ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลโดยการดำเนินธุรกรรมแลกเปลี่ยนพันธบัตร (Bond Switching) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 1
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลโดยการดำเนินธุรกรรมแลกเปลี่ยนพันธบัตร (Bond Switching) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 1
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลโดยการดำเนินธุรกรรมแลกเปลี่ยนพันธบัตร ( Bond Switching ) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 1 เพื่อให้เป็นไปตามความในมาตรา 16 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของ คณะรัฐมนตรีตามมติเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2565 อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 7 มาตรา 14 มาตรา 20 (3) และมาตรา 24 (1) แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ได้ดาเนินการ ปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลที่จะครบกำหนดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 - 257 0 โดยดำเนินธุรกรรมแลกเปลี่ยนพันธบัตร ( Bond Switching ) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 1 ผ่านระบบบริการธุรกรรมแลกเปลี่ยนตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ ( Bswitching ) ของธนาคาร แห่งประเทศไทย โดยผลการดาเนินธุรกรรม Bond Switching มีรายละเอียด ดังนี้ 1 . ผลการดาเนินธุรกรรม Bond Switching มีดังนี้ 1.1 พันธบัตรรัฐบาลต้นทาง ( Source Bond ) ที่ดำเนินการแลกเปลี่ยนในครั้งนี้ มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 17,173,000,000 บาท โดยมีรายละเอียด Source Bond ที่ถูกแลกเปลี่ยน ดังนี้ รายละเอียด LB23DA อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี) 2 . 400000 อัตราผลตอบแทนของ Source Bond 1 ตามที่ประกาศเพื่อรับแลกเปลี่ยน (ร้อยละต่อปี) 1 . 310000 (ก) ราคา Source Bond ที่กระทรวงการคลังกาหนด ( Gross Price per Unit ) 2 (บาทต่อหน่วย) 1 , 021 . 47749 (ข) จานวนหน่วยของ Source Bond ที่รับแลกเปลี่ยน (หน่วย) 17 , 173,000 (ค) มูลค่ารวมเงินต้นที่ตราไว้ของ Source Bond ที่รับแลกเปลี่ยน 3 (บาท) 17 , 173,000,000 (ง) รวม Gross Value ของ Source Bond ที่รับแลกเปลี่ยน 4 (บาท) 17,541,832,935 . 77 หมายเหตุ : 1 . อัตราผลตอบแทนของ Source Bond หมายถึง อัตราผลตอบแทน ( Yield ) ของ Source Bond อ้างอิงจากตลาดการเงิน ณ วันกาหนดราคาแลกเปลี่ยนพันธบัตร 2 . ราคา Source Bond ที่กระทรวงการคลังกาหนด ( Gross Price per Unit ) หมายถึง ราคาต่อหน่วยของ Source Bond ซึ่งสะท้อนมูลค่าปัจจุบัน ( Present Value ) ของเงินต้นและดอกเบี้ยคงค้างของ Source Bond ตามที่กระทรวงการคลังกาหนด 3 . มูลค่ารวมเงินต้นที่ตราไว้ของ Source Bond ที่รับแลกเปลี่ยน หมายถึง จานวนหน่วยของ Source Bond ที่รับแลกเปลี่ยนคูณ กับมูลค่าหรื อจานวนเงินต้นที่ตราไว้หน้าพันธบัตรที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท 4 . Gross Value ของ Source Bond ที่รับแลกเปลี่ยน หมายถึง ราคา Source Bond ที่กระทรวงการคลังกำหนดคูณ กับจานวนหน่วยของ Source Bond ที่รับแลกเปลี่ยน ทั้งนี้ การแลกเปลี่ยนพันธบัตรดังกล่าวส่งผลให้ยอดคงค้างของ Source Bond ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน 2565 เป็นดังต่อไปนี้ ้ หนา 3 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 5 ง ราชกิจจานุเบกษา 9 มกราคม 2566
รุ่นพันธบัตร ชื่อพันธบัตร วันครบกําหนด ไถ่ถอน ยอดคงค้ําง ของพันธบัตร ก่อนท ําธุรกรรม ( ณ วันที่ 10 พ.ย. 2565) (ล้ํานบําท) จ ํานวนเงิน ที่มีกํารแลกเปลี่ยน พันธบัตร (ล้ํานบําท) ยอดคงค้ําง ของพันธบัตร หลังท ําธุรกรรม (ณ วันที่ 11 พ.ย. 2565) (ล้ํานบําท) LB23DA พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 25 61 ครั้งที่ 12 17 ธ.ค. 66 4 0, 710 17,173 23 ,537 พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 25 62 ครั้งที่ 9 17 ธ.ค. 66 30,000 - 30,000 พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 25 62 ครั้งที่ 3 17 ธ.ค. 66 40,000 - 40,000 พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 25 62 ครั้งที่ 7 17 ธ.