ประกาศกรมศุลกากร ที่ 22/2566 เรื่อง หลักเกณฑ์และพิธีการสำหรับการยกเว้นอากรศุลกากรสำหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ที่ประกอบหรือผลิตในเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร หรือในเขตประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ประกาศกรมศุลกากร ที่ 22/2566 เรื่อง หลักเกณฑ์และพิธีการสำหรับการยกเว้นอากรศุลกากรสำหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ที่ประกอบหรือผลิตในเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร หรือในเขตประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ประกาศกรมศุลกากร ที่ 22/2566 เรื่อง หลักเกณฑ์และพิธีการสำหรับการยกเว้นอากรศุลกากรสำหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ ที่ประกอบหรือผลิตในเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร หรือในเขตประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยที่เป็นการสมควรกาหนดหลักเกณฑ์และพิธีการสาหรับการยกเว้นอากรศุลกากรสาหรับ รถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ที่ประกอบหรือผลิตในเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือในเขต ประกอบการเสรีตามกฎหมายว่า ด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตามประกาศ กระทรวงการคลัง เรื่อง การยกเว้นอากรศุลกากรสาหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ที่ประกอบ หรือผลิตในเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือในเขตประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วย การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ลงวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2565 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 51 และ 63 แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2560 ประกอบกับประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การยกเว้นอากรศุลกากรสำหรับรถยนต์ไฟฟ้า แบบแบตเตอรี่ที่ประกอบหรือผลิตในเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือในเขตประกอบกา รเสรี ตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ลงวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2565 อธิบดีกรมศุลกากร ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 การกำหนดความหมายของคำในประกาศนี้ ให้เป็นไปตามภาคผนวกแนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 8 ตุลำคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ส่วนที่ 1 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการยกเว้นอากร ข้อ 3 ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การยกเว้นอากรศุลกากรสาหรับรถยนต์ไฟฟ้า แบบแบตเตอรี่ที่ประกอบหรือผลิตในเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือในเขตประกอบการเสรี ตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ลงวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2565 กำหนดให้ยกเว้นอากรสาหรับรถยนต์นั่ง รถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกินสิบคนและรถยนต์กระบะ แบบพลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ( Battery Electric Vehicle : BEV ) ที่ประกอบหรือผลิตใ นเขต ปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือในเขตประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคม อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่นำออกจากเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรีตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2568 เพื่อใช้หรือจาหน่ายภายในประเทศ ตา มหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ดังต่อไปนี้ ้ หนา 11 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 59 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 มีนาคม 2566
(1) ต้องมีผลรวมของมูลค่าวัตถุดิบที่ได้ถิ่นกำเนิดในประเทศไทย มูลค่าวัตถุดิบที่ได้ถิ่นกำเนิด จากประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มูลค่าของเซลล์แบตเตอรี่ที่นาเข้ามา จากต่างประเทศ ต้นทุนค่าแรง ต้นทุนการผลิ ตอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นจริงในประเทศไทยเพื่อให้ได้มาซึ่งของนั้น และกำไรไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของราคาของของหน้าโรงงาน ( ex - factory ) (2) มูลค่าวัตถุดิบที่นามาคานวณการใช้วัตถุดิบของของใน (1) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (ก) มูลค่าวัตถุดิบซึ่งโอนจากเขต ปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือเขต ประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยเดียวกัน ให้ใช้ราคาของ ของหน้าโรงงาน มูลค่าวัตถุดิบซึ่งโอนต่างเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรี ให้ใช้ราคา FOB ณ เวลาที่ส่งวัตถุดิบเข้าไปในเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรีนั้น ๆ (ข) มูลค่าวัตถุดิบที่นำจากประเทศไทยเข้าไปในเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วย ศุลกากรหรือในเขตประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ให้ใช้ราคาซื้อขายไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ เวลาที่ส่งวัตถุดิบนั้นเข้าไปในเขตปลอดอากรหรือ เขตประกอบการเสรี (ค) มูลค่าวัตถุดิบนาเข้าจากประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมิได้ผลิต ผสม ประกอบในประเทศไทยที่ นา เข้ามาในราชอาณาจักรและ นา เข้าไปในเขตปลอดอากร ตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรื อในเขตประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย เพื่อใช้ผลิตของที่จะขอใช้สิทธิยกเว้นอากร ให้ใช้ราคา FOB ของของที่ นา เข้ามา ในราชอาณาจักร ณ เวลาที่ส่งของออกโดยได้รับสิทธิพิเศษทางอากรศุลกากรภายใต้ความตกลงการค้า สินค้าของอาเซียน (ง) มู ลค่าของเซลล์แบตเตอรี่ที่นาเข้ามาจากต่างประเทศ ให้ใช้ราคา CIF ณ ท่าหรือที่ ที่นำเข้า ได้ไม่เกินร้อยละ 15 ของราคาหน้าโรงงาน ( ex - factory ) ของของที่ขอใช้สิทธิยกเว้นอากร (จ) มูลค่าของวัตถุดิบอื่น นอกจาก (ก) - (ง) ที่นำเข้ามาจากนอกราชอาณาจักร และนาเข้าไปในเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือในเขตประกอบการเสรีตามกฎหมาย ว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยให้ใช้ราคา CIF ณ ท่าหรือที่ที่นาเข้าวัตถุดิบนั้น (3) ของนั้นต้องผ่านกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสาคัญในเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วย ศุลกากรหรือ ในเขตประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตามที่ สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมหรือหน่วยงานของรัฐอื่นที่มีอานาจหน้าที่กากับดูแลกระบวนการผลิต สาหรับของนั้นประกาศกาหนด โดยให้ผู้ประกอบการที่ขอใช้สิทธิยกเว้นอากรตรวจสอบและรับรอง ตนเองว่าของนั้ นได้ผ่านกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสาคัญในเขตปลอดอากรหรือในเขตประกอบการเสรี ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขของประกาศดังกล่าว และกรมศุลกากรมีอานาจตรวจสอบความถูกต้อง ้ หนา 12 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 59 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 มีนาคม 2566
