1,000 บาทต่อ คน 2 . 2 ค่าบริการทางคลินิกสำหรับการ ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตามรายการและอัตราดังนี้ 2 . 2 . 1 การตรวจคัดกรองโรคซิฟิลิส จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 100 บาทต่อครั้ง ต่อปี ไม่เกิน 1 ครั้ง ต่อ ปี 2 . 2 . 2 การตรวจคัดกรองโรคหนองใน จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 100 บาท ต่อครั้ง ไม่เกิน 1 ครั้ง ต่อ ปี 2 . 2 . 3 การตรวจคัดกรองโรคหนองในเทียม จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 100 บาท ต่อครั้ง ไม่เกิน 1 ครั้ง ต่อ ปี 2 . 2 . 4 การตรวจคัดกรองมะเร็งทวารหนั ก และหรือการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 250 บาทต่อครั้ง ไม่เกิน 1 ครั้ง ต่อ ปี หมวด 2 วิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 3 ให้หน่วยบริการบันทึกและส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช้จ่าย หรือส่งข้อมูลตามชุดข้อมูล มาตรฐาน ผ่านระบบบันทึกข้อมูลโปรแกรม National AIDS Program : NAP มายังสำนักงาน หมวด 3 …

  • 4 - หมวด 3 เงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 4 สานักงาน จะ จ่ายค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยบริการเป็นรายเดือน หรือ ตามเงื่อนไขในสัญญา หรือข้อตกลง กรณีดาเนินการตามสัญญาหรือข้อตกลงดาเนินการตามโครงการ โดยรายงานการจ่ายค่าใช้จ่าย จะแสดงสถานะข้อมูล ดังนี้ 4 . 1 ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลตามเงื่อนไขที่กำหนด (ข้อมูล Y ) สำนักงานจะ จ่าย ค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการตามที่ประมวลผลได้ 4 . 2 ข้อมูลที่ประมวลผลไม่ผ่านตามเงื่อนไขที่กาหนด : ข้อมูลปฏิเสธการจ่าย (ข้อมูล N ) หน่วยบริการสามารถขอทบทวนเพื่อขอรับค่าใช้จ่ายตามที่ สำนักงาน กำหนด ข้อ 5 หากพบความผิดปกติอื่นใดของข้อมูลผลงานหรือการเบิกจ่ายของหน่วยบริการนั้น ๆ สานักงานจะตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ของหน่วยบริการ โดย ตรวจสอบหลักฐานการให้บริการ และกาหนดเกณฑ์ในการตรวจสอบ ดังนี้ 5 . 1 ตรวจสอบพบหลักฐานการให้บริการ การบั นทึกการให้บริการรายกิจกรรม ( Reach ) บันทึกการส่งต่อ การติดตามและผลการติดตาม การส่งต่อการรับบริการ ( Recruit ) บันทึกการติดตามการคงอยู่ ในระบบการรักษาและการป้องกัน ( Retain ) ตามรายการที่หน่วย บริการ เรียกเก็บค่าใช้จ่าย 5 . 2 ตรวจสอบพบรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตามรายการที่หน่วย บริการ เรียกเก็บค่าใช้จ่าย ข้อ 6 สำนักงานจะพิจารณาปฏิเสธการจ่ายค่าใช้จ่ายการให้บริการ สาธารณสุข ในกรณี อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 6.1 การให้บริการไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายการให้บริการสาธารณสุข ตามหมวด 1 6 .2 กรณีที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการให้บริการแล้วพบว่า ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบ หลักฐานการให้บริกา รตามข้อ 5

เอกสารหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ และบริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี พ.ศ. 256 6 ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2566 กรณีการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี และบริการติดตามผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ หมวด 1 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 1 การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขกรณีการให้ บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวีและบริการติดตามผู้ติดเชื้อเอชไอวีผู้ป่วยเอดส์ งานศูนย์องค์รวม ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 1 . 