Mon Mar 13 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ระเบียบกรมวิชาการเกษตร ว่าด้วยการตรวจสอบลักษณะของพันธุ์พืชที่ขอจดทะเบียนเป็นพันธุ์พืชใหม่ (ฉบับที่ 30) พ.ศ. 2566


ระเบียบกรมวิชาการเกษตร ว่าด้วยการตรวจสอบลักษณะของพันธุ์พืชที่ขอจดทะเบียนเป็นพันธุ์พืชใหม่ (ฉบับที่ 30) พ.ศ. 2566

ระเบียบกรมวิชาการเกษตร ว่าด้วยการตรวจสอบลักษณะของพันธุ์พืชที่ขอจดทะเบียนเป็นพันธุ์พืชใหม่ (ฉบับที่ 30) พ.ศ. 2566 โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขระเบียบกรมวิชาการเกษตร ว่าด้วยการตรวจสอบลักษณะของ พันธุ์พืชที่ขอจดทะเบียนเป็นพันธุ์พืชใหม่ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2554 ลงวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2554 เพื่อให้การตรวจสอบลักษณะของพันธุ์พืชที่ขอจดทะเบียนเป็นพันธุ์พืชใหม่ครบถ้วน สมบูรณ์และมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น อาศัยอานาจตามข้อ 9 แห่งกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการจดทะเบียน การพิจารณาคาขอจดทะเบียน การประกาศโฆษณาคาขอจดทะเบียน และแบบหนังสือสาคัญแสดง การจดทะเบียนพันธุ์พืชใหม่ พ.ศ. 2546 ออกตามความในพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 อธิบดีกรมวิชาการเกษตร ออกระเ บียบไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ ระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยการตรวจสอบลักษณะ ของพันธุ์พืชที่ขอจดทะเบียนเป็นพันธุ์พืชใหม่ (ฉบับที่ 30) พ.ศ. 2566 ” ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกรายละเอียดในการตรวจสอบลักษณะของพันธุ์พืชที่ขอจดทะเบียนเป็นพันธุ์พืชใหม่ ของชนิดพืชสัก ในท้ายระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยการตรวจสอบลักษณะของพันธุ์พืช ที่ขอจดทะเบียนเป็นพันธุ์พืชใหม่ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2554 ลงวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2554 และ ให้ใช้ รายละเอียดในการตรวจสอบของพันธุ์พืชที่ขอจดทะเบียนเป็นพันธุ์พืชใหม่ของชนิดพืชสัก ( Tectona grandis L . f .) ตามรายละเอียดแนบท้ายระเบียบฉบับนี้แทน ประกาศ ณ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 256 6 สุรกิตติ ศรีกุล ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการผลิตพืช ปฏิบัติราชการแทนอธิบดีกรมวิชาการเกษตร ้ หนา 1 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 59 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 มีนาคม 2566

