Tue Feb 28 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมนนทบุรี พ.ศ. 2566


ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมนนทบุรี พ.ศ. 2566

ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมนนทบุรี พ.ศ. 2566 โดยที่เป็นการสมควรให้ใช้บังคับผังเมืองรวมนนทบุรี เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา และการดำรงรักษาเมือง และบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบทในด้านการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน การคมนาคมและการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะและสภาพแวดล้อม ทั้งนี้ เพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์ของการผังเมือง อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 33 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวม นนทบุรี พ.ศ. 2566 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ใช้บังคับผังเมืองรวม ในท้องที่จังหวัดนนทบุรี ภายในแนวเขตตามแผนที่ ท้ายประกาศนี้ ข้อ 4 ผังเมืองรวมนี้ มิให้ใช้บังคับแก่เขตพระราชฐานและพื้นที่ที่ได้ใช้หรือสงวนไว้ เพื่อประโยชน์ในรา ชการทหาร ข้อ 5 ในประกาศกระทรวงมหาดไทยนี้ “ พื้นที่ประกอบการ ” หมายความว่า พื้นที่ที่ใช้ประกอบกิจการบนพื้นดิน เหนือพื้นดิน หรือใต้พื้นดิน และให้หมายความรวมถึงพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ต่อเนื่องของกิจการไม่ว่าจะอยู่ภายในอาคาร หรือนอกอาคาร “ การประกอบพาณิชยกรรม ” หมายความว่า การประกอบธุรกิจการค้าหรือการบริการ แต่ไม่หมายความรวมถึงคลังสินค้า โรงแรม สถานบริการ สานักงาน ตลาด สถานีบริการน้ามัน สถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว หรือสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ และการซื้อขายเศษวัสดุ “ คลังสินค้า ” หมายความว่า อาคารหรือสถานที่ที่ใช้เพื่อเก็บสินค้า หรือรับฝากสินค้า หรือ สิ่งของ ซึ่งไม่หมายความรวมถึงอาคาร หรือสถานที่ที่ใช้เก็บสินค้า หรือสิ่งของ เพื่อรอการผลิต หรือ รอการจำหน่าย ณ สถานที่ที่เป็นที่ตั้งของอาคารพาณิชยกรรม สำนักงาน อุตสาหกรรม ห รือเกษตรกรรม “ ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ ” หมายความว่า สถานที่ที่ตั้งขึ้น เพื่อให้บริการใช้สถานที่สำหรับจัดการประชุมหรือแสดงสินค้าหรือนิทรรศการเป็นการเฉพาะ ซึ่งไม่หมายความรวมถึง ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้า หรือนิทรรศการที่ดาเนินการโด ยหน่ วยงานราชการ หรือสถาบันการศึกษา ้ หนา 1 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

“ ตลาด ” หมายความว่า ตลาดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ซึ่งไม่หมายความ รวมถึง โครงการจำหน่ายสินค้าราคาถูกที่ดำเนินการโดยหน่วยงานราชการตามนโยบายของรัฐ ข้อ 6 การวางและจัดทาผังเมืองรวมตามประกาศนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการพัฒนาจังหวัดนนทบุรี ให้เป็นเมืองที่น่าอยู่อาศัย มีคุณภาพชีวิตและสภาพแวดล้อมที่ดี มีการ พัฒนาบริการสาธารณะที่ได้มาตรฐาน และมีการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง โครงสร้างพื้นฐาน ที่เชื่อ มโยงกันอย่างเป็นระบบมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับการขยายตัวของภาคการผลิต การค้า การบริการและการลงทุน ตลอดจนดารงรักษาพื้นที่เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น และวิถีชีวิตดั้งเดิมที่เป็น อัตลักษณ์ของชุมชน โดยมีแนวทางในการพัฒนาและดารงรักษาจังหวัดนนทบุรี ภายในบริเวณแ นวเขต ตามข้อ 3 ให้สอดคล้องกับการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ส่งเสริมและพัฒนาเมืองให้เป็นศูนย์กลางการบริหาร การปกครอง และการค้า การบริการของจังหวัด ( 2 ) ส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นเมืองน่าอยู่อาศัยที่ดี ในสภาพแวดล้อมที่ดีมีมาตรฐาน ( 3 ) ส่งเสริมและพัฒนาด้านที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม และเกษตรกรรม ให้มีความสอดคล้องและสมดุลกับการพัฒนาเมือง ( 4 ) ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยการพัฒนาสาธารณูปโภค สาธำรณูปการ และ บริการทางสังคมขั้นพื้นฐานให้เพียงพอและได้มาตรฐาน ( 5 ) พัฒนาระบบโครงข่ายการคมนาคมขนส่ง ให้สอดคล้องกับการใช้ประโยชน์ที่ดิน และ เชื่อมโยงกับระบบขนส่งมวลชน ตลอดจนระบบคมนาคมขนส่งของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในอนาคตอย่างมีประสิทธิภาพ ( 6 ) ดารงรักษาพื้ นที่เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่นที่มีความอุดมสมบูรณ์ให้คงอยู่อย่างยั่งยืน ( 7 ) ส่งเสริมและบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตลอดจน ป้องกันปัญหาจากภัยธรรมชาติ และภัยพิบัติ ( 8 ) อนุรักษ์ ฟื้นฟู และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม แหล่งศิลปกรรม สถาปัตยก รรมท้องถิ่น ที่มีคุณค่าให้คงความงดงาม และกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม ข้อ 7 การใช้ประโยชน์ที่ดินภายในเขตผังเมืองรวม ให้เป็นไปตามแผนผังกำหนด การใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง และรายการ ประกอบแผนผังท้ายประกาศนี้ ข้อ 8 กำรใช้ประโยชน์ที่ดินตามแผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท ท้ายประกาศนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ที่ดินประเภท ย. 1 ถึง ย. 3 ที่กาหนดไว้เป็นสีเหลือง ให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย โดยมีวัตถุประสงค์และจำแนกเป็นบริเวณ ดังต่อไปนี้ ้ หนา 2 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

(ก) ที่ดินประเภท ย. 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและดารงรักษาสภาพแวดล้อมที่ดี ของการอยู่อาศัยบริเวณเขตชานเมือง และบริเวณต่อเนื่องกับพื้นที่ที่สงวนรักษาไว้สาหรับพื้นที่เกษตร อัตลักษณ์พื้นถิ่น จำแนกเป็นบริเวณ ย. 1 - 1 ถึง ย. 1 - 17 ( ข) ที่ดินประเภท ย. 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อรองรับการขยายตัวของที่อยู่อาศัยบริเวณ โดยรอบศูนย์กลางชุมชนชานเมือง และพื้นที่ต่อเนื่องกับเขตชานเมือง จาแนกเป็นบริเวณ ย. 2 - 1 ถึง ย. 2 - 25 (ค) ที่ดินประเภท ย. 3 มีวัตถุประสงค์เพื่อรองรับการขยายตัวของการ อยู่อาศัย ที่มีสภาพแวดล้อมที่ดีบริเวณใกล้กับเขตการให้บริการของระบบขนส่งมวลชน และโครงข่ายคมนาคม และขนส่ง จำแนกเป็นบริเวณ ย. 3 - 1 ถึง ย. 3 - 17 ( 2 ) ที่ดินประเภท ย. 4 ถึง ย. 6 ที่กาหนดไว้เป็นสีส้ม ให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย หนาแน่นปานกลา ง โดยมีวัตถุประสงค์และจำแนกเป็นบริเวณ ดังต่อไปนี้ (ก) ที่ดินประเภท ย. 4 มีวัตถุประสงค์เพื่อรองรับการขยายตัวของที่อยู่อาศัย ที่มีสภาพแวดล้อมที่ดีซึ่งอยู่ใกล้แหล่งงาน และเป็นพื้นที่ต่อเนื่องกับศูนย์กลางพาณิชยกรรมของชุมชนชานเมือง จำแนกเป็นบริเวณ ย. 4 - 1 ถึง ย. 4 - 15 (ข) ที่ดินประเภท ย. 5 มีวัตถุประสงค์เพื่อรองรับการอยู่อาศัยที่ยังคงสภาพแวดล้อมที่ดี ในบริเวณพื้นที่ต่อเนื่องกับเขตเมืองชั้นใน ศูนย์กลางชุมชนชานเมือง และอยู่ใกล้เขตการให้บริการ ของระบบขนส่งมวลชน จำแนกเป็นบริเวณ ย. 5 - 1 ถึง ย. 5 - 22 (ค) ที่ดินประเภท ย. 6 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการอยู่อาศัยที่มีสภาพแวดล้อมที่ดี ในบริเวณพื้นที่ชั้นใน ศูนย์กลางหลักของเมืองและอยู่ในเขตการให้บริการของระบบขนส่งมวลชน จำแนกเป็นบริเวณ ย. 6 - 1 ถึง ย. 6 - 18 ( 3 ) ที่ดินประเภท ย. 7 และ ย. 8 ที่กาหนดไว้เป็นสีน้าตาล ให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย หนาแน่นมาก โดยมีวัตถุประสงค์และจำแนกเป็นบริเวณ ดังต่อไปนี้ (ก) ที่ดินประเภท ย. 7 มีวัตถุประสงค์เพื่อรองรับการขยายตัวของที่อยู่อาศัยภายใต้ สภาพแวดล้อมที่ดี ซึ่งอยู่บริเวณพื้นที่ศูนย์กลางชุมชนที่ต่อเนื่องกับศูนย์กลางพาณิชยกรรมหลักของเมือง และอยู่ใกล้เขตการให้บริการของระบบขนส่งมวลชน จำแนกเป็นบริเวณ ย. 7 - 1 ถึง ย. 7 - 10 (ข) ที่ดินประเภท ย. 8 มีวัตถุประสงค์เพื่อรองรับการอยู่อาศัยและการบริการ ในบริเ วณพื้นที่เมืองชั้นในและศูนย์กลางชุมชนชานเมือง โดยส่งเสริมและดารงรักษาทัศนียภาพของเมือง ให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี ซึ่งอยู่ในเขตบริการของระบบขนส่งมวลชน จาแนกเป็นบริเวณ ย. 8 - 1 ถึง ย. 8 - 14 ( 4 ) ที่ดินประเภท พ. 1 ถึง พ. 4 ที่กาหนดไว้เป็นสีแดง ให้ เป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรม โดยมีวัตถุประสงค์และจำแนกเป็นบริเวณ ดังต่อไปนี้ ้ หนา 3 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

(ก) ที่ดินประเภท พ. 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กลางพาณิชยกรรมของชุมชน ที่อยู่อาศัยบริเวณชานเมือง เพื่อกระจายกิจกรรมการค้า การบริการที่อานวยความสะดวกต่อการ ดารงชีวิตประจำวัน จำแนกเป็นบริเวณ พ. 1 - 1 ถึง พ. 1 - 5 (ข) ที่ดินประเภท พ. 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กลางชุมชนชานเมืองที่รองรับ และ ส่งเสริมกิจกรรมทางการค้า การบริการ และนันทนาการที่ก่อให้เกิดความสมดุลระหว่างที่อยู่อาศัย และ แหล่งงาน จำแน กเป็นบริเวณ พ. 2 - 1 ถึง พ. 2 - 10 (ค) ที่ดินประเภท พ. 3 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กลางพาณิชยกรรมรองของจังหวัด ที่รองรับการขยายตัวของกิจกรรมทางการค้า การบริการ และนันทนาการที่ให้บริการแก่ประชาชน ในพื้นที่และในบริเวณโดยรอบเขตการให้บริการของระบ บขนส่งมวลชน จาแนกเป็นบริเวณ พ. 3 - 1 ถึง พ. 3 - 11 (ง) ที่ดินประเภท พ. 4 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กลางพาณิชยกรรมหลักของจังหวัด ที่รองรับการพัฒนาการขยายตัวของกิจกรรมทางการค้า การลงทุน และการบริการสาหรับประชาชนทั่วไป และพื้นที่บริเวณโดยรอบเ ขตการให้บริการของระบบขนส่งมวลชน ซึ่งเชื่อมต่อกับกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล จำแนกเป็นบริเวณ พ. 4 - 1 ถึง พ. 4 - 10 ( 5 ) ที่ดินประเภท อ. 1 ที่กาหนดไว้เป็นสีม่วง ให้เป็นที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและ คลังสินค้า มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้เป็นเขตอุตสาหกรรมทั่วไป ซึ่งสามารถบริหารจัดการ ด้านสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ จำแนกเป็นบริเวณ อ. 1 - 1 ถึง อ. 1 - 3 ( 6 ) ที่ ดินประเภท อ. 2 ที่กาหนดไว้เป็นสีม่วงอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ มีวัตถุประสงค์เพื่อรองรับการกาจัดขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และส่งเสริมการพัฒนาโรงงาน ที่เกี่ยวเนื่องกับ การกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล จำแนกเป็นบริเวณ อ. 2 ( 7 ) ที่ดินประเ ภท อ. 3 ที่กาหนดไว้เป็นสีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสีม่วง ให้เป็นที่ดิน ประเภทอุตสาหกรรมทั่วไปที่ไม่เป็นมลพิษต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมและคลังสินค้า มีวัตถุประสงค์ เพื่อรองรับอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อม และรองรับการขยายตัวของกิจกรรม การเ ก็บและการกระจายสินค้า จำแนกเป็นบริเวณ อ. 3 ( 8 ) ที่ดินประเภท ก. 1 ถึง ก. 3 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียว ให้เป็นที่ดินประเภทชนบท และเกษตรกรรม โดยมีวัตถุประสงค์จำแนกเป็นบริเวณ ดังต่อไปนี้ (ก) ที่ดินประเภท ก. 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อสงวนรักษาสภาพทางธรรมชาติ ระบบนิเวศ และสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการส่งเสริม และสนับสนุนพื้นที่เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่นของจังหวัด รักษาวิถีชีวิต และวัฒนธรรมดั้งเดิมของพื้นที่ จำแนกเป็นบริเวณ ก. 1 - 1 ถึง ก. 1 - 5 (ข) ที่ดินประเภท ก. 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนพื้นที่เกษตรกรรม ส่งเสริมเศรษฐกิจการเกษตร และรักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติให้มีความสมดุล จำแนกเป็นบริเวณ ก. 2 - 1 ถึง ก. 2 - 14 ้ หนา 4 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

(ค) ที่ดินประเภท ก. 3 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นชุมชนและศูนย์กลางการให้บริการ ทางสังคม ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม ตลอดจนรองรับกิจการอื่นที่จาเป็น สำหรับชุมชน จำแนกเป็นบริเวณ ก. 3 - 1 ถึง ก. 3 - 7 ( 9 ) ที่ดินประเภท ก. 4 ที่กาหนดไว้เป็นสีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสีเขียว ให้เป็นที่ดิน ประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตร กรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อสงวนรักษาสภาพทางธรรมชาติ ของพื้นที่ เกษตรกรรมในบริเวณที่มีข้อจากัดด้านการระบายน้ำ และมีความเสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัย ส่งเสริมและ สนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ศิลปวัฒนธรรมพื้นถิ่นและวิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชน จำแนกเป็นบริเวณ ก. 4 ( 10 ) ที่ดินประเภท ล. 1 และ ล. 2 ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทที่โล่ง เพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยมีวัตถุประสงค์จำแนกเป็นบริเวณ ดังต่อไปนี้ (ก) ที่ดินประเภท ล. 1 มีวัตถุประสงค์ให้เป็นพื้นที่โล่งริมแม่น้า ลาคลอง เพื่อเป็น การส่งเสริมรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมสภาพแวดล้อมทางภูมิทัศน์ริมฝั่งและป้องกันรักษาแนวลาน้า ตามธรรมชาติ จำแนกเป็นบริเวณ ล. 1 - 1 ถึง ล. 1 - 25 (ข) ที่ดินประเภท ล. 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อการนันทนาการหรือเกี่ยวข้องกับการนันทนาการ สาธารณประโยชน์ และการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม จำแนกเป็นบริเวณ ล. 2 - 1 และ ล. 2 - 2 ( 11 ) ที่ดินประเภท ศษ. ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ให้เป็นที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาหรือเกี่ยวข้องกับการศึกษา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและ สาธารณูปการ หรือกิจการสาธารณประโยชน์ จำแนกเป็นบริเวณ ศษ. - 1 ถึง ศษ. - 75 ( 12 ) ที่ดินประเภท ศ. ที่กำหนดไว้เป็นสีน้ำตาลอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ เพื่อส่งเ สริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรมท้องถิ่น การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การอยู่อาศัย การศาสนา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ จำแนกเป็นบริเวณ ศ. - 1 ถึง ศ. - 6 ( 13 ) ที่ดินประเภท ศน. ที่กำหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทสถาบันศาสนา มีวัตถุประสงค์เพื่อการศาสนาหรือเกี่ยวข้องกับการศาสนา กิจการเพื่อประโยชน์ทางการศึกษาของชุมชน สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์ จาแนกเป็นบริเวณ ศน . - 1 ถึง ศน. - 105 ( 14 ) ที่ดินประเภท ส. ที่กำหนดไว้เป็นสีน้ำเงิน ให้เป็นที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ มีวัตถุประสงค์ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเป็นสถาบันราชการ และ การดำเนินกิจการของรัฐที่เกี่ยวกับการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์ จำแนกเป็นบริเวณ ส. - 1 ถึง ส. - 42 ข้อ 9 ที่ดินประเภท ย. 1 เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย มีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและดารงรักษาสภาพแวดล้อมที่ดีของการอยู่อาศัยบริเวณเขตชานเมือง และบริเวณต่อเนื่อง กับพื้นที่ที่สงวนรักษาไว้สำหรับพื้นที่เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น ้ หนา 5 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

ที่ดินประเภทนี้ ยกเว้นบริเวณ ย. 1 - 10 บริเวณ ย. 1 - 11 และบริเวณ ย. 1 - 14 ห้ามใช้ประโยชน์ ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และ จำพวกที่กำหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ ที่ไม่ใช่โรงงานประเภทห้องแถว ตึกแถว และ โรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ( 2 ) คลังน้ามัน และสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย ( 3 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเห ลวประเภทโรงเก็บ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 4 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 5 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปน สถาน เว้นแต่การก่อสร้าง แทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ( 6 ) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ( 7 ) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ( 8 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 9 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม ( 10 ) จัดสรรที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ( 11 ) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย เว้นแต่ (ก) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยประเภทบ้านเดี่ยว บ้านแฝด ที่ตั้งอยู่ ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร (ข) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยประเภทบ้านแถว ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาด เขตทางไ ม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 12 ) การอยู่อาศัยประเภทบ้านแถว ห้องแถว หรือตึกแถว เว้นแต่การอยู่อาศัยประเภทบ้านแถว ห้องแถว หรือตึกแถว ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร ( 13 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัย รวม ประเภทอาคารขนาดใหญ่ ( 14 ) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร เว้นแต่ ที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 300 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร และมีที่ว่างหน้าอาคารไม่ น้อยกว่า 6 เมตร ( 15 ) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร เว้นแต่ ้ หนา 6 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

(ก) สานักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 300 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร (ข) สำนักงานที่ใช้ประโยชน์เป็นสโมสรของโครงการจัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย ซึ่งอยู่ภายในพื้นที่โครงการจัดสรรที่ดินที่ไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ ( 16 ) คลังสินค้า สถานีขนส่งสินค้าหรือประกอบกิจการรับส่งสินค้า ( 17 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ ( 18 ) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการ เกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,500 ตารางเมตร และตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 19 ) โรงฆ่าสัตว์หรือโรงพักสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมกา รฆ่าสัตว์ เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ ( 20 ) สวนสนุกหรือสวนสัตว์ ( 21 ) สนามแข่งรถ ( 22 ) สนามยิงปืน ( 23 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 24 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 25 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า ( 26 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ ( 27 ) ที่พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่โครงการก่อสร้างนั้น ที่ดินประเภทนี้ ในบริเวณ ย. 1 - 10 บริเวณ ย. 1 - 11 และบริเวณ ย. 1 - 14 ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่ อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน ( 2 ) การทำผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน ( 3 ) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย ( 4 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 5 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 6 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่การก่อสร้าง แทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ้ หนา 7 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 7 ) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ( 8 ) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ( 9 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 10 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม ( 11 ) จัดสรรที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ( 12 ) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย เว้นแต่การจัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยประเภทบ้านเดี่ยว บ้านแฝด ที่ตั้ งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร ( 13 ) การอยู่อาศัยประเภทบ้านแถว ห้องแถว หรือตึกแถว ( 14 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวมประเภทอาคารขนาดใหญ่ ( 15 ) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเ มตร ( 16 ) สานักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร เว้นแต่สานักงานที่ใช้ประโยชน์ เป็นสโมสรของโครงการจัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย ซึ่งอยู่ภายในพื้นที่โครงการจัดสรรที่ดินที่ไม่ใช่ อาคารขนาดใหญ่ ( 17 ) คลังสินค้า สถานีขนส่งสินค้าหรือประกอบกิจการรับส่งสินค้า ( 18 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ ( 19 ) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการ เกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,500 ตารางเมตร และตั้งอยู่ริมถนนสาธารณ ะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 20 ) โรงฆ่าสัตว์หรือโรงพักสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์ เพื่อการจาหน่าย เนื้อสัตว์ ( 21 ) สถานีขนส่งผู้โดยสาร ( 22 ) สวนสนุกหรือสวนสัตว์ ( 23 ) สนามแข่งรถ ( 24 ) สนามยิงปืน ( 25 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 26 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 27 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า ( 28 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ ( 29 ) ที่พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่ โครงการก่อสร้างนั้น ้ หนา 8 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน 1.5 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 1.5 : 1 ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสามสิบห้า แต่อัตราส่วน ของที่ว่างต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปรา ศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม อาคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกัน ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละสา มสิบห้า และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบ ของพื้นที่ว่าง ( 3 ) ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 12 เมตร เว้นแต่ อาคารที่ใช้ประโยชน์เพื่อสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์ การวัดความสูง ให้วัดจากระดับถนนถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด ข้อ 10 ที่ดินประเภท ย. 2 เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อรองรับการขยายตัวของที่อยู่อาศัยบริเวณโดยรอบศูนย์กลางชุมชนชานเมือง และพื้นที่ต่อเนื่องกับ เขตชานเมือง ที่ดินประเภทนี้ ห้ำมใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และ จำพวกที่กำหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ( 2 ) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย ( 3 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซ ปิ โตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิ โตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 4 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 5 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุ สานและฌาปนสถาน เว้นแต่การก่อสร้าง แทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ( 6 ) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม เว้นแต่โรงแรมประเภท 1 และโรงแรมประเภท 2 ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 7 ) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ( 8 ) จัดสรรที่ ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ้ หนา 9 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 9 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม เว้นแต่การจัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม ประเภทห้องแถว หรือตึกแถว ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 10 ) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยประเภทบ้านแถว ห้องแถว หรือตึกแถว เว้นแต่ (ก) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยประเภทบ้านแถว ห้องแถว หรือตึกแถว ที่ตั้งอยู่ ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร (ข) โครงการของการเคหะแห่งชาติที่ดาเนินการโดยภาครัฐ ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี ก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ ( 11 ) การอยู่อาศัยประเภทบ้านแถว ห้องแถว หรือตึกแถว เว้นแต่ (ก) การอยู่อาศัยประเภทบ้านแถว ห้องแถว หรือตึกแถว ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร (ข) โครงการของการเคหะแห่งชาติที่ดาเนินการโดย ภาครัฐ ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี ก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ ( 12 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารอยู่อาศัยรวม เว้นแต่ (ก) การอยู่อาศัยประเภทอาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวมไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยก ว่า 12 เมตร (ข) โครงการของการเคหะแห่งชาติที่ดาเนินการโดยภาครัฐ ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี ก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ ( 13 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด เว้นแต่โครงการของการเคหะแห่งชาติที่ดาเนินการ โดยภาครัฐ ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีก่อนวั นที่ประกาศนี้ใช้บังคับ ( 14 ) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 500 ตารางเมตรขึ้นไป เว้นแต่ การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร และมีที่ว่างด้านหน้าอาคารไม่น้อยกว่า 6 เมตร ( 15 ) สำนักงาน เว้นแต่ (ก) สำนักงานที่ไม่ใช่ประเภทห้องแถว หรือตึกแถว ที่มีพื้นที่ประกอบการไม่เกิน 300 ตารางเมตร (ข) สำนักงานประเภทห้องแถว หรือตึกแถว ที่มีพื้นที่ประกอบการไม่เกิน 300 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร (ค) สานักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 300 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 500 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่ำ 12 เมตร (ง) สำนักงานที่ใช้ประโยชน์เป็นสโมสรของโครงการจัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย ซึ่งอยู่ภายในพื้นที่โครงการจัดสรรที่ดินที่ไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ ้ หนา 10 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 16 ) คลังสินค้า สถานีขนส่งสินค้าหรือประกอบกิจการรับส่งสินค้า ( 17 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิ ทรรศการ เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร ( 18 ) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการ เกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,500 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเข ตทาง ไม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 19 ) โรงฆ่าสัตว์หรือโรงพักสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์ เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ ( 20 ) สวนสนุกหรือสวนสัตว์ ( 21 ) สนามแข่งรถ ( 22 ) สนามยิงปืน ( 23 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 24 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 25 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า ( 26 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ ( 27 ) ที่พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่ โครงการก่อสร้างนั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน 2 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่ อพื้นที่ดิน ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 2 : 1 ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสามสิบ แต่อัตราส่วน ของที่ว่างต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน ของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากการ แบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละสามสิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง ( 3 ) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ถนนกาญจนาภิเษก (ตลิ่งชัน - บางบัวทอง) ไม่น้อยกว่า 6 เ มตร ( 4 ) ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 12 เมตร เว้นแต่ อาคารที่ใช้ประโยชน์เพื่อสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์ การวัดความสูง ให้วัดจากระดับถนนถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด ้ หนา 11 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