ของกระบวนการผลิตนั้น ๆ ว่าเป็นไปตามประกาศของสานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมหรือหน่วยงาน ของรัฐอื่น กรณีของ ที่มีกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสาคัญตั้งแต่สี่กระบวนการขึ้นไป อาจขอดาเนิน กระบวนการผลิตที่เป็นสาระสำคัญนอกเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือนอกเขต ประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้โดยให้ดาเนินการตามส่วน ที่ 3 การขอดาเนินกระบว นการผลิตที่เป็นสาระสำคัญนอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขตประกอบการเสรี ทั้งนี้ ต้องมีกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสาคัญในเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรีอย่างน้อยกึ่งหนึ่ง ของกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสำคัญทั้งหมด และกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสำคัญสุดท้าย จะต้องกระทำในเขต ปลอดอากรหรือในเขตประกอบการเสรี มูลค่าของที่ได้จากกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสาคัญนอกเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วย ศุลกากรหรือนอกเขตประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ให้ใช้วิธีการคำนวณเสมือนว่ากระบวนการผลิตที่เป็นสาระสำคัญนั้นเกิดขึ้นใ นเขตปลอดอากรหรือ ในเขตประกอบการเสรี ในการคานวณมูลค่าของ ต้องแจกแจงข้อมูลการผลิต การใช้วัตถุดิบ และต้นทุนการผลิต ของของเพื่อนำมาใช้คานวณร่วมกับมูลค่าของที่ได้จากกระบวนการผลิตที่เกิดขึ้นในเขตปลอดอากร ตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือในเขตประกอบการเสรีตามกฎหมา ยว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย กระบวนการผลิตที่เป็นสาระสำคัญที่ขอกระทำนอกเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วย ศุลกากรหรือนอกเขตประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ต้องกระทำภายในประเทศโดยผู้ประกอบการซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จดทะเบียนในประ เทศไทย กระบวนการผลิตในเขตปลอดอากรหรือในเขตประกอบการเสรีตามข้อนี้ให้หมายความรวมถึง กระบวนการผลิตในเขตปลอดอากรหรือในเขตประกอบการเสรีอื่นของผู้ประกอบกิจการที่ยื่นขออนุมัติ หลักการใช้สิทธิยกเว้นอากรหรือผู้ประกอบกิจการรายอื่นที่ได้ใช้ผลิตของนั้นด้วย (4) ผู้ขอใช้สิทธิยกเว้นอากรตามประกาศนี้ต้องเป็นผู้ประกอบการในเขตปลอดอากร ตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือในเขตประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย หรือผู้นาของออกจากเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรี และเป็นผู้ได้รับสิทธิ ตามมาตรการสนับสนุนการ ใช้ยานยนต์ไฟฟ้าประเภทรถยนต์และรถจักรยานยนต์ตามประกาศ กรมสรรพสามิต (5) ผู้ขอใช้สิทธิยกเว้นอากรต้องสามารถพิสูจน์ได้ว่าของที่นำออกจากเขตปลอดอากร ตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือเขตประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทยเป็นไปตามหลักเกณฑ์และเ งื่อนไขที่กำหนดในประกาศนี้ ้ หนา 13 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 59 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 มีนาคม 2566
(6) ของนั้นจะต้องได้รับอนุมัติหลักการการได้สิทธิยกเว้นอากรศุลกากรก่อนนาของออกจาก เขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือเขตประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วย การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพื่อนำมาจำหน่ายหรือบริโภคภายในประเทศ ส่วนที่ 2 พิธีการศุลกากร ข้อ 4 ให้นำพิธีการทั่วไปเกี่ยวกับการขออนุมัติการยกเว้นอากรศุลกากรตามประกาศ กรมศุลกากร ว่าด้วยหลักเกณฑ์และพิธีการสำหรับการลดอัตราอากรและยกเว้นอากรศุลกากร ตามมาตรา 12 แห่งพระราชกำหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 มาใช้บังคับกับการยกเว้นอากร ศุลกากรสาหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ที่ประกอบหรือผลิตในเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วย ศุลกากรหรือในเขตประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยอนุโลม ข้อ 5 ให้ผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรห รือในเขต ประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยหรือผู้นาของออกจาก เขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรีที่ประสงค์จะขอใช้สิทธิยกเว้นอากรจัดเตรียมเอกสารหลักฐาน เพื่อขออนุมัติหลักการ ดังต่อไปนี้ (1) คาร้องขอยกเว้นอากรและหนังสือรับรองข้อมูลการผลิ ต การใช้วัตถุดิบ ต้นทุนการผลิต สำหรับของที่นำออกจากเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรี เพื่อจำหน่ายหรือบริโภค ภายในประเทศ ตามแบบแนบท้ายประกาศนี้ (2) หนังสือรับรองจากสถาบันอิสระหรือหน่วยงานรับรองอิสระอื่นที่กรมศุลกากรเห็นชอบว่า วัตถุดิบนั้นได้มาจากกระบวนกา รผลิตที่เป็นสาระสาคัญของการจัดทำวัตถุดิบและไม่เป็นกระบวนการผลิต อย่างง่าย หรือสาเนาหลักฐานการรับรองถิ่นกาเนิดสินค้าตามความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน สำหรับวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตของที่ขอใช้สิทธิยกเว้นอากร (3) เอกสารประกอบที่แสดงและพิสูจน์ถึงข้อมูลการผลิต การใช้วัตถุดิบ มูลค่าวัตถุดิบ ต้นทุนการผลิต และกำไร (4) หนังสือรับรองการได้รับสิทธิหรือเอกสารแสดงการทาข้อตกลงการรับสิทธิตามมาตรการ สนับสนุนการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าประเภทรถยนต์และรถจักรยานยนต์จากกรมสรรพสามิต ข้อ 6 ให้ผู้ประกอบกิจการที่ประสงค์จะขอใช้สิทธิยกเว้ นอากรตามประกาศนี้ยื่นคาร้องขอ ยกเว้นอากรและเอกสารหลักฐานตามข้อ 5 ต่อสานักงานศุลกากร หรือด่านศุลกากรที่มีหน้าที่กากับ ดูแลเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรีและต้องได้รับอนุมัติหลักการการได้สิทธิยกเว้นอากร ก่อนการนำของออกจากเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรีที่ผ ลิต ผสม ประกอบ บรรจุ หรือดาเนินการอื่นใด หรือที่รับโอนเพื่อจำหน่ายหรือบริโภคภายในประเทศในครั้งแรก ้ หนา 14 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 59 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 มีนาคม 2566
การอนุมัติหลักการให้ใช้ได้กับการนาของออกจากเขตปลอดอากรครั้งต่อ ๆ ไป รวมถึงกรณีที่มี การเปลี่ยนแปลงข้อมูลการผลิตและการใช้วัตถุดิบหากสัดส่วนยังคงเป็นไป ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ที่กาหนด โดยผู้ประกอบกิจการต้องยื่นหนังสือแจ้งการเปลี่ยนแปลงข้อมูลตามแบบแนบท้ายประกาศนี้ ให้กรมศุลกากรทราบทุกครั้ง หากการเปลี่ยนแปลงข้อมูลเป็นผลให้สัดส่วนต่ากว่าเกณฑ์ที่กำหนด จะต้องแจ้งข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงก่อนการนาของออกจากเขตปลอด อากรหรือเขตประกอบการเสรี การยื่นคาร้องขอยกเว้นอากร หนังสือรับรองข้อมูลการผลิต การใช้วัตถุดิบ ต้นทุนการผลิต เอกสารประกอบ และหนังสือแจ้งการเปลี่ยนแปลงข้อมูลการผลิต ให้จัดทำเป็น 3 ชุด ได้แก่ ต้นฉบับ สำเนาในรูปแบบเอกสาร และสำเนาในรูปแบบอิเล็กทรอนิก ส์ ข้อ 7 กรมศุลกากรจะพิจารณาอนุมัติหลักการการได้สิทธิยกเว้นอากรภายในสิบห้าวันทำการ นับแต่วันที่พนักงานศุลกากรได้รับคำร้องฯ และเอกสารประกอบถูกต้องครบถ้วน และแจ้งผล การพิจารณาให้ผู้ประกอบกิจการทราบ ข้อ 8 ให้ใช้เลขที่อนุมัติหลักการการได้สิทธิยกเว้นอากรเป็นข้อมูลสำหรับการบันทึก ลงในส่วนของใบอนุญาตในแต่ละรายการของข้อมูลใบขนสินค้าขาเข้าโอนย้ายชาระภาษีอากรโดยประเภท เอกสารมีค่าเป็น “ P ” ที่นำของที่ได้สิทธิยกเว้นอากรออกจากเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรี ข้อ 9 กา รนำวัตถุดิบเข้าไปในเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรี เพื่อผลิต ผสม ประกอบ บรรจุ หรือดำเนินการอื่นใดในลักษณะอุตสาหกรรมเป็นของที่ขอใช้สิทธิยกเว้นอากร ให้ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ (1) กรณีนำวัตถุดิบในประเทศที่มิได้ใช้สิทธิคืนอากรหรือยกเว้นอากรตามกฎหมายว่าด้วย ศุลกากรหรือกฎหมายอื่นเข้าไปในเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรี เพื่อผลิตเป็นของที่ขอใช้สิทธิ ยกเว้นอากร ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เป็นผู้จาหน่ายวัตถุดิบภายในประเทศจัดทาคาร้องขอ นำวัตถุดิบเข้าในเขตอารักขาของศุลกากรหรือคาร้องขอนาสินค้าในราชอาณาจักรเข้าไปในเข ตปลอดอากร หรือเขตประกอบการเสรี (กศก. 122) หรือจัดทำใบขนสินค้าขาออกโอนย้าย โดยมีประเภท ของเอกสารมีค่าเป็น “ D ” ไม่ระบุสิทธิ หรือรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรฐานที่กรมศุลกากร กำหนด ก่อนการขนย้ายเข้าเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรี (2) กรณีการนาวัตถุ ดิบในประเทศที่จะได้สิทธิคืนอากรหรือยกเว้นอากรศุลกากรเมื่อส่งออกไป นอกราชอาณาจักร หรือนาวัตถุดิบจากเขตปลอดอากรอื่นเข้าไปในเขตปลอดอากรเพื่อผลิตเป็นของ ที่ขอใช้สิทธิยกเว้นอากร ให้ผู้นำของเข้าไปในเขตปลอดอากรจัดทำใบขนสินค้าขาออกโอนย้าย เข้าเขตปลอดอากร โดยมีปร ะเภทของเอกสารมีค่าเป็น “ D ” ก่อนการขนย้ายของมายังเขตปลอดอากร ( 3 ) กรณีการนำวัตถุดิบในประเทศที่จะได้รับสิทธิคืนอากรหรือยกเว้นอากรเมื่อส่งออกไป นอกราชอาณาจักร หรือนาวัตถุดิบจากเขตประกอบการเสรีอื่นเข้าไปในเขตประกอบการเสรีเพื่อผลิต เป็นของที่ขอใช้สิทธิยกเว้นอากร ให้ผู้นาของเข้าไปในเขตประกอบการเสรีจัดทาใบขนสินค้าขาออก ้ หนา 15 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 59 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 มีนาคม 2566