ค. 66 41,978 - 41,978 รวม 152 , 688 17,173 135 , 515 1.2 พันธบัตรรัฐบาลปลายทาง ( Destination Bond ) ที่กระทรวงการคลังดาเนินการออก เพื่อแลกเปลี่ยนกับ Source Bond ตามข้อ 1.1 มีจานวนรวมทั้งสิ้น 17,173,000,000 บาท ซึ่งประกอบด้วยพันธบัตรรัฐบาล จานวน 6 รุ่น โดย Destination Bond ที่นามาแลกเปลี่ยน มีรายละเอียด ดังนี้ รายละเอียด LB286A พันธบัตรรัฐบาล เพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 5 / 1 LB336A พันธบัตรรัฐบาล เพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 6 / 2 LB436A พันธบัตรรัฐบาล เพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 7 / 3 LB526A พันธบัตรรัฐบาล เพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 8 / 4 LB 7 26 A พันธบัตรรัฐบาล เพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 9 / 5 LBA476A พันธบัตรรัฐบาล เพื่อการบริหารหนี้ ประเภททยอย ชาระคืนเงินต้น ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 1 / 6 อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี) 2 . 650 3 . 350 3 . 450 2.75 0 4.000 3.140 อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ยของ Destination Bond (ร้อยละต่อปี) 2 . 6388 3 . 1045 3 . 9788 4 . 2460 4 . 7026 4 . 1344 (ก) ราคาถัวเฉลี่ยของ Destination Bond ที่ กระทรวงการคลังรับแลกเปลี่ยน ( Gross Price per Unit ) (บาทต่อหน่วย) 1,009 . 71670 1,025 . 25144 934 . 07684 760 . 27563 881 . 52222 867 . 95693 (ข) จานวนหน่วยของ Destination Bond ที่ออกใหม่ (หน่วย) 1,610,000 5,875,000 5,848,000 550,000 1,390,000 1,900,000 (ค) มูลค่าเงินต้นที่ตราไว้ของ Destination Bond ที่ออกใหม่ (บาท) 1,610,000,000 5,875,000,000 5,848,000,000 550,000,000 1,390,000,000 1,900,000,000 รวมมูลค่าเงินต้นที่ตราไว้ของ Destination Bond ทุกรุ่นที่ ได้รับจากการแลกเปลี่ยน (บาท) 17,173,000,000 (ง) Gross Value ของ Destination Bond ที่ได้รับจากการแลกเปลี่ยน (บาท) 1,625,643,886 . 70 6,023,352,212 . 07 5,462,481,336 . 16 418,151,596 . 50 1,225,315,880 . 10 1,649,118,165 . 00 รวม Gross Value ของ Destination Bond ทุกรุ่นที่ได้รับ จากการแลกเปลี่ยน (บาท) 16 , 404 , 063 , 076.53 ยอดคงค้างของ Destination Bond ก่อนทาธุรกรรม (บาท) (ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 ) 93 , 420 , 000,000 20,000,000,000 28,500,000,000 37,584,000,000 15 , 790 , 000,000 25 ,7 11 , 000,000 ้ หนา 4 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 5 ง ราชกิจจานุเบกษา 9 มกราคม 2566
รายละเอียด LB286A พันธบัตรรัฐบาล เพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 5 / 1 LB336A พันธบัตรรัฐบาล เพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 6 / 2 LB436A พันธบัตรรัฐบาล เพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 7 / 3 LB526A พันธบัตรรัฐบาล เพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 8 / 4 LB 7 26 A พันธบัตรรัฐบาล เพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 9 / 5 LBA476A พันธบัตรรัฐบาล เพื่อการบริหารหนี้ ประเภททยอย ชาระคืนเงินต้น ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 1 / 6 มูลค่าเงินต้นที่ตราไว้รวมของ Destination Bond ที่ออก ใหม่ (บาท) 1,610,000,000 5,875,000,000 5,848,000,000 550 ,000,000 1,390,000,000 1,900,000,000 ยอดคงค้างของ Destination Bond หลังทาธุรกรรม (บาท) (ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน 2565) 95 , 030 , 000,000 25,875,000,000 34,348,000,000 38, 134 ,000,000 17 , 180 ,000,000 27 , 611 ,000,000 หมายเหตุ : / 1 เป็นการจาหน่ายพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดิมเพิ่มเติม ( Reopened Bond ) พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 12 / 2 เป็นการจาหน่ายพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดิมเพิ่มเติม ( Reopened Bond ) พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 1 / 3 เป็นการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดิมเพิ่มเติม ( Reopened Bond ) พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ให้กู้ต่อ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 / 4 เป็นการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดิมเพิ่มเติม ( Reopened Bond ) พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 2 / 5 เป็นการจาหน่ายพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดิมเพิ่มเติม ( Reopened Bond ) พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการ ปรับโครงสร้างหนี้ (พ.