รายละเอียดการตรวจสอบลักษณะของพันธุ์พืชที่ขอจดทะเบียนเป็นพันธุ์พืชใหม่ ตามชนิดพืชที่ได้ประกาศให้เป็นพันธุ์พืชใหม่ที่จะได้รับการคุ้มครอง ตามมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 ชนิดพืช สัก ( Tectona grandis L . f .) 1. วัตถุประสงค์ของหลักเกณฑ์การตรวจสอบลักษณะพันธุ์พืช ( Subject of these Guideline ) หลักเกณฑ์การตรวจสอบลักษณะพันธุ์พืชที่จะกล่าวต่อไปนี้ ให้ใช้กับ ทุกพันธุ์ใน พืช สัก ( Tectona grandis L . f .) 2. ส่วนขยายพันธุ์ ( Material Required ) 2.1 การกาหนดปริมาณ คุณภาพ เวลา และสถานที่ ที่ส่งมอบส่วนขยายพันธุ์ ( Determination of quantity / quality / time and place deliver of propagation ) พนักงานเจ้าหน้าที่ เป็นผู้กาหนดปริมาณ และคุณ ภาพของส่วนขยายพันธุ์ที่ต้องการ จะ ตรวจสอบ พร้อมทั้งกาหนด เวลาและสถานที่ การส่งมอบส่วนขยายพันธุ์ ผู้ยื่นคาขอจดทะเบียนพันธุ์พืช จะต้องเป็นผู้ส่ง มอบตามที่กาหนด พร้อมทั้งดาเนินการให้เป็นไปตามระเบียบของทางราชการทั้งในเรื่องการผ่านพิธีกำรทาง ศุลกากรและด้านสุขอนามัยพืช 2. 2 ชนิดของส่วนขยายพันธุ์ ( T ype of plant material ) ผู้ยื่นคาขอจดทะเบียนคุ้มครองพันธุ์พืช ต้องส่งมอบ ส่วนขยายพันธุ์หรือ ต้นพันธุ์ จากการขยายพันธุ์โดย ไม่อาศัยเพศ ทั้งนี้ ส่วนขยายพันธุ์ดังกล่าว ต้องมีอายุตั้งแต่ 4 เดือน ขึ้นไป ให้กับพนักงานเจ้าหน้าที่ 2. 3 ปริมาณส่วนขยายพันธุ์ ( Quantity of plant material ) ผู้ยื่นคำขอจดทะเบียนคุ้มครองพันธุ์พืช ต้องส่งมอบ ต้นพันธุ์ อย่างน้อย 12 ต้น ต่อพันธุ์ 2 . 4 คุณภาพของส่วนขยายพันธุ์ ( Q uality of plant material ) ส่ว น ขยายพันธุ์ ที่นามาทดสอบจะต้องเป็น ส่ว น ขยายพันธุ์ ที่มีคุณภาพดี สมบูรณ์ปราศจากโรคและแมลงที่ ติดมา กับ ส่วนขยาย พันธุ์ 2. 5 การให้ข้อมูลการปฏิบัติการใดๆ กับส่วนขยายพันธุ์ ( Providing any functional information about plant material ) ส่วนขยายพันธุ์ ที่จัดส่งต้องไม่มีการกระทาใด ๆ ที่เป็นผลต่อการแสดงออกของลักษณะของพันธุ์พืช เว้น แต่ได้รับอนุญาต หรือกาหนดโดยพนักงานเจ้าหน้าที่ กรณีที่ ส่วนขยายพันธุ์ ที่ส่งมอบ เคยผ่านการปฏิบัติการใด ๆ เช่น พ่นสารป้องกันกาจัดแมลง โรคพืช ใช้ปุ๋ ย ใช้สารกระตุ้นการเกิดตาดอก ต้องระบุเป็นลายลักษณ์อักษรให้ พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบ 3 . วิธีการตรวจสอบ ( Method of Examination ) 3.1 จำนวนครั้งที่ปลูกตรวจสอบ ( Number of Growing Cycles ) ควร ปลูกทดสอบ จำนวน 1 ครั้ง แต่ถ้าความแตกต่างความสม่ำเสมอ/ความคงตัวไม่สามารถสังเกตเห็น ได้ชัดเจน ต้องปลูกทดสอบเพิ่มอีก 1 ครั้ง 3.2 สถานที่ทดสอบ ( Testing Place ) สถานที่ปลูก ควร ทาการ ทดสอบใน 1 สถานที่ ให้กาหนดตามความเหมาะสม แต่ถ้าลักษณะประจา พันธุ์ สำคัญไม่สามารถสังเกตเห็นความแตกต่า งได้ อาจ จะ ต้องเพิ่มสถานที่ที่ปลูกทดสอบ