ข้อ 11 ที่ดินประเภท ย. 3 เป็นที่ดินประเภทที่ อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อรองรับการขยายตัวของการอยู่อาศัยที่มีสภาพแวดล้อมที่ดีบริเวณใกล้กับเขตการให้บริการของระบบ ขนส่งมวลชน และโครงข่ายคมนาคมและขนส่ง ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และ จำพวกที่กำหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ( 2 ) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่ อการจำหน่าย ( 3 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 4 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุ กร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 5 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่การก่อสร้าง แทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ( 6 ) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม เว้น แต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน ( 7 ) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานี รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน หรือที่ประกอบกิจการในอาคารพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ่ ( 8 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 9 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรมประเภทห้องแถว หรือตึกแถว เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ ริม ถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 10 ) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยประเภทห้องแถว หรือตึกแถว เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนน สาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 11 ) การอยู่อาศัยประเภทห้องแถว หรือตึกแถว เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาด เขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร ( 12 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ ้ หนา 12 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

(ก) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุ ด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 10 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน (ข) การอยู่อา ศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 2,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน ( 13 ) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 500 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร หรือตั้งอยู่ ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโ ดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 14 ) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 500 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) สานักงานประเภทห้องแถว หรือตึกแถว ที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) สานักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ที่ตั้ งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ค) สานักงานที่ใช้ประโยชน์เป็นสโมสรของโครงการจัดสรรที่ดินเพื่ออยู่อาศัย ซึ่งอยู่ ภายในพื้นที่โครงการจัดสรรที่ดินที่ไม่ใช่อาคำรสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ ( 15 ) คลังสินค้า สถานีขนส่งสินค้าหรือการประกอบกิจการรับส่งสินค้า ( 16 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดย รอบ สถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 17 ) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการ เกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,500 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขต ทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 5 00 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน ้ หนา 13 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 18 ) โรงฆ่าสัตว์หรือโรงพักสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์ เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ ( 19 ) สถานีขนส่งผู้โดยสาร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 20 ) สวนสนุก เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือ ตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน และให้มีที่ว่างสำหรับ ปลูกต้น ไม้โดยรอบภายในแนวเขตของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต เพื่อเป็นแนวป้องกันไม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 21 ) สวนสัตว์ ( 22 ) สนามแข่งรถ ( 23 ) สนามยิงปืน ( 24 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 25 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 26 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า ( 27 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 28 ) ที่พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้าง หรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่โครงการก่อสร้างนั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน 3 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่ง แยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้น ที่ดินของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 3 : 1 ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบ แต่อัตราส่วน ของที่ว่างต้องไม่ต่า กว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน ของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอ นทั้งหมดรวมกันต้องไม่น้อย กว่าร้อยละยี่สิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง ( 3 ) ให้การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบ สถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ให้วัดระยะจากแนวเขตชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ข้อ 12 ที่ดินประเภท ย. 4 เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง มีวัตถุประสงค์ เพื่อรองรับการขยายตัวของที่อยู่อาศัยที่มีสภาพแวดล้อมที่ดีซึ่งอยู่ใกล้แหล่งงาน และเป็นพื้นที่ต่อเนื่อง กับศูนย์กลางพาณิชยก รรมของชุมชนชานเมือง ้ หนา 14 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และ จำพวกที่กำหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ( 2 ) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย ( 3 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิ โตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 4 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 5 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่การก่อสร้าง แทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ( 6 ) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 7 ) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร เว้นแต่ที่ตั้ งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานี รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน หรือที่ประกอบกิจการในอาคารพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ่ ( 8 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 9 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุ ด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 10 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน (ข) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 2,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่ มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน ( 10 ) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตาราง เมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร หรือตั้งอยู่ ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ้ หนา 15 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

(ข) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 11 ) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 500 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) สานักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ค) สานักงานที่ใช้ประโยชน์เป็นสโมสรของโครงการจัดสรรที่ดินเพื่ออยู่อาศัย ซึ่งอยู่ ภายในพื้นที่โครงการจัดสรรที่ดิ น ที่ไม่ใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ ( 12 ) คลังสินค้า สถานีขนส่งสินค้าหรือการประกอบกิจการรับส่งสินค้า ( 13 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เม ตร จากบริเวณโดยรอบสถานี รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 14 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงสัตว์ ( 15 ) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,500 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขต ทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 16 ) โรงฆ่าสัตว์หรือโรงพักสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์ เพื่อการจาหน่าย เนื้อสัตว์ ( 17 ) สถานีขนส่งผู้โดยสาร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่บนถนนสาธารณะที่มีข นาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 18 ) สวนสนุก เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน และให้มีที่ว่างสาหรับ ปลูกต้นไม้โดยรอบภายในแนวเขตของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต เพื่อเป็นแนวป้องกันไม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 19 ) สวนสัตว์ ้ หนา 16 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 20 ) สนามแข่งรถ ( 21 ) สนามยิงปืน ( 22 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 23 ) กำจัดวัตถุอัน ตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 24 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาด เขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 25 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ ริมถนนสาธารณะที่ มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 26 ) ที่พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่โครงการก่อสร้างนั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน 3.5 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการเปลี่ยนแปลงแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวม ต่อพื้นที่ดินของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดร วมกันต้องไม่เกิน 3.5 : 1 ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสิบ แต่อัตราส่วนของที่ว่าง ต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีกำรแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน ของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละสิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง ( 3 ) ให้มี ที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ถนนกาญจนาภิเษก (ตอนตลิ่งชัน - บางบัวทอง) ไม่น้อยกว่า 6 เมตร ( 4 ) ให้การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานี รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ให้วัดระยะจากแนวเขตชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ข้อ 13 ที่ดินประเภท ย. 5 เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง มีวัตถุประสงค์ เพื่อรองรับการอยู่อาศัยที่ยังคงสภาพแวดล้อมที่ดี ในบริเวณพื้นที่ต่อเนื่องกับเขตเมืองชั้นใน ศูนย์กลาง ชุมชนชานเมือง และ อยู่ใกล้เขตการให้บริการของระบบขนส่งมวลชน ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และ จำพวกที่กำหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ( 2 ) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เ พื่อการจำหน่าย ้ หนา 17 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 3 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 4 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 5 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่การก่อสร้าง แทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ( 6 ) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม เว้ นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 7 ) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือที่ประกอบกิจการในอาคารพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ่ ( 8 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 9 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 1 , 000 ตารางเมตร แต่ไม่เ กิน 5,000 ตารางเมตร ในบริเวณ ย. 5 - 1 ถึงบริเวณ ย. 5 - 5 บริเวณ ย. 5 - 8 บริเวณ ย. 5 - 10 บริเวณ ย. 5 - 14 และบริเวณ ย. 5 - 15 ที่ตั้งอยู่ ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 5 , 000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ในบริเวณ ย. 5 - 1 ถึงบริเวณ ย. 5 - 5 บริเวณ ย. 5 - 8 บริเวณ ย. 5 - 10 บริเวณ ย. 5 - 14 และบริเวณ ย. 5 - 15 ที่ตั้งอยู่ ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ค) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร ในบริเวณ ย. 5 - 6 บริเวณ ย. 5 - 7 บริเวณ ย. 5 - 9 บริเวณ ย. 5 - 11 ถึงบริเวณ ย. 5 - 13 บริเวณ ย. 5 - 16 ถึงบริเวณ ย. 5 - 22 ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ง) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 2 , 000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ในบริเวณ ย. 5 - 6 บริเวณ ย. 5 - 7 บริเวณ ย. 5 - 9 บริเวณ ย. 5 - 11 ถึงบริเวณ ย. 5 - 13 บริเวณ ย. 5 - 16 ถึงบริเวณ ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

ย. 5 - 22 ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ภายใน ระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 10 ) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธำรณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 11 ) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) สานักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,00 0 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) สานักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถน นสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 14 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ค) สานักงานที่ใช้ประโยชน์เป็นสโมสรของโครงการจัดสรรที่ดินเพื่ออยู่อาศัย ซึ่งอยู่ ภายในพื้นที่โครงการจัดสรรที่ดิน ที่ไม่ใช่อาคารสูงหรือ อาคารขนาดใหญ่ ( 12 ) คลังสินค้า สถานีขนส่งสินค้าหรือการประกอบกิจการรับส่งสินค้า ( 13 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานี รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 14 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงสัตว์ ( 15 ) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,500 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารา งเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 16 ) โรงฆ่าสัตว์หรือโรงพักสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์ เพื่อการจาหน่าย เนื้อสัตว์ ้ หนา 19 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 17 ) สถานีขนส่งผู้ โดยสาร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 18 ) สวนสนุก เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร และ ให้มีว่างสาหรับปลูกต้นไม้โดยรอบภายในแนวเขตของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต เพื่อเป็นแนวป้องกัน ไ ม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 19 ) สวนสัตว์ ( 20 ) สนามแข่งรถ ( 21 ) สนามยิงปืน ( 22 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 23 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 24 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 25 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 2 6 ) ที่พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่โครงการก่อสร้างนั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่ เกิน 4.5 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 4.5 : 1 ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อ พื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละแปด แต่อัตราส่วนของที่ว่าง ต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน ของที่ ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกัน ต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละแปด และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง ( 3 ) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ถนนกาญจนาภิเษก (ถนนตลิ่งชัน - บางบัวทอง) ไม่น้อยกว่า 6 เมตร ( 4 ) ให้การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบ สถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ให้วัดระยะจากแนวเขตชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ข้อ 14 ที่ดินประเภท ย. 6 เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาการอยู่อาศัยที่มีสภาพแวดล้อมที่ดีในบริเวณพื้นที่ชั้นใน ศูนย์กลางหลักของเมืองและอยู่ในเขต การให้บริการของระบบขนส่ งมวลชน ้ หนา 20 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และ จำพวกที่กำหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ( 2 ) คลังน้ามันแ ละสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย ( 3 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหล วประเภทโรงเก็บ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 4 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 5 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่การก่อสร้าง แทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ( 6 ) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 20 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้ ำ ขนส่งมวลชน ( 7 ) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มี ขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานี รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน หรือที่ประกอบกิจการในอาคารพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ่ ( 8 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 9 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 2,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 2,000 ตารางเมตร แต่ ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 10 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน (ข) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน (ค) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ในบริเวณ ย. 6 - 5 บริเวณ ย. 6 - 6 และบริเวณ ย. 6 - 10 ที่มีพื้นที่อาคารรวมเกิน 10,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน ้ หนา 21 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

12,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ง ) โครงการของการเคหะแห่งชาติที่ดาเนินการโดยภาครัฐ บริเวณ ย. 6 - 6 และ บริเวณ ย. 6 - 10 ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ ( 10 ) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) การประกอบพาณิชยกรรมที่ มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) การประกอบพาณิชยกรรม ในบริเวณ ย. 6 - 6 ที่ มีพื้นที่ประกอบการ เกิน 10,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 12,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน ( 11 ) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) สานักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) สานักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 14 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ค) สานักงาน ในบริเวณ ย. 6 - 6 ที่ มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 12 ) คลังสินค้า สถานีขนส่งสินค้าหรือประกอบกิจกำรรับส่งสินค้า ( 13 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาด เขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน ( 14 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงสัตว์ ( 15 ) ตลาดที่มีพื้ นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,500 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ้ หนา 22 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

(ข) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลช น ( 16 ) โรงฆ่าสัตว์หรือโรงพักสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์ เพื่อการจาหน่าย เนื้อสัตว์ ( 17 ) สถานีขนส่งผู้โดยสาร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขน ส่งมวลชน ( 18 ) สวนสนุก เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือ ตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน และให้มีที่ว่างสำหรับ ปลูกต้นไม้โดยรอบภายในแนวเขตของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต เพื่อเป็นแนวป้ องกันไม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 19 ) สวนสัตว์ ( 20 ) สนามแข่งรถ ( 21 ) สนามยิงปืน ( 22 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 23 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 24 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขต ทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 25 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 26 ) ที่พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่โครงการก่อสร้างนั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน 5 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอน ไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้น ที่ดินของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 5 : 1 ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ด แต่อัตราส่วนของที่ว่าง ต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน ของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่ เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละเจ็ด และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง ( 3 ) ให้การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานี รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ให้วัดระยะจากแนวเขตชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ้ หนา 23 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

ข้อ 15 ที่ดินประเภท ย. 7 เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก มีวัตถุประสงค์ เพื่อรองรับการขยายตัวของที่อยู่อาศัยภายใต้สภาพแวดล้อมที่ดี ซึ่งอยู่บริเวณพื้นที่ศูนย์กลางชุมชน ที่ต่อเนื่องกับศูนย์กลางพา ณิชยกรรมหลักของเมือง และอยู่ใกล้เขตการให้บริการของระบบขนส่งมวลชน ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และ จำพวกที่กำหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายป ระกาศนี้ และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ( 2 ) คลังน้ามัน สถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม สถานีบริการน้ามันประเภท ก สถานี บริการน้ำมันประเภท ข สถานีบริการน้ำมันประเภท ค ลักษณะที่สอง สถานีบริการน้ำมันประเภท จ ลักษณะที่สอง และสถานีบริการน้ามั นประเภท ฉ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย ( 3 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ และสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 4 ) คลังก๊าซธรรมชาติและสถานที่เก็บรักษาก๊าซธรรมชาติ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง ( 5 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสั ตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 6 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่การก่อสร้าง แทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ( 7 ) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 20 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน ( 8 ) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบ สถานีร ถไฟฟ้าขนส่งมวลชน หรือที่ประกอบกิจการในอาคารพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ่ ( 9 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 10 ) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ้ หนา 24 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

(ข) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ ริมถนนสา ธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 11 ) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,00 0 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) สานักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 12 ) คลังสินค้า สถานีขนส่งสินค้าหรือการประกอบกิจการรับส่งสินค้า ( 13 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานี รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 14 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงสัตว์ ( 15 ) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเ กิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,500 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 20 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 16 ) โรงฆ่าสัตว์หรือโรงพักสัตว์ตามกฎหมายว่ำด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์ เพื่อการจาหน่าย เนื้อสัตว์ ( 17 ) สถานีขนส่งผู้โดยสาร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 18 ) สวนสนุก เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริ มถนนสาธารณะที่มีเขตขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือที่ตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน และให้มีที่ว่าง สำหรับปลูกต้นไม้โดยรอบภายในแนวเขตของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต เพื่อเป็นแนวป้องกันไม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 19 ) สวนสัตว์ ( 20 ) สนามแข่งรถ ้ หนา 25 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 21 ) สนามยิงปืน ( 22 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 23 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 24 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า ( 25 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร ( 26 ) ที่พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่โครงการก่อสร้างนั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิ น 6 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 6 : 1 ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้ นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละหก แต่อัตราส่วนของที่ว่าง ต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน ของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละหก และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง ( 3 ) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางหลวงพิเศษหมายเลข 302 (ถนนรัตนาธิเบศร์) ไม่น้อยกว่า 15 เมตร และให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ถนนกาญจนาภิเษก (ถนนตลิ่งชัน - บางบัวทอง) ไม่น้อยกว่า 6 เมตร ( 4 ) ให้การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ตั้งอยู่ภำยในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบ สถานี รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ให้วัดระยะจากแนวเขตชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ข้อ 16 ที่ดินประเภท ย. 8 เป็นที่ดินที่ประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก มีวัตถุประสงค์ เพื่อรองรับการอยู่อาศัยและการบริการในบริเวณพื้นที่เมืองชั้น ในและศูนย์กลางชุมชนชานเมือง โดยส่งเสริมและดารงรักษาทัศนียภาพของเมืองให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี ซึ่งอยู่ในเขตบริการของระบบ ขนส่งมวลชน ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และ จำพวกที่กำหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ( 2 ) คลังน้ามัน สถานที่เก็บรักษาน้ำมันลักษณะที่สาม สถานีบริการน้ามันประเภท ก สถานี บริการน้ำมันประเภท ข สถานีบริการน้ำมันประเภท ค ลัก ษณะที่สอง สถานีบริการน้ำมันประเภท จ ลักษณะที่สอง และสถานีบริการน้ามันประเภท ฉ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย ้ หนา 26 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 3 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้ องบรรจุ สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ และสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 4 ) คลังก๊าซธรรมชาติและสถานที่เก็บรักษาก๊าซธรรมชาติ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง ( 5 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 6 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่การก่อสร้าง แทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ( 7 ) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม เ ว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 20 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน ( 8 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบการอุตสาหกรรม ( 9 ) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร เว้นแ ต่ (ก) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) การประกอบพาณิช ยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 10 ) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) สานักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 10,000 ตารางเมตร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนน สาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณ โดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 11 ) คลังสินค้า สถานีขนส่งสินค้าหรือการประกอบกิจการรับส่งสิน ค้า ( 12 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานี รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 13 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงสัตว์ ้ หนา 27 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 14 ) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,500 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถำนีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 15 ) โรงฆ่าสัตว์หรือโรงพักสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์ เพื่อการจาหน่าย เนื้อสัตว์ ( 16 ) สถานีขนส่งผู้โดยสาร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลช น ( 17 ) สวนสนุก เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน และให้มีที่ว่าง สำหรับปลูกต้นไม้โดยรอบภายในแนวเขตของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต เพื่อเป็นแนวป้องกั น ไม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 18 ) สวนสัตว์ ( 19 ) สนามแข่งรถ ( 20 ) สนามยิงปืน ( 21 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 22 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 23 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า ( 24 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุที่มีพื้นที่ประกอบการเ กิน 100 ตารางเมตร ( 25 ) ที่พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่โครงการก่อสร้างนั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน 7.5 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไ ม่เกิน 7.5 : 1 ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละห้า แต่อัตราส่วนของที่ว่าง ต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแย กหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนของ ้ หนา 28 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

ที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละห้า และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง ( 3 ) ให้มีที่ว่างตามแ นวขนานริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 (ถนนรัตนาธิเบศร์) ไม่น้อยกว่า 15 เมตร และให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางหลวงหมายเลข 9 ถนนกาญจนาภิเษก (ถนนตลิ่งชัน - บางบัวทอง) ไม่น้อยกว่า 6 เมตร ( 4 ) ให้การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานี รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ให้วัดระยะจากแนวเขตชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ข้อ 17 ที่ดินประเภท พ. 1 เป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็น ศูนย์กลางพาณิชยกรรมของชุมชนที่อยู่อาศัยบริเวณชานเมือง เพื่อกระจายกิจกรรมการค้า การบริ การ ที่อำนวยความสะดวกต่อการดารงชีวิตประจำวัน ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และ จำพวกที่กำหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ( 2 ) คลังน้ามัน สถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม สถานีบริการน้ามันประเภท ก สถานี บริการน้ำมันประเภท ข สถานีบริการน้ำมันประเภท ค ลักษณะที่สอง สถานีบริการน้ำมันประเภท จ ลักษณะที่สอง และสถานีบริการน้ามันประเภท ฉ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย ( 3 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ และ สถานีบริการก๊าซปิโตรเ ลียมเหลว ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 4 ) คลังก๊าซธรรมชาติและสถานที่เก็บรักษาก๊าซธรรมชาติ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง ( 5 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้ว ยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 6 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่การก่อสร้าง แทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ( 7 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 2,000 ตารางเมตร ( 8 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 9 ) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ ที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร ้ หนา 29 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 10 ) สานักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ที่มีพื้นที่ประกอบการ เกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาด เขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร ( 11 ) คลังสินค้า สถานีขนส่งสินค้าหรือประกอบกิจการรับส่งสินค้ำ เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร ( 12 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 20 เมตร ( 13 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงสัตว์ ( 14 ) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการ เกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,500 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 8 เมตร ( 15 ) โรงฆ่าสัตว์หรือโรงพักสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการ ฆ่าสัตว์ เพื่อการจาหน่าย เนื้อสัตว์ ( 16 ) สถานีขนส่งผู้โดยสาร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 17 ) สวนสนุกหรือสวนสัตว์ ( 18 ) สนามแข่งรถ ( 19 ) สนามยิงปืน ( 20 ) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ ( 21 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 22 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 23 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขต ทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 24 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร ( 25 ) ที่พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่โครงการก่อสร้างนั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิ น 4 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 4 : 1 ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้ นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ด แต่อัตราส่วนของที่ว่าง ต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนของ ้ หนา 30 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

ที่ว่า งต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละเจ็ด และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง ข้อ 18 ที่ดินประเภท พ. 2 เป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรม มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็น ศูนย์กลางชุมชนชานเมืองที่รองรับและส่งเสริมกิจกรรมทางการค้า การบริการ และนันทนาการ ที่ก่อให้เกิดความสมดุลระหว่างที่อยู่อาศัยและแหล่งงาน ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโร งงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และ จำพวกที่กำหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ( 2 ) คลังน้ามัน สถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม สถานีบริการน้ามันประเภท ก สถานี บริการน้ามัน ประเภท ข สถานีน้ามันบริการประเ ภท ค ลักษณะที่สอง สถานีบริการน้ามันประเภท จ ลักษณะที่สอง และสถานีบริการน้ามันประเภท ฉ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย ( 3 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ และสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 4 ) คลังก๊าซธรรมชาติและสถานที่เก็บรักษาก๊าซธรรมชาติ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพ ลิง ( 5 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 6 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่การก่อสร้าง แทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ( 7 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 8 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 2,000 ตารางเมตร เว้นแต่ที่มีพื้นที่อาคารรวมเกิน 2,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทา งไม่น้อยกว่า 10 เมตร ( 9 ) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร (ข) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 14 เมตร ้ หนา 31 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 10 ) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) สานักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเข ตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร (ข) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 14 เมตร ( 11 ) คลังสินค้า สถานีขนส่งสินค้าหรือประกอบกิจการรับส่งสินค้า เว้นแต่ที่ตั้ งอยู่ริมถนน สาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร ( 12 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 13 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงสัตว์ ( 14 ) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,500 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 8 เมตร (ข) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร ( 15 ) โรงฆ่าสัตว์หรือโรงพักสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์ เพื่อการจาหน่าย เนื้อสัตว์ ( 16 ) สถานีขนส่งผู้โดยสาร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 17 ) สวนสนุกหรือสวนสัตว์ ( 18 ) สนามแข่งรถ ( 19 ) สนามยิงปืน ( 20 ) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ ( 21 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 22 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 23 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 24 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร ( 25 ) ที่พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อส ร้างเพื่อประโยชน์แก่โครงการก่อสร้างนั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ้ หนา 32 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน 5 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตรา ส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 5 : 1 ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละหก แต่อัตราส่วนของที่ว่าง ต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน ของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกัน ต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละหก และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง ข้อ 19 ที่ดินประเภท พ. 3 เป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็น ศูนย์กลางพาณิชยกรรมรองของจังหวัดที่รองรับการขยายตัวของกิจกรรมทางการค้า การบริการ และ นันทนากา รที่ให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่และในบริเวณโดยรอบเขตการให้บริการของระบบขนส่ง มวลชน ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และ จำพวกที่กำหนดให้ดาเนินกา รได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ( 2 ) คลังน้ามัน และสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม สถานีบริการน้ามันประเภท ก สถานีบริการน้ามันประเภท ข สถานีบริการน้ามันประเภท ค ลักษณะที่สอง สถานีบริการน้ามัน ประเภท จ ลักษณะที่สอง และสถานีบริการน้ำมันประเภท ฉ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมัน เชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย ( 3 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเ ก็บ และ สถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 4 ) คลังก๊าซธรรมชาติและสถานที่เก็บรักษาก๊าซธรรมชาติ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง ( 5 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 6 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่การก่อสร้าง แทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ( 7 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 8 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 2,000 ตารางเมตร เว้นแต่ ้ หนา 33 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

(ก) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 2,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถ นนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 12 เมตร (ข) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน (ค) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือตั้งอยู่ ภายใ นระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 9 ) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 20 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 10 ) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนน สาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนน สาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 20 เมตร หรือตั้งอยู่ภายใ นระยะ 500 เมตร จากบริเวณ โดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 11 ) คลังสินค้า สถานีขนส่งสินค้าหรือประกอบกิจการรับส่งสินค้า เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนน สาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร ( 12 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริ มถนนสาธารณะที่มีขนาด เขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน ( 13 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงสัตว์ ( 14 ) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ ้ หนา 34 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

(ก) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,500 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 8 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 15 ) โรงฆ่าสัตว์หรือโรงพักสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์ เพื่อการจาหน่าย เนื้อสัตว์ ( 16 ) สถานีขนส่ งผู้โดยสาร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 17 ) สวนสนุก เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือ ตั้งอยู่ภายในร ะยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน และให้มีที่ว่างสำหรับ ปลูกต้นไม้โดยรอบภายในแนวเขตของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต เพื่อเป็นแนวป้องกันไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือที่ประกอบกิจการในอาคารพาณิชยกรรม ( 18 ) สวนสัตว์ ( 19 ) สนามแข่งรถ ( 20 ) สนาม ยิงปืน ( 21 ) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ ( 22 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 23 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 24 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 25 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร ( 26 ) ที่พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่โครงการก่อสร้างนั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็ นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน 7 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโ อนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 7 : 1 ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละห้า แต่อัตราส่วนของที่ว่าง ต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน ้ หนา 35 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

ของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่ น้อยกว่าร้อยละห้า และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง ( 3 ) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ถนนกาญจนาภิเษก (ตอนตลิ่งชัน - บางบัวทอง) ไม่น้อยกว่า 6 เมตร ( 4 ) ให้การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานี รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ให้วัดระยะจากแนวเขตชานชาลาสถานีรถไฟ ฟ้าขนส่งมวลชน ข้อ 20 ที่ดินประเภท พ. 4 เป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็น ศูนย์กลางพาณิชยกรรมหลักของจังหวัดที่รองรับการพัฒนาการขยายตัวของกิจกรรมทางการค้า การลงทุน และบริการสาหรับประชาชนทั่วไป และพื้นที่บริเวณโดยรอบเขตการให้บริการของร ะบบ ขนส่งมวลชนซึ่งเชื่อมต่อกับกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และจำพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ แล ะโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ( 2 ) คลังน้ามัน สถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม สถานีบริการน้ามันประเภท ก สถานี บริการน้ำมันประเภท ข สถานีบริการน้ำมันประเภท ค ลักษณะที่สอง สถานีบริการน้ำมันประเภท จ ลักษณะที่สอง และสถานีบริการน้ามันประเภท ฉ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย ( 3 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ และ สถานีบริการก๊าซปิโตรเลี ยมเหลว ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 4 ) คลังก๊าซธรรมชาติและสถานที่เก็บรักษาก๊าซธรรมชาติ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง ( 5 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 6 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่ การก่อสร้าง แทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ( 7 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 8 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้ นที่อาคารรวม เกิน 2,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 2,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 12 เมตร ้ หนา 36 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