1 เป็นการให้บริการแก่ผู้รับ บริการ โดยเป็นกลุ่มเป้าหมายดังนี้ 1 . 1 . 1 คู่ของผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วย เอดส์ หรือผู้มีภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี เช่น หญิงตั้งครรภ์และคู่ที่มารับบริการในคลินิกฝากครรภ์ 1 . 1 . 2 ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ ที่เป็นสมาชิกศูนย์องค์รวม 1 . 2 หน่วยบริการ ที่มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่าย เป็นหน่วยบริการ หรือ องค์กรชุมชน องค์กร เอกชนและภาคเอกชนที่ไม่มีวัต ถุประสงค์เพื่อดำเนินการแสวงหาผลกำไร ข้อ 2 สำนักงาน จะ จ่ายค่าใช้จ่ายแบบเหมาจ่ายตามรายการและอัตราจ่าย ดังนี้ 2 . 1 คู่ของผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วย เอดส์ หรือผู้มีภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี เช่น หญิงตั้งครรภ์และคู่ที่มารับบริการในคลินิกฝากครรภ์ จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรำ 450 บาท ต่อคน โดย กา ร จัดบริการให้ความรู้ การปรึกษา การให้คาแนะนำรายบุคคลหรือแบบกลุ่มในคลินิกฝากครรภ์ คลินิกวัณโรค คลินิกยาต้านไวรัส และในชุมชน ในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้ 2 . 1 . 1 สร้างความเข้าใจเรื่องการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวี การประเมิน ความเสี่ยงของตนเองและคู่ต่อการติดเชื้อเอชไอวี 2 . 1 . 2 ให้ ความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวี และ ถุงยางอนามัย 2 . 1 . 3 ส่งเสริม การ เข้าถึงการตรวจเลือดโดยสมัครใจที่สะดวกรู้ผลในวันเดียว 2 . 1 . 4 การ ส่งเสริม สนับสนุนให้ได้รับการตรวจหาเชื้ออย่างสม่ำเสมอ 2.1.5 ให้คำแนะนำ…

  • 2 - 2 . 1 . 5 ให้คำแนะนำเรื่องการเริ่มรักษาด้วยยาต้านไวรัสตามมาตรฐานให้เร็ว เพื่อควบคุมปริมาณไวรัสตามแนวทาง “ ตรวจไม่พบเชื้อเอชไอวีในเลือด = ไม่ส่งผ่านเชื้อ ” ( Undetectable = Untransmittable ) 2 . 1 . 6 การให้ความรู้ ในการป้องกันและรักษาโรคฉวยโอกาส 2 . 1 . 7 ความรู้ในการเข้ารับบริการ การตรวจเลือด การคัดกรองโรคฉวยโอกาสและ การรักษาด้วยยาต้านไวรัส 2 . 2 ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ ที่เป็นสมาชิกศูนย์องค์รวม จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 600 บาท ต่อคน ตามกิจกรรมดังนี้ 2 . 2 . 1 การบริการให้ความรู้ การปรึกษา การให้คำแนะนำรายบุคคลหรือแบบกลุ่ม ดังนี้ ( 1 ) ส่งเสริมให้ผู้ติดเชื้อ เอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ ได้เริ่มการรักษาด้วยยาต้านไวรัส ตามมาตรฐานให้เร็วที่สุด ( 2 ) สร้างความเข้าใจเรื่องการรักษาด้วยยาต้าน ไวรัส เพื่อลดปริมาณเชื้อ เอชไอวีตามแนวทาง “ ตรวจไม่พบเชื้อเอชไอวี ในเลือด = ไม่ส่งผ่านเชื้อ ” ( Undetectable = Untransmittable ) และทาให้ผู้ติดเชื้อ เอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ สามารถใช้ชีวิตได้ไม่ต่างจากคนที่ไม่ติดเชื้อเอชไอวี ( 3 ) สร้างความเข้าใจและติดตามเรื่องผลข้างเคียงของยาต้าน ไวรัส เช่น ไขมัน สูง ความดัน เบาหวาน ฯลฯ สนับสนุนให้ผู้ติดเชื้อได้ปรับเปลี่ยนสูตรยาตามมาตรฐาน ( 4 ) ส่งเสริมการเข้าถึง การตรวจคัดกรอง การป้องกัน การรักษา โรคฉวยโอกาส โรคร่วม การติดเชื้อร่วม เช่น ไวรัสตับอักเสบ บี ซี และการวางแผนครอบครัว ( 5 ) ส่ งเสริมให้ผู้ติดเชื้อเข้าใจ มีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง และติดตามให้รับ รักษาอย่างต่อเนื่อง ( 6 ) สร้างความมั่นใจในการอยู่ร่วมกับเอชไอวี ลดการตีตราตัวเอง ( 7 ) ความรู้ความเข้าใจเรื่องสิทธิประโยชน์ในระบบประกันสุขภาพ และ สวัสดิการต่าง ๆ 2 . 2 . 2 การติดตามสนับสนุนการคงอยู่ในระบบบริการ ตามกิจกรรม ดังนี้ ( 1 ) การ ติดตาม ให้สมาชิกได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส อย่างต่อเนื่องและ สม่ำเสมอ ( 2 ) ส่งเสริมการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อเอชไอวี โรคติดต่อทา ง เพศสัมพันธ์ การตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมให้กับสมาชิกผู้ติดเชื้อและคู่ 2.2.3 บริการ…