ร.ก. ให้อานาจกระทรวงการคลังกู้เงินฯ พ.ศ. 2552) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 2 / 6 เป็นการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดิมเพิ่มเติม ( Reopened Bond ) พันธบัตรรัฐบาลประเภททยอยชำระคืนเงินต้น ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 2 . ผู้ได้รับการจัดสรร Destination Bond ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ ซึ่งเป็นผู้ค้าหลักสำหรับ ธุรกรรมประเภทซื้อขายขาดของกระทรวงการคลัง ( MOF Outright Primary Dealers ) โดยธนาคาร แห่งประเทศไทยได้นำฝากพันธบัตรดังกล่าวเข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด แล้ว 3 . Destination Bond ที่ออกในครั้งนี้ มีรายละเอียดและเงื่อนไข ดังนี้ 3.1 Destination Bond เป็นพันธบัตรชนิ ดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร ตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งพันบาท 3.2 การโอนกรรมสิทธิ์หรือการใช้ Destination Bond เป็นหลักประกันให้ถือปฏิบัติ ตามกฎกระทรวงและหรือระเบียบและพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย หรือบริษัทศูนย์รับฝาก หลักทรัพ ย์ (ประเทศไทย) จำกัด แล้วแต่กรณี 3.3 กรณีผู้ถือกรรมสิทธิ์หรือผู้รับหลักประกันมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝาก Destination Bond ธนาคารแห่งประเทศไทยจะพิจารณาดำเนินการตามระเบียบและพิธีปฏิบัติ ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด 3.4 กรณีที่มีการออก Destination Bond ประเภทมีใบตราสาร ( Scrip ) มิให้ถือว่า Destination Bond ฉบับใดสมบูรณ์ เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ได้ลงลายมือชื่อกากับใน Destination Bond ฉบับนั้นแล้ว ้ หนา 5 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 5 ง ราชกิจจานุเบกษา 9 มกราคม 2566
4 . การจ่ายดอกเบี้ยของ Destination Bond 4.1 การจ่ายดอกเบี้ยของ Destination Bond แบ่งจ่ายปีละสองงวด คือวันที่ 17 มิถุนายน และ 17 ธันวาคม ของทุกปี สาหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะจ่าย ณ วันครบกาหนด ไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล โดยมีรายละเอียด ดังนี้ Destination Bond อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี) วันครบกำหนดไถ่ถอน 1) พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการ บริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 25 6 6 ครั้งที่ 5 ( LB286A ) 2.650 17 มิถุนายน 2571 2) พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการ บริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 25 6 6 ครั้งที่ 6 ( LB336A ) 3.350 17 มิถุนายน 2576 3) พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการ บริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 25 6 6 ครั้งที่ 7 ( LB436A ) 3.450 17 มิถุนายน 2586 4) พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการ บริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 25 6 6 ครั้งที่ 8 ( LB526A ) 2 . 750 17 มิถุนายน 2595 5) พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการ บริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 25 6 6 ครั้งที่ 9 ( LB726A ) 4 . 000 17 มิถุนายน 2615 6) พันธบัตรรัฐบาล เพื่อการบริหารหนี้ ประเภททยอยชำระคืนเงินต้นในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 1 ( LBA476A ) 3 . 