2 3.3 ปัจจัยแวดล้อมสำหรับการปลูกตรวจสอบ ( Conditions for Conducting the Examination ) ต้องปลูกทดสอบภายใ ต้สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเพียงพอ ต่อการเจริญเติบโตและการแสดงออกของ ลักษณะที่จะใช้ตรวจสอบได้ 3.4 การวางแผนปลูกทดสอบ ( Test Design ) ให้ปลูกพันธุ์ที่ขอจดทะเบียนและพันธุ์เปรียบเทียบอย่างน้อย 7 ต้น / พันธุ์ ในบริเวณพื้นที่เดียวกัน และ ให้มีวิธีการปลูกและการจัดการเดียวกัน โดยให้มีการกระจายตัวของพันธุ์ ที่ขอจดทะเบียนและพันธุ์เปรียบเทียบ อย่างสม่าเสมอ โดยใช้วิธีการสุ่มพันธุ์ที่ขอจดทะเบียนและพันธุ์เปรียบเทียบปลูกลงในแปลงปลูก ทั้งนี้ ให้ปลูก ขอบแปลงด้านละ 1 แถว 3.5 การทดสอบเพิ่มเติม ( Additional Tests ) กรณีต้องการตรวจสอบลักษณะอื่ นเพิ่มเติม ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบพันธุ์พืช ให้เป็นไปตามที่ พนักงานเจ้าหน้าที่กำหนด 4 . การประเมิน ความแตกต่าง ความคงตัว และความสม่ำเสมอ ( Assessment of Distinctness, Uniformity and Stability ) 4.1. ความแตกต่าง ( Distinctness ) 4.1.1 คาแนะนาทั่วไป ( General Recommendations ) การตรวจสอบความแตกต่าง เป็นส่วนที่ สำคัญสำหรับผู้ใช้หลักเกณฑ์นี้ 4.1.2 ความแตกต่างที่คงที่ ( Consistent Difference ) การแสดงความแตกต่างระหว่างพันธุ์อาจจะชัดเจน โดยไม่จาเป็นต้องปลูกทดสอบมากกว่า หนึ่งครั้ง บางกรณีการปลูกทดสอบมีอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม จึงต้องปลูกทดสอบมากกว่าหนึ่งครั้ง เพื่อให้เชื่อมั่นว่า ความแตกต่างของลักษณะที่เกิดขึ้นเป็นความแตกต่างคงที่ อย่างเพียงพอ 4.1.3 การแสดงความแตกต่างอย่างเด่นชัด ( Clear Difference ) การพิจารณาความแตกต่างของสองพันธุ์ที่ชัดเจน ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย และสิ่งที่ต้องพิจารณา คือชนิดของลักษณะว่าเป็นลักษณะที่แสดงออกเป็นชนิดใด เช่น เป็นลักษณะทางคุณภาพ ( qualitative ) ลักษณะทางปริมาณ ( quantitative ) หรือลักษณะคุณภาพเทียม ( pseudo - qualitative ) 4 . 1 . 4 จำนวนตัวอย่างพืชที่ตรวจสอบ ( Number of Plants / Parts of Plant to be Examined ) การประเมินต้นพืชแต่ละต้นควรเก็บตัวอย่างจากพืช 5 ต้น หรือจากชิ้นส่วนของพืชที่นามา จากพืชแต่ละต้นจากพืชจานวน 5 ต้น และการประเมินด้านอื่น ๆ ต้องประเมินจากพืชทุกต้น โดยไม่พิจารณา ต้นพืชที่ มีลักษณะ off - type ในกรณีของการประเมินชิ้นส่วนของพืชแต่ละต้น จำนวนชิ้นส่วนที่จะนำมาจากพืช แต่ละต้นควรนำมาต้นละ 2 ชิ้น 4.1.5 วิธีการตรวจสอบ ( Method of Observation ) คาแนะนาสาหรับการตรวจสอบลักษณะพันธุ์พืชเพื่อตรวจสอบความแตกต่างระหว่างพันธุ์ ได้ กำหนดไว้ใน คอลัมน์ที่ 2 ในตารางบันทึกลักษณะ โดยมีวิธีการตรวจสอบดังนี้ MG หมายถึง การวัด ชั่ง นับจานวน จากต้นหรือตัวอย่างเดียวที่กาหนดให้เป็นตัวแทนเท่านั้น แล้วใช้ค่าที่ได้เป็นตัวแทนของพันธุ์ ( single measurement of a group of plants or parts of plants ) MS หมายถึง การวัด ชั่ง นับจานวน จากทุกต้นหรือตัวอย่างที่กาหนดให้เป็นตัวแทนแล้วใช้ ค่าเฉลี่ยที่ได้เป็นตัวแทนของพันธุ์ ( measurement of a number of individual plants or parts of plants )

3 VG หมายถึง การตรวจสอบด้วยการใช้ประสาทสัมผัส จากต้นหรือตัวอย่างเดียวที่กาหนดให้เป็น ตัว แทนเท่านั้นแล้วใช้ค่าสังเกตที่ได้เป็นตัวแทนของพันธุ์ ( visual assessment by a single observation of a group of plants or parts of plants ) VS หมายถึง การตรวจสอบด้วยการใช้ประสาทสัมผัส จากทุกต้นหรือตัวอย่างที่กาหนดให้เป็น ตัวแทนแล้วใช้ค่าสังเกตที่ได้เป็นตัวแทนข องพันธุ์ ( visual assessment by observation of individual plants or parts of plants ) 4.2 ความสม่าเสมอ ( Uniformity ) พิจารณาที่ระดับความสม่าเสมอของประชากรมาตรฐาน ร้อยละ 1 ที่ระดับความเชื่อมั่นอย่างน้อย ร้อยละ 95 กรณีที่ เก็บตัวอย่างจำนวน 5 ต้น ต้องไม่มีพันธุ์อื่นปน 4.3 ความคงตัว ( Stability ) ในทางปฏิบัติไม่มีการทดสอบความคงตัว อย่างไรก็ตาม จากประสบการณ์ ในหลายชนิดพันธุ์ พบว่าหากผล การทดสอบแสดงความแตกต่างและลักษณะมีความสม่าเสมอแล้ว ก็สามารถพิจารณาได้ว่ามีความคงตัวด้วย 5 . การจัดกลุ่มพันธุ์และการจัดการการปลูกทดสอบ ( Grouping of Varieties and Organization of the Growing Trial ) 5.1 การคัดเลือกพันธุ์สำหรับปลูกทดสอบ พันธุ์เปรียบเทียบสำหรับปลูกทดสอบจะต้องแบ่งเป็นกลุ่มเพื่ออานวยความสะดวกในการประเมินความ แตกต่าง ลักษณะที่เหมาะสมต่อการจัดกลุ่มเป็นลักษณะที่ได้จากประสบการณ์นั้น คือ เป็นลักษณะที่ไม่แตกต่าง หรือแตกต่างกันน้อยมากภายในพันธุ์ 5.2 ลักษณะที่ใช้ในการจัดกลุ่มของพันธุ์ 1 ) ต้นกล้า : การปรากฏขน ( Seedling : stem pubescence ) ( ล. 5 ) 2 ) ต้นกล้า : รูปร่างใบ ( Seedling : leaf shape ) ( ล. 7 ) 3 ) ต้นกล้า : ลักษณะ เส้นแขนงใบ ( Seedling : laterral vein ) ( ล . 9 ) 4) ลำต้น : ลักษณะลำต้น ( Stem : form ) ( ล . 15 ) 5) ลำต้น : การทำมุม ของกิ่ง ( Stem : branch angle ) ( ล . 16 ) 6) ลำต้น : ขนาดของกิ่ง ( Stem : branch size ) ( ล . 18 ) 7) ลำต้น : รูปร่างหน้าตัดของลำต้น ( Stem : cross section of stem shape ) ( ล . 19 ) 8) ลำต้น : ตำแหน่งการแตก ง่าม ( Stem : axis persistence ) ( ล . 20 ) 6. เครื่องหมาย ( Legend ) 6 . 1 การจำแนกลักษณะ ( Categories of Characteristics ) 6 . 1 . 1 ลักษณะมาตรฐาน เป็นลักษณะที่ได้รับการพิจารณาตามเกณฑ์มาตรฐานสาหรับการใช้ตรวจสอบลักษณะพันธุ์พืช ( DUS ) 6 . 1 . 2 ลักษณะที่กำหนดให้ใช้สำหรับการตรวจสอบร่วมกัน ( Asterisked Characteristics ) (*) ลักษณะที่กาหนดให้ใช้สำหรับการตรวจสอบร่วมกัน 6 . 2 สถานะลักษณะที่แสดงออกและตัวเลขกำกับ ( S tates of Expression and Corresponding Notes ) 6 . 2 . 1 สถานะลักษณะที่แสดงออก กำหนดเพื่ออธิบายลักษณะ ซึ่งการแสดงออกในแต่ละสถานะจะ ถูกกำกับด้วยตัวเลขที่สอดคล้องกัน เพื่อง่ายต่อการบันทึกข้อมูลและการแลกเปลี่ยนข้อมูล