โอนย้ายเข้าเขตประกอบการเสรี โดยมีประเภทของเอกสารมีค่าเป็น “ D ” ก่อนการขนย้ายของมายัง เขตประกอบการเสรี ( 4 ) กรณีการโอนย้ายวัตถุดิบจากเขตปลอดอากรเข้าไปในเขตประกอบการเสรีเพื่ อผลิตเป็น ของที่ขอใช้สิทธิยกเว้นอากร หรือกรณีการโอนย้ายวัตถุดิบจากเขตประกอบการเสรีเข้าไปในเขต ปลอดอากรเพื่อผลิตเป็นของที่ขอใช้สิทธิยกเว้นอากร ให้ผู้ประกอบการในเขตปลอดอากร หรือ เขตประกอบการเสรีต้นทางจัดทำใบขนสินค้าขาออกโอนย้ายเข้าเขตปลอดอากรหรือเขตประก อบการเสรี โดยมีประเภทของเอกสารมีค่าเป็น “ D ” ก่อนการขนย้ายออกจากเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรี ( 5 ) กรณีการนำวัตถุดิบเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อนำเข้าไปในเขตปลอดอากรหรือเขต ประกอบการเสรีเพื่อผลิตเป็นของที่ขอใช้สิทธิยกเว้นอากร โดยเป็นของที่ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าให้ผู้นำ ของเข้าจัดทาใบขนสินค้าขาเข้า ณ ท่า ที่ หรือสนามบินศุลกากรที่ระบุในบัญชีสินค้าที่มีชื่อส่งของ ถึงโดยมีประเภทของเอกสารมีค่าเป็น “0” ( 6 ) กรณีการโอนย้ายวัตถุดิบจากผู้ประกอบกิจการอื่นที่อยู่ในเขตปลอดอากรหรือ เขตปร ะกอบการเสรีเดียวกัน ให้จัดทำหลักฐานการโอนย้ายระหว่างกัน หรือรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ตามมาตรฐานที่กรมศุลกากรกาหนด พร้อมกับแนบใบกำกับภาษีมูลค่าเพิ่มไว้เป็นหลักฐาน (7) กรณีการโอนย้ายวัตถุดิบจากผู้ประกอบกิจการที่เป็นนิติบุคคลเดียวกันที่อยู่ภายในเขต ปลอดอาก รหรือเขตประกอบการเสรีเดียวกัน หรือต่างเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรีให้จัดทำ หลักฐานการโอนย้ายระหว่างกัน หรือรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรฐานที่กรมศุลกากรกาหนด พร้อมที่จะให้พนักงานศุลกากรตรวจสอบได้ กรณีการซื้อขาย จำหน่าย จ่าย โอน วัตถุดิบในราชอา ณาจักรตามวรรคหนึ่ง (1) - (4) และ (6) จะต้องมีหลักฐานดังต่อไปนี้ พร้อมที่จะให้พนักงานศุลกากรตรวจสอบภายหลังได้ (1) หลักฐานที่แสดงว่าผู้ซื้อในเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรีซื้อสินค้าจาก ผู้ประกอบการจดทะเบียนในระบบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มจริง เช่น Proform a Invoice หรือ Purchase Order หรือ Order Note หรือเอกสารอื่นที่มีลักษณะทำนองเดียวกัน (2) หลักฐานที่แสดงว่าจะมีการชำระราคาค่าสินค้าตามใบกำกับสินค้าในนามของผู้ประกอบ การจดทะเบียนในระบบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เช่น L / C, T / T, T / P หรือเอกสารที่ระบุว่านำเงินเข้าบัญชีธนาคาร ข้อ 10 การโอนของที่ได้รับอนุมัติหลักการการได้สิทธิยกเว้นอากรหรือของที่ยื่นคาร้องขอ อนุมัติหลักการไว้แล้วแต่ยังไม่ได้รับอนุมัติหลักการการได้สิทธิยกเว้นอากร ระหว่างผู้ประกอบกิจการ ภายในเขตปลอดอากรเดียวกัน หรือระหว่า งผู้ประกอบกิจการต่างเขตปลอดอากร หรือระหว่าง ผู้ประกอบกิจการภายในเขตประกอบการเสรีเดียวกัน หรือระหว่างผู้ประกอบกิจการต่างเขต ประกอบการเสรี หรือระหว่างผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากรกับผู้ประกอบกิจการในเขต ประกอบการเสรี เพื่อเก็บรักษาหรือรอการส่งออกหรือรอการนา มาจาหน่ายหรือบริโภคภายในประเทศ ให้ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบการยกเว้นอากรย้อนกลับ ้ หนา 16 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 59 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 มีนาคม 2566
( 1 ) การโอนของที่ได้รับอนุมัติหลักการการได้สิทธิยกเว้นอากร หรือของที่ยื่นคาร้องขออนุมัติ หลักการไว้แล้วแต่ยังไม่ได้รับอนุมัติหลักการ ระหว่างผู้ประกอบกิจ การภายในเขตปลอดอากรเดียวกัน ให้ผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากรที่ประสงค์จะโอนของดังกล่าว ให้แก่ผู้ประกอบกิจการรายอื่นซึ่งอยู่ ภายในเขตปลอดอากรเดียวกัน จัดทาคำร้องขอโอนระหว่างผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากรเดียวกัน โดยให้ระบุเลขที่อนุมัติหลักการหรือเลขที่รับคาร้อ งขออนุมัติหลักการสาแดงไว้ในคาร้องขอโอนย้าย พร้อมแนบสาเนาหนังสืออนุมัติหลักการการได้สิทธิยกเว้นอากรหรือสาเนาคาร้องขออนุมัติหลักการยื่น ต่อหน่วยงานศุลกากรที่กำกับดูแลเขตปลอดอากร และให้บันทึกการโอนไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ ที่พนักงานศุลกากรสามารถเข้าไปตรวจสอบได้ด้วย เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว พนักงานศุลกากรที่กากับดูแลเขตปลอดอากรจะตรวจสอบเลขที่อนุมัติ หลักการ หรือเลขที่รับคำร้องขออนุมัติหลักการ รายละเอียดของของที่โอนกับรายการที่สำแดง ในเอกสารให้ถูกต้องตรงกัน และบันทึกผลการตร วจสอบเลขที่อนุมัติหลักการหรือเลขที่รับคาร้องขออนุมัติ หลักการและราคาหน้าโรงงาน ( ex factory ) ให้ตรงกับรายละเอียดคาร้องขอใช้สิทธิยกเว้นอากร ลงในคาขอทั้งต้นฉบับและสาเนาสามฉบับ ต้นฉบับให้ผู้โอนเก็บไว้เป็นหลักฐาน สาเนาฉบับที่หนึ่งและ ฉบับที่สองต้องใช้กากับขอ งไปยังผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากรที่ประสงค์จะรับโอน สาเนาฉบับที่สาม เก็บไว้ที่หน่วยงานศุลกากรที่กำกับดูแลเขตปลอดอากร ทั้งนี้ ให้ผู้โอนและผู้รับโอนมีหลักฐานเก็บไว้ ทั้ง 2 ฝ่าย เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบการยกเว้นอากรย้อนกลับ ( 2 ) การโอนของที่ได้รับอนุมั ติหลักการการได้สิทธิยกเว้นอากรหรือของที่ยื่นคาร้องขออนุมัติ หลักการไว้แล้วแต่ยังไม่ได้รับอนุมัติหลักการ ระหว่างผู้ประกอบกิจการต่างเขตปลอดอากร หรือระหว่าง ผู้ประกอบกิจการภายในเขตประกอบการเสรีเดียวกัน หรือระหว่างผู้ประกอบกิจการต่างเขตประกอบการเสรี หรือระหว่างผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากรกับผู้ประกอบกิจการในเขตประกอบการเสรี ให้ผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรีที่ประสงค์จะโอนของให้แก่ผู้ประกอบกิจการ รายอื่นตามข้างต้น จัดทาใบขนสินค้าขาออกโอนย้ายเข้าเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรี (ปร ะเภท D ) ผ่านระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ ( TCES ) โดยให้ระบุเลขที่อนุมัติหลักการหรือเลขที่ รับคำร้องขออนุมัติหลักการสำแดงไว้ในช่องรายละเอียดของสินค้าพร้อมแนบสำเนาหนังสืออนุมัติ หลักการการได้สิทธิยกเว้นอากรหรือสำเนาคำร้องขออนุมัติหลักการ ข้อ 11 การนำของออกจาก เขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรี เพื่อจาหน่ายหรือ บริโภคภายในประเทศ (1) ให้ผู้นำของที่ได้รับสิทธิยกเว้นอากรออกจากเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรีจัดทา ใบขนสินค้าขาเข้าโอนย้ายชำระภาษีอากร โดยประเภทของเอกสารมีค่าเป็น “ P ” ก่อนนำของออกจาก เขตปลอดอากรหรือเขตประก อบการเสรี (2) ให้ผู้นำของเข้าจัดทาข้อมูลใบขนสินค้าขาเข้า โดยบันทึกในช่องสิทธิพิเศษของแต่ละ รายการ ระบุเป็น “ FEV ” และในส่วนรายละเอียดใบอนุญาต ( Import Declaration Detail ้ หนา 17 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 59 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 มีนาคม 2566
( Permit )) ให้บันทึกเลขที่อนุมัติหลักการ ในช่องเลขที่ใบอนุญาต/ใบรับรอง ( Permit Number ) บันทึกวันที่ออกใบอนุญาตในช่องวันที่ออกใบอนุญาต/ใบรับรอง ( Issue Date ) และบันทึก เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของกรมศุลกากร ในช่องเลขประจำตัวผู้เสียภาษีของหน่วยงาน ผู้ออกใบอนุญาต/ใบรับรอง ( Permit Issue Authority ) ของหนังสือแจ้งอนุมัติหลักการกา รยกเว้นอากร ของสำนักงานศุลกากร หรือด่านศุลกากรที่ควบคุมกำกับดูแลเขตปล อดอากรหรือเขตประกอบการเสรีนั้น ๆ ในกรณีที่ของดังกล่าว เป็นของที่ได้รับสิทธิยกเว้นอากรและโอนมาจากเขตปลอดอากรหรือ เขตประกอบการเสรีอื่นหรือระหว่างเขตประกอบการเสรีเดียวกัน ให้ผู้นาของเข้าระบุเลขที่ใบขนสินค้า ขาออกโอนย้ายเข้าเขตปลอดอากร/เขตประกอบการเสรี (ประเภท D ) ในช่องเลขที่ใบขนสินค้าที่อ้างถึง ( Reference Declaration No .) หรือกรณีที่โอนมาจากเขตปลอดอากรเดียวกัน ให้ระบุเลขที่คาร้อง ขอโอนระหว่างผู้ประกอบกิจการในเขตปลอด อากรเดียวกัน ในช่องรายละเอียดของสินค้าและให้ผู้รับโอน ของจัดทำบัญชีรายละเอียดการนำของออกจากเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรีตามเอกสาร แนบท้ายประกาศนี้ เพื่อยื่นให้พนักงานศุลกากรพิจารณาด้านพิธีการศุลกากรและเพื่อประโยชน์ในการ ตรวจสอบรายงานทางบัญชีต่อไป (3) กรณี ผู้นำของเข้าที่ขอใช้สิทธิยกเว้นอากรนำของนั้นออกจากเขตปลอดอากรหรือ เขตประกอบการเสรีเป็นบุคคลอื่นที่มิใช่ผู้ประกอบกิจการอุตสาหกรรมในเขตปลอดอากรหรือ เขตประกอบการเสรีให้ผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรีลงนามและ ยื่นหนังสือรับรองการได้รับสิทธิยก เว้นอัตราอากรสำหรับของที่ขอใช้สิทธิยกเว้นอากรตามเอกสาร แนบท้ายประกาศนี้ และยินยอมผูกพันความรับผิดในการยกเว้นอากรสาหรับของดังกล่าวในฐานะ ผู้มีส่วนได้เสียร่วมกับผู้นำของเข้า ส่วนที่ 3 การขอดาเนินกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสำคัญ นอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขตประกอบการเสรี ข้อ 12 การยื่นขอดาเนินกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสำคัญนอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขต ประกอบการเสรีให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการในเขตปลอดอากรหรือในเขตประกอบการเสรี ยื่นคาร้องขออนุญาตนาของไปผ่านกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสาคัญบางขั้นตอนนอกเขตปลอดอากร หรือนอกเขตประกอบการเสรีตามแบบแนบท้ายประกาศนี้ จานวน 3 ชุด ได้แก่ ต้นฉบับคาร้องฯ สาเนาในรูปแบบเอกสาร และสาเนาในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ต่อหน่วยงานศุลกากรที่กากับดูแล ก่ อนดาเนินกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสาคัญนอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขตประกอบการเสรีในครั้งแรก พร้อมยื่นหรือแสดงเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี้ ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 59 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 มีนาคม 2566
