Thu Mar 09 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการผลิตสุราที่มิใช่เพื่อการค้า และการนำสุราออกจากสถานที่ผลิตเพื่อตรวจวิเคราะห์ในขั้นตอนการผลิต


ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการผลิตสุราที่มิใช่เพื่อการค้า และการนำสุราออกจากสถานที่ผลิตเพื่อตรวจวิเคราะห์ในขั้นตอนการผลิต

ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการผลิตสุราที่มิใช่เพื่อการค้า และการนาสุราออกจากสถานที่ผลิตเพื่อตรวจวิเคราะห์ในขั้นตอนการผลิต อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 26 (3) และมาตรา 153 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560 ประกอบกับข้อ 11 ของกฎกระทรวงการผลิตสุรา พ.ศ. 256 5 อธิบดีกรมสรรพสามิตจึงกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการผลิตสุราที่มิใช่เพื่อการค้าและ การนำสุราออกจากสถานที่ผลิตเพื่อตรวจวิเคราะห์ในขั้นตอนการผลิตไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ในประกาศนี้ “ เบียร์ ” หมายความว่า สุราแช่ที่ได้จากการหมักสารละลายที่ได้จากการต้มสกัดมอลต์ ข้าวบาร์เลย์กับฮอป หรือผลิตภัณฑ์จากฮอป โดยอาจใช้คาร์โบไฮเดรตจากวัตถุดิบอื่น ๆ เป็นส่วนผสม ในการต้มสกัดด้วยหรือไม่ก็ได้ “ ไวน์ ” หมายความว่า สุราแช่ที่ได้จากการหมักผลไม้จำพวกองุ่นหรือผลิตภัณฑ์จากผลองุ่น “ สปาร์กลิ้งไวน์ ” หมายความว่า ไวน์ที่มีการเติมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือการเกิด ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการหมักครั้งที่สองในขวดหรือ ภาชนะที่ปิดสนิท “ สุราแช่ผลไม้ ” หมายความว่า สุราแช่ที่ได้จากการหมักผลไม้อื่นหรือผลิตภัณฑ์จากผลไม้อื่น นอกจากองุ่น “ สุราแช่ผลไม้ที่มีส่วนผสมขององุ่นหรือไวน์องุ่น ” หมายความว่า สุราแช่ที่ได้จากการหมักผลไม้ หรือผลิตภัณฑ์จากผลไม้กับองุ่นหรือไวน์องุ่น “ สุราแช่พื้นเมือง ” หมายความว่า สุราแช่ที่ได้จากการหมักวัตถุดิบจำพวกน้าตาล เช่น กระแช่ หรือน้าตาลเมา หรือจากวัตถุดิบจาพวกข้าว เช่น อุ น้าขาว หรือสาโท หากผสมสุรากลั่นต้องมี แอลกอฮอล์ไม่เกินสิบห้าดีกรี “ สุราแช่อื่น ” หมายความว่า สุราแช่ที่ได้จากการหมักวัตถุดิบที่มิใช่ผลไม้หรือผลิตภัณฑ์จากผลไม้ และมิใช่เบียร์และสุราแช่พื้นเมือง “ สุราขาว ” หมายความว่า สุรากลั่นที่ปราศจากเครื่องย้อมหรือสิ่งผสมปรุงแต่ง มีแรง แอลกอฮอล์ต่ากว่าแปดสิบดีกรี “ สุราผสม ” หมายความว่า สุรากลั่นที่ใช้สุราขาว หรือสุราขาวผสมสุราสามทับมาปรุงแต่ง มีแรงแอลกอฮอล์ต่ากว่าแปดสิบดีกรี “ สุราปรุงพิเศษ ” หมายความว่า สุรากลั่นที่ใช้สุราสามทับมาปรุงแต่ง มีแรงแอลกอฮอล์ต่ากว่า แปดสิบดีกรี “ สุราพิเศษ ” หมายความว่า สุรากลั่นที่ทาขึ้นตามแบบสุราต่างประเทศโดยใช้กรรมวิธีพิเศษ มีแรงแอลกอฮอล์ต่ากว่าแปดสิบดีกรี ้ หนา 44 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 55 ง ราชกิจจานุเบกษา 10 มีนาคม 2566