(ข) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ขน ส่งมวลชน (ค) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวม เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือตั้งอยู่ ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 9 ) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 20 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 10 ) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริ เวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (ข) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 10,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนน สาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 20 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณ โดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 11 ) คลังสินค้า สถานีขนส่งสิ นค้าหรือประกอบกิจการรับส่งสินค้า ( 12 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานี รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 13 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ ยงสัตว์ ( 14 ) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,500 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 8 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ้ หนา 37 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

(ข) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 2,500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ( 15 ) โรงฆ่าสัตว์หรือโรงพักสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์ เพื่อการจาหน่าย เนื้อสัตว์ ( 16 ) สถานีขนส่งผู้โดยสาร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่ งมวลชน ( 17 ) สวนสนุก เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรือ ตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน และให้มีที่ว่าง สำหรับปลูกต้นไม้โดยรอบภายในแนวเขตของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต เพื่อเป็นแน วป้องกันไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือที่ประกอบกิจการในอาคารพาณิชยกรรม ( 18 ) สวนสัตว์ ( 19 ) สนามแข่งรถ ( 20 ) สนามยิงปืน ( 21 ) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ ( 22 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 23 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 24 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า ( 25 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร ( 26 ) ที่พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่โครงกา รก่อสร้างนั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน 8 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้ นที่ดิน ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 8 : 1 ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสี่จุดห้า แต่อัตราส่วน ของที่ว่างต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้ว ยการควบคุมอาคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน ของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละสี่จุดห้า และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง ( 3 ) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางหลวงแผ่นดินพิเศษหมายเลข 302 (ถนนรัตนาธิเบศร์) ไม่น้อยกว่า 15 เมตร ้ หนา 38 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 4 ) ให้การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเว ณโดยรอบ สถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ให้วัดระยะจากแนวเขตชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ข้อ 21 ที่ดินประเภท อ. 1 เป็นที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า มีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้เป็นเขตอุตสาหกรรมทั่วไป ซึ่งสามารถบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมได้อย่างมี ปร ะสิทธิภาพ ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 2 ) สุสานและฌาปนสถานตาม กฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน ( 3 ) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ( 4 ) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ( 5 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม ( 6 ) จัดสรรที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ( 7 ) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย ( 8 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ เว้นแต่อาคารอยู่อาศัยรวม ที่ให้บริการแก่พนักงานหรือลูกจ้างของสถานประกอบการในรูปของสวัสดิการ ( 9 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรือหอพัก ( 10 ) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 300 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 300 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 500 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 8 เมตร (ข) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ที่ ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร ( 11 ) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 500 ตารางเมตร ( 12 ) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร ( 13 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ ( 14 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงสัตว์ ( 15 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงคนชรา ( 16 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงคนพิการ ( 17 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงเด็ก เว้นแต่ที่ให้บริการแก่พนักงานหรือลูกจ้างของสถาน ประกอบการในรูปของสวัสดิการ ( 18 ) สถานีขนส่งผู้โดยสาร ( 19 ) สวนสนุกหรือสวนสัตว์ ้ หนา 39 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 20 ) สนามแข่งรถ ( 21 ) สนามยิงปืน ( 22 ) สถานศึกษา ( 23 ) สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล เว้นแต่สถานพยาบาลที่ให้บริการ รักษาพยาบาลแก่พนักงานหรือลูกจ้างของสถานประกอบการในรูปสวัสดิการ ( 24 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย เว้นแต่เป็นการดำเนินการ ที่เกี่ยวเนื่องกับการประกอบอุตสาหกรรม ( 25 ) ที่พักชั่วคราวสำหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่โครงการก่อสร้างนั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ที่ไม่ใช่เพื่อการอยู่อาศัย ให้เป็นไ ป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน 2 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 2 : 1 ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบ แต่อัตราส่วน ของที่ว่างต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอำคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน ของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละยี่สิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อ ปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง ข้อ 22 ที่ดินประเภท อ. 2 เป็นที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ มีวัตถุประสงค์ เพื่อรองรับการกาจัดขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และส่งเสริมการพัฒนาโรงงานที่เกี่ยวเนื่องกับการกาจัดขยะ มูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ที่ดินประ เภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และจาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และโรงงานบาบัดน้าเสียรวมของชุมชน ให้มี ที่ว่างสาหรับปลูกต้นไม้โดยรอบภายในแนวเขตของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต เพื่อเป็นแนวป้องกัน ไม่น้อยกว่า 10 เมตร ( 2 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อ การค้า ( 3 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน ( 4 ) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ( 5 ) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ( 6 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ้ หนา 40 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 7 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม ( 8 ) จัดสรรที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ( 9 ) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย ( 10 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ ( 11 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ( 12 ) การประกอบพาณิชยกรรม ( 13 ) ตลาดตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ( 14 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ ( 15 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงสัตว์ ( 16 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงคนชรา ( 17 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงเด็ก ( 18 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงคนพิการ ( 19 ) โรงฆ่าสัตว์หรือโรงพักสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์ เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ ( 20 ) สถานีขนส่งผู้โดยสาร ( 21 ) สวนสนุกหรือสวนสัตว์ ( 22 ) สนามแข่งรถ ( 23 ) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ ( 24 ) สนามยิงปืน ( 25 ) สถานศึกษา ( 26 ) สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล ( 27 ) ที่พักชั่วคราวสำหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่โครงการก่อสร้างนั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ที่ไม่ใช่เพื่อการอยู่อาศัยให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน 2 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 2 : 1 ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบ แต่อัตราส่วนของที่ว่ำง ต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนของ ที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรื อแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละยี่สิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง ้ หนา 41 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

ข้อ 23 ที่ดินประเภท อ. 3 เป็นที่ดินประเภทอุตสาหกรรมทั่วไปที่ไม่เป็นมลพิษต่อชุมชน หรือสิ่งแวดล้อมและคลังสินค้า มีวัตถุประสง ค์เพื่อรองรับอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษต่อชุมชนหรือ สิ่งแวดล้อม และรองรับการขยายตัวของกิจกรรมการเก็บและการกระจายสินค้า ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และ จำพวกที่กำหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ( 2 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 3 ) สุสานและฌำปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน ( 4 ) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ( 5 ) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ( 6 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม ( 7 ) จัดสรรที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ( 8 ) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย ( 9 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารสูงหรืออำคารขนาดใหญ่ ( 10 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หรือหอพัก ( 11 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารอยู่อาศัยรวมที่มีพื้นที่อาคารเกิน 2,000 ตารางเมตร เว้นแต่ที่ให้บริการแก่พนักงานหรือลูกจ้างของสถานประกอบการในรูปของสวัสดิการ ( 12 ) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 300 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 300 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 500 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร (ข) การประกอบพาณิชยกรรมที่มี พื้นที่ประกอบการเกิน 500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 13 ) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 500 ตารางเมตร เว้นแต่ที่เป็นส่วนหนึ่งของ โรงงานอุตสาหกรรม ( 14 ) ตลาดที่มีพื้นที่ประก อบการเกิน 1,000 ตารางเมตร ( 15 ) โรงฆ่าสัตว์หรือโรงพักสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์ เพื่อการจาหน่าย เนื้อสัตว์ ( 16 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ ( 17 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงสัตว์ ( 18 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงคนชรา ( 19 ) สถานสงเ คราะห์หรือรับเลี้ยงคนพิการ ้ หนา 42 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 20 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงเด็ก เว้นแต่ที่ให้บริการแก่พนักงานหรือลูกจ้างของสถาน ประกอบการในรูปของสวัสดิการ ( 21 ) สถานีขนส่งผู้โดยสาร ( 22 ) สวนสนุกหรือสวนสัตว์ ( 23 ) สนามแข่งรถ ( 24 ) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ ( 25 ) สนามยิงปืน ( 26 ) สถานศึกษา ( 27 ) สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล เว้นแต่ที่ให้บริการรักษาพยาบาล แก่พนักงานหรือลูกจ้างของสถานประกอบการในรูปสวัสดิการ ( 28 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 29 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 30 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้ นส่วนเครื่องจักรกลเก่า ( 31 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร ( 32 ) ที่พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่โครงการก่อสร้างนั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ที่ไม่ใช่เพื่อการอยู่อาศัย ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน 2 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อำคารรวมต่อพื้นที่ดิน ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 2 : 1 ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบ แต่อัตราส่วน ของที่ว่างต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน ของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากกา รแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละยี่สิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง ข้อ 24 ที่ดินประเภท ก. 1 เป็นที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม มีวัตถุประสงค์ เพื่อสงวนรักษาสภาพทางธรรมชาติ ระบบ นิเวศและสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการส่งเสริม และสนับสนุนพื้นที่ เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่นของจังหวัดรักษาวิถีชีวิตและวัฒนธรรมดั้งเดิมของพื้นที่ ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เ ว้นแต่โรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ( 2 ) การทำผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน ้ หนา 43 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 3 ) คลังน้ามัน สถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม สถานีบริการน้ามันประเภท ก สถานี บริการน้ำมันประเภท ข สถานีบริการน้ำมันประเภท ค ลักษณะที่สอง สถานีบริการน้ำมันประเภท จ ลักษณะที่สอง และสถานีบริการน้ามันประเภท ฉ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้ อเพลิง เพื่อการจำหน่าย ( 4 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ และ สถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำ มันเชื้อเพลิง ( 5 ) คลังก๊าซธรรมชาติ สถานที่เก็บรักษาก๊าซธรรมชาติ และสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 6 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่การก่อสร้าง แทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ( 7 ) โรงแรมตามกฎหมายว่ำด้วยโรงแรม ( 8 ) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ( 9 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 10 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม ( 11 ) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย ( 12 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารขนาดใหญ่ ( 13 ) การอยู่อาศัยประเภทบ้านแฝด บ้านแถว ห้องแถว หรือตึกแถว ( 14 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ( 15 ) การประกอบพาณิชยกรรม ที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร เว้นแต่ ที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 300 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 16 ) สานักงาน เว้นแต่สานักงานซึ่งไม่ใช่ห้องแถวหรือตึกแถวที่มีพื้นที่ประกอบการไม่เกิน 100 ตารางเมตร ( 17 ) คลังสินค้า ส ถานีขนส่งสินค้าหรือประกอบกิจการรับส่งสินค้า ( 18 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ ( 19 ) ตลาด เว้นแต่ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ( 20 ) สวนสนุกหรือสวนสัตว์ ( 21 ) สนามแข่งรถ ( 22 ) สนามยิงปืน ( 23 ) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ ้ หนา 44 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 24 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย เว้นแต่เป็นการดำเนินการ ที่เกี่ยวเนื่องกับเกษตรกรรม ( 25 ) กำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ( 26 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า ( 27 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ ( 28 ) ที่พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่โครงการก่อสร้างนั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน 1 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 1 : 1 ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบ แต่อัตราส่วน ของที่ว่างต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่ำจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน ของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละห้าสิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง ( 3 ) ให้ดาเนินการหรือประกอบการกิ จการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร เว้นแต่ อาคารที่ใช้ประโยชน์เพื่อสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์ การวัดความสูงให้วัด จากระดับถนนถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด ข้อ 25 ที่ดินประเภท ก. 2 เป็นที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม มีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนพื้นที่เกษตรกรรม ส่งเสริมเศรษฐกิจการเกษตร และรักษาสภาพแวดล้อม ทางธรรมชาติให้มีความสมดุล ที่ดินประเภทนี้ ยกเว้นบริเวณ ก. 2 - 8 ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และจำพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ( 2 ) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เ พื่อการจำหน่าย ( 3 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ้ หนา 45 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 4 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎห มายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่ การก่อสร้าง แทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ( 5 ) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ( 6 ) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร (7) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม (8) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม (9) การอยู่อาศัยประเภทบ้านแถว ห้องแถว หรือตึกแถว (10) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม (11) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย เว้นแต่ (ก) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยประเภทบ้านเดี่ยว ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาด เขตทางไม่น้อยกว่า 14 เมตร (ข) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยประเภทบ้านแฝด ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาด เขตทางไม่น้อยกว่า 14 เมตร ( 12 ) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร เว้นแต่ที่มีพื้นที่ ประกอบการเกิน 100 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 300 ตารางเมตร ที่ตั้ งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาด เขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร ( 13 ) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 300 ตารางเมตร ( 14 ) คลังสินค้า สถานีขนส่งสินค้าหรือประกอบกิจการรับส่งสินค้า เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนน สาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร ( 15 ) ศูนย์ ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ ( 16 ) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร เว้นแต่ที่มีพื้นที่ประกอบการ เกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,500 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทาง ไม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 17 ) สถานีขนส่ งผู้โดยสาร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 18 ) สวนสนุกหรือสวนสัตว์ เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร และให้มีที่ว่างสาหรับปลูกต้นไม้โดยรอบภายในแนวเขตของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต เพื่อเป็นแนวป้องกันไม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 19 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย เว้นแต่เป็นการดำเนินการ ที่เกี่ยวเนื่องกับเกษตรกรรม ( 20 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 300 ตารางเมตร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร ้ หนา 46 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 21 ) ที่พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่โครงการก่อสร้างนั้น ที่ดินประเภทนี้ ในบริเวณ ก. 2 - 8 ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน ( 2 ) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย ( 3 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊ำซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 4 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่การก่อสร้าง แทนฌาปนสถานที่ มีอยู่เดิม ( 5 ) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ( 6 ) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ( 7 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 8 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม ( 9 ) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย ( 10 ) การอยู่อาศัยประเภทบ้านแฝด บ้านแถว ห้องแถว หรือตึกแถว ( 11 ) การประกอบพาณิชยกรรมประเภทห้องแถว หรือตึกแถว ( 12 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ( 13 ) การประกอบพาณิชยกรรม เว้นแต่ที่มีพื้นที่ประกอบการไม่เกิน 100 ตารางเมตร ( 14 ) สำนักงาน เว้นแต่ที่มีพื้นที่ประกอบการไม่เกิน 100 ตารางเมตร ( 15 ) คลังสินค้า สถานีขนส่งสินค้า หรือประกอบกิจการรับส่งสินค้า ( 16 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ ( 17 ) ตลาด เว้นแต่ที่มีพื้นที่ประกอบการไม่เกิน 500 ตารางเมตร ( 18 ) สถานีขนส่งผู้โดยสาร ( 19 ) สวนสนุกหรือสวนสัตว์ ( 20 ) สนามแข่งรถ ( 21 ) สนามยิงปืน ( 22 ) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ ( 23 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย เว้นแต่เป็นการดำเนินการ ที่เกี่ยวเนื่องกับเกษตรกรรม ้ หนา 47 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 24 ) กำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ( 25 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ ( 26 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า ( 27 ) ที่พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานเพื่อก่อสร้างประโยชน์ แก่โครงการก่อสร้างนั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่ เกิน 1 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 1 : 1 ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่ อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสี่สิบห้า แต่อัตราส่วน ของที่ว่างต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน ของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่ น้อยกว่าร้อยละสี่สิบห้า และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง ( 3 ) ให้ดาเนินการหรือประกอบการกิจการได้ในอาคารที่ มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร เว้นแต่ อาคารที่ใช้ประโยชน์เพื่อสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์ การวัดความสูง ให้วัดจากระดับถนนถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด ข้อ 26 ที่ดินประเภท ก. 3 เป็นที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นชุมชนและ ศูนย์กลางการให้บริการทางสังคม ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม ตลอดจนรองรับกิจการอื่นที่จำเป็นสำหรับชุมชน ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามปร ะเภท ชนิด และจำพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ( 2 ) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย ( 3 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 4 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่การก่อสร้าง แทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ( 5 ) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม เว้นแต่โรงแรมประเภท 1 และโรงแรมประเภท 2 ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร ้ หนา 48 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 6 ) โรงมหรสพตามกฎหมา ยว่าด้วยการควบคุมอาคาร ( 7 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 8 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรม ( 9 ) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย เว้นแต่การจัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยประเภทบ้านเดี่ยว หรือบ้านแฝด ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 10 ) การอยู่อาศัยประเภทห้องแถว หรือตึกแถว ( 11 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ( 12 ) การประกอบพาณิชยกรรม ที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 300 ตารางเมตร เว้นแต่ที่มีพื้นที่ ประกอบการเกิน 300 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 500 ตารำงเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาด เขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมตร ( 13 ) สำนักงานที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 300 ตารางเมตร ( 14 ) คลังสินค้า สถานีขนส่งสินค้าหรือประกอบกิจการรับส่งสินค้า เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนน สาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เ มตร ( 15 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ ( 16 ) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 500 ตารางเมตร เว้นแต่ (ก) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 10 เมต ร (ข) ตลาดที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,500 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 17 ) สถานีขนส่งผู้โดยสาร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร ( 18 ) สวนสนุกหรือสวนสัตว์ เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร และให้มีที่ว่างสำหรับปลูกต้นไม้โดยรอบภายในแนวเขตของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต เพื่อเป็น แนวป้องกันไม่น้อยกว่า 12 เมตร ( 19 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุ อันตราย เว้นแต่เป็นการดำเนินการ ที่เกี่ยวเนื่องกับเกษตรกรรม ( 20 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุที่มีพื้นที่ประกอบการเกิน 300 ตารางเมตร เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน 1 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้ องไม่เกิน 1 : 1 ้ หนา 49 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสี่สิบ แต่อัตราส่วน ของที่ว่างต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการ แบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน ของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละสี่สิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง ( 3 ) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ถนนกาญจนาภิเษก (ตอนบางบัวทอง - ลาดหลุมแก้ว) ไม่น้อยกว่า 15 เมตร ข้อ 27 ที่ดินประเภท ก. 4 เป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อสงวนรักษาสภาพทางธรรมชาติของพื้นที่เกษตรกรรมใน บริเวณที่มีข้อจากัดด้านการ ระบายน้ำ และมีความเสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัย ส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ศิลปวัฒนธรรมพื้นถิ่น และวิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชน ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) โรงงานทุกจาพวก ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานลาดับที่ 55 โรงงาน ผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา จำพวกที่ 2 และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ( 2 ) การทำผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน ( 3 ) คลังน้ามัน สถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม สถานีบริการน้ามันประเภท ก สถานี บริการน้ำมันประเภท ข สถานีบริการน้ำมันประเภท ค ลักษณะที่สอง สถานีบริการน้ำมันประเภท จ ลักษณะที่สอง และสถานีบริการน้ามันประเภท ฉ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย ( 4 ) คลังก๊าซปิโตรเลียมเ หลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ และ สถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 5 ) คลังก๊าซธรรมชาติ สถานที่เก็บ รักษาก๊าซธรรมชาติ และสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ( 6 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่ การก่อสร้าง ทดแทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ( 7 ) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม เว้นแต่ โรงแรมที่ดาเนินการหรือ ประกอบกิจการ ในอาคารที่มีพื้นที่อาคารต่อหลังรวมกันไม่เกิน 75 ตารางเมตร และมีที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต ( 8 ) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ( 9 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 10 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม ้ หนา 50 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

( 11 ) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย ( 12 ) การอยู่อาศัยประเภทบ้านแฝด บ้านแถว ห้องแถว ตึกแถว อาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ( 13 ) การประกอบพาณิชยกรรม เว้นแต่การประกอบพาณิชยกรรมซึ่งไม่ใช่บ้านแถว ห้องแถว หรือตึกแถ ว ที่มีพื้นที่ประกอบการไม่เกิน 100 ตารางเมตร ( 14 ) สานักงาน เว้นแต่สานักงานที่ไม่ใช่ห้องแถวหรือตึกแถว ที่มีพื้นที่ประกอบการไม่เกิน 100 ตารางเมตร ( 15 ) การติด ตั้ง หรือก่อสร้างป้าย ที่มีขนาดเกิน 1 ตารางเมตร หรือมีน้ำหนักรวม ทั้งโครงสร้างเกิน 10 กิโลกรัม ( 16 ) คลังสินค้า สถานีขนส่งสินค้า หรือประกอบกิจการรับส่งสินค้า ( 17 ) สถานที่เก็บสินค้า ซึ่งเป็นที่เก็บ พัก หรือขนถ่ายสินค้าหรือสิ่งของเพื่อประโยชน์ ทางการค้าหรืออุตสาหกรรม แต่ไม่รวมถึงการเก็บสินค้าหรือสิ่งของ เพื่อรอการจำหน่าย ณ สถานที่นั้ น ( 18 ) ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ เว้นแต่ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมส่งเสริม การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมพื้นถิ่น ( 19 ) สวนสนุกหรือสวนสัตว์ ( 20 ) สนามแข่งรถ ( 21 ) สนามยิงปืน ( 22 ) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ ( 23 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล เว้นแต่เป็นการดาเนินการของหน่วยงานของรัฐ ( 24 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย เว้นแต่เป็นการดำเนินการ ที่เกี่ยวเนื่องกับเกษตรกรรม ( 25 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า ( 26 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ ( 27 ) ที่ พักอาศัยชั่วคราวสาหรับคนงาน เว้นแต่ที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้างหรือภายในระยะ 200 เมตร จากบริเวณเขตก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่โครงการก่อสร้างนั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน 1 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 1 : 1 เว้นแต่ การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย ( 2 ) ให้มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบ แต่อัตราส่วน ของที่ว่างต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ้ หนา 51 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโ ยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน ของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละห้าสิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้ นที่ว่าง เว้นแต่ การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย ( 3 ) ให้ดาเนินการหรือประกอบการกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร เว้นแต่ อาคารที่ใช้ประโยชน์เพื่อสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์ การวัดความสูง ให้วัดจากระดับถนนถึงยอดผนังของชั้ นสูงสุด ข้อ 28 ที่ดินประเภท ล. 1 ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม เฉพาะที่ดินซึ่งเป็นของรัฐ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อนันทนาการหรือเกี่ยวข้องกับนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การก่อสร้างเพื่อการคมนาคมและขนส่งทางน้า การสาธารณูปโภคและ สาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น ที่ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ ที่ดินเพื่อนันทนาการหรือเกี่ยวข้องกับนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การอยู่อาศัย เกษตรกรรม การสาธารณูปโภคและ สาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น และห้ามใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 2 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานหรือฌาปนสถาน ( 3 ) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย ( 4 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ ( 5 ) การอยู่อาศัยประเภทบ้านแถว ห้องแถว หรือตึกแถว ( 6 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ( 7 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงสัตว์ ( 8 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงคนชรา ( 9 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงคนพิการ ( 10 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงเด็ก ( 11 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 12 ) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ ( 13 ) สวนสนุกหรือสวนสัตว์ ( 14 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ้ หนา 52 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

การใช้ประโยชน์ที่ดินริมฝั่งแม่น้าเจ้าพระยา ลาคลอง หรือแหล่งน้าสาธารณะ ให้มีที่ว่าง ตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของแม่น้าเจ้าพระยา ลาคลอง หรือแหล่งน้าสาธารณะไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาค มทางน้ำหรือการสาธารณูปโภค ข้อ 29 ที่ดินประเภท ล. 2 เป็นที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการ และรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อนันทนาการหรือเกี่ยวข้องกับนันทนาการ การรักษาสิ่งแวดล้อม หรือ สาธารณประโยชน์เท่านั้น ข้อ 30 ที่ดินประเภท ศษ. เป็ นที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อการศึกษาหรือเกี่ยวข้องกับการศึกษา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือ สาธารณประโยชน์เท่านั้น ข้อ 31 ที่ดินประเภท ศ. เป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทย ให้ใ ช้ประโยชน์ที่ดินเพื่ออนุรักษ์ส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทยและสถาปัตยกรรมท้องถิ่น การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การศาสนา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการเท่านั้น ที่ดินประเภทนี้ ห้ามซ่อมแซม แก้ไข เปลี่ยนแปลง รื้อถอน ต่อเติม ทาลาย เคลื่ อนย้าย โบราณสถานตามกฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ หรือกระทาการใด ๆ อันเป็นการบดบังทัศนียภาพของโบราณสถานในระยะ 50 เมตร โดยรอบ ปริมณฑลของโบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ แล ะพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ ข้อ 32 ที่ดินประเภท ศน. เป็นที่ดินประเภทสถาบันศาสนา ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อการศาสนา หรือเกี่ยวข้องกับการศาสนา การศึกษา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือ สาธารณประโยชน์เท่านั้น ข้อ 33 ที่ดินประเภท ส. เป็นที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการของรัฐ กิจการเกี่ยวกับการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการหรือ สาธารณประโยชน์เท่านั้น ข้อ 34 การใช้ประโยชน์ที่ดินในบริเวณแนวถนนสาย ก 1 ถนนสาย ก 2 ถนนสาย ก 3 ถนนสาย ก 4 ถนนสาย ก 5 ถนนสาย ก 6 ถนนสาย ก 7 ถนนสาย ข 1 ถนนสาย ข 2 ถนนสาย ข 3 ถนนสาย ข 4 ถนนสาย ข 5 ถนนสาย ข 6 ถนนสาย ข 7 ถนนสาย ข 8 ถนนสาย ข 9 ถนนสาย ข 10 ถนนสาย ข 11 ถนนสาย ข 12 ถนนสาย ข 13 ถนนสาย ข 14 ถนนสา ย ข 15 ถนนสาย ข 16 ถนนสาย ข 17 ถนนสาย ข 18 ถนนสาย ข 19 ถนนสาย ข 20 ถนนสาย ค 1 ถนนสาย ค 2 ถนนสาย ค 3 ถนนสาย ค 4 ถนนสาย ค 5 ถนนสาย ค 6 ถนนสาย ค 7 ถนนสาย ค 8 ถนนสาย ง 1 ถนนสาย ง 2 ถนนสาย ง 3 ถนนสาย ง 4 ถน นสาย ง 5 ถนนสาย จ 1 ถนนสาย จ 2 และถนนสาย ฉ ตามแผนผัง ้ หนา 53 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