(1) เอกสารรายละเอียดการจัดทากระบวนการผลิตที่เป็นสาระสาคัญทุกขั้นตอนของของนั้น ที่ดาเนินการในเขตปลอดอากรหรือในเขตประกอบการเสรี และกระบวนการที่จะนาออกไปดาเนินการ นอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขตประกอบการเสรี รวมถึงระยะเวลาที่จะดาเนินการด้วย (2) เอกสารรายชื่อผู้ประกอบการนอกเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรีที่มีนิติสัมพันธ์ กับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการในเขตปลอดอากรหรือในเขตประกอบการเสรี โดยต้องแสดง (ก) หนังสือรับรองนิติบุคคลของผู้ประกอบกิจการนอกเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรี และ (ข) หนังสือรับรองจากกระทรวงอุตสาหกรรม หรือใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงาน จำพวกที่ 2 (ร.ง. 2) หรือใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง. 4) หรือหนังสือรับรอง การประกอบกิจการโรงงานในเขตประกอบการอุตสาหกรรมตามมาตรา 30 แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 (แบบ ข.2) หรือใบรับแจ้งการประกอบอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรม (กนอ.03/2) หรือหนังสือรับแจ้งการประกอบอุตสาหกรรม หรือใบอนุญาตให้ใช้ที่ดินและปร ะกอบกิจการ ในนิคมอุตสาหกรรม (ฉบับต่ออายุ) (กนอ.03/6) ของผู้ประกอบกิจการนอกเขตปลอดอากรหรือ นอกเขตประกอบการเสรี (3) เอกสารสัญญาว่าจ้าง หรือสัญญาซื้อขาย หรือเอกสารสั่งการผลิต ข้อ 13 การอนุญาตให้ใช้ได้กับการดำเนินกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสำคัญนอกเขต ปลอดอำกรหรือนอกเขตประกอบการเสรีครั้งต่อ ๆ ไปรวมถึงกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลการผลิต และการใช้วัตถุดิบหากสัดส่วนยังคงเป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนด โดยผู้ประกอบกิจการ ต้องยื่นหนังสือแจ้งการเปลี่ยนแปลงข้อมูลตามแบบแนบท้ายประกาศนี้ให้กรมศุลกากรทราบทุกครั้ ง ข้อ 14 การนาของไปดาเนินกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสาคัญบางขั้นตอนนอกเขตปลอดอากร หรือนอกเขตประกอบการเสรีให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการปฏิบัติพิธีการศุลกากร นาของเข้าไปในหรือปล่อยของออก การเก็บของ การขนถ่ายของ การตรวจตรา และการควบคุม ในเ ขตปลอดอากรหรือในเขตประกอบการเสรี ข้อ 15 ในการตรวจสอบกระบวนการผลิตนอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขตประกอบการเสรี ให้ผู้ประกอบการที่ยื่นคำร้องขออนุญาตดำเนินกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสำคัญบางขั้นตอน นอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขตประกอบการเสรี ตรวจสอบและรับรองตนเองว่า ของนั้ นได้ ผ่านกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสาคัญนอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขตประกอบการเสรีเช่นเดียวกับ การดาเนินกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสาคัญในเขตปลอดอากรหรือในเขตประกอบการเสรีและกรมศุลกากร มีอานาจตรวจสอบความถูกต้องของกระบวนการผลิตนั้น ๆ ว่าเป็นไปตามประกาศของสานักงาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรมหรือหน่วยงานของรัฐอื่น ้ หนา 19 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 59 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 มีนาคม 2566
ส่วนที่ 4 การรับรองวัตถุดิบ ข้อ 16 การรับรองว่าวัตถุดิบได้มาจากกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสำคัญและไม่เป็น กระบวนการผลิตอย่างง่ายสำหรับวัตถุดิบที่ได้ถิ่นกำเนิดในประเทศไทยซึ่งผ่านกระบวนการผลิต ในประเทศไทยรวมถึงเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือเขตประกอบการเสรีตามกฎหมาย ว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทยให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กรณีมีสถาบันอิสระภายใต้การกากับดูแลของกระทรวงอุตสาหกรรมที่จัดตั้งขึ้นเพื่อการใด เกี่ยวกับวัตถุดิบนั้น เช่น สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ สถาบันยานยนต์ สถาบันอาหาร สถาบันพลาสติก สถำบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย เป็นต้น หรือหน่วยงานรับรองอิสระอื่นที่กรมศุลกากรเห็นชอบ ให้สถาบันอิสระและหน่วยงานรับรองอิสระอื่น ดังกล่าวเป็นผู้รับรองว่าวัตถุดิบนั้นได้มาจากกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสาคัญของการจัดทาวัตถุดิบ และไม่เป็นกระบวนการผลิตอย่างง่ำย สถาบันอิสระหรือหน่วยงานรับรองอิสระอื่นที่จะรับรองวัตถุดิบข้างต้น ให้ยึดหลักเกณฑ์ทั่วไป ว่าของหรือผลิตภัณฑ์ที่ขอใช้ยกเว้นอากรเป็นของที่จัดอยู่ในกลุ่มผลิตภัณฑ์ของอุตสาหกรรมใด ให้สถาบัน อิสระหรือหน่วยงานรับรองอิสระอื่นนั้นเป็นผู้มีอานาจหน้าที่รับรองวัตถุดิ บสาหรับใช้ในการผลิตของ ในกลุ่มนั้นทั้งหมด เว้นแต่กรณีเป็นวัตถุดิบที่มีลักษณะและคุณสมบัติเฉพาะทางซึ่งต้องตรวจวิเคราะห์ ด้วยเทคนิควิธีพิเศษและจาเป็นต้องได้การรับรองจากสถาบันอิสระหรือหน่วยงานรับรองอิสระอื่นที่เกี่ยวข้อง จึงให้สถาบันอิสระหรือหน่วยงานรับรองอิสระอื่นนั้นเป็นผู้รับรองแทน กรณีที่วัตถุดิบประเภทใดประเภทหนึ่ง มีสถาบันอิสระหรือหน่วยงานรับรองอิสระอื่นที่กรมศุลกากรเห็นชอบคาบเกี่ยวกันมากกว่าหนึ่งสถาบันอิสระ หรือหน่วยงานรับรองอิสระอื่นขึ้นไป ให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบ ดีมอบหมายมีอานาจที่จะพิจารณาเห็นชอบ ให้สถาบันอิสระหรือหน่วยงานรับรองอิสระอื่นใดเป็นผู้รับรองว่าวัตถุดิบนั้นได้มาจากกระบวนการผลิต ที่เป็นสาระสาคัญของการจัดทาวัตถุดิบนั้นและไม่เป็นกระบวนการผลิตอย่างง่าย ซึ่งคาวินิจฉัยในกรณีนี้ ให้ถือเป็นที่สุด ทั้งนี้ หนังสื อรับรองของสถาบันอิสระและหน่วยงานรับรองอิสระอื่น ให้เป็นไปตามแบบ ที่สถาบันอิสระและหน่วยงานรับรองอิสระอื่นนั้น ๆ กาหนด โดยต้องมีข้อความรับรองการผ่านกระบวนการผลิต ในประเทศไทย อย่างน้อย ดังนี้ “ สถาบัน/หน่วยงาน … (ระบุชื่อ และหน่วยงานที่กำกับดูแล) ขอรั บรองว่าวัตถุดิบ … Part Number (ถ้ามี) … ผลิตโดยบริษัท/ห้างร้าน … เลขทะเบียนนิติบุคคล … สถานที่ตั้ง … ได้มาจาก กระบวนการผลิต … ซึ่งเป็นสาระสาคัญของการจัดทาวัตถุดิบ และไม่เป็นกระบวนการผลิตอย่างง่าย ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การ ยกเว้นอากรศุลกากรสาหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ ที่ประกอบหรือผลิตในเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือเขตประกอบการเสรีตามกฎหมาย ว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ้ หนา 20 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 59 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 มีนาคม 2566