ข้อ 2 ผู้ได้รับใบอนุญาตผลิตสุราที่มิใช่เพื่อการค้าต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขเกี่ยวกับการผลิตสุรา ดังนี้ 2. 1 ผู้ได้รับใบอนุญาตผลิตสุราที่มิใช่เพื่อการค้าต้องผลิตสุราตามชนิด แรงแอลกอฮอล์ และปริมาณการผลิตตามที่ระบุไว้ในใบอนุญาตผลิตสุราที่มิใช่เพื่อการค้า โดยต้องใช้วัตถุดิบ ส่วนผสม หรือส่วนประกอบที่ใช้ในการผลิต กรรมวิธีหรือขั้นตอนการผลิต ตามที่แจ้งไว้กับกรมสรรพสามิต และ ในกรณีที่ใช้เครื่องกลั่นสำหรับผลิตสุรา ต้องใช้เครื่องกลั่นที่มีรายละ เอียดตามที่แจ้งไว้กับกรมสรรพสามิต เท่านั้น 2.2 กรณีมีการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดเกี่ยวกับการผลิตสุราตามข้อ 2.1 ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตผลิตสุราที่มิใช่เพื่อการค้าแจ้งรายละเอียดที่มีการเปลี่ยนแปลงต่อสานักงานสรรพสามิต พื้นที่หรือสานักงานสรรพสามิตพื้นที่สาขาที่อ อกใบอนุญาต เพื่อให้เจ้าพนักงานสรรพสามิตบันทึก รายละเอียดที่มีการเปลี่ยนแปลงนั้นในใบอนุญาตผลิตสุราที่มิใช่เพื่อการค้า ข้อ 3 ผู้ได้รับใบอนุญาตผลิตสุราที่มิใช่เพื่อการค้าต้องผลิตสุราที่มีคุณสมบัติเป็นไป ตามมาตรฐานคุณภาพที่กำหนดท้ายประกาศนี้ ข้อ 4 ผู้ได้รั บใบอนุญาตผลิตสุราที่มิใช่เพื่อการค้าที่ประสงค์จะส่งตัวอย่างสุราเพื่อตรวจวิเคราะห์ มาตรฐานคุณภาพในขั้นตอนการผลิตสามารถดาเนินการได้ ดังนี้ 4.1 กรณีประสงค์จะส่งตัวอย่างสุราให้กลุ่มวิเคราะห์สินค้าและของกลาง กรมสรรพสามิต เพื่อทำการตรวจวิเคราะห์ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตผลิตสุราที่มิใช่เพื่อการค้ายื่นคำขออนุญาตนำสุราออกจาก สถานที่ผลิตสุราเพื่อตรวจวิเคราะห์ในขั้นตอนการผลิตตามแบบท้ายประกาศนี้ ณ สำนักงานสรรพสามิต พื้นที่หรือสานักงานสรรพสามิตพื้นที่สาขาที่ออกใบอนุญาต เพื่อให้สรรพสามิตพื้นที่หรือสรรพสามิต พื้นที่สาขา แล้วแต่กรณี พิจารณาอนุญาตให้นำสุราออกจากสถานที่ผลิตสุราเพื่อตรวจวิเคราะห์ แล้วจึงนำ ตัวอย่างสุราออกจากสถานที่ผลิตสุราและส่งไปยังกลุ่มวิเคราะห์สินค้าและของกลาง กรมสรรพสามิต ต่อไป ทั้งนี้ ในการส่งตัวอย่างเพื่อตรวจวิเคราะห์ดังกล่าวนั้นให้ ส่งตัวอย่างละ 3 ภาชนะบรรจุ ซึ่งมีปริมาตรรวม ไม่น้อยกว่า 0.500 ลิตร และหากได้รับแจ้งจากกลุ่มวิเคราะห์สินค้าและของกลาง กรมสรรพสามิต ว่าจะต้องใช้ตัวอย่างสุราเพื่อตรวจวิเคราะห์เพิ่มเติม ให้สรรพสามิตพื้นที่หรือสรรพสามิตพื้นที่สาขาข้างต้น แจ้งผู้ได้รับใบอนุญาตผลิตสุราที่มิใช่เพื่อการค้าให้ส่งตัวอย่างสุราสาหรับตรวจวิเคราะห์เพิ่มเติมได้อีก ตัวอย่างละ 3 ภาชนะบรรจุ โดยมีปริมาตรรวมไม่น้อยกว่า 0.500 ลิตร 4.2 กรณีประสงค์จะส่งตัวอย่างสุราให้หน่วยงานอื่น ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยรา ชภัฏ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์บริการ หรือหน่วยงานตามบัญชี รายชื่อที่กาหนดท้ายประกาศนี้ หรือหน่วยงานอื่นที่มีมาตรฐานของห้องปฏิบัติการเป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ของกรมสรรพสามิต ( Good Laboratory Practice / Excise Department : GLP / EXD ) หรือสูงกว่า และขึ้นทะเบียนไว้กับกรมสรรพสามิตตามระเบียบที่อธิบดี กาหนด เพื่อทาการตรวจวิเคราะห์ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตผลิตสุราที่มิใช่เพื่อการค้ายื่นคาขออนุญาต ้ หนา 45 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 55 ง ราชกิจจานุเบกษา 10 มีนาคม 2566