4 6 . 3 ชนิดของการแสดงออก QL หมายถึง ลักษณะทางคุณภาพ ( qualitative characteristic ) QN หมายถึง ลักษณะทางปริมาณ ( quantitative characteristic ) PQ หมายถึง ลักษณะทางคุณภาพเทียม ( pseudo - qualitative characteristic ) 6 . 4 ตัวอย่างพันธุ์ ( Example Varieties ) ตัวอย่างพันธุ์เตรียมไว้เพื่อให้เห็นลักษณะที่ แสดงออกชัดเจนของแต่ละลักษณะที่แสดงออก 6 . 5 เครื่องหมาย ( Legend ) (*) หมายถึง ลักษณะที่ต้องประเมินทุกพันธุ์ (ข้อ 6 . 1 . 2 ) QL หมายถึง ลักษณะทางคุณภาพ ( qualitative characteristic ) ( ข้อ 6 . 3 ) QN หมายถึง ลักษณะทางปริมาณ ( quantitative characteristic ) ( ข้อ 6 . 3 ) PQ หมายถึง ลักษณะทางคุณภาพเทียม ( pseudo - qualitative characteristic ) ( ข้อ 6 . 3 ) MG หมายถึง การวัด ชั่ง นับจานวน จากต้นหรือตัวอย่างเดียวที่กาหนดให้เป็นตัวแทนเท่านั้นแล้ว ใช้ค่าที่ได้เป็นตัวแทนของพันธุ์ ( single measurement of a group of plants or parts of plants ) MS หมายถึง การวัด ชั่ง นับจานวน จากทุกต้นหรือตัวอย่างที่กำหนดให้เป็นตัวแทนแล้วใช้ค่าเฉลี่ย ที่ได้เป็นตัวแทนของพันธุ์ ( measurement of a number of individual plants or parts of plants ) VG หมายถึง การตรวจสอบด้วยการใช้ประสาทสัมผัส จากต้นหรือตัวอย่างเดียวที่กาหนดให้เป็น ตัวแทนเท่านั้นแล้วใช้ค่าสังเกตที่ได้เป็นตัวแทนของพันธุ์ ( visual assessment by a single observation of a group of plants or parts of plants ) VS หมายถึง การตรวจสอบด้วยการใช้ประสาทสัมผัส จากทุกต้นหรือตัวอย่างที่กาหนดให้เ ป็น ตัวแทนแล้วใช้ค่าสังเกตที่ได้เป็นตัวแทนของพันธุ์ ( visual assessment by observation of individual plants or parts of plants ) ( A ) - ( B ) และ ( a ) - ( b ) หมายถึง ดูรายละเอียดการตรวจสอบและบันทึกลักษณะประจำพันธุ์ข้อ 8 . 1 (+) หมายถึง ดูคำอธิบายเพิ่มเติมในรายละเอียดของเอกสารข้อ 8 . 2