ขอรับรองว่าเป็นความจริงทุกประการ ลงชื่อ… ตาแหน่ง… ลงวันที่… เดือน… ปี… ” ในก รณีที่วัตถุดิบไม่ผ่านการรับรองตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด ให้สถาบันอิสระหรือหน่วยงาน รับรองอิสระอื่นที่กรมศุลกากรเห็นชอบ แจ้งเป็นหนังสือต่อกองสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร กรมศุลกากรทราบภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป เพื่อแจ้งให้กอง/สำนักงานศุลกากร หรือ ด่านศุลกา กร ที่ได้รับมอบหมายให้กากับดูแลเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรีที่มีการยื่นขออนุมัติ หลักการสำหรับของที่ขอใช้สิทธิยกเว้นอากรทราบ ( 2 ) กรณีวัตถุดิบนั้นผลิตมาจากผู้ผลิตในประเทศไทยรวมถึงเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรี โดยได้รับเอกสารรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าภายใต้ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน ( ASEAN Trade in Goods Agreement : ATIGA ) จากกรมการค้าต่างประเทศหรือหน่วยงานที่ได้รับมอบหมาย เช่น เอกสารจากระบบ E - Origin หรือสาเนาหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้า ( Form D ) หรือผลการตรวจ คุณสมบัติทางด้านถิ่นกาเนิดของสินค้า หรือเอกสารอื่นใดที่กรมการค้าต่างประเทศ ได้ตรวจสอบและ รับรองข้อมูลการผลิตสินค้าว่าถูกต้องตามหลักเกณฑ์ถิ่นกาเนิดสินค้า หรือหนังสือรับรองจากผู้ส่งออก ที่ได้รับอนุญาตจากกรมการค้าต่างประเทศ ( Self - Certificat ion ) ว่าวัตถุดิบนั้นมีถิ่นกาเนิดจากประเทศไทย ตามความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน ให้ใช้เป็นเอกสารประกอบในการพิสูจน์ว่าวัตถุดิบได้มาจาก กระบวนการผลิตในประเทศไทยและได้ถิ่นกาเนิดในประเทศไทยและถือเป็นการรับรองว่าวัตถุดิบได้มาจาก กระบวนการผลิตที่เป็นสาระสำคัญข องการจัดทำวัตถุดิบนั้น และไม่เป็นกระบวนการผลิตอย่างง่าย (3) กรณีมีสาเนาเอกสารหรือข้อมูลที่แสดงว่าสถาบันอิสระหรือหน่วยงานรับรองอิสระอื่น ที่กรมศุลกากรเห็นชอบไม่อาจรับรองตาม (1) ได้และวัตถุดิบนั้นไม่ได้เอกสารรับรองตาม (2) ให้ผู้ประกอบกิจการที่ขอใช้สิทธิยกเว้นอากรตรวจสอบด้วยตนเองว่าเป็นกระบวนการผลิตที่เป็น สาระสาคัญของการจัดทาวัตถุดิบนั้นตามมาตรฐานเดียวกับสถาบันอิสระ หรือหน่วยงานรับรองอิสระอื่น ที่กรมศุลกากรเห็นชอบ หรือให้ตรวจสอบว่าวัตถุดิบนั้นมีถิ่นกาเนิดจากประเทศไทยตามกฎว่ ำด้วย ถิ่นกาเนิดสินค้าภายใต้ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน ( ASEAN Trade in Goods Agreement : ATIGA ) ตามมาตรฐานเดียวกับกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ หรือหน่วยงานที่ได้รับ มอบหมาย และตรวจสอบว่าไม่เป็นกระบวนการผลิตอย่างง่าย ซึ่งหากเห็นว่าถูกต้ องแล้ว ให้รับรอง ตนเองว่าวัตถุดิบนั้นได้มาจากกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสาคัญของการจัดทาวัตถุดิบนั้นและไม่เป็น กระบวนการผลิตอย่างง่าย พร้อมกับแนบเอกสารแสดงขั้นตอนการผลิตวัตถุดิบ การใช้วัตถุดิบ มูลค่าและถิ่นกาเนิดวัตถุดิบ ต้นทุนการผลิตวัตถุดิบ และกำไรของวั ตถุดิบดังกล่าวเพิ่มเติมด้วย ้ หนา 21 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 59 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 มีนาคม 2566
ส่วนที่ 5 อำนาจการพิจารณาปัญหาการใช้สิทธิยกเว้นอากรและการเก็บรักษาเอกสาร ข้อ 17 ในกรณีที่มีปัญหาการใช้สิทธิยกเว้นอากรศุลกากรตามประกาศนี้ ให้อธิบดี กรมศุลกากรมีอำนาจพิจารณาอนุมัติหรือไม่อนุมัติการให้ยกเว้นอากรศุลกากร ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนดไว้ในประกาศนี้ ข้อ 18 ให้ผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรีที่ได้รับสิทธิยกเว้นอากร เก็บหลักฐานและเอกสารประกอบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการนาวัตถุดิบเข้าไปในหรือการนาของที่ได้รับ สิทธิยกเว้นอากรออกจากเขตปลอดอากรห รือเขตประกอบการเสรี กระบวนการผลิต หลักฐาน การเบิกจ่าย เช่น สาเนาใบขนสินค้าประเภทต่าง ๆ เอกสารการโอนสินค้าหรือหลักฐานการรับโอนสินค้า บัญชีราคาสินค้า ใบกากับภาษี เอกสารรับรองถิ่นกาเนิดของวัตถุดิบ ทะเบียนบัญชีควบคุมวัตถุดิบ และของที่ได้รับสิทธิยกเว้น อากร หลักฐานการเบิกจ่ายวัตถุดิบในกระบวนการผลิต ไม่ว่าจะอยู่ในสื่อ รูปแบบใดเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี นับแต่วันที่นาของที่ได้รับสิทธิยกเว้นอากรออกจากเขตปลอดอากร หรือเขตประกอบการเสรี หลักฐานตามวรรคหนึ่งให้เก็บรักษาไว้ ณ สถานประกอบการในเขตปลอดอากร หรือ เข ตประกอบการเสรี และพร้อมให้พนักงานศุลกากรตรวจสอบได้ตลอดเวลาทาการ โดยต้องจัดให้มี เครื่องมือและอุปกรณ์ในการตรวจสอบ พร้อมทั้งอานวยความสะดวกอื่น ๆ ตามความจาเป็น และ ในกรณีที่เลิกประกอบกิจการให้เก็บและรักษาบัญชี เอกสาร หลักฐาน และข้อมูลดังกล่าว ณ สถานที่ ที่อธิบดีกำหนดต่อไปอีกสองปีนับแต่วันเลิกประกอบกิจการ ประกาศ ณ วันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 25 6 6 พชร อนันตศิลป์ อธิบดีกรมศุลกากร ้ หนา 22 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 59 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 มีนาคม 2566
ภาคผนวก การกาหนดความหมายของคาตามประกาศ กรมศุลกากร เรื่อง หลักเกณฑ์และพิธีการสาหรับ การ ยกเว้น อากรศุลกากรสำหรับรถยนต์ไฟฟ้า แบบ แบตเตอรี่ ที่ประกอบหรือผลิตในเขตปลอดอากร ตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร หรือ ใน เขตประกอบการเสรี ตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย ลงวันที่ มกราคม พ.ศ. 256 6 “ ราคาของของหน้าโรงงาน ( ex - factory )” หมายความว่า ผลรวมของมูลค่าวัตถุดิบที่ได้ถิ่นกาเนิด ใน ประเทศไทย มูลค่าวัตถุดิบที่ได้ถิ่นกาเนิดจากประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มูลค่าวัตถุดิบที่นาเข้าจากประเทศอื่นหรือมูลค่าวัตถุดิบที่ไม่สามารถระบุถิ่นกาเนิดได้ ต้นทุนค่าแรง ต้นทุนการ ผลิตอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นจริงในประเทศไทยเพื่อให้ได้มาซึ่งของนั้นและ กาไร “ มูลค่าวัตถุดิบที่นาเข้าจากประเทศอื่นหรือมูลค่าวัตถุดิบที่ไม่สามารถ ระบุถิ่นกาเนิดได้ ” หมายความว่า ราคา CIF ของวัตถุดิบที่นาเข้าจากประเทศอื่นที่มิใช่ประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออก เฉียงใต้หรือวัตถุดิบที่ไม่สามารถระบุถิ่นกำเนิดได้ “ วัตถุดิบที่ได้ถิ่นกาเนิดในประเทศไทย ” หมายความว่า (1) วัตถุดิบที่ทั้งหมดได้จากในประเทศไทย ดังต่อไปนี้ ก) ผลิตภัณฑ์แร่ธาตุ ซึ่งสกัดมาจากพื้นดิน พื้นน้ำ หรือจากท้องทะเล ของประเทศไทย ข) ผลิตผลทางการเกษตร ซึ่งเก็บเกี่ยวได้ในประเทศไทย ค) สัตว์ที่มีกาเนิดและเลี้ยงเติบโตในประเทศไทย ง) ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสัตว์ตาม ค) จ) ผลิตผลที่ได้จากการล่าสัตว์ การประมง การทำฟาร์ม การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ ที่กระทำ ในประเทศไทย ฉ) ผลิตผลที่ได้จากการประมงทางทะเล หรือผลิตผลอื่นที่ได้จากทะเลโดยเรือของประเทศไทย ช) สิน ค้าที่ผลิตขึ้นและ/หรือทำขึ้นบนเรือผลิตสินค้าของประเทศไทยโดยเฉพาะจากผลิตผลตาม ฉ) ซ) ของที่ใช้แล้วซึ่งรวบรวมได้ในประเทศไทยเฉพาะที่เหมาะสาหรับการนากลับมาใช้เป็น วัตถุดิบ ฌ) เศษของของที่เกิดจากการผลิตที่ทำในประเทศไทย ญ) สินค้าที่ผลิตขึ้นในประเทศไทยโดยเฉพาะจากผลิตภัณฑ์ตาม ก) ถึง ญ) หรือ (2) วัตถุดิบที่ผ่านกระบวนการผลิตในประเทศไทยรวมถึงเขตปลอดอากร ตามกฎหมายว่าด้วย ศุลกากร หรือเขตประกอบการเสรี ตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ซึ่งวัตถุดิบนั้นต้อง ได้รับการรับรองว่าไ ด้มาจากกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสาคัญของการจัดทาวัตถุดิบนั้น และต้องไม่เป็น กระบวนการผลิตอย่างง่าย ทั้งนี้ การรับรองดังกล่าวให้เป็นไปตาม ประกาศนี้ และไม่ตัดสิทธิของกรมศุลกากร ที่จะทำการตรวจสอบความถูกต้องของกระบวนการผลิตในประเทศไทย “ วัตถุดิบที่ได้ถิ่นกำเนิดจาก ประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ” หมาย ความว่า วัตถุดิบที่ได้ถิ่นกาเนิด จากประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามกฎว่าด้วยถิ่นกาเนิดสินค้าภายใต้ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน ( ASEAN Trade in Goods Agreement : ATIGA ) ที่นำเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อนำเข้าไปในเขตปลอดอากรหรือ ใน เขตประกอบการเสรี โดยผู้ประกอบการที่ขอใช้สิทธิ ยกเว้น อากร รวมถึงที่ได้มาจาก หรือซึ่งได้รับมาจากผู้ประกอบการรายอื่นในประเทศ โดยมี หลักฐานการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า ภายใต้ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียนเป็นหลักฐานในการพิสูจน์