นำสุราออกจากสถานที่ผลิตสุราเพื่อตรวจวิเคราะห์ในขั้นตอนการผลิตตามแบบท้ายประกาศนี้ ณ สำนักงานสรรพสามิตพื้นที่หรือสำนักงานสรรพสามิตพื้นที่สาขาที่ออกใบอนุญาต เพื่อให้สรรพสามิตพื้นที่ หรือสรรพสามิตพื้นที่สาขา แล้วแต่กรณี พิจารณาอนุญาตให้นาสุราออกจากสถานที่ผลิตสุราเพื่อ ตรวจวิเคราะห์ แล้วจึงนำตัวอย่างสุราออกจากสถานที่ผลิตสุราเพื่อตรวจวิเครา ะห์ต่อไป ทั้งนี้ ในการส่ง ตัวอย่างเพื่อตรวจวิเคราะห์ดังกล่าวให้ส่งตัวอย่างที่มีปริมาตรรวมไม่น้อยกว่า 1.000 ลิตร และ เมื่อได้รับผลการตรวจวิเคราะห์แล้ว ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตผลิตสุราที่มิใช่เพื่อการค้าเก็บรักษาผลการตรวจ วิเคราะห์นั้นไว้ ณ สถานที่ผลิตสุรำ เพื่อให้เจ้าพนักงานสรรพสามิตสามารถตรวจสอบได้ตลอดเวลา กรณีมีการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดเกี่ยวกับการผลิตสุราตามข้อ 2.2 ส่งผลให้วัตถุดิบ ส่วนผสมหรือส่วนประกอบที่ใช้ในการผลิต กรรมวิธีหรือขั้นตอนการผลิตสุราแตกต่างไปจากเดิม ผู้ได้รับ ใบอนุญาตผลิตสุราที่มิใช่ เพื่อการค้าสามารถส่งตัวอย่างสุราเพื่อตรวจวิเคราะห์ใหม่ได้ ข้อ 5 การตรวจวิเคราะห์มาตรฐานคุณภาพสุราตามข้อ 4.1 ให้กลุ่มวิเคราะห์สินค้าและ ของกลาง กรมสรรพสามิต ดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในสิบสองวัน แล้วแจ้งผลการตรวจวิเคราะห์ ตัวอย่างน้ำสุราให้สรรพสามิตพื้นที่ หรือสรรพสามิตพื้นที่สาขาที่ออกใบอนุญาต เพื่อแจ้งแก่ผู้ได้รับ ใบอนุญาตผลิตสุราที่มิใช่เพื่อการค้าที่ส่งตัวอย่างสุราให้กลุ่มวิเคราะห์สินค้าและของกลาง กรมสรรพสามิต ตรวจวิเคราะห์ทราบต่อไป ข้อ 6 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันออกประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 256 6 เอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ อธิบดีกรมสรรพสามิต ้ หนา 46 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 55 ง ราชกิจจานุเบกษา 10 มีนาคม 2566

มาตรฐานคุณภาพเบียร์ที่มิใช่เพื่อการค้า -------------------------- ให้เบียร์ที่มิใช่เพื่อการค้ามีมาตรฐานเกี่ยวกับแรงแอลกอฮอล์ คุณสมบัติทางเคมี วัตถุเจือปน อาหาร และสารปนเปื้อน ตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ โดยให้ใช้วิธีทดสอบตามมาตรฐาน AOAC ( Association of Official Analytical Chemists ) หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า 1. แรงแอลกอฮอล์ ให้เป็นไปตามที่แจ้งไว้กับกรมสรรพสามิต โดยมีเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนได้ ± 1 ดีกรี ร้อยละโดยปริมาตร วิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC 982 . 10 หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมี ข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน 2. คุณสมบัติทางเคมี ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน ลาดับที่ รายการท ดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม 1 เมทิลแอลกอฮอล์ 50 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 972.11 2 เอทิลคาร์บาเมต 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 994.07 3. วัตถุเจือปนอาหาร ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน ลาดับที่ รายการทดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม 1 ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ทั้งหมด 20 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 963.11 4. สารปนเปื้อน ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน ลาดับที่ รายการทดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม 1 สารหนู 0.1 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 986.15 2 ตะกั่ว 0.1 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 972.25 3 ทองแดง 1.5 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 970.18 4 เหล็ก 1.5 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 970.19