5 7 . ตารางลักษณะประจำพันธุ์ ( Table of Characteristics ) : สัก ( Tectona grandis L . f .) ล. ที่ Char . No . ลักษณะประจำพันธุ์ ( Characteristic ) ตัวอย่างพันธุ์ ( Example Variety ) ตัวเลข ( Note ) 1. QL VG ( A ) ต้นกล้า : การปรากฏขนที่ยอด ( Seedling : pubescence of optical bud ) ไม่ปรากฏ ( absent ) 1 ปรากฏ ( present ) 9 2 . PQ VG ( A ) ต้นกล้า : สีของใบอ่อน ( Seedling : young shoot color) เขียวอมเหลือง ( yellowish green ) 1 เขียว ( green ) 2 น้ำตาล ( brown ) 3 3 . (+) PQ VG ( A )( a ) ต้นกล้า : รูปทรงของลำต้น ( Seedling : stem form ) เหลี่ยม (quadrangular) 1 เว้า ( lobe ) 2 กลม ( rounded ) 3 4 . PQ VG ( A )( a ) ต้นกล้า : สีลำต้น ( Seedling : st em color ) เขียวอ่อน ( light green ) 1 น้ำตาลอ่อน ( light brown ) 2 น้ำตาลเข้ม ( dark brown ) 3 5 . QL VG ( A )( a ) ต้นกล้า : การปรากฎขน ( Seedling : stem pubescence ) ไม่ปรากฎ ( absent ) 1 ปรากฎ ( present ) 9 6 . (+) PQ VG ( A )( a ) ต้นกล้า : สีขน ( Seedling : pubescence color ) ใส ( colorless ) 1 ขาว ( white ) 2 น้ำตาล ( brown ) 3 7 . (+) PQ VG ( A )( b ) ต้นกล้า : รูปร่างใบ ( Seedling : leaf shape ) ไข่ ( ovate ) 1 รูปรี ( elliptic ) 2 ขอบขนาน ( oblong ) 3 กลม ( circular ) 4 ไข่กลับ ( obovate ) 5

6 ล. ที่ Char . No . ลักษณะประจำพันธุ์ ( Characteristic ) ตัวอย่างพันธุ์ ( Example Variety ) ตัวเลข ( Note ) 8 . (+) QL VG ( A )( b ) ต้นกล้า : ลักษณะขอบใบ ( Seedling : leaf margin) เรียบ (entire) 1 ฟันเลื่อย ( serrate ) 9 9 . QL VG ( A )( b ) ต้นกล้า : ลักษณะ เส้นแขนงใบ ( Seedling : laterral vein ) ไม่ ติดขอบใบ ( do not touch the margin ) 1 ติดขอบใบ ( touch the margin ) 9 10 . QN VG ( A )( b ) ต้นกล้า : ความมัน เงาของใบ ( Seedling : leaf shiny ) ไม่ปรากฏหรือน้อยมาก ( absent or very weak ) 1 ปานกลาง ( medium ) 2 มาก ( strong ) 3 11 . QN VG ( A )( b ) ต้นกล้า : ความเข้มสีเขียวของใบ ( Seedling : green intensity of leaf ) อ่อน ( light ) 1 ปานกลาง ( medium ) 3 เข้ม ( dark ) 5 12 . (* ) PQ VG ( B )( c ) ลำต้น : รูปร่างทรงพุ่ม ( Stem : crown form ) ทรง กรวย ( elliptic ) 1 ทรง ร่ม ( conical ) 2 ไม่มีระเบียบ ( irregular ) 3 13 . QL VG ( B )( c ) ลำต้น : ความสมมาตร ของทรงพุ่ม ( Stem : crown symmetri g ) ไม่สมมาตร ( asymmetri g ) 1 สมมาตร ( symmetri g ) 9 14 . QN VG ( B )( c ) ลำต้น : ความหนาแน่นของทรงพุ่ม ( Stem : crown density ) โปร่ง ( sparse ) 3 ปานกลาง ( medium ) 5 แน่น ( dense ) 7 15 . PQ VG ( B )( d ) ลำต้น : ลักษณะลำต้น ( Stem : form ) ลำต้นตรง( straight ) 1 ลำต้นเอียง ( slanted ) 2