แสดงโครงการคมนาคมและขนส่งท้ายประกาศ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น นอกจากกิจการ ตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ (ก) การสร้างถนนหรือเกี่ยวข้องกับถนน และการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (ข) การสร้างรั้วหรือกำแพง (ค) เกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรมที่มีความสูงของอาคารไม่เกิน 9 เมตร หรือไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ ข้อ 35 ให้โรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการอยู่ก่อนวันที่ประกาศนี้มีผลบังคับใช้และ ยังประกอบกิจการอยู่ ให้ขยายพื้นที่โรงงานได้เฉพำะในที่ดินแปลงเดียวกันหรือติดต่อเป็นแปลงเดียวกัน กับแปลงที่ดินที่เป็นที่ตั้งของโรงงานเดิม ซึ่งเจ้าของโรงงานเดิมเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง อยู่ก่อนวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ทั้งนี้ ไม่เกินหนึ่งเท่าของพื้นที่โรงงานที่ใช้ในการผลิตเดิม ความใน วรรคหนึ่ง มิให้ใช้บังคับในที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม บริเวณ ก. 4 และที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม บริเวณ ก. 2 - 8 ข้อ 36 เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวมนี้ ให้มีมาตรการในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กรณีเจ้าของที่ดินหรือผู้ประกอบการได้จัดให้มีพื้นที่โล่ง หรือพัฒนา ปรับปรุงพื้นที่ ให้เป็นพื้นที่โล่งเพื่อประโยชน์สาธารณะหรือสวนสาธารณะในแปลงที่ดินที่ขออนุญาต ให้มีอัตราส่วนพื้นที่ อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มขึ้นได้ไม่เกินสองเท่าของพื้นที่โล่งเพื่อประโยช น์สาธารณะหรือสวนสาธารณะ ที่จัดให้มีขึ้น ( 2 ) เจ้าของที่ดินหรือผู้ประกอบการ ที่ใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทอาคารสาธารณะ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ที่ตั้งอยู่ในภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานี รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน สถานีตลาดบางใหญ่ สถานีบางพลู สถำนีบางรักใหญ่ สถานีไทรม้า สถานี สะพานพระนั่งเกล้า สถานีบางกระสอ สถานีศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี สถานีกระทรวงสาธารณสุข และสถานีแยกติวานนท์ หากเจ้าของที่ดินหรือผู้ประกอบการได้จัดให้มีที่จอดรถยนต์สาหรับประชาชน เป็นการทั่วไป และช่องจอดรถยนต์สำหรับผู้พิการ และผู้สูงอายุ เป็นการเฉพาะเพิ่มขึ้นจากจำนวนที่จอด รถยนต์ของอาคารสาธารณะนั้น ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มขึ้นได้ไม่เกินร้อยละยี่สิบ โดยพื้นที่อาคารรวมที่เพิ่มขึ้นต้องไม่เกิน 30 ตารางเมตร ต่อที่จอดรถยนต์ที่เพิ่มขึ้น 1 คัน พื้นที่ จ อดรถยนต์ที่เพิ่มขึ้น ให้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องนามาพิจารณาอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน และอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม ( 3 ) เจ้าของที่ดินหรือผู้ครอบครองที่ดินที่ได้ร่นแนวอาคาร พร้อมรั้ว กาแพง และสิ่งปลูกสร้าง อย่างอื่นห่างจากเขตทางสองฟำกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 (ถนนแจ้งวัฒนะ) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 302 (ถนนรัตนาธิเบศร์) ทางหลวงชนบท นบ. 1020 (ถนนนครอินทร์) ทางหลวงชนบท นบ. 3021 (ถนนราชพฤกษ์) ทางหลวงชนบท นบ. 3030 (ถนนชัยพฤกษ์) ถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ด ้ หนา 54 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

และถนนเลี่ยงเมืองนนท บุรี - สนามบินน้ำ ในระยะมากกว่า 15 เมตร และจัดให้เป็นที่โล่ง เพื่อประโยชน์สาธารณะให้มีพื้นที่อาคารรวมเพิ่มขึ้นหลังจากคิดคานวณอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อ พื้นที่ดินรวมตามข้อกาหนดของที่ดินแต่ละประเภทแล้ว โดยพื้นที่อาคารรวมที่เพิ่มขึ้นต้องไม่เกินสองเท่า ของพื้นที่โล่งเพื่อประโยชน์สาธารณะ ( 4 ) การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทอาคารสาธารณะหรืออาคารขนาดใหญ่ ตามกฎหมายว่าด้วย การควบคุมอาคาร ที่ตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน หากเจ้าของที่ดินหรือผู้ประกอบการได้จัดให้มีพื้นที่ว่างโดยรอบอาคารเพิ่มขึ้นจากที่กำหนดไว้ใน พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน เพิ่มเติมได้ไม่เกินร้อยละยี่สิบ โดยพื้นที่อาคารรวมที่เพิ่มขึ้นต้องไม่เกินห้าเท่าของพื้นที่เปิดโ ล่งโดยรอบอาคารที่จัดให้มีขึ้น กรณีเงื่อนไขที่ระบุไว้ ตามข้อ (1) ถึง (4) ให้เจ้าของที่ดินหรือผู้ประกอบการสามารถ เลือกดาเนินการได้ ในกรณีใดกรณีหนึ่งเท่านั้น ข้อ 37 เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวมนี้ จึงได้กำหนดวิธีดาเนินการ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดิน ปฏิบัติ ให้เป็นไปตามข้อกำหนด ( 2 ) ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนาแผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท และ แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง ที่กาหนดไว้ในประกาศนี้ ยึดเป็นกรอบแนวทางหลั กในการ จัดทำแผนงาน โครงการในการพัฒนาเมือง ( 3 ) ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ให้สอดคล้องกับประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน และพิจารณายกเว้นการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง สำหรับที่ดินที่ได้กำหนดใ ห้เป็นที่โล่ง โครงการคมนาคมและขนส่ง ตามที่ได้กำหนดไว้ในผังเมืองรวมนี้ ข้อ 38 ให้ผู้มีหน้าที่และอานาจในการควบคุมการก่อสร้างอาคารหรือการประกอบกิจการ ในเขตผังเมืองรวมปฏิบัติการให้เป็นไปตามประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 256 6 พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ้ หนา 55 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 48 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 มีนาคม 2566

ย . 1 ย . 2 ย . 3 ย . 4 ย . 5 ย . 6 ย . 7 ย . 8 พ . 1 พ . 2 พ . 3 พ . 4 อ . 2 อ . 3 ก . 2 ก . 3 2 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตผลเกษตรกรรมอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การต้ม นึ่ง หรืออบพืชหรือเมล็ดพืช 2 , 3 2 ( 2 ) การกะเทาะเมล็ดหรือเปลือกเมล็ดพืช 2 , 3 2 ( 5 ) การเก็บรักษาหรือลาเลียงพืช เมล็ดพืช หรือผลิตผลจากพืช 3 3 3 ในไซโล โกดัง หรือคลังสินค้า ( 8 ) การเพาะเชื้อเห็ด กล้วยไม้ หรือถั่วงอก 2 2 2 2 2 2 , 3 2 ( 9 ) การร่อน ล้าง คัด หรือแยกขนาดหรือคุณภาพของผลิตผล 2 2 2 , 3 2 เกษตรกรรม ( 11 ) การฟักไข่ โดยใช้ตู้อบ 1 1 1 1 4 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับสัตว์ ซึ่งมิใช่สัตว์น้ำอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การฆ่าสัตว์ 3 3 ( 2 ) การถนอมเนื้อสัตว์ โดยวิธีอบ รมควัน ใส่เกลือ ดอง ตากแห้ง 2 , 3 * 2 * เฉพาะบริเวณ ก . 2 - 6 หรือทาให้เยือกแข็งโดยฉับพลันหรือเหือดแห้ง ( 3 ) การทาผลิตภัณฑ์อาหารสาเร็จรูปจากเนื้อสัตว์ มันสัตว์ 2 2 2 , 3 * 2 * เฉพาะบริเวณ ก . 2 - 6 หนังสัตว์ หรือสารที่สกัดจากไขสัตว์หรือกระดูกสัตว์ ซึ่งไม่ใช้ฟืนเป็นเชื้อเพลิง ( 6 ) การล้าง ชาแหละ แกะ ต้ม นึ่ง ทอด หรือบดสัตว์ หรือส่วนหนึ่ง 2 2 2 2 2 2 ส่วนใดของสัตว์ ( 7 ) การทาผลิตภัณฑ์จากไข่ เพื่อใช้ประกอบเป็นอาหาร เช่น ไข่เค็ม 2 2 2 2 , 3 * 2 * เฉพาะบริเวณ ก . 2 - 6 ไข่เยี่ยวม้า ไข่ผง ไข่เหลวเยือกแข็ง หรือไข่เหลวแช่เย็น เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมนนทบุรี บัญชีท้ายประกาศกระทรวงมหาดไทย ที่ดินประเภท พ . ศ . 2566 ลาดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หมายเหตุ

ย . 1 ย . 2 ย . 3 ย . 4 ย . 5 ย . 6 ย . 7 ย . 8 พ . 1 พ . 2 พ . 3 พ . 4 อ . 2 อ . 3 ก . 2 ก . 3 6 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับสัตว์น้ำอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 2 ) การถนอมสัตว์น้ำโดยวิธีอบ รมควัน ใส่เกลือ ดอง ตากแห้ง 2 2 หรือทาให้เยือกแข็งโดยฉับพลันหรือเหือดแห้ง ( 3 ) การทาผลิตภัณฑ์อาหารสาเร็จรูปจากสัตว์น้ำ หนัง หรือไขมันสัตว์น้ำ 2 2 8 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผัก พืช หรือผลไม้อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทาอาหารหรือเครื่องดื่มจากผัก พืช หรือผลไม้ และบรรจุ 2 , 3 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่ใช้ฟืนเป็นเชื้อเพลิง ในภาชนะที่ผนึกและอากาศเข้าไม่ได้ ( 2 ) การถนอมผัก พืช หรือผลไม้ โดยวิธีกวน ตากแห้ง ดอง 2 , 3 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่ใช้ฟืนเป็นเชื้อเพลิง หรือทาให้เยือกแข็งโดยฉับพลันหรือเหือดแห้ง 9 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเมล็ดพืชหรือหัวพืชอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การสี ฝัด หรือขัดข้าว 2 2 , 3 2 ( 3 ) การป่นหรือบด เมล็ดพืช หรือหัวพืช 2 , 3 2 ( 4 ) การผลิตอาหารสาเร็จรูปจากเมล็ดพืชหรือหัวพืช 2 , 3 2 , 3 ( 5 ) การผสมแป้งหรือเมล็ดพืช 2 , 3 2 ( 6 ) การปอกหัวพืช หรือทาหัวพืชให้เป็นเส้น แว่น หรือแท่ง 2 2 2 , 3 2 10 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับอาหารจากแป้งอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทาขนมปังหรือขนมเค้ก 2 2 2 2 2 , 3 * 2 , 3 * เฉพาะบริเวณ ก . 2 - 6 ( 2 ) การทาขนมปังกรอบหรือขนมอบแห้ง 2 2 2 2 2 , 3 * 2 , 3 * เฉพาะบริเวณ ก . 2 - 6 ( 3 ) การทาผลิตภัณฑ์อาหารจากแป้ง เป็นเส้น เม็ด หรือชิ้น 2 , 3 2 , 3 2 2 ลาดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ

ย . 1 ย . 2 ย . 3 ย . 4 ย . 5 ย . 6 ย . 7 ย . 8 พ . 1 พ . 2 พ . 3 พ . 4 อ . 2 อ . 3 ก . 2 ก . 3 11 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับน้ำตาล ซึ่งทาจากอ้อย บีช หญ้าหวาน หรือพืชอื่นที่ให้ความหวานอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทาน้ำเชื่อม 2 , 3 2 ( 7 ) การทาน้ำตาลจากน้ำหวานของต้นมะพร้าว ต้นตาลโตนด 1 1 หรือพืชอื่น ๆ ซึ่งมิใช่อ้อย 12 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับชา กาแฟ โกโก้ ช็อกโกเลต หรือขนมหวาน อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 2 ) การคั่ว บด หรือป่นกาแฟ หรือการทากาแฟผง 2 2 2 2 2 2 , 3 2 ( 3 ) การทาโกโก้ผงหรือขนมจากโกโก้ 2 , 3 2 ( 4 ) การทาช็อกโกเลต ช็อกโกเลตผง หรือขนมจากช็อกโกเลต 2 , 3 2 ( 5 ) การทาเก๊กฮวยผง ขิงผง หรือเครื่องดื่มชนิดผงจากพืชอื่น ๆ 2 , 3 2 ( 7 ) การเชื่อมหรือแช่อิ่มผลไม้หรือเปลือกผลไม้ หรือการเคลือบผลไม้ 2 2 2 , 3 2 หรือเปลือกผลไม้ด้วยน้ำตาล ( 8 ) การอบหรือคั่วถั่วหรือเมล็ดผลไม้ ( Nuts ) หรือการเคลือบถั่วหรือ 2 , 3 2 เมล็ดผลไม้ ( Nuts ) ด้วยน้ำตาล กาแฟ โกโก้ หรือช็อกโกเลต ( 10 ) การทาลูกกวาดหรือทอฟฟี่ 2 , 3 2 ( 11 ) การทาไอศกรีม 2 , 3 2 , 3 13 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องปรุงหรือเครื่องประกอบอาหาร อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 6 ) การทาน้ำมันสลัด 2 2 2 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่ใช้ฟืนเป็นเชื้อเพลิง ( 7 ) การบดหรือป่นเครื่องเทศ 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่ใช้ฟืนเป็นเชื้อเพลิง ( 8 ) การทาพริกป่น พริกไทยป่น หรือเครื่องแกง 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่ใช้ฟืนเป็นเชื้อเพลิง หมายเหตุ 3 ลาดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท

ย . 1 ย . 2 ย . 3 ย . 4 ย . 5 ย . 6 ย . 7 ย . 8 พ . 1 พ . 2 พ . 3 พ . 4 อ . 2 อ . 3 ก . 2 ก . 3 14 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการทา ตัด ซอย บด หรือย่อยน้ำแข็ง 2 2 2 2 2 2 2 2 2 , 3 2 , 3 20 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับน้ำดื่ม เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ น้ำอัดลม หรือน้ำแร่อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทาน้ำดื่ม 2 2 2 2 2 2 2 2 2 , 3 2 ( 2 ) การทาเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ 2 2 2 2 2 2 2 , 3 2 ( 4 ) การทาน้ำแร่ 2 2 2 2 2 2 2 2 2 , 3 2 , 3 2 23 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์จากสิ่งทอ ซึ่งมิใช่เครื่องนุ่งห่ม อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทาผลิตภัณฑ์จากสิ่งทอเป็นเครื่องใช้ในบ้าน 2 2 2 2 2 , 3 2 , 3 2 ( 2 ) การทาถุงหรือกระสอบซึ่งมิใช่ถุงหรือกระสอบพลาสติก 2 , 3 2 , 3 2 ( 3 ) การทาผลิตภัณฑ์จากผ้าใบ 2 2 2 2 2 , 3 2 , 3 2 ( 4 ) การตบแต่งหรือเย็บปักถักร้อยสิ่งทอ 2 2 2 , 3 2 , 3 2 24 โรงงานถักผ้า ผ้าลูกไม้ หรือเครื่องนุ่งห่มด้วยด้ายหรือเส้นใย 2 2 2 , 3 * 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่มีการฟอก ย้อมสี หรือฟอก ย้อมสี หรือแต่งสาเร็จผ้า ผ้าลูกไม้ หรือเครื่องนุ่งห่มที่ถัก ด้วยด้ายหรือเส้นใย 25 โรงงานผลิตเสื่อหรือพรมด้วยวิธีทอ สาน ถัก หรือผูกให้เป็นปุย 2 2 2 , 3 * 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่มีการฟอก ย้อมสี ซึ่งมิใช่เสื่อหรือพรมที่ทาด้วยยางหรือพลาสติกหรือพรมน้ำมัน 26 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเชือก ตาข่าย แห หรืออวน อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การผลิตเชือก 2 , 3 2 , 3 2 ( 2 ) การผลิต ประกอบ หรือซ่อมแซมตาข่าย แห หรืออวน 2 , 3 2 , 3 2 และรวมถึงชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว 4 ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ ลาดับที่

ย . 1 ย . 2 ย . 3 ย . 4 ย . 5 ย . 6 ย . 7 ย . 8 พ . 1 พ . 2 พ . 3 พ . 4 อ . 2 อ . 3 ก . 2 ก . 3 28 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องแต่งกายซึ่งมิใช่รองเท้า อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การตัดหรือเย็บเครื่องนุ่งห่ม เข็มขัด ผ้าเช็ดหน้า ผ้าพันคอ 2 2 2 2 2 , 3 2 , 3 2 เนกไท หูกระต่าย ปลอกแขน ถุงมือ ถุงเท้า จากผ้าหนังสัตว์ ขนสัตว์ หรือวัสดุอื่น ( 2 ) การทาหมวก 2 2 2 2 2 , 3 2 , 3 2 32 โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์หรือชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ซึ่งมิใช่เครื่องแต่งกาย หรือรองเท้าจาก ( 1 ) หนังสัตว์ ขนสัตว์ เขาสัตว์ กระดูกสัตว์ หรือหนังเทียม 2 2 2 , 3 2 , 3 2 ( 2 ) ใยแก้ว 3 3 33 โรงงานผลิตรองเท้าหรือชิ้นส่วนของรองเท้าซึ่งมิได้ทาจากไม้ยางอบแข็ง 2 2 2 2 2 , 3 2 , 3 2 ยางอัดเข้ารูป หรือพลาสติกอัดเข้ารูป 34 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับไม้อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การเลื่อย ไส ซอย เซาะร่อง หรือการแปรรูปไม้ด้วยวิธีอื่น 3 3 3 ที่คล้ายคลึงกัน ( 2 ) การทาวงกบ ขอบประตู ขอบหน้าต่าง บานหน้าต่าง บานประตู 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 หรือส่วนประกอบที่ทาด้วยไม้ของอาคาร ( 3 ) การทาไม้วีเนียร์หรือไม้อัดทุกชนิด 3 3 3 ( 5 ) การถนอมเนื้อไม้หรือการอบไม้ 3 3 3 36 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์จากไม้หรือไม้ก๊อก อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทาภาชนะบรรจุ เครื่องมือ หรือเครื่องใช้จากไม้ และรวมถึง 3 3 3 3 3 3 3 3 ชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ( 4 ) การทากรอบรูปหรือกรอบกระจกจากไม้ 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 5 ลาดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ

ย . 1 ย . 2 ย . 3 ย . 4 ย . 5 ย . 6 ย . 7 ย . 8 พ . 1 พ . 2 พ . 3 พ . 4 อ . 2 อ . 3 ก . 2 ก . 3 37 โรงงานทาเครื่องเรือนหรือเครื่องตบแต่งภายในอาคารจากไม้ แก้ว ยาง 3 3 3 3 3 3 3 หรืออโลหะอื่น ซึ่งมิใช่เครื่องเรือนหรือเครื่องตบแต่งภายในอาคารจาก พลาสติกอัดเข้ารูป และรวมถึงชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว 39 โรงงานผลิตภาชนะบรรจุจากกระดาษทุกชนิดหรือแผ่นกระดาษไฟเบอร์ 2 2 2 , 3 2 , 3 2 (Fibreboard) 41 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ ( 1 ) การพิมพ์ การทาแฟ้มเก็บเอกสาร การเย็บเล่ม ทาปก 2 2 2 2 2 2 2 2 , 3 2 , 3 2 , 3 หรือตบแต่งสิ่งพิมพ์ 43 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับปุ๋ย หรือสารป้องกันหรือกาจัดศัตรูพืช หรือสัตว์ ( Pesticides ) อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทาปุ๋ย หรือสารป้องกันหรือกาจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ 3 * * เฉพาะบริเวณ ก . 2 - 4 ซึ่งไม่ใช่สารป้องกันและ กาจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ ( 2 ) การเก็บรักษาหรือแบ่งบรรจุปุ๋ย หรือสารป้องกันหรือกาจัด 3 * * เฉพาะบริเวณ ก . 2 - 4 ศัตรูพืชหรือสัตว์ ซึ่งไม่ใช่สารป้องกันและ กาจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ ( 3 ) การบดดินหรือการเตรียมวัสดุอื่นเพื่อผสมทาปุ๋ย หรือสารป้องกัน 3 * * เฉพาะบริเวณ ก . 2 - 4 หรือกาจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ ซึ่งไม่ใช่สารป้องกันและ กาจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ 46 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับยาอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การผลิตวัตถุที่รับรองไว้ในตารายาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวง 3 3 3 3 สาธารณสุขประกาศ ( 2 ) การผลิตวัตถุที่มุ่งหมายสาหรับใช้ในการวิเคราะห์ บาบัด บรรเทา 3 3 3 3 รักษา หรือป้องกันโรค หรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์ ลาดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ 6

ย . 1 ย . 2 ย . 3 ย . 4 ย . 5 ย . 6 ย . 7 ย . 8 พ . 1 พ . 2 พ . 3 พ . 4 อ . 2 อ . 3 ก . 2 ก . 3 ( 3 ) การผลิตวัตถุที่มุ่งหมายสาหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้าง 3 3 3 3 หรือการกระทาหน้าที่ใดๆ ของร่างกายมนุษย์หรือสัตว์ ที่รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศ แต่วัตถุตาม ( 1 ) หรือ ( 2 ) ไม่รวมถึงวัตถุที่มุ่งหมายสาหรับใช้เป็นอาหาร เครื่องกีฬา เครื่องสาอาง เครื่องมือที่ใช้ในการประกอบโรคศิลปะ และส่วนประกอบของเครื่องมือที่ใช้ในการนั้น 47 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับสบู่ เครื่องสาอาง หรือสิ่งปรุงแต่ง ร่างกายอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 3 ) การทาเครื่องสาอางหรือสิ่งปรุงแต่งร่างกาย 2 2 , 3 2 ( 4 ) การทายาสีฟัน 2 48 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เคมีอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 5 ) การทาเทียนไข 3 3 52 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับยางอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 4 ) การทาผลิตภัณฑ์ยาง นอกจากที่ระบุไว้ในลาดับที่ 51 จากยาง 2 , 3 2 , 3 2 ธรรมชาติหรือยางสังเคราะห์ 53 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์พลาสติกอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทาเครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องเรือน หรือเครื่องประดับ และ 2 , 3 2 , 3 2 , 3 2 , 3 2 , 3 รวมถึงชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ( 4 ) การทาภาชนะบรรจุ เช่น ถุงหรือกระสอบ 2 2 2 , 3 2 , 3 2 ( 6 ) การทาผลิตภัณฑ์สาหรับใช้เป็นฉนวน 2 2 2 , 3 2 , 3 2 55 โรงงานผลิตภัณฑ์เครื่องกระเบื้องเคลือบ เครื่องปั้นดินเผา หรือ 2 2 2 , 3 2 , 3 2 เครื่องดินเผา และรวมถึงการเตรียมวัสดุเพื่อการดังกล่าว 7 ลาดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ

ย . 1 ย . 2 ย . 3 ย . 4 ย . 5 ย . 6 ย . 7 ย . 8 พ . 1 พ . 2 พ . 3 พ . 4 อ . 2 อ . 3 ก . 2 ก . 3 58 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์อโลหะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทาผลิตภัณฑ์คอนกรีต ผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสม ผลิตภัณฑ์ยิปซัม 2 , 3 2 , 3 2 หรือผลิตภัณฑ์ปูนปลาสเตอร์ 60 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับถลุง ผสม ทาให้บริสุทธิ์ หลอม หล่อ 3 รีด ดึง หรือผลิตโลหะในขั้นต้น ซึ่งมิใช่เหล็กหรือเหล็กกล้า (Non - ferrous Metal Basic Industries) 61 โรงงานผลิต ตบแต่ง ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องมือหรือเครื่องใช้ 2 2 2 2 2 , 3 * 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่มีการชุบหรือ ที่ทาด้วยเหล็กหรือเหล็กกล้า และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ หลอมหล่อโลหะ ของเครื่องมือหรือเครื่องใช้ดังกล่าว 62 โรงงานผลิต ตบแต่ง ดัดแปลง หรือซ่อมแซม เครื่องเรือนหรือ 2 , 3 * 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่มีการชุบหรือ เครื่องตบแต่งภายในอาคารที่ทาจากโลหะหรือโลหะเป็นส่วนใหญ่ และ หลอมหล่อโลหะ รวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของเครื่องเรือนหรือเครื่องตบแต่ง ดังกล่าว 63 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์โลหะสาหรับใช้ในการ ก่อสร้าง หรือติดตั้งอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทาส่วนประกอบสาหรับใช้ในการก่อสร้างสะพาน ประตูน้ำ 2 2 2 , 3 * 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่มีการชุบหรือ ถังน้ำ หรือปล่องไฟ หลอมหล่อโลหะ ( 2 ) การทาส่วนประกอบสาหรับใช้ในการก่อสร้างอาคาร 2 , 3 * 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่มีการชุบหรือ หลอมหล่อโลหะ ( 3 ) การทาส่วนประกอบสาหรับใช้ในการต่อเรือ 2 , 3 * 2 ซึ่งไม่มีการชุบหรือ หลอมหล่อโลหะ ( 5 ) การทาส่วนประกอบสาหรับใช้กับระบบเครื่องปรับอากาศ 2 2 2 2 2 2 , 3 * 2 , 3 * 2 , 3 * * ซึ่งไม่มีการชุบหรือ หลอมหล่อโลหะ ลาดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ 8