มาตรฐานคุณภาพไวน์ สปาร์กลิ้งไวน์ และสุราแช่ที่มิใช่เพื่อการค้า -------------------------- ให้ไวน์ สปาร์กลิ้งไวน์ และสุราแช่ที่มิใช่เพื่อการค้า มีมาตรฐานเกี่ยวกับแรงแอลกอฮอล์ คุณสมบัติ ทางเคมี วัตถุเจือปนอาหาร และสารปนเปื้อน ตามที่กาหนดดังต่อไปนี้ โดยให้ใช้วิธีทดสอบตามมาตรฐาน AOAC ( Association of Official Analytical Chemists ) และ ASTM ( American Society of Testing and Materials ) หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า 1. สุราที่จะใช้มาตรฐานนี้ ได้แก่ ไวน์ สปาร์กลิ้งไวน์ สุราแช่ผลไม้ สุราแช่ผลไม้ที่มีส่วนผสม ขององุ่นหรือไวน์องุ่น สุราแช่พื้นเมือง และสุราแช่อื่น 2. แรงแอลกอฮอล์ ให้เป็นไปตามที่แจ้งไว้กับกรมสรรพสามิต โดยมีเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนได้ ± 1 ดีกรี ร้อยละโดยปริมาตรวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC 982.10 หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้ง เรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน 3. คุณสมบัติทางเคมี ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำ หนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติ ตาม AOAC หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน ลาดับที่ รายการทดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม 1 แอลดีไฮด์ (คิดเป็นแอซิทัลดีไฮด์) 160 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 950.05 2 เมทิลแอลกอฮอล์ 420 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 972.11 3 เอทิลคาร์บาเมต 200 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 994.07 4. วัตถุเจือปนอาหาร ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน ลาดับที่ รายการทดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม 1 ซัลเฟอร์ได ออกไซด์ทั้งหมด 400 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 963.11 2 กรดเบนโซอิกหรือเกลือของกรดนี้ คำนวณเป็นกรดเบนโซอิก 250 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 994.11 3 กรดซอร์บิกหรือเกลือของกรดนี้ คำนวณเป็นกรดซอร์บิก 200 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 974.08 5. สารปนเปื้อน ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC และ ASTM หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC และ ASTM เป็นวิธีตัดสิน ลาดับที่ รายการทดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม 1 สารหนู 0.1 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 986.15 2 ตะกั่ว 0. 1 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 972.25 3 เฟอร์โรไซยาไนด์ ต้องไม่พบ ASTM D 4374

มาตรฐานคุณภาพสุรากลั่นที่มิใช่เพื่อการค้า ____________________ ให้สุรากลั่นที่มิใช่เพื่อการค้ามีมาตรฐานเกี่ยวกับแรงแอลกอฮอล์ คุณสมบัติทางเคมี วัตถุเจือปน อาหาร และสารปนเปื้อ ตามที่กาหนดดังต่อไปนี้ โดยให้ใช้วิธีทดสอบตามมาตรฐาน AOAC ( Association of Official Analytical Chemists ) หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า 1. สุรากลั่นที่ มิใช่เพื่อการค้าที่จะใช้ มาตรฐาน นี้ ได้แก่ สุราขาว สุราผสม สุราปรุงพิเศษ และสุรำ พิเศษ 2. แรง แอลกอฮอล์ ให้เป็นไปตามที่แจ้งไว้กับกรมสรรพสามิต โดยมีเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนได้ ± 1 ดีกรี ร้อยละโดยปริมาตรวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC 982.10 หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมี ข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน 3. คุณสมบัติทางเคมี ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน ลาดับที่ รายการทดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม 1 ฟูเซลออยล์ 5 , 500 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 959.05 2 เฟอร์ฟิวรัล 50 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 960.16 3 แอลดีไฮด์ (คิดเป็นแอซีทัลดีไฮด์ ) 3.1 สุรากลั่นที่มีแรง แอลกอฮอล์ไม่เกิน 40 ดีกรี 3.2 สุรากลั่นที่มีแรง แอลกอฮอล์เกิน 40 ดีกรี 160 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร 22 0 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 950.05 4 เมทิลแอลกอฮอล์ 1 ,0 00 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 972.11 5 เอทิลคาร์ บาเมต 400 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 994.07 4. วัตถุเจือปนในอาหาร ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน ลาดับที่ รายการทดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม 1 กรดเบนโซอิกหรือเกลือของกรดนี้ คำนวณเป็นกรดเบนโซอิก 200 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 994.11 2 กรดซอร์บิกหรือเกลือของกรดนี้ คำนวณเป็นกรดซอร์บิก 200 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 974.08