7 ล. ที่ Char . No . ลักษณะประจำพันธุ์ ( Characteristic ) ตัวอย่างพันธุ์ ( Example Variety ) ตัวเลข ( Note ) ลำต้นบิด ( twisted ) 3 ลำต้นคด ( crooked ) 4 16. QN VG / MS ( B )( d ) ลำต้น : การทำมุม ของกิ่ง ( Stem : branch angle ) แคบ ( narrow ) 3 ปานกลาง ( medium ) 5 กว้าง ( wide ) 7 17. (+) QN VG ( B )( d ) ลำต้น : ลักษณะของกิ่งที่ทำกับลำต้น ( Stem : branch attitude ) ตั้งขึ้น ( upright ) 3 แผ่ ออก ( spreading ) 5 โค้งลง ( curved down ) 7 18 . QN VG / MS ( B )( d c ) ลำต้น : ขนาดของกิ่ง ( Stem : branch size ) เล็ก มาก ( very small ) 1 เล็ก ( small ) 3 ปานกลาง ( medium ) 5 ใหญ่ ( large ) 7 19 . () PQ VG ( B )( d ) ลำต้น : รูปร่างหน้าตัดของลาต้น ( Stem : cross section of stem shape ) กลม ( circular ) 1 ไม่กลม ( irregular ) 2 20 . () QN VG ( B )( d ) ลำต้น : ตำแหน่งการแตก นาง ( Stem : multistem ) ไม่มีการแตก นาง ( straight ) 1 แตก นาง ที่ระดับพื้นดินถึง ¼ ต้น ( at the first quarter of the tree ) 2 แตก นาง ที่ระดับ 1 / 4 - 1 / 2 ของ ต้น ( at the second quarter of the tree ) 3 แตก นาง ที่ระดับ 1 / 2 - 3 / 4 ของ ต้น ( at the third quarter of the tree ) 4 แตก นาง ที่ระดับ 3 / 4 ของ ต้น ขึ้นไป ( at the fourth quarter of the tree ) 5 21 . PQ VG ( B )( d ) ลำต้น : สีเปลือก ( Stem : bark color ) เทา ( gr e y ) 1 น้ำตาลอ่อน ( light brown ) 2 น้ำตาล ( brown ) 3 น้ำตาลเข้ม ( dark brown ) 4

8 ล. ที่ Char . No . ลักษณะประจำพันธุ์ ( Characteristic ) ตัวอย่างพันธุ์ ( Example Variety ) ตัวเลข ( Note ) 22 . (+) PQ VG ( B )( d ) ลำต้น : สีเปลือกด้านใน ( Stem : inner bark color ) ขาว ( white ) 1 เหลือง ( yellow ) 2 เขียวอ่อน ( light green ) 3 เขียว ( green ) 4 เขียวเข้ม ( dark green ) 5 23 . PQ VG ( B )( d ) ลำต้น : ลักษณะของเปลือก ( Stem : bark texture ) เรียบ ( smooth ) 1 แตกเป็นเส้น ( stringy ) 2 แตกเป็นร่อง ( grooved ) 3 24 . (+) QN VG ( B )( d ) ลำต้น : การติดกันของเปลือกกับลำต้น ( Stem : coherence of bark ) น้อย ( weak ) 3 ปานกลาง ( medium ) 5 แน่น ( strong ) 7 25 . QL VG ( B )( e ) ใบ : การมีก้านใบ ( Leaf : petiole ) ไม่มี ( absent ) 1 มี ( present ) 9 26 . QN MS ( B )( e ) ใบ : ความยาวของใบ ( Leaf : length ) สั้น ( short ) 3 ปานกลาง ( medium ) 5 ยาว ( long ) 7 27 . QN MS ( B )( e ) ใบ : ความกว้างของใบ ( Leaf : width ) แคบ ( narrow ) 3 ปานกลาง ( medium ) 5 กว้าง ( broad ) 7 28 . (+) QN ใบ : สัดส่วนใบระหว่างความยาวต่อความกว้างใบ ( Leaf : ratio length / width ) น้อยกว่า 1 ( less than 1 ) 1 เท่ากับ 1 ( 1 ) 2

9 ล. ที่ Char . No . ลักษณะประจำพันธุ์ ( Characteristic ) ตัวอย่างพันธุ์ ( Example Variety ) ตัวเลข ( Note ) มากกว่า 1 ( more than 1 ) 3 29 . (+) PQ VG ( B )( e ) ใบ : รูปร่างใบ ( Leaf : shape ) ไข่ ( ovate ) 1 รูปรี ( elliptic ) 2 ขอบขนาน ( oblong ) 3 กลม ( circular ) 4 ไข่กลับ ( obovate ) 5 30 . (+) PQ VG ( B )( e ) ใบ : รูปร่างปลายใบ ( Leaf : tip shape ) แหลม ( acute ) 1 ป้าน ( obtuse ) 2 โค้งมน ( rounded ) 3 31 . (+) PQ VG ( B )( e ) ใ บ : รูปร่างฐานใบ ( Leaf : base shape ) แหลม ( acute ) 1 ป้าน ( obtuse ) 2 โค้งมน ( rounded ) 3 32 . (+) QL VG ( B )( e ) ใบ : ลักษณะเส้นกลางใบ ( Leaf : v ei nation texture texture ) ราบ ( flat ) 1 นูน ( convex ) 9 33 . QL VG ( B )( e ) ใบ : ลักษณะ เส้นแขนงใบ ( Leaf : secondary vein ) ไม่ ติดขอบใบ ( do not touch the margin ) 1 ติดขอบใบ ( touch the margin ) 9 34 . QL VG ( B )( e ) ใบ : ความมัน เงาของใบ ( L eaf : shiny ) ไม่ ปรากฏ ( absent ) 1 ปรากฏ ( present ) 9 35 . QL VG ( B )( e ) ใบ : การปรากฎขนใต้ใบ ( L eaf : pubescence on lower side ) ไม่ ปรากฏ ( absent ) 1 ปรากฏ ( present ) 9