  • 3 - 2 . 2 . 3 บริการติดตามเยี่ยมบ้าน ( 1 ) ผู้ ติดเชื้อเอชไอวี ที่เริ่มยาต้านไวรัส หรือปรับเปลี่ยนสูตรยา ( 2 ) ผู้ ติดเชื้อเอชไอวีที่ป่วยเป็นวัณโรคร่วมด้วยหรือผู้มีปัญหาสุขภาพที่ช่วยเหลือ ตนเองได้น้อย ( 3 ) ผู้ ติดเชื้อเอชไอวี ที่มีปัญหาการอยู่ร่วมกับชุมชนหรือมีปัญหาด้าน การละเมิดสิทธิมนุษยชน หมวด 2 วิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 3 ให้ หน่วยบริการ หรือองค์กร ส่งผลงานเพื่อเรียกเก็บค่าใช้จ่ายตามสัญญาหรือข้อตกลง ดำเนินการตามโครงการ หมวด 3 เงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 4 สำนักงาน จะ จ่ายค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยบริการ หรือองค์กร ตาม เงื่อนไขใน สัญญาหรือ ข้อตกลงดำเนินการตามโครงการ ข้อ 5 หากพบความผิดปกติอื่นใดของข้อมูลผลงานหรือการเบิกจ่ายของหน่วยบริการนั้น ๆ สานักงานจะตรวจสอบเอกสารหลักฐาน ของหน่วยบริการ หรือองค์กรตามเงื่อนไขในสัญญาหรือข้อตกลง นั้น ๆ ก็ ได้ ข้อ 6 เมื่อครบระยะตามที่กาหนดในสัญญาหรือโครงการ หากยังไม่ดาเนินการหรือดาเนินการ ไม่ แล้วเสร็จ ให้หน่วยบริการ หรือองค์กรที่ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ส่งเงินที่เหลือคืนกองทุน

เอกสารหมายเลข 4 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ และบริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี พ.ศ. 256 6 ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2566 กรณีการให้บริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีด้วยยาต้านไวรัส และบริการให้การปรึกษาและการตรวจหา การติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ ( Voluntary Counseling and Testing : VCT ) หมวด 1 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 1 การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการให้การปรึกษาและการตรวจหา การติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ การบริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีด้วยยาต้านไวรัส บริการป้องกันการติดเชื้อ เอชไอวีหลังการสัมผัสเชื้อ และ สนับสนุน ถุงยางอนามัย ตามแนวทางการตรวจวินิจฉัยรักษาและป้องกัน การติดเชื้อเ อชไอวี ประเทศไทย ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดัง ต่อไป นี้ 1 . 1 เป็นการให้บริการแก่ ผู้รับบริการ 1 . 2 หน่วยบริการที่มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่าย เป็นหน่วยบริการที่ มี ศักยภาพด้านการรักษา ด้วยยาต้านไวรัส หรือด้านการให้การปรึกษาเพื่อตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวี 1 . 3 เป็นเครือข่ายหน่วยบริการด้านยาและเวชภัณฑ์ ที่ดำเนินการจัดหายา เวชภัณฑ์ และ อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จาเป็นตามโครงการพิเศษ และสนับสนุนยาต้านไวรัสเอชไอวี และถุงยางอนามัยรวม สารหล่อลื่นให้แก่หน่วยบริการ ข้อ 2 สำนักงาน จะ จ่ายค่าใช้จ่ายตามรายการและอัตรา ดังนี้ 2 . 1 กรณีการให้บริการปรึกษาและการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ 2 . 1 . 