  • 2 - 5 . สารปนเปื้อน ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน ลาดับที่ รายการทดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม 1 สารหนู 0.1 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 986.15 2 ตะกั่ว 0.2 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC 972.25

บัญชีรายชื่อหน่วยงานตรวจวิเคราะห์คุณภาพสุรา ____________________ รายชื่อหน่วยงานตรวจวิเคราะห์คุณภาพสุรา 1 . สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ได้แก่ (1) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย เลขที่ 196 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร (2) ศูนย์ทดสอบและมาตรฐานวิทยา นิคมอุตสาหกรรมบางปู ซอย 1 อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 2 . มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะเทคโนโลยีชีวภาพ เลขที่ 862 ซอยรามคาแหง 24 ถนนรา มคาแหง เขต หัวหมาก กรุงเทพมหานคร 3. สถาบันอาหาร ฝ่ายบริการทดสอบ เลขที่ 2008 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 40 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงบางยี่ขัน เขต บางพลัด กรุงเทพมหานคร 4. หน่วยงานในสังกัดสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ได้แก่ สถาบันวิจัยเคมี ตาบลคลองหก อาเภอธัญบุรี จังหวัด ปทุมธานี 5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร เลขที่ 111 ถนนมหาวิทยาลัย ตาบล สุรนารี อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 6. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิทยาศาสตร์ สถานบริการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เลขที่ 239 ถนนห้วยแก้ว อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 7. มหาวิ ทยาลัยขอนแก่น ศูนย์วิจัยการหมักเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร คณะเทคโนโลยี เลขที่ 123 ถนนมิตรภาพ อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 8. มหาวิทยาลัยรามคำแหง คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร (ชั้น 4 อาคารคีรีมาศ) ถนนรามคำแหง เขตหัวหมาก กรุงเทพ 9 . สถาบันค้ นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10. มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ตำบลหนองหาร อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 11 . บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง ( ประเทศไทย) จำกัด สาขากรุงเทพฯ เลขที่ 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ ในการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างสุราของหน่วยงานดังกล่าวข้างต้น ให้ขึ้นอยู่กับความสามารถในการ ตรวจวิเคราะห์ตามมาตรฐานคุณภาพสุราที่กรมสรรพสามิตประกาศกาหนด

คาขอ อนุญาต นาสุราออกจากสถานที่ผลิตสุราเพื่อตรวจวิเคราะห์ ในขั้นตอนการผลิต 1. ข้อมูลผู้ ได้รับใบอนุญาต ผลิตสุรา ที่มิใช่ เพื่อการค้าที่ประสงค์ขออนุญาตนาสุราออกจากสถานที่ผลิตสุรา เพื่อตรวจวิเคราะห์ ชื่อ - นามสกุล … เลขที่ใบอนุญาตผลิตสุราที่มิใช่เพื่อการค้า     -   -    -      2. ขออนุญาต นา สุราจากสถานที่ผลิตสุราไปยังหน่วยงานตรวจวิเคราะห์ ขนย้าย สุราจากสถานที่ผลิตสุราเลขที่…ตำบล/แขวง…อาเภอ/เขต…จังหวัด… … ไปยัง  กลุ่มวิเคราะห์สินค้าและของกลาง กรมสรรพสามิต  หน่วยงานอื่น … … ตั้งอยู่เลขที่…หมู่ที่…ตรอก/ซอย…ถนน … ตำบล/แขวง…อาเภอ/เขต…จังหวัด… … รหัสไปรษณีย์… 3. ชนิดและปริมาณสุราที่นำออกจากสถานที่ผลิตสุราเพื่อตรวจวิเคราะห์ ชนิดสุรา แรงแอลกอฮอล์ ภาชนะบรรจุสุรา ชนิด ขนาด จำนวน 4. ผู้ขออนุญาต 5. การพิจารณาของเจ้าพนักงานสรรพสามิต ลงชื่อ … (…) วัน เดือน ปี…  อนุญาตให้ขนได้ภายในวันที่ …  ไม่อนุญาต เนื่องจาก … ลงชื่อ … (…) ตำแหน่ง… … วัน เดือน ปี… ให้สำเนาเอกสารฉบับนี้ไปพร้อมกับตัวอย่างสุราและเก็บรักษาเอกสารฉบับนี้เก็บไว้ ณ สถานที่ผลิตสุรา