“ เซลล์แบตเตอรี่ที่นำเข้ามาจากต่างประเทศ ” หมายความว่า เซลล์แบตเตอรี่ที่นำเข้ามาจาก ต่างประเทศที่ไม่ใช่ประเทศสมาชิก สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำหรับนำมาผลิตเป็น แบตเตอรี่ “ กระบวนการผลิ ตอย่างง่าย ” หมายความว่า ขั้นตอนหรือ กระบวนการที่ให้ผลน้อยที่สุดต่อคุณลักษณะ หรือคุณสมบัติอันเป็นสาระสาคัญของของ การดาเนินการถนอมรักษาเพื่อประกันว่าของนั้นจะยังอยู่ในสภาพที่ดี ระหว่างการขนส่งและการเก็บรักษา การอานวย ความสะดวกในการส่งสินค้าหรือการขนส่ง หรือการ บรรจุหีบห่อ การเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ การแบ่งบรรจุ การแบ่งของกอง การจัดกลุ่มเป็นหีบห่อเล็ก ๆ การจัดให้เป็นชุด การเอา หีบห่อออก การบรรจุหีบห่ออีกครั้ง หรือการนาเสนอสินค้าเพื่อการขนส่งหรือการขาย และให้หมายความ รวมถึง (1) การผึ่งลม การระบายอากาศ การทำให้แห้ง การทำใ ห้เย็น การแช่แข็ง หรือการแช่เย็นอย่างง่าย (2) การล้าง การท ํา ความสะอาด การเอาฝุ่น ออกไซด์ น้ำมัน สี หรือสิ่งปกคลุมออกอย่างง่าย (3) การรีด หรืออัด ส ํา หรับสิ่งทอและผลิตภัณฑ์สิ่งทอ (4) การทาสีและการขัดอย่างง่าย (5 ) การสี ( milling ) การฟอกขาวบางส่วนหรือทั้งหมด การขัดและการเคลือบ ธัญพืชและข้าว (6) การฟอกสีน้ำตาลหรือท ํา น้ำตาลก้อน (7) การปอก การคว้านเมล็ด หรือการกะเทาะเปลือกอย่างง่าย (8) การลับให้คม การโม่ การบดอย่างง่าย การเฉือน การตัดอย่างง่ายหรือการตัดเป็นทางยาว ( slitting ) การงอ ( bending ) การม้วน ( coiling ) หรื อ การคลี่ ( uncoiling ) (9) การกรอง การร่อนด้วยตะแกรง การร่อน การเขย่า การเลือก การคัด การแยกประเภท การแบ่งชั้น การจับคู่ หรือการสกัด ( 10) การบรรจุอย่างง่ายในขวด กระป๋อง กระติก ถุง ซอง กล่อง การติดบัตร หรือกระดาษแข็ง และ การด ํา เนินการบรรจุหีบห่ออย่างง่ายอื่น ๆ (11) การติดหรือการพิมพ์เครื่องหมาย ฉลาก ตราสินค้า หรือสัญลักษณ์แบ่งแยกประเภทในลักษณะ เดียวกันอื่นใดบนผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์นั้น ( 12) การผสมกันอย่างง่ายของผลิตภัณฑ์ไม่ว่าจะต่างชนิดกันหรือไม่ก็ตาม (13) การเจือ จางในน้ำหรือในสารละลายในน้ำ (14) การประกอบกันของชิ้นส่วนของของเพื่อเป็นของที่สมบูรณ์ หรือการถอดแยกของออกเป็น ชิ้นส่วนอย่างง่าย หรือการประกอบเข้าด้วยกันอย่างง่ายหรือการขึ้นรูปชิ้นส่วนให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่ครบสมบูรณ์ (15) การทดสอบหรือการวัดขนาด ( calibration ) อ ย่างง่าย (16) การฆ่าสัตว์ ( slaughtering ) (17) การด ํา เนินการที่กล่าวใน (1) ถึง (16) ประกอบกัน “ ต้นทุนค่าแรง ” หมายความว่า ผลรวมของค่าแรง เงินโบนัส และสวัสดิการแรงงานที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการผลิต “ ต้นทุนการผลิตอื่น ๆ ” หมายความว่า ผลรวมของต้นทุนที่เกิดขึ้ นในกระบวนการผลิตของของนั้น ดังต่อไปนี้ (1) ค่าใช้จ่ายส ํา หรับอสังหาริมทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต ได้แก่ ค่าประกันภัย ค่าเช่าโรงงาน ค่าเสื่อมของอาคาร ค่าซ่อมบำรุง ค่าภาษี ค่าธรรมเนียม ค่าดอกเบี้ ยจากการจำนองหรือการเช่า (2) ค่าเช่า และค่าดอกเบี้ยสำหรับเครื่องจักรและอุปกรณ์
(3) ค่าประกันภัยเครื่องจักรและอุปกรณ์และวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต (4) ค่าสาธารณูปโภคด้านพลังงาน ได้แก่ ค่าไฟฟ้า ค่าน้า และสาธารณูปโภคอื่น ๆ ที่มีผลโดยตรงต่อการผลิต สินค้า (5) ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัย การพัฒนา การออกแ บบ การประดิษฐ์และวิศวกรรม รวมถึงค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาที่พัฒนาขึ้นในประเทศไทย (6) ค่าเสื่อมราคา ค่าบำรุงรักษา และค่าซ่อมเครื่องจักรและอุปกรณ์ (7) ค่าสัมปทาน หรือค่าใบอนุญาต (8) ค่าตรวจสอบและค่าทดสอบวัตถุดิบและสินค้า (9) ค่าเก็บรักษาและค่าการจัดการในโรงงาน (10) ค่ากาจัดสิ่งปฏิกูลที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ และ (11) ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นจริงในกระบวนการผลิต “ กาไร ” หมายความว่า ราคาของของหน้าโรงงาน ( ex - factory ) หักด้วยต้นทุนการผลิตโดยเป็นไปตาม หลักการทางบัญชีอันเป็นที่ ยอมรับทั่วไป “ ต้นทุนการผลิต ” หมายความว่า ผลรวมของมูลค่าวัตถุดิบในประเทศไทย มูลค่าวัตถุดิบนาเข้าจาก ประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มูลค่าวัตถุดิบที่นาเข้าจากประเทศอื่นหรือ มูลค่าวัตถุดิบที่ไม่ สามารถระบุถิ่นกาเนิดได้ ต้นทุนค่าแรง และต้นทุนการผลิตอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นจริงในประเทศไทย เพื่อให้ได้มาซึ่งของนั้น
แบบแนบท้ำยประกาศกรมศุลกากร ที่ 22 / 2566 คํา ร้องขอ ยกเว้น อํากรและ หนังสือ รับรองข้อมูล กํารผลิต กํารใช้วัตถุดิบ และต้นทุนกํารผลิต ส ําหรับ รถยนต์นั่ง รถยนต์โดยสํารที่มีที่นั่งไม่เกินสิบคนและรถยนต์กระบะ แบบพลังงํานไฟฟ้ําจํากแบตเตอรี่ ( Battery Electric Vehicle : BEV ) ที่น ําออกจํากเขตปลอดอํากรหรือเขต ประกอบกํารเสรี เพื่อจ ําหน่ํายหรือบริโภคภํายในประเทศ เขียนที่… วันที่…เดือน…พ.ศ. … เรียน ผู้อานว ยการสำนัก/สำนักงานศุลกากร หรือนายด่านศุลกากรหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ด้วยข้าพเจ้า… … ผู้มีอานาจทาการแทน บ ริษัท/ห้าง/ร้าน (ภาษาไทย) … … . (ภาษาอังกฤษ)… ผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากร/ หรือ เขต ประกอบการเสรี … … … ตามใบอนุญาตเลขที่… … …ตั้งอยู่เลขที่…ถนน…ตาบล/แขวง… อาเภอ/เขต… จังหวัด…รหัสไปรษณีย์…โทรศัพท์…โทรสาร… … เลขทะเบียนนิติบุคคล…เลขประจาตัวผู้เสียภาษี… … … ขอ ยื่นคำร้อง ขอ ยกเว้น อากรและ หนังสือ รับรองข้อมูล การผลิต การใช้วัตถุดิบ และต้นทุนการผลิต รถยนต์นั่ง รถยนต์ โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกินสิบคนและรถยนต์กระบะแบบพลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ( Battery Electric Vehicle : BEV ) ที่นาออกจากเขตปลอดอากรหรือเขต ประกอบการเสรี เพื่อจาหน่ายหรือบริโภคภายในประเทศ และให้คา รับรอง เพื่อขอ ใช้สิทธิ ยกเว้น อากร ศุลกากร ต่อกรมศุลกากร ดังนี้ ชื่อ ของ … รุ่นของ ของ … .. ประเภท พิกัด อัตรําศุลกํากร … … ข้อ 1 ข้อ มูล กํารผลิต กํารใช้วัตถุดิบ และต้นทุนกํารผลิตของของ ต่อ 1 หน่วย (มูลค่ํา : บําท) 1. มูลค่าวัตถุดิบที่ ได้ ถิ่นกาเนิดในประเทศไทย 1.1 วัตถุดิบที่ทั้งหมดได้จากในประเทศไทย = …บาท 1.2 วัตถุดิบที่ผ่านกระบวนการผลิตในประเทศไทย = … …บาท 2. มูลค่าวัตถุดิบที่ ได้ ถิ่นกาเนิดจากประเทศ สมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ = …บาท 3 . มูลค่าของเซลล์แบตเตอรี่ที่นำเข้าจากต่างประเทศ ที่ ไม่เกินร้อยละ 15 ของราคาของของหน้าโรงงาน =… บาท 4 . มูลค่าของเซลล์แบตเตอรี่ที่นำเข้าจากต่างประเทศ ที่ เกินร้อยละ 15 ของราคาของของหน้าโรงงาน =… บาท 5 . มูลค่าวัตถุดิบที่ ได้ ถิ่นกาเนิดจากประเทศอื่น หรือที่ไม่สามารถระบุถิ่นกาเนิดได้ = …บาท 6 . ต้นทุนค่าแรง (ค่าแรง งาน ทางตรง เงินโบนัส สวัสดิการแรงงานที่เกี่ยวข้องกับการผลิต) = …บาท 7 . ต้นทุนการผลิตอื่น ๆ = …บาท 8 . กำไรต่อสินค้า 1 หน่วย = …บาท 9 . ผลรวมของ (1 . +2 . + 3. + 6 . + 7 . + 8 ) = …บาท 10 . ราคาของ ของ หน้าโรงงาน (1 . +2 . + 3 . +4 . +5 . +6 . +7 +8 ) = …บาท 1 1 . อัตรา ส่วน ของ ผลรวมในข้อ 9 ต่อ ราคาของ ของ หน้าโรงงาน (ข้อ 9 . หารด้วยข้อ 10 . คูณด้วย 100) = … % ( ร้อยละ )
ข้อ 2 รํายละเอียดข้อมูลกํารผลิต กํารใช้วัตถุดิบ และต้นทุนกํารผลิตของของ ต่อ 1 หน่วย ดังต่อไปนี้ (2.1 ) ขั้นตอนกํารผลิต ผสม ประกอบ บรรจุ หรือด ําเนินกําร อื่นใดในลักษณะอุตสําหกรรม (2 . 2) ข้อมูลกํารใช้วัตถุดิบ 2 . 2.1 มูลค่ําวัตถุดิบที่ ได้ ถิ่นก ําเนิดในประเทศไทย ล ําดับ ที่ ชื่อวัตถุดิบ รหัสวัตถุดิบ (ถ้ํามี) พิกัด ศุลกํากร จํานวน ที่ใช้ / หน่วย รําคํา/หน่วย มูลค่ํารวม (บําท) ผู้ผลิตหรือ ผู้จําหน่ําย เอกสําร รับรอง ถิ่นก ําเนิด มูลค่ํารวม 2 . 2.2 มูลค่ําวัตถุดิบที่ ได้ ถิ่นก ําเนิดจํากประเทศ สมําชิกสมําคมประชําชําติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ล ําดับ ที่ ชื่อวัตถุดิบ รหัสวัตถุดิบ (ถ้ํามี) พิกัด ศุลกํากร จํานวน ที่ใช้ / หน่วย รําคํา/หน่วย มูลค่ํารวม (บําท) นําเข้ํา จําก ประเทศ เอกสําร รับรอง ถิ่นก ําเนิด มูลค่ํารวม
2 .2. 3 มูลค่ําของเซลล์แบตเตอรี่ที่น ําเข้ําจํากต่ํางประเทศ ล ําดับ ที่ ชื่อ เซลล์แบตเตอรี่ รหัสวัตถุดิบ (ถ้ํามี) พิกัด ศุลกํากร นําเข้ํา จําก ประเทศ จํานวน ที่ใช้ / หน่วย รําคํา/ หน่วย มูลค่ํารวม(บําท) มูลค่ํารวม รําคําของของหน้ําโรงงําน มูลค่ํารวมของเซลล์แบตเตอรี่ ( ไม่เกินร้อยละ 15 ของรําคําของของหน้ําโรงงําน ) มูลค่ํารวมของเซลล์แบตเตอรี่ ( ที่เกินร้อยละ 15 ของรําคําของของหน้ําโรงงําน ) 2 . 2. 4 มูลค่ําวัตถุดิบที่ ได้ ถิ่นก ําเนิดจํากประเทศอื่น หรือที่ไม่สํามํารถระบุถิ่นก ําเนิดได้ ล ําดับ ที่ ชื่อวัตถุดิบ รหัสวัตถุดิบ (ถ้ํามี) พิกัด ศุลกํากร จํานวน ที่ใช้ / หน่วย รําคํา/ หน่วย มูลค่ํารวม (บําท) นําเข้ําจําก ต่ํางประเทศหรือ ซื้อจํากในประเทศ มูลค่ํารวม