10 ล. ที่ Char . No . ลักษณะประจำพันธุ์ ( Characteristic ) ตัวอย่างพันธุ์ ( Example Variety ) ตัวเลข ( Note ) 36 . (+) QL VG ( B )( e ) ใบ : ลักษณะใบตัดตามขวาง ( Leaf : cross section ) ราบ ( flat ) 1 นูน ( convex ) 2 37 . (+) QL VG ( B )( e ) ใบ : ลักษณะใบตัดตามยาวของกลางใบ ( Leaf : longitudinal profile of the middle ) ราบ ( flat ) 1 นูน ( convex ) 9 38 . (+) QL VG ( B )( e ) ใบ : ลักษณะขอบใบ ( Leaf : margin ) เรียบ ( entire ) 1 ฟันเลื่อย ( serrate ) 9 39 . (+) QL VG ( B )( e ) ใบ : การเป็นคลื่นที่ ขอบใบ ( Leaf : waving margin ) เรียบ ( entire ) 1 คลื่นหยาบ ( wavy ) 9

11 8 . อธิบายตารางบันทึกลักษณะประจำพันธุ์ ( Explanations on the Table of Characteristics ) 8 . 1 คาอธิบายที่ใช้สำหรับทุกลักษณะในตารางลักษณะประจาพันธุ์ ( A ) การบันทึกข้อมูลทั้งหมดของระยะต้นกล้าที่ อายุระยะเวลาระหว่าง 4 - 6 เดือน ( B ) การบันทึกข้อมูลทั้งหมดในระยะเจริญเติบโต ที่ระหว่างอายุ 2 - 5 ปี ( a ) การบันทึกข้อมูลลักษณะของลาต้น ระยะต้นกล้า ให้เก็บข้อมูลลาต้นบริเวณใต้ใบจริงคู่ที่ 2 นับจาก ยอด ( b ) การบันทึกข้อมูลลักษณะของใบ ระยะต้นกล้า ให้เก็บข้อมูลที่ใบคู่ที่ 2 นับจากยอด เป็นต้นไป โดย เลือกใบที่สมบูรณ์ ปราศจากความเสียหายทางกายภาพ ( c ) การบันทึกข้อมูลกิ่ง ของต้นที่เจริญเติบโตแล้ว ให้ เก็บข้อมูล ที่กึ่งกลางของทรงพุ่ม ( d ) การบันทึกข้อมูลลักษณะ ลำต้น ให้บันทึกข้อมูล ลำต้นบริเวณที่สูงจากพื้น ประมาณ 1.30 เมตร ( e ) การบันทึกข้อมูลลักษณะ ใบ ที่เจริญเติบโตแล้ว ควรเก็บข้อมูลของใบที่พัฒนาเต็มที่ ปราศจากความ เสียหายทางกายภาพ ให้บันทึกข้อมูล จากใบที่บริเวณกลางกิ่ง ของกิ่งที่บริเวณ กึ่งกลางของทรงพุ่ม หมายเหตุ บันทึกข้อมูล ทาง ปริมาณ จำนวน 2 หน่วยต่อต้น พันธุ์ละ 5 ต้น ( c ) บริเวณที่ใช้บันทึกลักษณะกิ่ง ( d ) บริเวณที่บันทึกลักษณะลำต้น สูงจากพื้น ประมาณ 1.30 เมตร

12 8 . 2 คาอธิบายในแต่ละลักษณะในตารางลักษณะประจำพันธุ์ ล. 3 ต้นกล้า : รูปทรงของลำต้น ( Seedling : stem form )    1 2 3 เหลี่ยม เว้า กลม ( quadrangular ) ( lobe ) ( rounded ) ล. 7 ต้นกล้า : รูปร่างใบ ( Seedling : young leaf shape ) ล. 2 9 ใบ : รูปร่าง ( Leaf : shape ) 1 2 3 4 5 ไข่ รูปรี ขอบขนาน กลม รูปไข่กลับ ( ovate ) ( elliptic ) ( oblong ) ( circular ) ( obovate ) ล. 8 ต้นกล้า : ลักษณะของขอบใบ ( Seedling : leaf margin) ล. 3 8 ใบ : ลักษณะของขอบใบ ( Leaf : margin) 1 9 เรียบ ฟันเลื่อย ( entire ) ( serrate )