1 ค่าบริการให้ การปรึกษาการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ จ่ายแบบเหมาจ่าย ในอัตรา 7 บาทต่อครั้ง ไม่เกิน 6 ครั้ง ต่อ ปี 2 . 1 . 2 การตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี โดยสมัครใจ จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 140 บาทต่อการรู้ผล ไม่ เกิน 2 ครั้ง ต่อ ปี 2 . 2 บริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีด้วยยาต้านไวรัส ตามรายการและอัตราดังนี้ 2 . 2 . 1 ค่าบริการ ยา การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีก่อนการสัมผัสเชื้อ ( Pre - Exposure Prophylaxis : PrEP ) ( 1 ) ค่าจัดบริการให้คาปรึกษาครั้งแรก เฉพาะรายที่กินยาจ่ายแบบเหมาจ่าย ในอัตรา 80 บาท ต่อปี ( 2 ) ค่าบริการให้คำปรึกษา สำหรับผู้ที่รับยา จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 20 บาทต่อครั้ง ไม่เกิน 5 ครั้ง ต่อ ปี (3) ค่าตรวจ…

  • 2 - ( 3 ) ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตามรายการและอัตราดังนี้ ( ก ) การตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 140 บาท ต่อการรู้ผล ไม่เกิน 4 ครั้ง ต่อ ปี ( ข ) การตรวจการทางานของไต จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 40 บาท ต่อครั้ง ไม่เกิน 2 ครั้ง ต่อ ปี ( ค ) การตรวจ หาเชื้อ ไวรัสตับอักเสบบี โดย HBsAg ด้วยวิธี ELISA จ่าย แบบเหมาจ่ายในอัตรา 130 บาทต่อครั้ง หรือวิธี PHA จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 70 บาทต่อครั้ง ไม่เกิน 1 ครั้ง ต่อ ปี ( ง ) การตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำหรับโรค ซิฟิลิส หนองใน หนองในเทียม จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 240 บาทต่อครั้ง ไม่เกิน 2 ครั้งต่อปี ( จ ) การตรวจหาการตั้งครรภ์ จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 70 บาทต่อครั้ง ไม่เกิน 2 ครั้ง ต่อ ปี ( 4 ) ยาต้านไวรัสเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีก่อนการสัมผัสเชื้อ ตามแนวทางการตรวจวินิจฉัยรักษา และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ประเทศไทย โดย เครือข่ายหน่วยบริการ ด้านยาและเวชภัณฑ์ ที่ดาเนินการจัดหายา เวชภัณฑ์ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จาเป็นตามโครงกา รพิเศษ สนับสนุนยาต้านไวรัสเอชไอวี ให้แก่หน่วยบริการ 2 . 2 . 2 ค่าบริการกรณีการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีหลังการสัมผัสเชื้อ ( Post - Exposure Prophylaxis : PEP ) ตามรายการและอัตราดังนี้ ( 1 ) การตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 140 บาท ต่อการรู้ผล ไม่เกิน 5 ครั้งต่อการสัมผัสเชื้อ ( 2 ) การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 25 บาท ไม่เกิน 2 ครั้งต่อการสัมผัสเชื้อ ( 3 ) การตรวจการทางานของไต จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 40 บาท ไม่เกิน 2 ครั้งต่อการสัมผัสเชื้อ ( 4 ) การตรวจการทางานของตับ จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 25 บาท ไม่เกิน 2 ครั้งต่อการสัมผัสเชื้อ ( 5 ) การตรวจหาปริมาณไวรัสในกระแสเลือด จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 1,350 บาทต่อครั้ง เฉพาะรายที่มีอาการบ่งชี้ภาวะติดเชื้อโดยเฉียบพลัน ไม่เกิน 1 ครั้งต่อการสัมผัสเชื้อ ( 6 ) การตรวจ หาเชื้อ ไวรัสตับอักเสบบี ( HBsAg ) ด้วยวิธี ELISA จ่ายแบบ เหมาจ่ายในอัตรา 130 บาทต่อครั้ง หรือวิธี PHA จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 70 บาทต่อครั้ง ไม่เกิน 1 ครั้ง ต่อการสัมผัสเชื้อ ( 7 ) การตรวจ หาภูมิคุ้มกันต่อ ไวรัสตับอักเสบบี ( anti - HBs ) จ่ายแบบเหมาจ่าย ในอัตรา 150 บาท ไม่เกิน 1 ครั้งต่อการสั มผัสเชื้อ ( 8) การตรวจ…