140 17 มิถุนายน 2590 4.2 การคานวณดอกเบี้ยของ Destination Bond คานวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล โดยเริ่มคำนวณจากวันจ่ายดอกเบี้ยครั้งล่าสุด ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน การคำนวณดอกเบี้ย ใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี 365 วัน แล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง การจ่ายดอกเบี้ยของพันธบัตรรัฐบาลรุ่น LB 286 A LB 336 LB 436 LB 526 A และ LB 726 A หากวันครบกาหนดจ่ายดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เลื่อนไปจ่ายในวันทาการถัดไป โดยไม่นับวันหยุดตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยดังกล่าวเข้ารวมเพื่อคานวณดอกเบี้ย ในงวด ที่ถึงกาหนดจ่ายดอกเบี้ย ยกเว้นการจ่ายดอกเบี้ยงวดสุดท้าย ให้คานวณดอกเบี้ยจนถึงวันก่อนวันไถ่ถอน พันธบัตรรัฐบาลที่เลื่อนออกไป การจ่ายดอกเบี้ยของพันธบัตรรัฐบาลรุ่น LBA 476 หำกวันครบกาหนดจ่ายดอกเบี้ยตรงกับ วันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เลื่อนไปจ่ายในวันทาการถัดไป โดยไม่นับวันหยุดตามประกาศ ธนาคารแห่งประเทศไทยดังกล่าวเข้ารวมเพื่อคานวณดอกเบี้ยในงวดที่ถึงกาหนดจ่ายดอกเบี้ย ยกเว้น งวดที่เริ่มทยอยจ่ายคืนเงินต้นจนถึงวันจ่ายดอกเบี้ยงวดสุดท้าย จะคานวณดอกเบี้ยตามจานวนวันที่ เลื่อนออกไป 4.3 กระทรวงการคลังจะจ่ายดอกเบี้ยของ Destination Bond ให้แก่ผู้ถือกรรมสิทธิ์ ผู้รับหลักประกันตามที่ตกลงกัน หรือผู้รับตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกาหนด ทั้งนี้ กรณีเป็นพันธบัตรแบบ มีใบตราสาร ให้ถือตามรายชื่อทางทะเบียนของธนาคารแห่งประเทศไทย และกรณีเป็นพันธบัตรแบบ ไร้ใบตราสาร ให้ถือตามรายชื่อที่ได้รับแจ้งจากบริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด ซึ่งเป็น รายชื่อ ณ สิ้นวันทำการสุดท้ายก่อน วันปิดสมุดทะเบียนเพื่อจ่ายดอกเบี้ยตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทย ประกาศกาหนด ้ หนา 6 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 5 ง ราชกิจจานุเบกษา 9 มกราคม 2566
5 . การไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล 5.1 กรณีพันธบัตรรัฐบาลรุ่น LB 286 A LB 336 LB 436 LB 526 A และ LB 726 A เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจานวนที่ออกในวันที่ครบกาหนดไถ่ถอน และกรณีพันธบัตรรัฐบาล รุ่น LBA 476 จะทยอยชำระคืนเงินต้นเป็นจำนวนห้างวด งวดละเท่า ๆ กัน เริ่มตั้งแต่วันที่ 17 มิถุนายน 2586 และชำระคืนครั้งสุดท้ายในวันครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ 17 มิถุนายน 2590 ทั้งนี้ หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทาการต่อไป โดยจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกาหนด 5.2 การจ่ายคืนเงินต้น Destination Bond กระทรวงการคลังจะจ่ายให้แก่ผู้ถือกรรมสิทธิ์ ผู้รับหลักประกันตามที่ตกลงกัน หรือผู้รับตามที่ธนาคาร แห่งประเทศไทยกาหนด ทั้งนี้ กรณีเป็น พันธบัตรแบบมีใบตราสาร ให้ถือตามรายชื่อทางทะเบียนของธนาคารแห่งประเทศไทย โดยไม่ต้องนา ใบตราสารมาเวนคืน เว้นแต่กรณีมีเหตุจาเป็นหรือมีข้อสงสัย ธนาคารแห่งประเทศไทยอาจขอเวนคืน ใบตราสารเพื่อตรวจสอบก็ได้ และกรณีเป็นพันธบัต รแบบไร้ใบตราสารให้ถือตามรายชื่อที่ได้รับแจ้งจาก บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด ซึ่งเป็นรายชื่อ ณ สิ้นวันทาการสุดท้ายก่อน วันปิดสมุดทะเบียนเพื่อจ่ายคืนเงินต้นตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด 6 . การดำเนินธุรกรรม Bond Switching ในครั้งนี้ มีค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียม ในการจัดการเกี่ยวกับ Destination Bond สาหรับธนาคารแห่งประเทศไทยในฐานะนายทะเบียนและ ตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตร ดังต่อไปนี้ 6.1 ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล 6.2 ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัต รรัฐบาล ในอัตราร้อยละ 0.03 (ศูนย์จุดศูนย์สาม) ของราคาตราของ Destination Bond ที่แลกเปลี่ยนได้ ดอกเบี้ยที่จ่ายและ เงินต้นพันธบัตรที่จ่ายคืน ประกาศ ณ วันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 256 6 บุญชัย จรัสแสงสมบูรณ์ รองปลัดกระทรวงการคลัง หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ้ หนา 7 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 5 ง ราชกิจจานุเบกษา 9 มกราคม 2566