ย . 1 ย . 2 ย . 3 ย . 4 ย . 5 ย . 6 ย . 7 ย . 8 พ . 1 พ . 2 พ . 3 พ . 4 อ . 2 อ . 3 ก . 2 ก . 3 64 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์โลหะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทาภาชนะบรรจุ 2 , 3 * 2 2 * ซึ่งไม่มีการชุบหรือ หลอมหล่อโลหะ ( 2 ) การทาผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีปั๊มหรือกระแทก 3 3 3 ( 9 ) การทาเครื่องใช้เล็ก ๆ จากโลหะ 2 2 2 , 3 2 , 3 ( 11 ) การอัดเศษโลหะ 2 , 3 2 , 3 ( 12 ) การตัด พับ หรือม้วนโลหะ 2 2 2 , 3 2 ( 13 ) การกลึง เจาะ คว้าน กัด ไส เจียน หรือเชื่อมโลหะทั่วไป 2 , 3 2 , 3 2 65 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องยนต์ เครื่องกังหัน 2 2 2 , 3 2 2 และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของเครื่องยนต์หรือเครื่องกังหัน ดังกล่าว 66 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องจักรสาหรับใช้ใน 2 2 2 , 3 * 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่มีการชุบหรือ การกสิกรรมหรือการเลี้ยงสัตว์ และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ หลอมหล่อโลหะ ของเครื่องจักรดังกล่าว 67 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องจักร ส่วนประกอบ หรืออุปกรณ์ ของเครื่องจักรสาหรับประดิษฐ์โลหะหรือไม้อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทา ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องจักรสาหรับโรงเลื่อย ไส 2 2 2 , 3 * 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่มีการชุบหรือ ทาเครื่องเรือน หรือทาไม้วีเนียร์ หลอมหล่อโลหะ ( 2 ) การทา ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องกลึง เครื่องคว้าน เครื่องเจาะ 2 2 2 , 3 * 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่มีการชุบหรือ เครื่องกัด ( Milling Machines ) เครื่องเจียน เครื่องตัด หลอมหล่อโลหะ ( Shearing Machines ) หรือเครื่องไส ( Shaping Machines ) ( 7 ) การทา ดัดแปลง หรือซ่อมแซมแบบ ( Dies ) หรือเครื่องจับ 2 2 2 , 3 * 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่มีการชุบหรือ (Jigs) สาหรับใช้กับเครื่องมือกล หลอมหล่อโลหะ 9 ลาดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ

ย . 1 ย . 2 ย . 3 ย . 4 ย . 5 ย . 6 ย . 7 ย . 8 พ . 1 พ . 2 พ . 3 พ . 4 อ . 2 อ . 3 ก . 2 ก . 3 68 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องจักรสาหรับ 2 , 3 * 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่มีการชุบหรือ อุตสาหกรรมกระดาษ เคมี อาหาร การปั่นทอ การพิมพ์ การผลิต หลอมหล่อโลหะ ซีเมนต์หรือผลิตภัณฑ์ดินเหนียว การก่อสร้าง การทาเหมืองแร่ การเจาะหาปิโตรเลียม หรือการกลั่นน้ำมัน และรวมถึงส่วนประกอบ หรืออุปกรณ์ของเครื่องจักรดังกล่าว 69 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องคานวณ 2 2 2 , 3 2 2 เครื่องทาบัญชี เครื่องจักรสาหรับระบบบัตรเจาะ เครื่องจักรสาหรับ ใช้ในการคานวณชนิดดิจิตัลหรือชนิดอนาล็อก หรือเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ สาหรับปฏิบัติกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันหรืออุปกรณ์ ( Digital or Analog Computers, Associated Electronic Data Processing Equipment , or Accessories ) เครื่องรวมราคาของขาย ( Cash Registers ) เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องชั่งซึ่งมิใช่เครื่องชั่งที่ใช้ในห้องทดลอง วิทยาศาสตร์ เครื่องอัดสาเนาซึ่งมิใช่เครื่องอัดสาเนาด้วยการถ่ายภาพ และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว 70 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องสูบน้ำ เครื่อง 2 2 2 , 3 2 , 3 2 อัดอากาศหรือก๊าซ เครื่องเป่าลม เครื่องปรับหรือถ่ายเทอากาศ เครื่องโปรยน้ำดับไฟ ตู้เย็นหรือเครื่องประกอบตู้เย็น เครื่องขาย สินค้าอัตโนมัติ เครื่องล้าง ซัก ซักแห้ง หรือรีดผ้า เครื่องเย็บ เครื่องส่งกาลังกล เครื่องยก ปั้นจั่น ลิฟต์ บันไดเลื่อน รถบรรทุก รถแทรกเตอร์ รถพ่วงสาหรับใช้ในการอุตสาหกรรม รถยกซ้อนของ (Stackers) เตาไฟหรือเตาอบสาหรับใช้ในการอุตสาหกรรมหรือ สาหรับใช้ในบ้าน แต่ผลิตภัณฑ์นั้นต้องไม่ใช้พลังงานไฟฟ้า และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ลาดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ 10

ย . 1 ย . 2 ย . 3 ย . 4 ย . 5 ย . 6 ย . 7 ย . 8 พ . 1 พ . 2 พ . 3 พ . 4 อ . 2 อ . 3 ก . 2 ก . 3 71 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องจักร หรือ 2 2 2 2 , 3 2 , 3 2 ผลิตภัณฑ์ที่ระบุไว้ในลาดับที่ 70 เฉพาะที่ใช้ไฟฟ้า เครื่องยนต์ไฟฟ้า เครื่องกาเนิดไฟฟ้า หม้อแปลงแรงไฟฟ้า เครื่องสับหรือบังคับไฟฟ้า เครื่องใช้สาหรับแผงไฟฟ้า เครื่องเปลี่ยนทางไฟฟ้า เครื่องส่งหรือ จาหน่ายไฟฟ้า เครื่องสาหรับใช้บังคับไฟฟ้า หรือเครื่องเชื่อมไฟฟ้า 72 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องรับวิทยุ เครื่องรับ 2 2 2 2 2 2 , 3 2 , 3 2 โทรทัศน์ เครื่องกระจายเสียงหรือบันทึกเสียง เครื่องเล่นแผ่นเสียง เครื่องบันทึกคาบอก เครื่องบันทึกเสียงด้วยเทป เครื่องเล่นหรือเครื่อง บันทึกแถบภาพ ( วีดิทัศน์ ) แผ่นเสียง เทปแม่เหล็กที่ได้บันทึกเสียงแล้ว เครื่องโทรศัพท์หรือโทรเลขชนิดมีสายหรือไม่มีสาย เครื่องส่งวิทยุ เครื่องส่งโทรทัศน์ เครื่องรับส่งสัญญาณหรือจับสัญญาณ เครื่องเรดาร์ ผลิตภัณฑ์ที่เป็นตัวกึ่งนาหรือตัวกึ่งนาชนิดไวที่เกี่ยวข้อง (Semi - Conductor or Related Sensitive Semi - Conductor Devices ) คาปาซิเตอร์หรือคอนเดนเซอร์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดคงที่หรือ เปลี่ยนแปลงได้ ( Fixed or Variable Electronic Capacitors or Condensers ) เครื่องหรือหลอดเรดิโอกราฟ เครื่องหรือหลอด ฟลูโรสโคป หรือเครื่องหรือหลอดเอกซเรย์ และรวมถึงการผลิตอุปกรณ์ หรือชิ้นส่วนสาหรับใช้กับเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าว 74 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทาหลอดไฟฟ้าหรือดวงโคมไฟฟ้า 2 2 2 , 3 2 2 ( 3 ) การทาอุปกรณ์ติดตั้งหรือเต้าเสียบหลอดไฟฟ้า ( Fixtures or 2 2 2 2 2 2 , 3 2 , 3 2 Lamp Sockets or Receptacles) สวิตซ์ไฟฟ้า ตัวต่อตัวนา (Conductor Connectors) อุปกรณ์ที่ใช้กับสายไฟฟ้า หลอด หรือ เครื่องประกอบสาหรับร้อยสายไฟฟ้า ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ 11 ลาดับที่

ย . 1 ย . 2 ย . 3 ย . 4 ย . 5 ย . 6 ย . 7 ย . 8 พ . 1 พ . 2 พ . 3 พ . 4 อ . 2 อ . 3 ก . 2 ก . 3 75 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเรืออย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การต่อ ซ่อมแซม ทาสี หรือตอกหมันเรือในอู่ต่อเรือนอกจาก 2 2 เรือยาง ( 2 ) การทาชิ้นส่วนพิเศษสาหรับเรือหรือเครื่องยนต์เรือ 2 2 2 77 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับรถยนต์หรือรถพ่วงอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การสร้าง ประกอบ ดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลงสภาพรถยนต์ 2 2 2 , 3 * 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่มีการชุบหรือ หรือรถพ่วง หลอมหล่อโลหะ ( 2 ) การทาชิ้นส่วนพิเศษ หรืออุปกรณ์สาหรับรถยนต์หรือรถพ่วง 2 2 2 , 3 2 , 3 2 78 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับจักรยานยนต์ จักรยานสามล้อ หรือ จักรยานสองล้ออย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) สร้าง ประกอบ ดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลงสภาพจักรยานยนต์ 2 , 3 * 2 , 3 * 2 , 3 * * ซึ่งไม่มีการชุบหรือ จักรยานสามล้อ หรือจักรยานสองล้อ หลอมหล่อโลหะ ( 2 ) การทาชิ้นส่วนพิเศษหรืออุปกรณ์สาหรับจักรยานยนต์ 2 , 3 * 2 , 3 * 2 , 3 * * ซึ่งไม่มีการชุบหรือ จักรยานสามล้อหรือจักรยานสองล้อ หลอมหล่อโลหะ 80 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมล้อเลื่อนที่ขับเคลื่อน 2 , 3 * 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่มีการชุบหรือ ด้วยแรงคนหรือสัตว์ ซึ่งมิใช่จักรยาน และรวมถึงส่วนประกอบหรือ หลอมหล่อโลหะ อุปกรณ์ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว 81 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องมือ เครื่องใช้ หรืออุปกรณ์ วิทยาศาสตร์ หรือการแพทย์อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทา ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องมือหรืออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ 2 2 2 , 3 * 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่มีการล้าง ชุบ หรือ ที่ใช้ในห้องทดลอง หรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการชั่ง ตวง วัด หรือบังคับ เคลือบผิวชิ้นงานโดยใช้ ควบคุม สารเคมี ลาดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ 12

ย . 1 ย . 2 ย . 3 ย . 4 ย . 5 ย . 6 ย . 7 ย . 8 พ . 1 พ . 2 พ . 3 พ . 4 อ . 2 อ . 3 ก . 2 ก . 3 ( 3 ) การทาเครื่องมือ เครื่องใช้ หรืออุปกรณ์การแพทย์ 2 2 2 , 3 * 2 , 3 * 2 , 3 * * ซึ่งไม่มีการล้าง ชุบ หรือ เคลือบผิวชิ้นงานโดยใช้ สารเคมี 82 โรงงานผลิตเครื่องมือหรือเครื่องใช้เกี่ยวกับนัยน์ตา หรือการวัดสายตา 2 2 2 2 2 2 , 3 * 2 , 3 * 2 , 3 * * ซึ่งไม่มีการล้าง ชุบ หรือ เลนส์ เครื่องมือหรือเครื่องใช้ที่ใช้แสงเป็นอุปกรณ์ในการทางาน หรือ เคลือบผิวชิ้นงานโดยใช้ เครื่องอัดสาเนาด้วยการถ่ายภาพ สารเคมี 83 โรงงานผลิตหรือประกอบนาฬิกา เครื่องวัดเวลา หรือชิ้นส่วนของ 2 2 2 2 2 2 , 3 * 2 , 3 * 2 * ซึ่งไม่มีการล้าง ชุบ หรือ นาฬิกาหรือเครื่องวัดเวลา เคลือบผิวชิ้นงานโดยใช้ สารเคมี 84 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเพชร พลอย ทอง เงิน นาก หรืออัญมณี อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทาเครื่องประดับโดยใช้เพชร พลอย ไข่มุก ทองคา ทองขาว 2 2 2 , 3 2 , 3 2 , 3 เงิน นาก หรืออัญมณี 85 โรงงานผลิตหรือประกอบเครื่องดนตรี และรวมถึงชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ 2 2 2 2 , 3 2 , 3 2 , 3 ของเครื่องดนตรีดังกล่าว 86 โรงงานผลิตหรือประกอบเครื่องมือหรือเครื่องใช้ในการกีฬา การบริหาร 2 2 2 , 3 2 , 3 2 ร่างกาย การเล่นบิลเลียด โบว์ลิ่ง หรือตกปลา และรวมถึง ชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ของเครื่องมือหรือเครื่องใช้ดังกล่าว 87 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องเล่น เครื่องมือ หรือเครื่องใช้ที่มิได้ ระบุไว้ในลาดับอื่นอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทาเครื่องเล่น 2 2 2 2 , 3 2 , 3 2 ( 2 ) การทาเครื่องเขียนหรือเครื่องวาดภาพ 2 2 2 2 2 2 , 3 2 , 3 2 ( 3 ) การทาเครื่องเพชร พลอย หรือเครื่องประดับสาหรับการแสดง 2 2 2 2 2 , 3 2 , 3 2 13 ลาดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ

ย . 1 ย . 2 ย . 3 ย . 4 ย . 5 ย . 6 ย . 7 ย . 8 พ . 1 พ . 2 พ . 3 พ . 4 อ . 2 อ . 3 ก . 2 ก . 3 ( 4 ) การทาร่ม ไม้ถือขนนก ดอกไม้เทียม ซิป กระดุม ไม้กวาด แปรง 2 2 2 2 2 2 , 3 2 , 3 2 ตะเกียง โป๊ะตะเกียงหรือไฟฟ้า กล้องสูบยาหรือกล้องบุหรี่ ก้นกรองบุหรี่ หรือไฟแช็ก ( 5 ) การทาป้าย ตรา เครื่องหมาย ป้ายติดของ หรือเครื่องโฆษณาสินค้า 2 2 2 2 2 2 , 3 2 2 ตราโลหะ หรือยางแม่พิมพ์ลายฉลุ ( Stencils ) ( 6 ) การทาแหคลุมผม ช้องผม หรือผมปลอม 2 , 3 2 2 ( 7 ) การทาผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ที่มิได้ระบุไว้ในลาดับใด 2 , 3 2 88 โรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้าอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 3 3 3 3 ( 1 ) การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ยกเว้นที่ติดตั้งบน หลังคา ดาดฟ้า หรือส่วนหนึ่งส่วนใดบนอาคารซึ่งบุคคลอาจเข้าอยู่ หรือใช้สอยได้ โดยมีขนาดกาลังการผลิตติดตั้งสูงสุดรวมกันของ แผงเซลล์แสงอาทิตย์ไม่เกิน 1 , 000 กิโลวัตต์ ( 2 ) การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานความร้อน 3 3 * 3 * 3 * * เฉพาะผลิตจากชีวมวล และชีวภาพ 89 โรงงานผลิตก๊าซ ซึ่งมิใช่ก๊าซธรรมชาติ และโรงงานส่งหรือจาหน่ายก๊าซ 3 3 3 3 แต่ไม่รวมถึงโรงงานส่งหรือจาหน่ายก๊าซที่เป็นน้ำมันเชื้อเพลิง ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง 90 โรงงานจัดหาน้ำ ทาน้ำให้บริสุทธิ์ หรือจาหน่ายน้ำไปยังอาคารหรือ 3 3 3 โรงงานอุตสาหกรรม 91 โรงงานบรรจุสินค้าในภาชนะโดยไม่มีการผลิตอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การบรรจุสินค้าทั่วไป 2 2 2 2 , 3 2 , 3 2 , 3 92 โรงงานห้องเย็น 2 , 3 * 2 , 3 * 2 , 3 * * ซึ่งไม่มีการแกะล้างแปรสภาพ วัตถุดิบและไม่ใช้แอมโมเนีย เป็นสารทาความเย็น 14 ลาดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ

ย . 1 ย . 2 ย . 3 ย . 4 ย . 5 ย . 6 ย . 7 ย . 8 พ . 1 พ . 2 พ . 3 พ . 4 อ . 2 อ . 3 ก . 2 ก . 3 93 โรงงานซ่อมรองเท้าหรือเครื่องหนัง 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 94 โรงงานซ่อมเครื่องมือไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า สาหรับใช้ในบ้าน 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 หรือใช้ประจาตัว 95 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับยานที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ รถพ่วง จักรยานสามล้อ จักรยานสองล้อ หรือส่วนประกอบ ของยานดังกล่าวอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การซ่อมแซมยานที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หรือส่วนประกอบ 3 3 3 3 3 3 3 ของยานดังกล่าว ( 2 ) การซ่อมแซมรถพ่วง จักรยานสามล้อ จักรยานสองล้อ 3 3 3 3 3 หรือส่วนประกอบของยานดังกล่าว ( 3 ) การพ่นสีกันสนิมยานที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ 3 3 3 3 3 ( 4 ) การล้างหรืออัดฉีดยานที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 96 โรงงานซ่อมนาฬิกา เครื่องวัดเวลา หรือเครื่องประดับที่ทาด้วยเพชร 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 พลอย ทองคา ทองขาว เงิน นาก หรืออัญมณี 97 โรงงานซ่อมผลิตภัณฑ์ที่มิได้ระบุการซ่อมไว้ในลาดับใด 2 , 3 2 2 , 3 98 โรงงานซักรีด ซักแห้ง ซักฟอก รีด อัด หรือย้อมผ้า เครื่องนุ่งห่ม พรม 2 2 2 2 2 2 2 หรือขนสัตว์ 100 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการตบแต่งหรือเปลี่ยนแปลง คุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ หรือส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์โดยไม่มี การผลิตอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทา พ่น หรือเคลือบสี 3 3 3 3 3 ( 2 ) การทา พ่น หรือเคลือบเชลแล็ก แล็กเกอร์ หรือน้ำมันเคลือบ 3 3 3 เงาอื่น ( 3 ) การลงรักหรือการประดับตบแต่งด้วยแก้ว กระจก มุก ทอง 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 หรืออัญมณี 15 ลาดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ

ย . 1 ย . 2 ย . 3 ย . 4 ย . 5 ย . 6 ย . 7 ย . 8 พ . 1 พ . 2 พ . 3 พ . 4 อ . 2 อ . 3 ก . 2 ก . 3 101 โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม ( Central Waste Treatment Plant ) 3 3 105 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการคัดแยกหรือฝังกลบสิ่งปฏิกูล 3 หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่มีลักษณะและคุณสมบัติตามที่กาหนดไว้ใน กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 ( พ . ศ . 2535 ) ออกตามความใน พระราชบัญญัติโรงงาน พ . ศ . 2535 106 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 3 ที่ไม่ใช้แล้วหรือของเสียจากโรงงานมาผลิตเป็นวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยผ่านกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม 107 โรงงานผลิตแผ่นซีดี ( ผลิตภัณฑ์ที่ใช้สาหรับบันทึกข้อมูลเสียง หรือภาพ 3 3 3 3 3 3 ในรูปของอิเล็กทรอนิกส์และสามารถอ่านได้โดยใช้เครื่องมือที่อาศัยแหล่ง แสงที่มีกาลังสูง เช่น แสงเลเซอร์ ) แผ่นเสียง แถบบันทึกภาพ แถบบันทึกเสียง และแถบบันทึกภาพและเสียง ทั้งนี้ ไม่ว่าจะอยู่ในรูป ของผลิตภัณฑ์ที่ได้มีการบันทึกข้อมูลไว้แล้ว หรือมีการบันทึกซ้าได้อีก หรือยังมิได้มีการบันทึกข้อมูล หมายเหตุ ลาดับที่ หมายถึง ลาดับที่ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน 1 หมายถึง ให้ใช้ประโยชน์เพื่อกิจการโรงงานจาพวกที่ 1 ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานได้ 2 หมายถึง ให้ใช้ประโยชน์เพื่อกิจการโรงงานจาพวกที่ 2 ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานได้ 3 หมายถึง ให้ใช้ประโยชน์เพื่อกิจการโรงงานจาพวกที่ 3 ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานได้ 3* หมายถึง ให้ใช้ประโยชน์เพื่อกิจการโรงงานจาพวกที่ 3 ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานได้ ตามเงื่อนไขในหมายเหตุ ลาดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ 16

รายการประกอบแผนผัง กำหนดการใช้ประโ ยชน์ที่ดินตามที่ได้จา แนกประเภท ท้ายประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมนนทบุรี พ.ศ. 2566 การใช้ประโย ชน์ที่ดินให้เป็นไปตามแผนผัง กำหนด การใช้ประโยชน์ที่ดิน ตามที่ได้จำแนก ประเภทท้าย ประกาศ ตามที่ได้กำหนดไว้ ในข้อ 8 คือ 1 . ที่ดินประเภท ย. 1 ถึง ย. 3 ที่กาหนดไว้เป็นสีเหลือง ให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย มีรายการ ดัง ต่อไปนี้ ย. 1 - 1 ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ง 3 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ค 3 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดคลองนาหมอน ฝั่งตะวันออก ย. 1 - 2 ด้านเหนือ จดถนนสาย ข 2 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดคลองห้าร้อย ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จด ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ง 3 ฟากตะวันออก ย. 1 - 3 ด้านเหนือ จด ถนนสาย ค 3 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ข 1 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก ย. 1 - 4 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองทวี วัฒนา ฝั่งตะวันตก และทางหลวงชนบท นบ. 3017 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองสิบศอก ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จด คลองสว่างอารมณ์ ฝั่งตะวันออก ย. 1 - 5 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก 3 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดคลอง ตาสังข์ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองทวีวัฒนา ฝั่งตะวันออก โรงเรียนวัดไทรใหญ่ โรงเรียนไทรน้อย และถนนสาย ก 1 ฟากตะวันออก ย. 1 - 6 ด้านเหนือ จดถนนสาย ข 3 ฟากใต้ และคลอง ตาสังข์ ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดคลองมะสง ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดคลองหนึ่ง ฝั่งเหนือ เส้นตรงที่ต่อตรงจาก คลองหนึ่งไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจนบรรจบกับทางหลวงชนบท นบ . 5010 ที่จุดซึ่งทางหลวงชนบท นบ . 5010 บรรจบกับถนนไม่ปราก ฏ ชื่อ และถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ

2 ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองทวีวัฒนา ฝั่งตะวันออก ย. 1 - 7 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 850 เมตร กับ ริมฝั่ง คลองมะสง ฝั่งตะวันออก ด้านใต้ จดคลอง ตาสังข์ ฝั่งเหนือ และถนนสาย ข 3 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก 3 ฟากตะวันออก ย. 1 - 8 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองลำรี ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย จ 2 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ข 6 ฟากเหนือ และถนนสาย ข 5 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นตั้งฉากกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ฟากเหนือ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 บรรจบกับ ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนว ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 เป็น ระยะ 4,250 เมตร ย. 1 - 9 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนาน ระยะ 2,000 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ด้านใต้ จดถนนสาย ง 4 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ข 5 ฟากตะวันออก ย. 1 - 1 0 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองอ้อมนนท์ ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดคลองบางสะแก ฝั่งเหนือ ด้านตะวัน ตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับ ริมฝั่ง คลองอ้อมนนท์ ฝั่งตะวันออก วัดศรีรา ษฎร์ และโรงเรียนวัดศรีราษฎร์ (เอ นกนาครราษฎร์บำรุง) ย. 1 - 1 1 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับ ศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ด้านตะวันออก จด เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งแม่น้า เจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก วัดไทรม้าเหนือ โรงเรียนชุมชนวัดไทรม้า วัดไทรม้า ใต้ ถนนบ้านไทรม้า - ท่าอิฐ ฟากเหนือ เส้นขนานระยะ 1,200 เมตร กับริมฝั่งคลองอ้อมนนท์ ฝั่งเหนือ แนวเขต โครงการหมู่บ้านธรรมชาติ แนวเขตโครงการเพอร์เฟค เพลส 3 – ราชพฤกษ์ และแนวเขตโครงการเพอร์เฟค เพลส 4 – ราชพฤกษ์

3 ด้านใต้ จด แนวเขตโครงการเพอร์เฟค เพลส 4 – ราชพฤกษ์ แนวเขตโครงการเพอร์เฟค พาร์ค ราชพฤกษ์ แนวเขตโครงการเพอร์เฟค เพลส 5 – ราชพฤกษ์ และแนวเขต โครงการเพอร์เฟค เพลส 2 – ราชพฤกษ์ ด้านตะวันตก จด แนวเขตโครงการเพอร์เฟค เพลส 2 – ราชพฤกษ์ แนวเขต โครงการเพอร์เฟค ราชพฤกษ์ เอ็กคลู ซีฟโซน และซอยประชาร่วมใจ ฟากตะวันออก ย. 1 - 1 2 ด้านเหนือ จดถนนสาย ข 16 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดคลองเจริญสุข ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลอง บางใหญ่ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ฉ ฟากตะวันออก ย. 1 - 1 3 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลอง บางใหญ่ ฝั่งใต้ วัดท่าบันเทิงธรรม และวัดคงคา ด้านตะวันออก จด ถนนบางใหญ่ - บางคูลัด ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด ถนนบางใหญ่ - บางคูลัด ฟากเหนือ และถนนสาย ก 7 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด เส้นขนานระยะ 3,000 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ย. 1 - 1 4 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 3 00 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนบางใหญ่ - บางคูลัด ถนนสาย ก 6 ฟากตะวันออก และถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงชนบท นบ. 3021 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางกอกน้อย ฝั่งเหนือ ซอย สุรานิเวศน์ ฟากตะวันออก เส้นขนานระยะ 800 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางกอกน้อย ฝั่งเหนือ ถนนสาย ก 6 ฟากตะวันตก และวัดยุคันธราวาส ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางกอกน้อย ฝั่งตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 63 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก และบริเวณ ศ น . - 74 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ย . 1 - 1 5 ด้านเหนือ จด ถนนสาย ก 7 ฟากใต้ คลองขุนเจน ฝั่งตะวันตก เส้นขนานระยะ 1,000 เมตร กับริมคลองบางใหญ่ ฝั่งใต้ คลองสาธารณะ ฝั่งใต้ เส้นขนานระยะ 600 เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย ค 7 และ เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองบางใหญ่ ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดคลองสะเทิ้น ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ข 18 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ฉ ฟากตะวันออก ย. 1 - 16 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 600 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท นบ. 1011 ด้านตะวันออก จด คลองจีน บ่ำย ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท นบ. 1011 ฟากเหนือ และกองออกแบบและก่อสร้าง พลับพลาพิธี และโครงการพิเศษ กรมโยธาธิการและผังเมือง