  • 3 - ( 8 ) การตรวจ หาภูมิ คุ้มกัน ไวรัสตับอักเสบซี ( anti - HCV ) ด้วยวิธี Rapid Test หรือวิธีตรวจด้วยเครื่อง อัตโนมัติ อัตรา เป็นไปตามประกาศสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วย การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการคัดกรองและวินิจฉัยรักษาโรคไวรัสตับอักเสบซี ( 9 ) การตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สาหรับโรคซิฟิลิส หนองใน หนองในเทียม จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 240 บาทต่อครั้ง ไม่เกิน 2 ค รั้งต่อการสัมผัสเชื้อ ( 10 ) การตรวจหาการตั้งครรภ์ จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 70 บาทต่อครั้ ง ไม่เกิน 2 ครั้งต่อการสัมผัสเชื้อ ( 11 ) ยาป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีหลังการสัมผัสเชื้อ ตามแนวทางการตรวจ วินิจฉัยรักษา และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ประเทศไทย โดยเครือข่ายหน่วยบริการด้านยาและเวชภัณฑ์ ที่ดาเนินการจัดหายา เวชภัณฑ์ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จาเป็นตามโครงการพิเศษ สนับสนุนยาต้านไวรัส เอชไอวี ให้แก่หน่วยบริการ หมวด 2 วิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 3 ให้หน่วยบริการบันทึกและส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช้จ่าย หรือส่งข้อมูลตามชุดข้อมูล มาตรฐาน ผ่านระบบบันทึกข้อมูล โปรแกรม National AIDS Program : NAP มายังสำนักงาน หมวด 3 เงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 4 สานักงานจะประมวลผลและแจ้งรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยบริการเป็นรายเดือน โดยรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายจะแสดงสถานะข้อมูล ดังนี้ 4 . 1 ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลตามเงื่อนไขที่กำหนด (ข้อมูล Y ) สำนักงานจะจ่าย ค่าใช้จ่าย ให้หน่วยบริการตามที่ประมวลผลได้ 4 . 2 ข้อมูลที่ประมวลผลไม่ผ่านตามเงื่อนไขที่กาหนด: ข้อมูลปฏิเสธการจ่าย (ข้อมูล N ) หน่วยบริการสามารถขอทบทวนเพื่อขอรับค่าใช้จ่ายตามที่ สำนักงาน กำหนด ข้อ 5 หากพ บความผิดปกติอื่นใดของข้อมูลผลงานหรือการเบิกจ่ายของหน่วยบริการนั้น ๆ สานักงานจะตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ของหน่วยบริการ โดย ตรวจสอบหลักฐานการให้บริการ และกาหนดเกณฑ์ในการตรวจสอบ ดังนี้ 5.1 ตรวจสอบ…

  • 4 - 5 . 1 ตรวจสอบพบ หลักฐานการให้บริการ การบันทึกรายกิจกรรม การสั่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ หรือการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม ตามรายการที่ หน่วย บริการ เรียกเก็บค่าใช้จ่าย 5 . 2 ตรวจสอบพบ หลักฐานการสั่งจ่ายยาที่ระบุชื่อยาและจานวน ของยา หรือหลักฐาน การจ่ายถุงยางอนามัย ตามรายการที่สำนักงานสนับสนุน 5 . 3 ตรวจสอบพบ รายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม ตามรายการที่ หน่วย บริการ เรียกเก็บค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ จำนวนครั้งในการตรวจและข้อบ่งชี้ในการตรวจเป็นไปตาม เกณฑ์ที่สำนักงานกำหนด ข้อ 6 สำนักงานจะ พิจารณาปฏิเสธการจ่ายค่าใช้จ่ายการให้บริการ สาธารณสุข ในกรณี อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 6.1 การให้บริการไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายการให้บริการสาธารณสุข ตามหมวด 1 6.2 กรณีที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการให้บริการแล้วพบว่าไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบ หลักฐานการให้บริการตามข้อ 5