2 . 2. 5 รํายกํารต้นทุนกํารผลิตอื่น ๆ ล ําดับที่ รํายกําร มูลค่ํา/หน่วย 1. 2 . 3 . 4 . 5 . 6 . 7 . 8 . 9 . 10 . 11 . 12 . ค่าใช้จ่ายสำหรับอสังหาริมทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต ได้แก่ ค่าประกันภัย ค่าเช่าโรงงาน ค่าเสื่อมของอาคาร ค่าซ่อมบำรุง ค่าภาษี ค่าธรรมเนียม ค่าดอกเบี้ย จากการจำนองหรือการเช่า ค่าเช่า และค่าดอกเบี้ยสำหรับเครื่องจักรและอุปกรณ์ ค่าประกันภัยเครื่องจักรและอุปกรณ์และวัตถุดิบที่ใช้ ใ นการผลิต ค่าสาธารณูปโภคด้านพลังงาน ได้แก่ ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำ และสาธารณูปโภคอื่น ๆ ที่มีผลโดยตรงต่อการผลิตสินค้า ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัย การพัฒนา การออกแบบ การประดิษฐ์ และ วิศวกรรม รวมถึงค่าใช้จ่ายเกี่ย วกับทรัพย์สินทางปัญญาที่พัฒนาขึ้นในประเทศไทย ค่าเสื่อมราคา ค่าบำรุงรักษาและค่าซ่อมเครื่องจักร และอุปกรณ์ ค่าสัมปทาน หรือค่าใบอนุญาต ค่าตรวจสอบ และค่าทดสอบวัตถุดิบและสินค้า ค่าเก็บรักษา และค่าการจัดการในโรงงาน ค่ากาจัดสิ่งปฏิกูลที่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ ค่าวัสดุสิ้นเปลือง ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกิดขึ้นจริงในกระบวนการผลิต - … - … - … - … รวม
ข้อ 3 ข้ําพเจ้ําขอรับรองว่ํา 1. ของ ดังกล่าวได้จากการผลิต ผสม ประกอบ บรรจุ หรือดำเนินการอื่นใด ในลักษณะอุตสาหกรรม ในเขตปลอดอากร (ผู้ประกอบ กิจ การในเขตปลอดอากร) หรือได้จากการผลิต ผสม หรือ ประกอบ ในลักษณะ อุตสาหกรรม ในเขต ประกอบการเสรี (ผู้ประกอบ กิจ การในเขต ประกอบการเสรี ) โดย มีผลรวมของมูลค่าวัตถุดิบ ที่ได้ ถิ่นกาเนิด ในประเทศไทย มูลค่าของเซลล์ แบตเตอรี่ที่นาเข้าจากต่างประเทศ ต้นทุนค่าแรง ต้นทุนการผลิตอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นจริงในประเทศไทย เพื่อให้ได้มาซึ่งของนั้น และกาไร ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 40 ของราคาของ ของ หน้าโรงงาน ( e x - f actory ) หรือ มีผลรวมของมูลค่าวัตถุดิบ ที่ได้ถิ่นกำเนิดจากประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ มูลค่าของเซลล์แบตเตอรี่ที่นาเข้าจากต่างประเทศ ต้นทุนค่าแรง ต้นทุนการผลิตอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น จริงในประเทศไทย เพื่อให้ได้มาซึ่งของนั้น และกาไร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของราคาของของหน้าโรงงาน ( e x - f actory ) หรือ มี ผลรวมของมูลค่าวัตถุดิบ ที่ได้ ถิ่นกาเนิด ในประเทศไทยรวมกับมูลค่าวัตถุดิบ ที่ได้ถิ่น กาเนิด จาก ประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มูลค่าของเซลล์แบตเตอรี่ที่นาเข้าจากต่างประเทศ ต้นทุนค่าแรง ต้นทุนการผลิตอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นจริงในประเทศไทยเพื่อให้ได้มาซึ่งของนั้น และ กำไร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของราคาของ ของ หน้าโรงงาน ( e x - f actory ) 2 . ข้อมูลการ ผลิต การใช้วัตถุดิบ ต้นทุนการผลิต และกาไร และเอกสาร หลักฐาน ประกอบต่างๆ ที่ส่งให้กรมศุลกากร รวมถึงวิธีการคานวณสัดส่วนการใช้วัตถุดิบ และต้นทุนการผลิต ที่ปรากฏในคาร้องขอ ยกเว้น อากร และหนังสือรับรองข้อมูลการผลิต ฯ นี้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมศุลกากรกาหนด โดย ถูกต้อง เป็นความจริงทุกประการ และยินยอมให้ พนักงาน ศุลกากรเข้าไปตรวจสอบหลักฐานและทะเบียนบัญชีเกี่ยวกับ การนา ของ เข้า กระบวน การผลิต การนา ของ ออก และเอกสาร หลักฐาน ที่เกี่ยวข้องได้ตลอดเวลาทาการ และ พร้อม ที่จะชี้แจงและพิสูจน์การใช้สัดส่วนของวัตถุดิบ ของของ ดังกล่าวต่อกรมศุลกากร 3. ภายหลังปรากฏว่า การสาแดง ข้ อมูลและเอกสาร หลักฐาน ประกอบข้างต้นไม่ถูกต้องตรงตาม ความเป็นจริง หรือไม่สามารถชี้แจงหรือแสดงหลักฐานได้ หรือไม่ได้มี กระบวน การผลิต หรือ กระบวนการ ผลิต ไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ และ เงื่อนไขที่กรมศุลกากรกำหนด ข้าพเจ้ายินยอมให้กรมศุลกากร เพิกถอน สิทธิการ ยกเว้น อากร ศุลกากร ตามที่ได้อนุมัติหลักการไว้แต่ต้น และยินยอมปฏิบัติตามที่กรมศุลกากรสั่งการทุกประการ โดยจะดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากกรมศุลกากร 4. ข้ำพเจ้าจะ เก็บหลักฐานและเอกสารประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการนาวัตถุดิบเข้าไปใน หรือการนำของที่ได้รับสิทธิ ยกเว้น อากรศุลกากรออกจากเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรี กระบวนการผลิต หลักฐานการเบิกจ่าย การโอนสินค้า บัญชีราคาสินค้า ใบกำกับภาษี เอกสารรับรองถิ่นกำเนิดของวัตถุดิบ ทะเบียนบัญชีควบคุมวัตถุดิบและของที่ได้รับสิทธิ ยกเว้น อากรศุลกากร ไม่ ว่าจะอยู่ในสื่อรูปแบบใดตามระเบียบ การเก็บรักษาเอกสารของทางราชการเป็นกาหนดระยะเวลา 5 ปี นับแต่วันที่นาของ ที่ ได้รับสิทธิ ยกเว้น อากร ศุลกากรออกจากเขตปลอดอากรหรือเขตประกอบการเสรี ในกรณีที่เลิกประกอบกิจการให้เก็บและรักษาบัญชี เอกสารหลักฐาน และข้อมูลดังกล่าว ณ ส ถานที่ที่อธิบดีกำหนดต่อไปอีกสองปีนับแต่วันเลิกประกอบกิจการ ลงชื่อ… (…) ตำแหน่ง…
แบบแนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 22 / 25 6 6 หนังสือแจ้งเปลี่ยนแปลงข้อมูลกํารผลิต กํารใช้วัตถุดิบ และต้นทุนกํารผลิต ส ําหรับ ของ ที่น ําออกจําก เขตปลอดอํากรหรือเขต ประกอบกํารเสรี เพื่อจ ําหน่ํายหรือบริโภคภํายในประเทศ โดยขอใช้สิทธิยกเว้นอํากร เขียนที่ … วันที่ … เดือน… พ.ศ. … เรียน ผู้อานวยการสำนัก/สานักงาน หรือนายด่า นศุลกากร หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ด้วยข้าพเจ้า…ผู้มีอำนาจทำการแทน บริษัท/ห้าง/ร้าน …เป็นผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากร/ผู้ประกอบกิจการในเขต ประกอบการเสรี … …ตามใบอนุญาตเลขที่…ตั้งอยู่เลขที่…ถนน… … ตาบล/แขวง…อาเภอ/เขต… จังหวัด… …รหัสไปรษณีย์… โทรศัพท์… … …โทรสาร… … ขอแจ้งเปลี่ยนแปลงคาร้องขอยกเว้นอากรและหนังสือรับรอง ข้อมูลการผลิตฯ สำหรับ ของ … … … . รุ่น … …ซึ่งกรมศุลกากร อนุมัติ หลักการไว้ ตามหนังสือกรมศุลกากร ที่ กค… / … ลงวันที่… โดยมีรายการที่เปลี่ยนแปลงปรากฏตามเอกสารแนบ ท้าย ข้าพเจ้าขอรับรองว่า 1. สัดส่วนการใช้วัตถุดิบในการผลิต ของ… … … …รุ่น … … … ที่ผลิตตามคาร้องขอยกเว้นอากร และ หนังสือรับรอง ข้อมูล การผลิตฯ ที่กรมศุลกากรอนุมัติ และตามหนังสือแจ้ง เปลี่ยนแปลงนี้ ยังคงเป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การยกเว้นอากรศุลกากร สาหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ที่ประกอบหรือผลิตใ นเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือเขต ประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2. หนังสือแจ้งการเปลี่ยนแปลงฉบับนี้ ถือเป็นส่วนหนึ่งของคำร้องขอยกเว้นอากร และหนังสือรับรอง ข้อมูลการผลิต…รุ่น … …ที่ยื่นไว้เมื่อวันที่… เดือน … พ.ศ… . ลงชื่อ… … … (… … … … … ) ตำแหน่ง… … … หมํายเหตุ เอกสารแนบแจ้งการเปลี่ยนแปลงต้องแจ้งข้อมูลเดิม และข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงโดยอ้างอิงลำดับที่ คำร้องขอยกเว้นอากรและหนังสือรับรองข้อมูลการผลิตฯที่ยื่นในครั้งแรก (ชื่อของ) หน้า 1 / 1
แบบแนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 22 / 25 6 6 หนังสือรับรองกํารได้รับสิทธิยกเว้นอํากร เขียนที่ … … … วันที่ … เดือน … พ.ศ. … เรื่อง ขอรับรอง ข้อมูล การผลิต การใช้วัตถุดิบ และต้นทุนการผลิต และการได้รับสิทธิยกเว้นอากร เรียน หัวหน้าสานักงานศุลกากรเขตปลอดอากร / เขต ประกอบการเสรี … … . ตามที่ข้าพเจ้า … … . . มีอานาจทาการแทน บริษัท / ห้าง/ ร้ำน … เป็นผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากร / เขต ประกอบการเสรี … … … ตามใบอนุญาตเลขที่… ตั้ งอยู่เลขที่ … … ถนน … ตาบล / แขวง … อาเภอ / เขต … จังหวัด … รหัสไปรษณีย์…โทรศัพท์ … โทรสาร … .. ได้ยื่นคำร้องขอยกเว้นอากรและหนังสือรับรอง ข้อมูล การผลิต การใช้วัตถุดิบ และต้นทุนการผลิต สาหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ที่ประกอบหรือผลิตในเขต ปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือเขตประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย ซึ่งนำมาจำหน่ายหรือบริโภคภายในประเทศ โดย ขอรับสิทธิในการยกเว้นอากร สำหรับ ของ ดังนี้ ลำดั บ ชื่อ ของ อนุมัติ หลักการฯลงวันที่ ประเภท พิกัด ปริมาณ/ น้าหนักสุทธิ (ก.ก.) ราคาหน้าโรงงาน ( ex - factory ) (กรณีมีการโอนของ) โดยลาดับของที่… ได้โอนมาจากเขตประกอบการเสรี/เขตปลอดอากร … … ตามใบขนขาออกโอนย้ายเข้าเขตประกอบการเสรี/เขตปลอดอากร( Type D ) เลขที่หรือคาร้อง โอนย้ายภายในเขตปลอดอากรเลขที่… ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ของ ตามรายการดังกล่าวข้างต้น ซึ่งนาเข้าตามใบขนสินค้าขาเข้าเลขที่… จานวน/ปริมาณ… .. …ตามเอกสารการซื้ อขาย/ใบกากับภาษีมูลค่าเพิ่มเลขที่ … เป็น ของ ที่ได้รับสิทธิ ในการยกเว้นอากร ศุลกากร โดยมีสัดส่วนการใช้วัตถุดิบ และต้นทุนการผลิต ตามคาร้องขอยกเว้นอากรฯ และหนังสือแจ้ง เปลี่ยนแปลงข้อมูลการผลิต ของ ฯ ที่ขอใช้สิทธิยกเว้นอากรลงวันที่… … …และกรมศุลกากร อนุมัติ หลักการแล้ว หากภายหลังปรากฏว่า ชนิด ราคา ถิ่นกาเนิดของวัตถุดิบ ต้นทุนการผลิต ต้นทุนค่าแรง กาไร และวิธีการคานวณสัดส่วน ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ที่กาหนด หรือข้อควำม คารับรอง และเอกสาร หลักฐาน ประกอบดังกล่าว ไม่ ถูกต้อง หรือไม่ เป็นความจริง ข้าพเจ้ายินยอมให้กรมศุลกากรดำเนินคดีตามกฎหมาย (ลงชื่อ) … … … เจ้าของ/กรรมการผู้จัดการ ( … … … … … ..) ประทับตรา / บริษัท ( ถ้ามี ) หน้า 1 / 1
แบบแนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 22 / 25 6 6 บัญชีรํายละเอียดกํารนําของที่ได้สิทธิยกเว้นอํากรและรับโอนจํากเขตปลอดอํากร/เขตประกอบกํารเสรีอื่น ออกจํากเขตปลอดอํากร/เขตประกอบกํารเสรี เพื่อจ ําหน่ํายหรือบริโภคภํายในประเทศ 1. รายละเอียดผู้รับโอนของ บริษัท… … … . (ผู้รับโอน) ผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากร/ เขตประกอบการเสรี… … เลขทะเบียนสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร… … … 2. รายละเอียดการโอนของจากเขตปลอดอากร/เขตประกอบการเสรี… … … ตาม ใบขนสินค้าขา ออกโอนย้ายเข้าปลอดอากร/เขตประกอบการเสรี (ประเภท D ) หรือ คำร้องขอโอ นระหว่าง ผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากร เลขที่… … … วันที่นำเข้าเก็บในเขตปลอดอากร / เขตประกอบการเสรี… รํายละเอียดสินค้ําที่นําเข้ําเก็บใน ปลอดอํากร/เขตประกอบกํารเสรี รํายกํารที่ ชนิดของ ปริมําณ หน่วย น้ําหนัก เลขที่อนุมัติหลักกําร รํายละเอียดกํารนําของออกจํากเขตปลอดอํากร/เขตประกอบกํารเสรี รํายกํารที่ ครั้งที่ วันที่น ําออก ปริมําณ น้ําหนัก เลขที่ใบขนสินค้ํา ขําออกโอนย้ําย ชําระภําษีอํากร นำออก คงเหลือ นำออก คงเหลือ กรรมการผู้จัดการบริษัท/ผู้รับมอบอานาจ ประทับตราบริษัท หมายเหตุ : รายละเอียดที่สำแดงให้เป็นไปตามหนังสืออนุมัติหลักการการได้สิทธิยกเว้นอากรและเพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบบัญชี
แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 22 / 25 6 6 หนังสือแจ้งเปลี่ยนแปลงข้อมูลก ํา รผลิต หรือ ก ํา รใช้วัตถุดิบ ส ําหรับของที่น ําออก ไป ดําเนินกระบวน กํารผลิต ที่เป็นสําระส ําคัญนอกเขตปลอดอํากรหรือนอกเขตประกอบกํารเสรี เขียนที่ … วันที่ … เดือน … พ . ศ . … เรียน ผู้อำ นวยการ ส่วน…(หน่วยงานศุลกากรที่กำกับดูแล)… ด้วยข้าพเจ้า (นิติบุคคล) … ผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากร/เขต ประกอบการเสรี… ตั้งอยู่เล ขที่…ถนน…ตำบล/แขวง…อาเภอ/ เขต…จังหวัด…รหัสไปรษณีย์…โทรศัพท์… …โทรสาร … . … …เลขทะเบียนนิติบุคคล … … … เลขประจาตัวผู้เสียภาษีอากร… … …ใบอนุญาต ประกอบกิจการในเขตปลอดอากร/เขตประกอบการเสรีที่… มีความประสงค์ ขอแจ้งเปลี่ ยนแปลงคา ร้องขออนุญาต ดาเนินกระบวน การผลิต ที่เป็นสาระสาคัญ บาง ขั้นตอนนอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขตประกอบการเสรี สำ หรับ ของ… … ซึ่งกรมศุลกากร ได้ อนุญาตให้ดาเนินกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสำคัญบางขั้นตอนนอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขต ประกอบการเสรีไว้ แล้ว ตามหนังสือกรมศุลกากร ที่ กค …/… ลงวันที่ … โดยมีรายละเอียดวัตถุดิบและกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสำคัญ ที่จะดำ เนินการนอกเขตปลอดอากรหรือ นอกเขต ประกอบการเสรี รวมถึงระยะเวลาที่จะดำเนินการ ที่เ ปลี่ยนแปลง ดังนี้ … … … … … … … … … … … ข้าพเจ้าขอรับรองว่า 1 . สัดส่วนการใช้วัตถุดิบในการผลิตของ … ที่ ดาเนินกระบวน การผลิต ที่ เป็นสาระสาคัญนอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขตประกอบการเสรี ตาม ที่ กรมศุลกากรอนุ ญาต และตามหนังสือ แจ้ง เปลี่ยนแปลงนี้ ยังคงเป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ตามประกาศระทรวงการคลัง เรื่อง การยกเว้นอากรศุลกากร สำหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ที่ประกอบหรือผลิตในเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือ เขตประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย 2 . หนังสือแจ้งการเปลี่ยนแปลงฉบับนี้ ถือเป็นส่วนหนึ่งของคาร้องขออนุญาต ดาเนินกระบวน การ ผลิต ที่เป็นสาระสำคัญบางขั้นตอนนอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขตประกอบการเสรี ที่ได้รับอนุญาตไว้แล้ว ลงชื่อ … … (…) ตา แหน่ง …
แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 22 / 25 6 6 คําร้องขออนุญําต ด ําเนินกระบวน กํารผลิต ที่เป็นสําระส ําคัญบํางขั้นตอน นอกเขตปลอดอํากรหรือนอกเขตประกอบกํารเสรี เขียนที่ … วันที่ … เดือน … พ . ศ . … เรื่อง ขออนุญาต ดำเนินกระบวน การผลิต ที่เป็นสาระสำคัญบางขั้นตอนนอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขต ประกอบการเสรี เรียน ผู้อำ นวยการ ส่วน…(หน่วยงานศุลกากรที่กำกับดูแล)… ด้วยข้าพเจ้า (นิติบุคคล) … ผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากร / เขตประกอบการเสรี … … ตั้งอยู่เลขที่ … ถนน … ตา บล / แขวง … อา เภอ / เขต … จังหวัด … รหัสไปรษณีย์ … โทรศัพท์ … โทรสาร … เลข ทะเบียนนิติบุคคล … เลขประจา ตัวผู้เสียภาษี อากร … … ใบอนุญาต ประกอบกิจการ ในเขตปลอดอากร/เขตประกอบการเสรีที่… มีความประสงค์ขออนุญาตดำเนิน กระบวนการผลิตที่เป็นสาระสำคัญบางขั้นตอน นอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขตประกอบการเสรี โดยจะนำไปดำเนินการ ณ สถำนประกอบการของ บริษัท… ตั้งอยู่เลขที่ … ถนน … ตา บล / แขวง … อา เภอ / เข ต … จังหวัด … รหัสไปรษณีย์ … … โทรศัพท์ … โทรสาร … เลขทะเบียนนิติบุคคล … เลขประจำ ตัวผู้เสียภาษี … ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานเลขที่ … ลงวันที่… … ของที่จะดาเนิน กระบวนการผลิตที่เป็นสาระสาคัญบางขั้นตอนนอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขต ประกอบการเสรี ได้แก่…โดยมีขั้นตอนการผลิตที่เป็นสาระสำคัญ ดังนี้ 1. … … 2. … … 3. … … 4. … … 5. … … โดยได้จัดทากระบวนการผลิตที่เป็นสาระสาคัญขั้นตอน…ในเขตปลอดอากรหรือใน เขตประกอบการเสรี และขั้นตอน…นอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขตประกอบการเสรี ทั้งนี้ ข้าพเจ้าได้ ยื่น / แสดง เอกสารประก อบการพิจารณา ดังนี้ เอกสาร รายละเอียด วัตถุดิบ และ กระบวนการผลิตที่เป็นสาระสำคัญ ทุกขั้นตอนที่จะ ดำเนินการนอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขตประกอบการเสรี รวมถึง ระยะเวลาที่จะดำเนิน การ หนังสือรับรองนิติบุคคลของผู้ประกอบกิจการนอกเขตปลอดอากร หรือนอกเขตประกอบการเสรี หนังสือรับรองจากกระทรวงอุตสาหกรรม หรือใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 (ร.ง. 2) หรือใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง. 4) หรือหนังสือรับรองการประกอบกิจการ / โรงงาน …
โรงงานในเขตประกอบการอุตสาหกรรมตามมาตรา 30 แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 (แบบ ข.2) หรือ ใบรับแจ้งการประกอบอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรม (กนอ.03/2) หรือหนังสือรับแจ้งการประกอบ อุตสาหกรรม หรือใบอนุญาตให้ใช้ที่ดินและประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม (ฉบับต่ออายุ) (กนอ.03/6) ของผู้ประกอบกิจการนอกเขตปลอดอากร หรือนอกเขตประกอบการเสรี เอกสาร สัญญาว่าจ้าง หรือสัญญาซื้อขาย หรือเอกสารสั่งการผลิต เอกสารอื่น …(ระบุ)… มาพร้อมคำร้องฉบับนี้ด้วยแล้ว ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ข้อมูล ในคาร้องและเอกสารแนบคาร้อง เป็น ข้อมูลที่ ถูกต้องเป็นความจริง ทุกประการ และยินยอมให้พนักงานศุ ลกากรเข้าไปตรวจสอบกระบวนการผลิต ที่เป็นสาระสำคัญทุกขั้นตอน ของของดังกล่าวได้ ตลอดเวลาทา การ และพร้อมที่จะชี้แจงและพิสูจน์การ ดำเนินกระบวนการผลิตที่เป็นสาระสาคัญ ของของดังกล่าวต่อกรมศุลกากร หาก ภายหลังปรากฏว่าการสา แดงข้อมูลและเอกสารหลักฐานประกอบข้างต้นไม่ ถูกต้อง ตรงตามความเป็นจริง หรือไม่สามารถชี้แจงหรือแสดงหลักฐานได้ หรือไม่ได้มีกระบวนการผลิต ที่เป็น สาระสำคัญ หรือกระบวนการผลิต ที่เป็นสาระสำคัญ ไม่ถูกต้องตาม ที่ สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมหรือหน่วยงาน ของรัฐอื่น ประกาศ กำ หนด ข้าพเจ้ายินยอมให้กรมศุลกากรเพิกถอนสิทธิการ ดำเนิน กระบวนการผลิตที่เป็น สาระสาคัญนอกเขตปลอดอากรหรือนอกเขตประกอบการเสรี ยินยอมชาระหนี้ค่าภาษีอากร ค่าปรับ ค่าธรรมเนียม ค่าเสียหายใดๆ ที่เกิดขึ้น และยินยอมปฏิบัติตามที่กรมศุลกากรสั่งการทุกประการ ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับ แจ้งจากกรมศุลกากร ลงชื่อ … … (…) ตา แหน่ง…