4 ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ซอยนุ่มประสงค์ 1 เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงชนบท นบ . 1011 และซอยนุ่มประสงค์ 1 ฟากตะวันออก ย. 1 - 17 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท นบ. 1011 ฟากใต้ และสำนักงานทางหลวงชนบทนนทบุรี ด้านตะวันออก จด คลองจีน บ่ำ ย ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 600 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท นบ. 1011 ด้านตะวันตก จดซอยนุ่มประสงค์ 3 ฟากตะวันออก เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับ ศูนย์กลางทางหลวงชนบท นบ . 1011 และเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลางซอยนุ่มประสงค์ 3 ย. 2 - 1 ด้านเหนือ จดคลองฝรั่ง ฝั่งใต้ โรงเรียนบ้านคลองฝรั่ง (บัวเอี่ยมวิทยากร) และ ถนนสาย ข 2 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สถานีไทรน้อย และการไฟฟ้านครหลวง สถานีต้นทางไทรน้อย ด้านใต้ จดทา ง หลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ฟากเหนือ และโรงพยาบาลไทรน้อย ด้านตะวันตก จดคลองห้าร้อย ฝั่งตะวันออก ย. 2 - 2 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองตาคล้าย ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลอง พระพิมล ฝั่งเหนือ วัดไทรน้อย และ โรงเรียนชุมชนวัดไทรน้อย ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก 3 ฟากตะวันออก ย. 2 - 3 ด้านเหนือ จด ถนนสาย ข 2 ฟากใต้ และคลองฝรั่ง ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับ ริม ฝั่ง คลองตาคล้าย ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สถานีไทรน้อย และการไฟฟ้านครหลวง สถานีต้นทางไทรน้อย ย. 2 - 4 ด้านเหนือ จดถนนสาย ข 6 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย จ 2 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ฟากเหนือ และสำนักงาน เทศบาลเมืองใหม่บางบัวทอง ด้านตะวันตก จดถนนสาย ข 5 ฟากตะวันออก

5 ย. 2 - 5 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนน อบจ. นบ. 2051 และ ถนน อบจ. นบ. 2051 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนน อบจ. นบ. 2051 ฟากเหนือ และเส้นขนา น ระยะ 15 เมตร กับ ริม ฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลอง พระอุดม ฝั่งตะวันออก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า นนทบุรี วัดโปรดเกษ และ ถนน อบจ. นบ. 2051 ฟากตะวันออก ย. 2 - 6 ด้านเหนือ จดซอยวัดโพธิ์ทองบน ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนติวานนท์ ฟำกตะวันตก และเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับ ศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307 ฟากเหนือ และเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307 ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับ ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก ย. 2 - 7 ด้านเหนือ จดคลองบ้านใหม่ ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ และโรง ปรับปรุงคุณภาพน้า เทศบาลนครปากเกร็ด ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนศรีสมาน ด้านตะวันตก จด ถนนติวานนท์ ฟากตะวันออก ย. 2 - 8 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองลำรี ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดคลองสามวัง ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสำย จ 2 ฟากตะวันออก ย. 2 - 9 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนน สาย จ 2 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนน สาย ข 5 ฟากตะวันออก ย. 2 - 10 ด้านเหนือ จดถนนสาย ก 4 ฟากใต้ ถนนสุขาประชาสรรค์ 2 ฟากใต้ เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก และโรงเรียนทหารขนส่ง กรมการขนส่งทหารบก ด้าน ตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307 ฟาก ตะวันตก

6 ด้าน ใต้ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศู นย์กลาง ถนนติวานนท์ โรงเรียนทหารขนส่ง กรมการขนส่งทหารบก และ ฝ่ายธุรกิจขนส่งและผลิตภัณฑ์ การไฟฟ้านครหลวง ด้าน ตะวันตก จดถนนสุขาประ ชา ส รร ค์ 3 ฟาก ตะวันออก ย. 2 - 1 1 ด้านเหนือ จดถนนสุขาประชาสรรค์ 3 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ ด้าน ใต้ จดเส้น ตั้งฉากกับถนนติวานนท์ ที่จุดซึ่งอยู่ ห่างจากถนนสุขาประชาสรรค์ 3 บรรจบกับถนนติวานนท์ ฟากตะวันตก ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวถนนติวานนท์ เป็นระยะ 1,000 เมตร ด้านตะวันตก จด ถนน สาย ก 4 ฟากตะวันออก ย. 2 - 1 2 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองลำรี ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางบัวทอง ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดคลองสามวัง ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันออก ย. 2 - 1 3 ด้านเหนือ จด ถนนสาย ง 4 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด สำนักงานเทศบาลเมืองพิมลราช และ เส้นขนานระยะ 2,000 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท นบ. 1002 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด เส้นขนานระยะ 4,550 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ย. 2 – 1 4 ด้านเหนือ จดเส้นตั้งฉากกับถนนติวานนท์ ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากถนน สุขาประชาสรรค์ 3 บรรจบกับถนนติวานนท์ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนว ถนนติวานนท์ เป็นระยะ 1,000 เมตร ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ ด้านใต้ จดคลองบางพูด ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสุขาประชาสรรค์ 2 ฟากตะวันออก และถนนสาย ก 4 ฟากตะวันออก ย. 2 - 1 5 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท นบ. 1002 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด เส้นขนานระยะ 2,0 00 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ด้านใต้ จด ถนนสาย ง 5 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 4,550 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศน. - 41 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน

7 ย. 2 - 1 6 ด้านเหนือ จด ถนนสาย ง 5 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 2,000 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ด้านใต้ จดเส้นตั้งฉากกับถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 บรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 4,550 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 45 ที่กำหนดไว้ เป็นสีเขียวมะกอก ย. 2 - 1 7 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ด้านตะวันออก จดทางหลวงชนบท นบ. 3021 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองอ้อมนนท์ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันออก ย. 2 - 1 8 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ด้านตะวันออก จดถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันตก เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองอ้อมนนท์ ฝั่งตะวันตก โรงเรียนวัดโมลี (นันทวิมล) และวัดโมลี ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางใหญ่ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ย. 2 - 19 ด้านเหนือ จดเส้นตั้งฉากกับถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 บรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 1,000 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก และวัดบางโค ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางใหญ่ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 3,000 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ย. 2 - 20 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ด้านตะวันออก จดวัดเพลง และ ถนน สาย ข 15 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด ซอยประชาร่วมใจ ฟากเหนือ และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองอ้อมนนท์ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงชนบท นบ. 3021 ฟากตะวันออก

8 ย. 2 - 2 1 ด้านเหนือ จดถนน อบจ. นบ. 2025 ฟากใต้ วัดสวนแก้ว วัดประชารังสรรค์ และโรงเรียนวัดประชารังสรรค์ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองอ้อมนนท์ ฝั่งตะวันตก และทางหลวงชนบท นบ. 3021 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศน. - 63 ที่กาหนดไว้ เป็นสีเทาอ่อน ย. 2 - 2 2 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองอ้อมนนท์ ฝั่งใต้ วัดขวัญเมือง วัดบางระโหง และวัดโตนด ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก อุทยานเฉลิมกาญจนาภิเษก และวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนท่าน้ำ - นนทบุรี และถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงชนบท นบ. 3021 ฟากตะวันออก ย. 2 - 2 3 ด้านเหนือ จด ถนนสาย ก 7 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดคลองบางโสน ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท นบ. 1001 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 3,000 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ย. 2 - 2 4 ด้านเหนือ จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดคลองบางกร่าง ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางกอกน้อย ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงชนบท นบ. 3021 ฟากตะวันออก ย. 2 - 2 5 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท นบ. 1001 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดคลองหัวคู ฝั่งตะวันตก เส้นขนานระยะ 1, 7 00 เมตร กับริมฝั่งคลอง มหาสวัสดิ์ เส้นขนานระยะ 1,800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก และถนนสาย จ 2 ฟากตะวันตก ด้ำนใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับ ริมฝั่ง คลองมหาสวัสดิ์ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้น ขนานระยะ 3,000 เมตร กับศูนย์ กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ย. 3 - 1 ด้านเหนือ จดคลองบ้านใหม่ ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดถนนประชาชื่น ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนศรีสมาน ฟากเหนือ เส้นตั้งฉาก กับถนนป๊อปปูล่า ฟากเหนือ ที่จุดซึ่ง อยู่ห่างจาก ถนนบอนด์สตรีทบรรจบกับถนน ป๊อปปูล่า ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวถนน ป๊อปปูล่า เป็นระยะ 1,200 เมตร และเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนศรีสมาน

9 ด้านตะวันตก จด โรงปรับปรุงคุณภาพน้ำ เทศบาลนครปากเกร็ด และเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลางถนนติวานนท์ ย. 3 - 2 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระอุ ด ม ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดถนน วัดสะพานสูง - วัดสาลิโข ฟากเหนือ เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลางถนนชัยพฤกษ์ และถนนชัยพฤกษ์ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงชนบท นบ. 3021 ฟากตะวันออก ย. 3 - 3 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงชนบท นบ. 3021 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนน ชัย พฤกษ์ - กาญจนาภิเษก ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางบัวทอง ฝั่งตะวันออก ย. 3 - 4 ด้านเหนือ จดถนนศรีสมาน ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนประชาชื่น ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นตั้งฉากกับถนนป๊อปปูล่า ฟากเหนือ ที่จุดซึ่ง อยู่ห่างจาก ถนนบอนด์สตรีทบรรจบกับถนนป๊อปปูล่า ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนว ถนนป๊อปปูล่า เป็นระยะ 1,200 เมตร และสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ นนทบุรี ย. 3 - 5 ด้านเหนือ จดถนนชัย พฤกษ์ - กาญจนาภิเษก ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนสาย ข 8 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางบัวทอง ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางบัวทอง ฝั่งตะวันออก ย. 3 - 6 ด้านเหนือ จด เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนชัยพฤกษ์ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก โรงเรียนวัดใหญ่สว่างอารมณ์ และวัดใหญ่สว่างอารมณ์ ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางบัวทอง ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท นบ. 3021 ย. 3 - 7 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางบัวทอง ฝั่งใต้ วัดบางบัวทอง เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก วัดแสงศิริธรรม วัดท่าอิฐ วัดเชิงเลน และ โรงเรียนวัดเชิงเลน ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แ ม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก วัดแดงธรรมชาติ และโรงเรียนวัดแดง

10 ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 1,500 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ด้ำนตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท นบ. 3021 ย. 3 - 8 ด้านเหนือ จดถนนบางใหญ่ - บางคูลัด ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางกอกน้อย ฝั่งตะวันตก วัดอัมพวัน วัดปรางค์หลวง โรงเรียนวัดโบสถ์บน วัดโบสถ์บน และถนนสาย ก 6 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด ทางหลวงชนบท นบ. 1020 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 61 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก และบริเวณ ศน. - 7 3 บริเวณ ศน. - 81 และ บริเวณ ศน. - 89 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ย. 3 - 9 ด้านเหนือ จดถนนสาย ก 7 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด ทางหลวงชนบท นบ. 1001 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดวัดพระเงิน และคลองบางโสน ฝั่งตะวันออก ย. 3 - 10 ด้านเหนือ จด เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับ ศูนย์กลาง ถนนท่าน้ำ - นนทบุรี และ คลองบางสีทอง ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท นบ. 1020 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันออก ย. 3 - 11 ด้านเหนือ จด เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางกอกน้อย ฝั่งใต้ และ ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด ทางหลวงชนบท นบ. 1020 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ทางหลวงชนบท นบ. 3021 ฟากตะวันออก และ คลองบางกร่าง ฝั่งตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ล. 1 - 24 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน ย. 3 - 12 ด้านเหนือ จด ทาง หลวงชนบท นบ. 1001 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 1,700 เมตร กับ ริมฝั่ง คลองมหาสวัสดิ์ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดคลองหัวคู ฝั่งตะวันออก และคลองบางโสน ฝั่งตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศน. - 82 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน

11 ย. 3 - 13 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางกอกน้อย ฝั่งใต้ วัดอุทยาน วัดบางไ ก รนอก และวัดไทยเจริญ (บ้านจีน) ด้านตะวันออก จดทางหลวงชนบท นบ. 3021 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท นบ. 1020 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก 6 ฟากตะวันออก ย. 3 - 14 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท นบ. 1020 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก วัดศาลารี และวัดตึก ด้ำนใต้ จดคลองบางกรวย ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริ มฝั่ง คลอง บางกอกน้อย ฝั่งตะวันออก วัดบางอ้อยช้าง และโรงเรียนวัดบางอ้อยช้าง ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศน. - 87 และ บริเวณ ศน. - 98 ที่กาหนดไว้ เป็นสีเทาอ่อน ย. 3 - 1 5 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท นบ. 1020 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางกอกน้อย ฝั่งตะวันตก และวัดเกตุประยงค์ - เล็ก ตั้งตรงจิตร ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองมหาสวัสดิ์ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท นบ. 3021 และทางหลวงชนบท นบ. 3021 ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 66 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก และบริเวณ ศน. - 92 และบริเวณ ศน. - 93 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ย. 3 - 1 6 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท นบ. 1020 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงชนบท นบ. 3021 ฟากตะวันตก คลองบางไกรนอก ฝั่งเหนือ และเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงชนบท นบ. 3021 ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองมหาสวัสดิ์ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ข 20 ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 68 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก และบริเวณ ศน. - 95 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ย. 3 - 1 7 ด้านเหนือ จด ทางหลวงชนบท นบ. 1020 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ข 20 ฟากตะวันตก และวัดหูช้าง ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลอง มหาสวัสดิ์ ฝั่งเหนือ เส้นขนานระยะ 1,000 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก และเส้นขนานระยะ 1,700 เมตร กับ ริมฝั่ง คลองมหาสวัสดิ์ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันออก

12 2 . ที่ดินประเภท ย. 4 ถึง ย. 6 ที่กาหนดไว้เป็นสีส้ม ให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย หนาแน่นปานกลาง มีรายการดังต่อไปนี้ ย. 4 - 1 ด้านเหนือ จดถนนสา ย ค 3 ฟากใต้ และทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3215 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก 1 ฟากตะวันตก เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับริมฝั่งคลองพระพิมล ฝั่งเหนือ และคลองลากค้อน - ไทรน้อย ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ข 1 ฟากตะวันออก ย. 4 - 2 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก 2 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่งเหนือ ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอไทรน้อย ห้องสมุดประชาชนอาเภอไทรน้อย และสำนักงานสาธารณสุขอาเภอไทรน้อย ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก 1 ฟากตะวันออก ย. 4 - 3 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก 3 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก 2 ฟากตะวันออก ย. 4 - 4 ด้านเหนือ จดคลองสามวัง ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย จ 2 ฟากตะวันออก ย. 4 - 5 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย จ 2 ฟากตะวันออก และ เขต การเดินรถที่ 7 กลุ่มปฏิบัติการที่ 1 องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ย. 4 - 6 ด้านเหนือ จดคลองสามวัง ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางบัวทอง ฝั่งตะวันตก ถนนชัยพฤกษ์ - กาญจนาภิเษก ฟากเหนือ และเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลางถนนบางกรวย – ไทรน้อย ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันออก

13 ย. 4 - 7 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนชัยพฤกษ์ และถนน วัดสะพานสูง - วัดสาลิโข ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระอุดม ฝั่งตะวันตก และ วัดปากคลองพระอุดม ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับ ริมฝั่ง แม่น้ำ เจ้าพระยา ฝั่งเหนือ และเส้นขนาน ระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลางถนนชัย พฤกษ์ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท นบ. 3021 ย. 4 - 8 ด้านเหนือ จดคลองบางพูด ฝั่งใต้ ด้ำนตะวันออก จดถนนสุขาประชาสรรค์ 2 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนแจ้งวัฒนะ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก และวัดเกาะพญาเจ่ง ย. 4 - 9 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ง 4 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 2,000 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ย. 4 - 10 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนแจ้งวัฒนะ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนน ติวานนท์ ด้านใต้ จดสถานสงเคราะห์เด็กชายบ้านปากเกร็ด สถานสงเคราะห์แรกรับเด็กชายบ้านปากเกร็ด สถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพญาไท ศูนย์พัฒนาสมรรถภาพคนตาบอด งานป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัยเทศบาลนครปากเกร็ด สถานสงเคราะห์เด็กอ่อนปากเกร็ด สถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพิการทางสมองและปัญญา สถานสงเคราะห์เด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ด สถานสงเคราะห์เด็กพิการทางสมองและปัญญา (หญิง) ปากเกร็ด สถานสงเคราะห์เด็กพิการทางสมอง และปัญญา (ชาย) ปากเกร็ด ศูนย์สุขภาพสงเคราะห์จังหวัดนนทบุรี ศูนย์พัฒนาอาชีพคนพิการ แ ละสถานแรกรับคนไร้ที่พึ่งนนทบุรี สำนักชลประทานที่ 11 จังหวัด เรือยนต์หลวง 904 ศูนย์การแพทย์ ปัญญานันทภิกขุ (โรงพยาบาลชลประทาน) สานักงานประถมศึกษาอาเภอปากเกร็ด และโครงการ ชลประทานนนทบุรี ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำลัดเกร็ด ฝั่งตะวันออก วัดกลางเกร็ด และวัดสนามเหนือ

14 ย. 4 - 1 1 ด้านเหนือ จดคลองบางสะแก ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันตก การไฟฟ้านครหลวงบางใหญ่ และถนนสาย ก 6 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศู นย์กลาง ถนนบางใหญ่ – บางคูลั ด ด้านตะวันตก จดเส้นตั้งฉากกับ ถนนบางใหญ่ - บางคูลัด ฟากเหนือ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจาก ถนนบางใหญ่ - บางคูลัด ตัดกับ คลองบางกอกน้อย ไปทางทิศตะวันออก ตามแนวถนนบางใหญ่ - บางคูลัด เป็นระยะ 500 เมตร ย. 4 - 1 2 ด้านเหนือ จดถนนสาย ก 7 ฟากใต้ ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับริมฝั่งคลองบางใหญ่ ฝั่งใต้ เส้นขนานระยะ 230 เมตร กับศูนย์ กลางถนนสาย ค 7 ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก และ เส้น ขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางใหญ่ ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระ ยะ 600 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนสาย ค 7 ด้านใต้ จด คลอง สาธารณะ ฝั่งเหนือ และ เส้นขนานระยะ 1,000 เมตร กับ ริมฝั่ง คลองบางใหญ่ ฝั่งใต้ ด้านตะวันตก จดคลองขุนเจน ฝั่งตะวันออก ย. 4 - 1 3 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 1,700 เมตร กับ ริมฝั่ง คลองมหาสวัสดิ์ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก โรง งาน ผลิตน้ามหาสวัสดิ์ การประปานครหลวง สาขามหาสวัสดิ์ และทางหลวงชนบท นบ. 1011 ฟากใต้ ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองมหาสวัสดิ์ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย จ 2 ฟากตะวันออก และเส้นขนานระยะ 1,800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศน. - 100 ที่กาหนดไว้ เป็นสีเทาอ่อน ย. 4 - 1 4 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 1,700 เมตร กับ ริมฝั่ง คลองมหาสวัสดิ์ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 1,000 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองมหาสวัสดิ์ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 73 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก

15 ย. 4 - 15 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท นบ. 1011 ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ซอยนุ่มประสงค์ 1 และเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลางซอยนุ่มประสงค์ 3 ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท นบ. 101 1 ด้านตะวันตก จดซอยนุ่มประสงค์ 3 ฟากตะวันออก เส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงชนบท นบ. 1011 เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางซอยนุ่มประสงค์ 3 และซอยนุ่มประสงค์ 1 ฟากตะวันออก ย. 5 - 1 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307 ด้านตะวันออก จด ถนนติวานนท์ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดโรงเรียนทหารขนส่ง กรมขนส่งทางบก ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ ย. 5 - 2 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนศรีสมาน ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ ด้านใต้ จดถนนศรีสมาน ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนติวานนท์ ฟากตะวันออก ย. 5 - 3 ด้านเหนือ จดถนนศรีสมาน ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลางถนนบอนด์สตรีท และเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ ด้านใต้ จดถนนบอนด์สตรีท ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนติวานนท์ ฟากตะวันออก ย. 5 - 4 ด้านเหนือ จดถนนสาย ก 4 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนติวานนท์ ฟากตะวันตก และฝ่ายธุรกิจ ขนส่งและผลิตภัณฑ์ การไฟฟ้านครหลวง ด้านใต้ จด เส้นตั้งฉากกับถนนติ วานนท์ ฟากเหนือ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากถนนสุขาประชาสรรค์ 3 บรรจบกับถนนติ วานนท์ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวถนนติวานนท์ เป็นระย ะ 1,000 เมตร ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์

16 ย. 5 - 5 ด้านเหนือ จดถนนบอนด์สตรีท ฟากใต้ เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลางถนนติวานนท์ และเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลางถนนบอนด์สตรีท ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ และถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ด ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นตั้งฉากกับถนนติวานนท์ ฟากเหนือ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากถนนสุขาประชาสรรค์ 3 บรรจบกับถนนติวานนท์ ไปทางทิศตะวันตกเ ฉียงใต้ตามแนว ถนนติวานนท์ เป็นระยะ 1,000 เมตร ด้านตะวันตก จดถนนติวานนท์ ฟากตะวันออก ย. 5 - 6 ด้านเหนือ จดถนนชัยพฤกษ์ - กาญจนภิเษก ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ทางหลวงชนบท นบ. 3021 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด โรงเรียนนนทบุรีวิทยาลัย และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองบางบัวทอง ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนน สาย ข 8 ฟากตะวันออก ย. 5 - 7 ด้านเหนือ จด ถนนชัยพฤกษ์ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 5 00 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท นบ. 3021 ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับ ริมฝั่ง คลองบางบัวทอง ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงชนบท นบ. 3021 ฟากตะวันออก ย. 5 - 8 ด้านเหนือ จดคลองบางพูด ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนน แจ้งวัฒนะ ด้านตะวันตก จดถนนสุขาประชาสรรค์ 2 ฟากตะวันออก ย. 5 - 9 ด้านเหนือ จดถนนสาย ง 4 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก คลองบ้านกล้วย ฝั่งเหนือ และเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลางถนนกาญจนาภิเษก ด้านใต้ จดถนนสาย ง 5 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 2,000 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก และสำนักงานเทศบาลเมืองพิมลราช ย. 5 - 10 ด้านเหนือ จด เส้นตั้งฉากกับถนนติวานนท์ ฟากเหนือ ที่จุดซึ่งอยู่ห่าง จากถนนสุขาประชาสรรค์ 3 บรรจบกับถนนติวานนท์ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนว ถนนติวานนท์ เป็นระยะ 1,000 เมตร ด้านตะวันออก จด ถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ด ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดคลองบางพูด ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์

17 ย. 5 - 11 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนบางกรวย – ไทรน้อย ด้านใต้ จดคลองญวน ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 31 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ย. 5 - 1 2 ด้านเหนือ จดคลองญวน ฝั่งใต้ เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนบางกรวย - ไทรน้อย และถนนเข้าหมู่บ้านชลลดา ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ข 11 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ย. 5 - 1 3 ด้านเหนือ จดโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาพระยาบันลือ สำนักงานชลประทาน ที่ 11 กรมชลประทาน และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองบางบัวทอง ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนสาย ข 8 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด ถนนสาย ข 10 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันออก ย. 5 - 1 4 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนแจ้งวัฒนะ ด้านตะวันออก จด ถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ด ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด คลองบางตลาด ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดสำนักชลประทานที่ 11 จังหวัดเรือยนต์หลวง 904 ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ (โรงพยาบาลชลประทาน) สำนักงานประถมศึกษา อำเภอปากเกร็ด โรงเรียนชลประทานสงเคราะห์ โครงการชลประทานนนทบุรี โรงเรียนชล ประทานวิทยา วัดชลประทานรังสฤษฎ์ และเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ ย. 5 - 1 5 ด้านเหนือ จดคลองบางตลาด ฝั่งใต้ ด้านตะวัน ออก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ ด้านใต้ จด ถนนสนามบินน้ำ ฟากเหนือ สำนักงาน สลากกินแบ่งรัฐบาล สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ตำรวจภูธรจังหวัดนนทบุรี กองน้ำมันเชื้ อเพลิง กรมพลาธิการทหารบก วัดชมภู เวก เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนสนามบินน้า และสถาบันพัฒนาการจัดเก็บภาษีอากร กรมสรรพสามิต ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก และ พุ ทธสถานเชิงท่าหน้าโบสถ์