13 ล. 1 6 ลำต้น : การทำมุมของกิ่ง ( Stem : branches angle ) 1 2 3 แคบ ปานกลาง กว้าง ( narrow ) ( medium ) ( broad ) ล.1 7 ลำต้น : ลักษณะของกิ่งที่ทำกับลำต้น ( Stem : branch attitude ) 3 5 7 ตั้งตรง แผ่ออก โค้งลง ( upright ) ( spreading ) ( curved down )

14 ล.18 ลำต้น : ขนาดของกิ่ง ( Stem : branch size ) 1 กิ่งขนาด เล็ก มาก ( very small ) คือ กิ่งที่มีขนาด น้อยกว่า 1 / 4 เมื่อเทียบกับลาต้น โดยบันทึกข้อมูลที่ กิ่งที่ใหญ่ที่สุดของต้น 2. กิ่งขนาด เล็ก ( small ) คือ กิ่งที่มีขนาด น้อยกว่า 1 / 4 - 1 / 2 เมื่อเทียบกับลำต้น โดยบันทึกข้อมูลที่ กิ่งที่ ใหญ่ที่สุดของต้น 3. กิ่งขนาด ปานกลาง ( medium ) คือ กิ่งที่มีขนาด 1 / 2 - 3 / 4 เมื่อเทียบกับลำต้น โดยบันทึกข้อมูลที่ กิ่งที่ใหญ่ที่สุดของต้น 4. กิ่งขนาดใหญ่ ( large ) คือ กิ่งที่มีขนาด มาก กว่า 3 / 4 เมื่อเทียบกับลาต้น โดยบันทึกข้อมูลที่ กิ่งที่ ใหญ่ที่สุดของ ต้น ล. 2 2 ลำต้น : สีเปลือกด้านใน ( Stem : inner bark color ) 1 2 3 5 ขาว เหลือง เขียวอ่อน เขียวเข้ม ( white ) ( yellow ) ( light green ) ( dark green ) ล. 2 4 ลำต้น : การติดกันของเปลือกกับลำต้น ( Stem : coherence of bark ) การบันทึกลักษณะเปลือกให้บันทึกที่บริเวณเปลือกเหนือโคนต้นที่ 130 เซนติเมตร โดยสังเกตว่าเมื่อใช้ มือดึงเปลือกออกจากต้นแล้ว เปลือกหลุดออกเป็นแผ่นขนาดใหญ่ คือ การติดกันน้อย หากเปลือกหลุดออกมา เป็นแผ่นขนาดปานกลาง คือ การติดกันปานกลาง และหากหลุดออกมาเป็นแผ่นเล็กๆหรือไม่หลุด คือ การติด แน่น 3 5 7 น้อย ปานกลาง แน่น ( weak ) ( medium ) ( strong )

15 ล. 30 ใบ : รูปร่างปลายใบ ( Leaf : tip shape ) 1 2 3 แหลม ป้าน โค้งมน ( acute ) ( obtuse ) ( rounded ) ล. 31 ใบ : รูปร่างฐานใบ ( Leaf : base shape ) 1 2 3 แหลม ป้าน โค้งมน ( acute ) ( obtuse ) ( rounded ) ล. 36 ใบ ( Leaf ) : ลักษณะใบตัดตามขวาง ( Leaf : cross section of leaf ) การบันทึกข้อมูลให้ ตัดที่ ¼ ของใบจากโคนใบ 1 2 ราบ นูน ( flat ) ( convex )

16 ล. 37 ใบ ( Leaf ) : ลักษณะใบตัดตามยาวของกลางใบ ( Leaf : longitudinal profile of the middle leaf ) 1 2 ตรง นูน ( flat ) ( convex ) ล. 39 ใบ : การเป็นคลื่นที่ ขอบใบ ( Leaf : wa v ing margin ) 1 3 เรียบ คลื่นหยาบ ( entire ) ( wavy ) 9 . การประมาณค่าใช้จ่ายและวิธีการชำระค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบลักษณะ 9 . 1 ประมาณการค่าใช้จ่าย ในการตรวจสอบลักษณะประจาพันธุ์ พืช ที่ขอจดทะเบียนเป็นพันธุ์พืชใหม่ 1 ) ค่าจ้างเหมาเตรียมพื้นที่/เตรียมดิน 2 ) ค่าจ้างเหมาปลูก ดูแลรักษา บันทึกข้อมูล และเก็บเกี่ยว 3 ) ค่าเดินทางเพื่อไปดาเนินตรวจสอบของคณะทางานตรวจสอบภาคสนามและคณะเจ้าหน้าที่บันทึก ลักษณะ 4 ) ค่าวัสดุ หมายเหตุ ทั้งนี้รายละเอียดค่าใช้จ่ายอาจเปลี่ยนแปลงได้โดยให้เป็นไปตามรายจ่ายจริง 9 . 2 วิธีการชำระค่าใช้จ่าย ระยะเวลา จานวนครั้ง และสถานที่ชาระค่าใช้จ่าย ให้เป็นไปตามที่คณะทำงาน ตรวจสอบภาคสนามกำหนด