18 ย. 5 - 16 ด้านเหนือ จดถนนสาย ง 5 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ด้านใต้ จดเส้นตั้งฉากกับถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 บรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 2,000 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ย. 5 - 17 ด้านเหนือ จด ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ด้านใต้ จด เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางใหญ่ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันออก ย. 5 - 18 ด้านเหนือ จดเส้นตั้งฉากกับถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 บรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก ด้านตะวันออก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางใหญ่ ฝั่งเหนือ และวัดบางโค ด้านตะวันตก จด เส้นขนานระยะ 1,000 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 51 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ย. 5 - 19 ด้านเหนือ จด เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนท่าน้ำ - นนทบุรี และวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร ด้านตะวันออก จด เส้นตั้งฉากกับถนนท่าน้ำ - นนทบุรี ฟากเหนือ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากถนนท่าน้ำ - นนทบุรี บรรจบ กับแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก ไปทาง ทิศตะวันตก ตามแนวถนนท่าน้ำ - นนทบุรี เป็นระยะ 500 เมตร ด้านใต้ จด ถนนท่าน้ำ - นนทบุรี ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันออก ย. 5 - 20 ด้านเหนือ จด ถนนท่าน้ำ - นนทบุรี ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นตั้งฉากกับถนนท่าน้ำ - นนทบุรี ฟาก ใต้ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากถนนท่าน้า - นนทบุรี บรรจบ กับแม่น้าเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก ไปทางทิศตะวันตก ตามแนวถนนท่าน้า - นนทบุรี เป็นระยะ 500 เมตร ด้านใต้ จด เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนท่าน้ำ – นนทบุรี ด้านตะวันตก จดถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันออก

19 ย. 5 - 21 ด้านเหนือ จดคลองบางกรวย ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก วัดลุ่มคงคาราม โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์บางกรวย และการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย ด้านใต้ จดซอยบางกรวย - ไทรน้อย 12/3 ฟากเหนือ และถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันออก ย. 5 - 22 ด้านเหนือ จดคลองบางไกรนอก ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 500 เม ตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท นบ. 3021 ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองมหาสวัสดิ์ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท นบ. 3021 ย. 6 - 1 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนศรีสมาน และ โรง ปรับปรุงคุณภาพน้า เทศบาลนครปากเกร็ด ด้า นตะวันออก จดเส้นตั้งฉากกับถนนป๊อปปูล่า ฟากเหนือ ที่จุดซึ่ง ถนนป๊อปปูล่า บรรจบกับ ถนนบอนด์สตรีท ไปทางทิศตะวันออกตามแนวถนนป๊อปปูล่า เป็นระยะ 1,200 เมตร ด้านใต้ จดถนนศรีสมาน ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ ย. 6 - 2 ด้านเหนือ จดถนนศรีสมาน ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นตั้งฉากกับถนน ป๊อปปูล่า ฟากเหนือ ที่จุดซึ่ง ถนนป๊อปปูล่าบรรจบกับ ถนนบอนด์สตรีท ไปทางทิศตะวันออกตามแนวถนน ป๊อปปูล่า เป็นระยะ 1,200 เมตร สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์นนทบุรี ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ และถนนประชาชื่น ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลางถนนป๊อปปูล่า และเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลางถนนบอนด์สตรีท ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ และสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ย. 6 - 3 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนบอนด์สตรีท ด้านตะวันออก จดมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ด้านใต้ จดคลองบางพูด ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ด ฟากตะวันออก และเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์

20 ย. 6 - 4 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนป๊อปปูล่า เส้นตั้งฉากกับถนนป๊อปปูล่า ฟากใต้ ที่จุดซึ่ง ถนนป๊อปปูล่า บรรจบกับถนนบอนด์สตรีท ไปทางทิศตะวันออก ตามแนวถนนป๊อปปูล่า เป็นระยะ 1,200 เมตร และถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนประชาชื่น ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดคลองบางพูด ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนบอนด์สตรีท และวัดผาสุกมณีจักร ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 34 ที่กำหนดไว้เป็ นสีเขียวมะกอก ย. 6 - 5 ด้านเหนือ จดคลองบางพูด ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดถนนประชาชื่น ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด ถนนแจ้งวัฒนะ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนบอนด์สตรีท ย. 6 - 6 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนแจ้งวัฒนะ เส้นขนานระยะ 1,700 เมตร กับศูนย์กลางถนนประชาชื่น ถนนแจ้งวัฒนะ ฟากใต้ และโรงเรียนคลองเกลือ ด้านตะวันออก จดถนนประชาชื่น ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ค 5 ฟาก เหนือ เส้นขนานระยะ 1,200 เมตร กับศูนย์กลางถนนประชาชื่น คลองบางตลาด ฝั่งเหนือ และเส้นขนานระยะ 2,100 เมตร กับศูนย์กลางถนนประชาชื่น ด้านตะวันตก จด ถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ด ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ส. - 24 ที่กาหนดไว้เป็นสีน้ำเงิน ย. 6 - 7 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางบัวทอง ฝั่งใต้ เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท นบ . 3021 และเส้นขนานระยะ 1, 5 00 เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ด้านตะวันตก จด ทางหลวงชนบท นบ . 3021 ฟากตะวันออก ย. 6 - 8 ด้านเหนือ จดถนนสาย ข 10 ฟากใต้ และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองบางบัวทอง ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จด ทางหลวงชนบท นบ. 3021 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ด้านตะวันตก จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันออก

21 ย. 6 - 9 ด้านเหนือ จดถนนสาย ข 11 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 และโรงเรียนชุม ชนวัดบางไผ่ (บุญราษฎร์รังสรรค์) ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ย. 6 - 10 ด้านเหนือ จดถนนสาย ค 5 ฟากใต้ โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนน สาย ค 5 และเส้นขนานระยะ 1,200 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนประชาชื่น ด้านตะวันออก จดถนนประชาชื่น ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนงามวงศ์วาน ด้านตะวันตก จดเส้นข นานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ ศูนย์บริการสาธารณสุขและสถานธนานุบาล ฝ่ายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครนนทบุรี ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 54 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก และบริเวณ ศน. - 54 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ย. 6 - 11 ด้านเหนือ จด ถนนสนามบินน้ำ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ซอยนนทบุรี 48 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด ซอยรัตนาธิเบศร์ 22 ฟากเหนือ และ คลองบางธรณี ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนสนามบินน้ำ ย. 6 - 1 2 ด้านเหนือ จดกระทรวงพาณิชย์ ด้านตะวันออก จด ถนนสนามบินน้ำ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนรัตนาธิเบศร์ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งแม่น้า เจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก วัดแคนอก และโรงเรียนวั ด แคนอก ย. 6 - 1 3 ด้านเหนือ จดคลองบางซื่อ ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี - สนามบินน้ำ ฟากตะวันตก และถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดคลองบางแพรก ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก วัดท้ายเมือง และ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ วิทยาเขตนนทบุรี

22 ย. 6 - 14 ด้านเหนือ จดคลองบางซื่อ ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ ด้านใต้ จดคลองบางแพรก ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี ฟากตะวันออก และถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี - สนามบินน้ำ ฟากตะวันออก ย. 6 - 15 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนงามวงศ์วาน ด้านตะวันออก จดถนน ประชาชื่น ฟากตะวันตก คลองบางเขน ฝั่งตะวันตก และวัดทางหลวง ด้านใต้ จดถนนกรุงเทพ - นนทบุรี ฟากเหนือ เส้นขนานระยะ 450 เมตร กับริมฝั่งคลองบางเขน ฝั่งตะวันตก และเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนกรุงเทพ – นนทบุรี ด้านตะวันตก จด เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกรุงเทพ – นนทบุรี สถาบันบำราศนราดูร สถาบันทันตกรรม ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถ ภาพ ทางการแพทย์แห่งชาติ สา นักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ กรมควบคุมโรค กรมอนามัย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขแห่งชาติ กรมวิทยาศำสตร์การแพทย์ กรมสุขภาพจิต สภาการพยาบาล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กร มการ แพทย์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณ สุข กรมการแพทย์แผนไทยและกำรแพทย์ทางเลือก สถาบันที่ปรึกษา เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำนักงานสิ่งแวดล้อม ภาคที่ 6 นนทบุรี สำนักงานป ระกันสังคม และ โรงพยาบาลศรีธัญญา ย. 6 - 1 6 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนประชาราษฎร์ และวัดลานนาบุญ ด้านตะวันออก จด ถนน นครอินทร์ ฟากตะวันตก ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนพิบูล สงคราม และ ถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี ฟากตะวันออก ย. 6 - 1 7 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกรุงเทพ - นนทบุรี เส้นขนานระยะ 4 50 เมตร กับ ริมฝั่ง คลองบางเขน ฝั่งตะวันตก และถนนกรุงเทพ - นนทบุรี ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดคลองบางเขน ฝั่งตะวันตก และวัด ฝำง ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้าเจ้าพระยา ฝั่งเหนือ วัดเขมาภิรตาราม โรงเรียนสตรีนนทบุรี โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม และวัดนครอินทร์ ด้านตะวันตก จด ถนนติวานนท์ ฟากตะวันออก ย. 6 - 1 8 ด้านเหนือ จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากใต้ และวัดกระโจมทอง ด้านตะวันออก จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันตก และถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก

23 ด้านใต้ จดเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากเหนือ และวัดสนามใน ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางกอกน้อย ฝั่งตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 75 ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก 3. ที่ดินประเภท ย. 7 ถึง ย. 8 ที่กาหนดไว้เป็นสีน้าตาล ให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย หนาแน่นมาก มีรายการดังต่อไปนี้ ย. 7 - 1 ด้านเหนือ จดคลองบางพูด ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ด ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนแจ้งวัฒนะ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นตั้งฉากกับถนนแจ้งวัฒนะ ฟากเหนือ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากถนนแจ้งวัฒนะบรรจบกับถนนติวานนท์ ไปทางทิศตะวันออกตามแนวถนนแจ้งวัฒนะ เป็นระยะ 750 เมตร และ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ย. 7 - 2 ด้านเหนือ จดคลองบ้านกล้วย ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดคลองบางไผ่ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ย. 7 - 3 ด้านเหนือ จดคลองญวน ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ด้านใต้ จดคลองบางไผ่ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันออก ย. 7 - 4 ด้านเหนือ จด ถนนแจ้งวัฒนะ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ด ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนแจ้งวัฒนะ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนแจ้งวัฒนะ และเส้นตั้งฉากกับ ถนนแจ้งวัฒนะ ฟากใต้ ที่จุดซึ่งอยู่ ห่างจาก ถนนแจ้งวัฒนะ บรรจบ ถนนติวานนท์ ฟากใต้ ไปทางทิศตะวันออกตาม แนว ถนนแจ้งวัฒนะ เป็นระยะ 750 เมตร ย. 7 - 5 ด้านเหนือ จด ซอยติวานนท์ 4 5 ฟาก ใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนติวานนท์ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด ถนนสนามบินน้ำ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล สำนักงานคณะกรรมการปรามปราบการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) และ ตำรวจภูธรจังหวัดนนทบุรี

24 ย. 7 - 6 ด้านเหนือ จดถนนสาย ค 5 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ ด้านใต้ จดศูนย์บริการสาธารณสุขและสถานธนานุบาล ฝ่ายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครนนทบุรี ด้านตะวันตก จดถนนติวานนท์ ฟากตะวันออก ย. 7 - 7 ด้านเหนือ จดคลองบางธรณี ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี - สนามบินน้ำ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนรั ตนาธิเบศร์ ด้านตะวันตก จดถนนสนามบินน้ำ ฟากตะวันออก ย. 7 - 8 ด้านเหนือ จด ถนนสนามบินน้ำ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด กรมพลาธิการทหารบก ถนนติวานนท์ ฟากตะวันตก และ สถาบันพัฒนาอนามัยแห่งชาติ กรมอนามัย ด้านใต้ จดสำนักงานขนส่งจังหวัดนนทบุรี ศูนย์โทรคมนาคมนนทบุรี บริษัท กสท.โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 สำนักงานอัยการจังหวัดนนทบุรี สำนักงานพาณิชย์จังหวัดนนทบุรี สำนักงานเกษตรจังหวัดนนทบุรี อาคารสวัสดิการข้าราชการ และที่จอดรถองค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี บ้านธนารักษ์นนทบุรี สำนักงานประกันสังคมจังหวัดนนทบุรี ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี ศาลจังหวัดนนทบุรี สำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี ที่ว่าการอาเภอเมืองนนทบุรี สานักงาน เทศบาลนครนนทบุรี สถำนีตารวจภูธรรัตนาธิเบศร์ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เขต 1 นนทบุรี สถานีดาวเทีย มไทยคม และคลองบางธรณี ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดซอยนนทบุรี 48 ฟากตะวันออก ย. 7 - 9 ด้านเหนือ จดศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานธนานุบาล ฝ่ายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครนนทบุรี ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนงามวงศ์วาน ด้านตะวันตก จดสถาบันโรคทรวงอก วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนีนนทบุรี ถนนติวานนท์ ฟากตะวันออก ไปรษณีย์นนทบุรีและการไฟฟ้านครหลวง เขตนนทบุรี ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 52 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ย. 7 - 10 ด้านเหนือ จดคลองบางธรณี ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดซอยรัตนาธิเบศร์ 22 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนรัตนาธิเบศร์

25 ด้านตะวันตก จดถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี - สนามบินน้ำ ฟากตะวันออก ย. 8 - 1 ด้านเหนือ จดคลองบางพูด ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนบอนด์สตรีท ด้านใต้ จดถนนแจ้งวัฒนะ ฟากเหนือ และดุริยางค์ตำรวจ ด้านตะวันตก จดถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ด ฟากตะวันออก ย. 8 - 2 ด้านเหนือ จดถนนแจ้งวัฒนะ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 1,700 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนประชาชื่น ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนแจ้งวัฒนะ ด้านตะวันตก จด ถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ด ฟากตะวันออก ย. 8 - 3 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ด้านตะวันออก จด ทางหลวงชนบท นบ. 3021 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันออก ย. 8 - 4 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับ ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จด ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ทางหลวงชนบท นบ . 3021 ฟากตะวันออก ย. 8 - 5 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 โรงเรียนชุมชนวัดบางไผ่ (บุญราษฎร์รังสรรค์) และวัดบางไผ่ ด้านตะวันออก จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด เส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ย. 8 - 6 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวง ชนบท นบ. 3021 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ด้านตะวันตก จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันออก

26 ย. 8 - 7 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ย. 8 - 8 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริ มฝั่งแม่น้า เจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ด้านตะวันตก จดทางหลวงชนบท นบ. 30 21 ฟากตะวันออก ย. 8 - 9 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนรัตนาธิเบศร์ ด้านตะวันออก จด ถนนสนามบินน้ำ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด ถนนรัตนาธิเบศร์ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก ย. 8 - 10 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนรัตนาธิเบศร์ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี – สนามบินน้ำ ด้านใต้ จด ถนนรัตนาธิเบศร์ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนสนามบินน้ำ ฟากตะวันออก ย. 8 - 11 ด้านเหนือ จด ซอยรัตนาธิเบศร์ 22 ฟากใต้ และ คลองบางธรณี ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จด ถนน ติวานนท์ ฟากตะวันตก และสถาบัน โรคทรวงอก วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นนทบุรี ด้านใต้ จด ถนนรัตนาธิเบศร์ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดซอยรัตนาธิเบศร์ 22 ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ส. - 3 1 ที่กาหนดไว้เป็นสีน้ำเงิน ย. 8 - 12 ด้านเหนือ จด ถนนรัตนาธิเบศร์ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนสนามบินน้ำ ฟากตะวันตก วัดแจ้งศิริสัมพันธ์ และโรงเรียนวัดแจ้งศิริสัมพันธ์ (สโมสรสากลอุทิศ) ด้านใต้ จด คลองบางซื่อ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งแม่น้า เจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ส . - 3 3 ที่กาหนดไว้เป็นสีน้ำเงิน

27 ย. 8 - 13 ด้านเหนือ จดถนนรัตนาธิเบศร์ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี - สนามบินน้ำ เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลางถนนรัตนาธิเบศร์ และถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี - สนามบินน้ำ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดคลองบางซื่อ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสนามบินน้ำ ฟากตะวันออก ย. 8 - 14 ด้านเหนือ จดถนนรัตนาธิเบศร์ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดสำนักงานขนส่งจังหวัดนนทบุรี ศูนย์โทรคมนาคมนนทบุรี บริษัท กสท.โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 สำนักงานอัยการจังหวัดนนทบุรี สำนักงานพาณิชย์จังหวัดนนทบุรี สำนักงานเกษตรจังหวัดนนทบุรี อาคารสวัสดิการข้าราชการและที่จอดรถองค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี บ้านธนำรักษ์นนทบุรี สำนักงานประกันสังคม จังหวัดนนทบุรี ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี ศาลจังหวัดนนทบุรี สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี ที่ว่าการอาเภอเมืองนนทบุรี สำนักงานเทศบาลนครนนทบุรี สถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ สานักงานคณะกรรมการกิจ การกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เขต 1 นนทบุรี สถานีดาวเทียมไทยคม ด้านใต้ จดคลองบางซื่อ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 1,200 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี – สนามบินน้ำ 4 . ที่ดินประเภท พ. 1 ถึง พ. 4 ที่กาหนดไว้เป็นสีแดง ให้เป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรม มีรายการดังต่อไปนี้ พ. 1 - 1 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่ง เหนือ ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอไทรน้อย ห้องสมุดประชาชนอาเภอไทรน้อย และสำนักงาน สาธารณ สุขอาเภอไทรน้อย ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก 2 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่งเหนือ ที่ว่าการอาเภอไทรน้อย หอประชุมอาเภอไทรน้อย และสำนักงานเทศบาล ตำบลไทรน้อย ด้านตะวันตก จดคลองลากค้อน - ไทรน้อย ฝั่งตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ส. - 5 ที่กำหนดไว้เป็นสีน้ำเงิน พ. 1 - 2 ด้านเหนือ จดคลองบางสะแก ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นตั้งฉากกับถนนบางใหญ่ - บางคูลัด ฟากเหนือ ที่จุดซึ่งห่างจาก ถนนบางใหญ่ - บางคูลัด ตัดกับ คลองบางกอกน้อย ไปทางทิศตะวันออก ตามแนวถนนบางใหญ่ - บางคูลัด เป็นระยะ 500 เมตร ด้านใต้ จดถนนบางใหญ่ - บางคูลัด ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางกอกน้อย ฝั่งตะวันออก

28 พ. 1 - 3 ด้านเหนือ จดถนนบางใหญ่ - บางคูลัด ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นตั้งฉากกับถนนบางใหญ่ - บางคูลัด ฟากใต้ ที่จุดซึ่งห่างจากถนนบางใหญ่ - บางคูลัด ตัดกับคลองบางกอกน้อย ไปทางทิศตะวันออกตามแนว ถนนบางใหญ่ - บางคูลัด เป็นระยะ 500 เมตร ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนบางใหญ่ – บางคูลัด ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางกอกน้อย ฝั่งตะวันออก พ. 1 - 4 ด้านเหนือ จดถนนสาย ก 7 ฟากใต้ และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองบางใหญ่ ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก และเส้นขนานระยะ 230 เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย ค 7 ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางใหญ่ ฝั่งใต้ ด้านตะวันตก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก พ. 1 - 5 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท นบ. 1011 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ซอยนุ่มประสงค์ 3 ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 2 00 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท นบ. 1011 ด้านตะวันตก จดซอยนุ่มประสงค์ 3 ฟากตะวันออก พ. 2 - 1 ด้านเหนือ จด ถนนชัยพฤกษ์ - กาญจนาภิเษก ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวัน ตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนบางกรวย – ไทรน้อย พ. 2 - 2 ด้านเหนือ จดถนนชัยพฤกษ์ - กาญจนาภิเษก ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางบัวทอง ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาพระยาบรรลือ สำนักงานชลประทาน ที่ 11 กรมชลประทาน ด้านตะวันตก จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้น บริเวณ ล. 1 - 7 ที่กาหนดไว้เป็น สีเขียวอ่อน บริเวณ ศษ. - 30 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก บริเวณ ศน. - 31 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน บริเวณ ส. - 14 และ บริเวณ ส. - 18 ที่กาหนดไว้เป็นสีน้าเงิน

29 พ. 2 - 3 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนเข้าหมู่บ้านชลลดา ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนบางกรวย – ไทรน้อย ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศ. - 1 ที่กาหนดไว้เป็นสีน้าตาลอ่อน พ. 2 - 4 ด้านเหนือ จดสำนักชลประทานที่ 11 จังหวัด เรือยนต์หลวง 904 ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ (โรงพยาบาลชลประทาน) สานักงานประถมศึกษา อาเภอปากเกร็ด และโครงการชลประทานนนทบุรี และคลองบางตลาด ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ด ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ค 5 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนติวานนท์ ฟากตะวันออก พ. 2 - 5 ด้านเหนือ จดคลองบางตลาด ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนติวานนท์ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดซอยติวานนท์ 45 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 5 00 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ พ. 2 - 6 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนสนามบินน้ำ และวัดชมพูเวก ด้านตะวันออก จดกองน้ำมันเชื้อเพลิง กรมพลาธิการทหารบก และเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนสนามบินน้ำ ด้านใต้ จดคลองบางธรณี ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนสนามบินน้ำ ฟากตะวันออก บ้านพักข้าราชการ กรมพลาธิการทหารบก วัดตำหนักใต้ โรงเรียนวัดตำหนักใต้ (วิลาศโอสานนท์นุเคราะห์) และสถาบันพัฒนาการจัดเก็บภาษีอากร กรมสรรพสามิต พ. 2 - 7 ด้านเหนือ จดคลองบางตลาด ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้น ขนานระยะ 1,200 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนประชาชื่น ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนสาย ค 5 ด้านตะวันตก จดโรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ และ เส้นขนานระยะ 2,100 เมตร กับศูนย์กลางถนนประชาชื่น พ. 2 - 8 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนท่าน้ำ – นนทบุรี ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งแม่น้า เจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก วัดสลักใต้ และคลองบางสีทอง ฝั่งตะวันตก

30 ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนท่าน้ำ – นนทบุรี ด้านตะวันตก จดเส้นตั้งฉากกับถนนท่าน้ำ - นนทบุรี ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากถนนท่าน้ำ - นนทบุรี บรรจบกับแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก ไปทางทิศตะวันตก ตามแนวถนนท่าน้า - นนทบุรี เป็นระยะ 500 เมตร พ. 2 - 9 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 1,700 เมตร กับริมฝั่ง คลองมหาสวัสดิ์ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันออก จดถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดโรงผลิตน้ามหาสวัสดิ์ สานักงานประปานครหลวง สาขามหาสวัสดิ์ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 72 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก และบริเวณ ศน. - 99 ที่กำหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน พ. 2 - 10 ด้านเหนือ จดโรงผลิตน้ามหาสวัสดิ์ สานักงานประปานครหลวง สาขามหาสวัสดิ์ ด้านตะวันออก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองมหาสวัสดิ์ ฝั่งเหนือ และวัดศรีประวัติ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 74 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก พ. 3 – 1 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนแจ้งวัฒนะ และ เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ ด้ำนตะวันออก จด คลองบางพูด ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จด ถนนติวานนท์ ฟากเหนือ ถนนแจ้งวัฒนะ ฟากเหนือ สานักงานเทศบาลนครปากเกร็ด ที่ว่าการอาเภอปากเกร็ด และ โรงพยาบาลปากเกร็ด ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก พ. 3 - 2 ด้านเหนือ จดวัดบ่อ ถนนแจ้งวัฒนะ ฟากใต้ และโรงเรียนปากเกร็ด ด้านตะวันออก จด ถนนติวานนท์ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดสถานสงเคราะห์เด็กชายบ้านปากเกร็ด สถานสงเคราะห์แรกรับเด็กชายบ้านปากเกร็ด สถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพญาไท ศูนย์พัฒนาสมรรถภาพคนตาบอด งานป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัยเทศบาลนครปากเกร็ด สถานสงเคราะห์เด็กอ่อนปากเกร็ด สถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพิการทางสมองและปัญญา สถานสงเคราะห์เด็กพิการและทุพพลภำพปากเกร็ด สถานสงเคราะห์เด็กพิการทางสมองและปัญญา (หญิง) ปากเกร็ด สถานสงเคราะห์เด็กพิการทางสมอง

31 และปัญญา (ชาย) ปากเกร็ด ศูนย์สุขภาพสงเคราะห์จังหวัดนนทบุรี ศูนย์พัฒนาอาชีพคนพิการ และสถานแรกรับคนไร้ที่พึ่งนนทบุรี เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนติวานนท์ และเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนแจ้งวัฒนะ ด้านตะวันตก จดวัดสนามเหนือ และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งแม่น้าเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก พ. 3 - 3 ด้านเหนือ จดคลองบางพูด ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นตั้งฉากกั บถนนแจ้งวัฒนะ ฟากเหนือ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากถนนแจ้งวัฒนะ บรรจบ กับถนนติวานนท์ ไปทางทิศตะวันออก ตามแนวถนนแจ้งวัฒนะ เป็นระยะ 750 เมตร และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยนนทบุรี ด้านใต้ จดถนนแจ้งวัฒนะ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนติวานนท์ ฟากตะวันออก พ. 3 - 4 ด้านเหนือ จดถนนแจ้งวัฒนะ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นตั้งฉากกับถนนแจ้งวัฒนะ ฟากใต้ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากถนนแจ้งวัฒนะ บรรจบ กับถนนติวานนท์ ไปทางทิศตะวันออก ตามแนวถนนแจ้งวัฒนะ เป็นระยะ 750 เมตร เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนแจ้งวัฒนะ แล ะเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนติวานนท์ ด้านใต้ จดวัดชลประทานรังสฤษฏ์ ด้านตะวันตก จด ถนนติวานนท์ ฟากตะวันออก พ. 3 - 5 ด้านเหนือ จดคลองบางไผ่ ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จด ถนนสาย ง 5 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 8 00 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก พ. 3 - 6 ด้านเหนือ จดคลองบางไผ่ ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 8 00 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ด้านใต้ จดถนน สาย ข 11 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันออก พ. 3 - 7 ด้านเหนือ จด ถนนสาย ง 5 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นตั้งฉากกับถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่ง อยู่ห่างจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 บรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 8 00 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ส. - 2 8 ที่กาหนดไว้เป็นสีน้ำเงิน

32 พ. 3 - 8 ด้านเหนือ จดถนนสาย ข 11 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 8 00 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันออก พ. 3 - 9 ด้านเหนือ จดคลองบางแพรก ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ ด้านใต้ จดถนนประชาราษฎร์ ฟากเหนือ โรงเรียน นครนนท์วิทยา 2 และวัดทินกรนิมิต ด้านตะวันตก จดเรือนจำกลางบางขวาง สถาบันพัฒนา ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ กรมราชทัณฑ์ สถานีตำรวจภูธรอาเภอเมืองนนทบุรี และสำนักงานที่ดิน จังหวัดนนทบุรี พ. 3 - 10 ด้านเหนือ จดถนนประชาราษฎร์ ฟากใต้ ด้า นตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนประชาราษฎร์ ถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี ฟากตะวันตก และเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนพิบูลสงคราม ด้านใต้ จด ถนนติวานนท์ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก และศาลากลางจังหวัดนนทบุรี (หลังเก่า) พ. 3 - 11 ด้านเหนือ จด ซอย บำงกรวย - ไทรน้อย 12/3 ฟากใต้ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย และ เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งแม่น้าเจ้าพระยา ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเขตทางรถไฟสายใต้ ฟาก เหนือ และถนนจรั ญ สนิทวงศ์ ฟากตะวันตก ด้านตะวันตก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก และ ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันออก พ. 4 - 1 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนบอนด์สตรีท และเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลางถนนป๊อปปูล่า ด้านตะวันออก จดเส้นตั้งฉากกับถนนป๊อปปูล่า ฟากเหนือ ที่จุดซึ่ง อยู่ห่างจากถนนป๊อปปูล่า บรรจบกับ ถนนบอนด์สตรีท ไปทางทิศตะวันออกตามแนวถนนป๊อ ปปูล่า เป็นระยะ 1,200 เมตร ด้านใต้ จดถนนป๊อปปูล่า ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนบอนด์สตรีท ฟากตะวันออก และเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ พ. 4 - 2 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ ด้านตะวันออก จดถนนบอนด์สตรีท ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

33 ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนบอนด์สตรีท พ. 4 - 3 ด้านเหนือ จดถนนป๊อปปูล่า ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นตั้งฉากกับถนนป๊อปปูล่า ฟากเหนือ ที่จุดซึ่ง อยู่ห่างจากถนนป๊อปปูล่า บรรจบกับถนนบอนด์สตรีท ไปทางทิศตะวันออกตามแนวถนนป๊อปปูล่า เป็นระยะ 1,200 เมตร เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนป๊อปปูล่า และเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลางถนนบอนด์สตรีท ด้านใต้ จดคลองบางพูด ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนบอนด์สตรีท ฟากตะวันออ ก อาคารรังวัดและทำแผนที่ กรมที่ดิน สำนักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี สาขาปากเกร็ด และวัดผาสุกมณีจักร พ. 4 - 4 ด้านเหนือ จดคลองบางพูด ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนบอนด์สตรีท ด้านใต้ จด ถนนแจ้งวัฒนะ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนบอนด์สตรีท พ. 4 - 5 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนรัตนาธิเบศร์ ด้านตะวันออก จดซอยรัตนาธิเบศร์ 22 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนรัตนาธิเบศร์ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับ ถนนเลี่ยงเมือง นนทบุรี – สนามบินน้ำ พ. 4 - 6 ด้านเหนือ จดถนนรัตนาธิเบศร์ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 1,200 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี – สนามบินน้ำ ด้านใต้ จดคลองบางซื่อ ฝั่ง เหนือ ถนนเลี่ยงเมือง นนทบุรี - สนามบินน้ำ ฟาก ตะวันออก และเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลางถนนรัตนาธิเบศร์ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี – สนามบินน้ำ พ. 4 - 7 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนงามวงศ์วาน ด้านตะวันออก จดถนนประชาชื่น ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนงามวงศ์วาน ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนติวานนท์ ฟากตะวันออก สถาบันโร ค ทรวงอก และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนนทบุรี พ. 4 - 8 ด้านเหนือ จดถนนรัตนาธิเบศร์ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนติวานนท์ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนประชาราษฎร์ ฟากเหนือ

34 ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ สานักงานขนส่งจังหวัดนนทบุรี ศูนย์โทรคมนาคมนนทบุรี บริษัท กสท.โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 สำนักงานอัยการจังหวัดนนทบุรี สำนักงานพาณิชย์ จังหวัดนนทบุรี สำนักงานเกษตรจังหวัดนนทบุรี อาคารสวัสดิการข้าราชการและที่จอดรถองค์การบริหาร ส่วนจัง หวัดนนทบุรี บ้านธนารักษ์ นนทบุรี สำนักงานประกันสังคมจังหวัดนนทบุรี ศาลากลาง จั งหวัดนนทบุรี ศาลจังหวัดนนทบุรี สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี ที่ว่าการอาเภอ เมืองนนทบุรี สานักงานเทศบาลนครนนทบุรี สถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ สานักงานคณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสท ช.) เขต 1 นนทบุรี สถานีดาวเทียมไทยคม พ. 4 - 9 ด้านเหนือ จดถนนงามวงศ์วาน ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนประชาชื่น ฟากตะวันตก เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนงามวงศ์วาน สถาบันบำราศนราดูร สถาบันทันตกรรม ศูนย์สิรินธร เพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ กรมควบคุมโรค กรมอนามัย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขแห่งชาติ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมสุขภาพจิต สภาการพยาบาล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมการแพทย์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธำรณสุข กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สถาบันที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 6 นนทบุรี สำนักงานประกันสังคม โรงพยาบาลศรีธัญญา ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกรุงเทพฯ - นนทบุรี และเส้นขนานระยะ 450 เมตร กับ ริมฝั่ง คลองบางเขน ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จด ถนนกรุงเทพฯ - นนทบุรี ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนติวานนท์ ฟากตะวันออก พ. 4 - 1 0 ด้านเหนือ จดถนนประชาราษฎร์ ฟากใต้ โรงเรียน วัดลานนาบุญ (น้อม หงส์ สะ เดชอุปถัมภ์) วัดลานนาบุญ และถนนกรุงเทพฯ - นนทบุรี ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 450 เมตร กับ ริมฝั่ง คลองบางเขนเก่า ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกรุงเทพฯ - นนทบุรี และเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนประชาราษฎร์ ด้านตะวัน ตก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนติวานนท์ 5 . ที่ดินประเภท อ . 1 ที่กาหนดไว้เป็นสีม่วง ให้เป็นที่ดินประเภท อุตสาหกรรมและ คลังสินค้า มีรายการ ดังต่อไปนี้ อ. 1 - 1 ด้านเหนือ จดเส้นตั้งฉากกับถนนสาย จ 1 ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 บรรจบกับถนนสาย จ 1 ไปทางทิศตะวันตก ทิศใต้ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวถนนสาย จ 1 เป็นระยะ 4,428 เมตร ด้านตะวันออก จด ถนนสาย จ 1 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 100 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท นบ. 5024

35 ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 600 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงชนบท นบ. 3015 อ. 1 - 2 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 100 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนสาย ค 1 ด้านตะวันออก จดถนนสาย ง 2 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ค 2 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด ทางหลวงชนบท นบ. 3015 ฟากตะวันออก อ. 1 - 3 ด้านเหนือ จดถนนสาย ค 2 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ง 2 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท นบ. 5036 ฟากเหนือ เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองขุนศรี ฝั่งตะวันออก ซอยพลตรีมานะ ฟากเหนือ และเส้นขนานระยะ 100 เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงชนบท นบ. 3015 ด้านตะวันตก จดถนนสาย จ 1 ฟากตะวันออก 6 . ที่ดินประเภท อ. 2 ที่กาหนดไว้เป็นสีม่วงอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ มีรายการดังต่อไปนี้ อ. 2 ด้านเหนือ จดเส้นตรงที่ต่อตรงจากเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลางถนนไม่ปรากฏชื่อ ที่จุดซึ่งถนนไม่ปรากฏชื่อบรรจบกับถนนสาย ง 3 เป็นระยะ 1,200 เมตร และเส้นขนาน ระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลางถนนไม่ปรากฏชื่อ ด้านตะวันออก จดถนนทางหลวงชนบท นบ. 3008 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ และเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย ข 2 ด้านตะวันตก จดถนนสาย ง 3 ฟากตะวันออก 7 . ที่ดินประเภท อ. 3 ที่กาหนดไว้เป็นสีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสีม่วง ให้เป็นที่ดิน ประเภทอุตสาหกรรมทั่วไปที่ไม่เป็นมลพิษต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมและคลังสินค้า มีรายการดังต่อไปนี้ อ. 3 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองลากค้อน ฝั่งใต้ ด้านตะวัน ออก จดเส้นตั้งฉากกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ที่จุดซึ่ง อยู่ห่างจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 บรรจบทางหลวงชนบท นบ. 1028 ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 เป็นระยะ 600 เมตร ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองลำรี ฝั่งตะวันออก และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองเจ๊กใหญ่ ฝั่งตะวันออก ด้านตะวันตก จดเส้นตั้งฉากกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ฟากใต้ ที่จุดซึ่ง อยู่ห่างจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1028 ไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 เป็นระยะ 1 , 400 เมตร

36 8. ที่ดินประเภท ก. 1 ถึง ก. 3 ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียว ให้เป็นที่ดินประเภทชนบทและ เกษตรกรรม มีรายการต่อไปนี้ ก. 1 - 1 ด้านเหนือ จดคลองบ้านใหม่ ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดถนนติวานนท์ ฟากตะวันตก ซอยวัดโพธิ์ทองบน ฟากเหนือ และเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับ ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก วัดโพธิ์ทองบน และโรงเรียนไทยรัฎวิทยา 95 (วัดโพธิ์ทองบน) ก. 1 - 2 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองอ้อม นนท์ ฝั่งใต้ ด้ำนใต้ จดถนน อบจ. นบ . 2025 ฟากเหนือ และวัดสวนแก้ว ด้านตะวันตก จด ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ฟากตะวันออก ก. 1 – 3 ด้านเหนือ จดแนวเขต โครงการ หมู่บ้าน ธรรมชาติ เส้นขนานระยะ 1,200 เมตร กับริมฝั่งคลองอ้อมนนท์ ฝั่งเหนือ และถนนบ้านไทรม้า - ท่าอิฐ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองอ้อมนนท์ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ข 15 ฟากตะวันออก ก . 1 - 4 ด้านเหนือ จดซอยประชาร่วมใจ ฟากใต้ เส้นขนานระยะ 1,200 เมตร กับริมฝั่งคลองอ้อมนนท์ ฝั่งเหนือ แนวเขตโครงการเพอร์เฟค เพลส 3 – รำชพฤกษ์ แนวเขต โครงการเพอร์เฟค เพลส 4 – ราชพฤกษ์ แนวเขตโครงการเพอร์เฟค พาร์ค ราชพ ฤกษ์ แนวเขตโครงการ เพอร์เฟค เพลส 5 – ราชพฤกษ์ และแนวเขตโครงการเพอร์เฟค เพลส 2 – ราชพฤกษ์ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ข 15 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองอ้อมนนท์ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดซอยประชาร่วมใจ ฟากตะวันออก และ แนวเขต โครงการเพอร์เฟค เพลส 2 – ราชพฤกษ์ และแนวเขตโคร งการเพอร์เฟค ราชพฤกษ์ เอ็กคลูซีฟ โซน ก. 1 - 5 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 800 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางกอกน้อย ฝั่งเหนือ ด้านตะวันออก จดซอยสุรานิเวศน์ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลอง บางกอกน้อย ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จด ถนนสาย ก 6 ฟากตะวันออก

37 ก. 2 - 1 ด้านเหนือ จด แนว เขตผังเมืองรวมด้านเหนือ ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครอง ระหว่างจังหวัดนนทบุรีกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองลากค้อน ฝั่งตะวันตก โรงเรียนวัดลากค้อน และวัดลากค้อน ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 40 ฟากตะวันออก ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ล. 1 - 1 และ บริเวณ ล. 1 - 2 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน บริเวณ ศษ. - 1 บริเวณ ศษ. - 2 และ บริเวณ ศษ. - 3 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก บริเวณ ศน. - 1 และบริเวณ ศน. - 2 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ก. 2 - 2 ด้านเหนือ จด แนว เขตผังเมืองรวมด้านเหนือ ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างจังหวัดนนทบุรีกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ฟากตะวันตก เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองขุนศรี ฝั่งตะวันตก เส้นขนานระยะ 100 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนสาย ค 1 เส้นตั้งฉากกับถนนสาย จ 1 ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากถนนสาย ค 1 บรรจบกับถนนสาย จ 1 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวถนนสาย จ 1 เป็นระยะ 100 เมตร เส้นขนานระยะ 6 00 เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย จ 1 เส้นขนานระยะ 100 เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงชนบท นบ. 5024 และถนนสาย จ 1 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท นบ. 5024 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด แนว เขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างจังหวัดนนทบุรีกับจังหวัดนครปฐม คลองสอง ล่าง ฝั่งตะวันออก ทางหลวงชนบท นบ . 5024 ฟากตะวันออก และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองสอง ฝั่งตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 5 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ก. 2 - 3 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ฟากใต้ สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลไทรใหญ่ สถานีตำรวจภูธรตำบลไทรใหญ่ ศูนย์บริการการศึกษา นอกโรงเรียน ตำบลไทรใหญ่ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองลากค้อน ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองขุนศรี ฝั่งตะวันออ ก ทางหลวงชนบท นบ. 5036 ฟากใต้ ถนนสาย ง 2 ฟากตะวันออก และเส้นขนาน ระยะ 100 เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย ค 1 ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ล. 1 - 5 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน

38 ก. 2 - 4 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท นบ. 5024 ฟากใต้ ถนนสาย จ 1 ฟากตะวันออก เส้นขนานระยะ 100 เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงชนบท นบ. 3015 และซอยพลตรีมานะ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองขุนศรี ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด แนว เขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างจังหวัดนนทบุรีกับจังหวัดนครปฐม และคลองสองล่าง ฝั่งตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 6 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก และบริเวณ ศน. - 4 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ก. 2 - 5 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346 ฟากใต้ และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่ง คลองลากค้อน ฝั่งตะวันตก และคลองลากค้อน - ไทรน้อย ฝั่งเหนือ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองลากค้อน ฝั่งตะวันตก และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองตาคล้าย ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดคลองฝรั่ง ฝั่งเหนือ และถนนสาย ข 2 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ง 3 ฟากตะวันออก เส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย ข 2 ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก ทางหลวงชนบท นบ. 3008 ฟากตะวันออก เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลางถนนไม่ปรากฏชื่อ และเส้นตรงที่ต่อตรงจาก เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลางถนนไม่ปรากฏชื่อ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อ บรรจบกับ ถนนสาย ง 3 ไปทางทิศทางเหนือตามแนวถนนสาย ง 3 เป็นระยะ 1,200 เมตร ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 7 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก และ บริเวณ ศน. - 5 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ก. 2 - 6 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองขุนศรี ฝั่งตะวันตก โรงเรียนวัดคลองขุนศรี และวัดคลองขุนศรี ด้านใต้ จดถนนสาย ค 3 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย จ 1 ฟากตะวันออก ก. 2 - 7 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346 ฟากใต้ และถนนสาย ค 3 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนน สาย ง 3 ฟากตะวันตก ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ คลองนาหมอน ฝั่งตะวันตก ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก และคลองสว่างอารมณ์ ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองสิบศอก ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จด แนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น คลองสถาพรพัฒนา ฝั่งตะวันออ ก และ แนว เขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครอง ระหว่างจังหวัด นนทบุรี กับจังหวัด นครปฐม

39 ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ล. 1 - 1 และบริเวณ ล. 1 - 7 ที่กาหนดไว้เป็น สีเขียวอ่อน บริเวณ ศน. - 6 และบริเวณ ศน. - 7 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ก. 2 - 8 ด้านเหนือ จดคลองลากค้อน - ไทรน้อย ฝั่งใต้ และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองลากค้อน ฝั่งตะวันตก ด้านตะวันออก จดถนนสาย ฉ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองตาคล้าย ฝั่งตะวันออก ก. 2 - 9 ด้านเหนือ จด แนว เขตผังเมืองรวมด้านเหนือ ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเข ต การปกครองระหว่างจังหวัดนนทบุรี กับจังหวัดปทุมธานี และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางตะไนย์ ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก วัดตาล โรงเรียนวัดตาล วัดตำหนักเหนือ และโรงเรียนวัดตำหนักเหนือ (ชื่นวิทยานุสรณ์) ด้านใต้ จด เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนชัยพฤกษ์ ฟากตะวันออก และ ถนน อบจ. นบ. 2051 ฟากตะวันออก เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลางถนน อบจ. นบ. 2051 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345 ฟากตะวันออก เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองพระอุดม ฝั่งตะวันออก วัดท่าเกวียน และโรงเรียนวัดท่าเกวียน (ศึกษาประชาสรรค์) ก. 2 - 10 ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ และคลองหนึ่ง ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จด คลองมะสง ฝั่งตะวันตก และ ทางหลวงชนบท นบ. 5027 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ง 5 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด แนว เขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างจังหวัดนนทบุรีกับจังหวัดนครปฐม เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองนราภิรมย์ ฝั่งตะวันออก และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองทวีวัฒนา ฝั่งตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 28 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก และบริเวณ ศน. - 29 ที่กำหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ก. 2 - 1 1 ด้านเหนือ จดคลองมะสง ฝั่งใต้ วัดมะสง คลอง ตาสังข์ ฝั่งใต้ เส้นขนานระยะ 850 เมตร กับริมฝั่งคลองมะสง ฝั่งตะวันออก เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองพระพิมล ฝั่งใต้ เส้นขนาน ระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองตาคล้าย ฝั่งตะวันออก และทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3215 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ฉ ฟากตะวันตก และคลองตาชม ฝั่งตะวันตก

40 ด้านใต้ จดถนนสาย ง 5 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงชนบท นบ. 5027 ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 19 บริเวณ ศษ. - 29 ที่กำหนดไว้เป็น สีเขียวมะกอก และบริเวณ ศน. - 32 ที่กำหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ก. 2 - 12 ด้านเหนือ จดถนนสาย ง 5 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ฉ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางใหญ่ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดวัดต้นเชือก โรงเรียนชุมชนวัดต้นเชือก (ถาวรวิทย์อุปกฤต) ทางหลวงชนบท น บ . 5014 ฟากตะวันออก โรงเรียนบ้านด อนตะลุมพุก (เจริญจิตต์วิทยา) และทางหลวงชนบท นบ. 5027 ฟากตะวันออก ก. 2 - 1 3 ด้านเหนือ จดถนนสาย ง 5 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงชนบท นบ . 5027 ฟากตะวันตก และทางหลวงชนบท นบ . 5014 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางใหญ่ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองนราภิรมย์ ฝั่งตะวันออก ก. 2 - 1 4 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางใหญ่ ฝั่งใต้ และถนนสาย ก 7 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ฉ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองมหาสวัสดิ์ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองนราภิ รมย์ ฝั่งตะวันออก ก. 3 - 1 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองตรง ฝั่งใต้ และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองพระอุดม ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345 ฟากเหนือ และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองบางบัวทอง ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองลากค้อน ฝั่งเหนือ โรงเรียนเจริญรัฐอุปถัมภ์ และเส้นตั้งฉากกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ฟากเหนือ ที่จุดซึ่ง อยู่ห่างจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ . 1028 ไปทางทิศตะวันต กเฉียงเหนือ ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 เป็นระยะ 1,400 เมตร ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองเจ๊กใหญ่ ฝั่งตะวันออก เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริ มฝั่งคลองลากค้อน ฝั่งใต้ และ แนว เขตผังเมืองรวม ด้านเหนือ ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเข ตการปกครองระหว่างจังหวัดนนทบุรี กับจังหวัดปทุมธานี

41 ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ล. 1 - 1 1 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน บริเวณ ศษ. - 9 และบริเวณ ศษ. - 16 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก บริเวณ ศน. - 8 บริเวณ ศน. - 9 และบริเวณ ศน. - 14 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ก. 3 - 2 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองลากค้อน ฝั่งใต้ เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองเจ๊กใหญ่ ฝั่งตะวันตก และเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองลำรี ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นตั้งฉากกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ฟากเหนือ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 บรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก ไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 เป็นระยะ 4 , 250 เมตร ถนนสาย ข 5 ฟำกตะวันตก และเส้นขนานระยะ 4 , 550 เมตร กับศูนย์กลางถนนกาญจนาภิเษก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท นบ. 1002 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ฉ ฟากตะวันออก และโรงเรียน สมบูรณ์ศาสตร์พัฒนา ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ล. 1 - 7 และ บริเวณ ล. 1 - 9 ที่กา หนดไว้เป็น สีเขียวอ่อน บริเวณ ศษ. - 24 และบริเวณ ศษ. - 27 ที่ กำ หนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ก. 3 - 3 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองลากค้อน ฝั่งใต้ และ สถานี ตา รวจภูธรบางบัวทอง สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลละหาร ที่ว่าการอา เภอบางบัวทอง ศาลาประชาคม อา เภอบางบัวทอง ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางบัวทอง ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนำนระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองลำ รี ฝั่งเหนือ และสุสานบางบัวทองมูลนิธิ ด้านตะวันตก จดเส้นตั้งฉากกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ฟากใต้ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ . 1028 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 เป็นระยะ 600 เมตร ก. 3 - 4 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 07 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก โรงเรียนทหารขนส่ง กรมการขนส่งทหารบก ถนนสุขาประชาสรรค์ 2 ฟากเหนือ และถนนสาย ก 4 ฟากเหนือ ด้านใต้ จดถนนสุขาประชาสรรค์ 2 ฟากเหนือ วัดบางพูดนอก และคลองบางพูด ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนาน ระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก วัดโพธิ์บางอ้อย วัดศรีรัตนาราม (วัดบางพัง) โรงเรียนทหารขนส่ง กรมการขนส่งทหารบก โรงเรียนวัดสลักเหนือ วัดสลักเหนือ และวัดช่องลม ทั้งนี้ ยกเว้น บริเวณ ศษ. - 21 ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก

42 ก. 3 - 5 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท นบ. 1002 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 4,550 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท นบ. 1009 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ฉ ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ศษ. - 37 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก และบริเวณ ศน. - 43 ที่กำหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ก. 3 - 6 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท นบ 1009 ฟากใต้ เส้นขนานระยะ 4,550 เมต ร กับศูนย์กลางถนนกาญจนาภิเษก และเส้นตั้งฉากกับถนนกาญจนาภิเษก ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่ง อยู่ห่างจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 บรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 3,000 เมตร กับศูนย์กลาง ถ นนกาญจนาภิเษก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองบางใหญ่ ฝั่งเหนือ คลองเจริญสุขฝั่งตะวันตก และถนนสาย ข 16 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ฉ ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณ ล. 1 - 23 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน ก. 3 - 7 ด้านเหนือ จดถนนสาย ข 18 ฟากใต้ คลองสะเทิ้ น ฝั่งตะวัน ออก เส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองบางใหญ่ ฝั่งใต้ และวัดเอนกดิษฐาราม ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 3,000 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนกาญจนาภิเษก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับคลองมหาสวัสดิ์ ฝั่งเหนือ และวัดใหม่ผดุงเขต ด้านตะวันตก จดถนนสาย ฉ ฟากตะวันออก 9 . ที่ดินประเภท ก. 4 ที่กาหนดไว้เป็นสีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสีเขียว ให้เป็นที่ดิน ประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม มีรายการต่อไปนี้ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง แม่น้ำ เจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก วัดเสาธงทอ ง วัดปรมัยยิกาวาส และโรงเรียนวัดปรมัยยิกาวาส (แสนสวัสดิ์วิทยาคาร) ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ งแม่น้า ลัดเกร็ด ฝั่งตะวันตก และสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพบ้านเกร็ดตระการ ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริ มฝั่งแม่น้า เจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งแม่น้า เจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก 1 0. ที่ดินในบริเวณหมายเลข ล. 1 และ ล. 2 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน ให้เป็นที่ดิน ประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม มีรายการดังต่อไปนี้ ล. 1 - 1 เส้น ขนาน ระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่งคลองขุนศรี ฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออก

43 ล. 1 - 2 เส้น ขนาน ระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองราษฎร์นิยม ฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออก ล. 1 - 3 เส้น ขนาน ระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองสอง ฝั่งตะวันออก ล. 1 - 4 เส้น ขนาน ระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองลากค้อน ฝั่งตะวันตก ล. 1 - 5 เส้น ขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองขวาง ฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออก ล. 1 - 6 เส้น ขนานระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองตาคล้าย ฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออก ล. 1 - 7 เส้น ขนาน ระยะ 15 เมตร กับริมฝั่งคลองพระพิมล ฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออก ล. 1 - 8 เส้น ขนานระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่งของคลองสิบศอก ฝั่งตะวันออก ล. 1 - 9 เส้น ขนานระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่งคลองเจ๊กใหญ่ ฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออก ล. 1 - 10 เส้น ขนาน ระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่งคลองตรง ฝั่งใต้ ล. 1 - 11 เส้น ขนานระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่งคลองลาโพ ฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออก ล. 1 - 12 เส้น ขนาน ระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่งคลองทวีวัฒนา ฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออก ล. 1 - 13 เส้น ขนานระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่งคลองลำรี ฝั่งตะวันตกและฝั่งตะวันออก ล. 1 - 14 เส้น ขนาน ระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่ง คลอง บาง ตะไนย์ ฝั่งตะวันตก ล. 1 - 15 เส้น ขนาน ระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่งคลองพระอุดม ฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออก ล. 1 - 16 เส้น ขนาน ระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่งคลองทวีวัฒนา ฝั่งตะวันออก ล. 1 - 17 เส้น ขนาน ระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก ล. 1 - 18 เส้น ขนาน ระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก ล. 1 - 19 เส้น ขนาน ระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่งคลองนราภิรมย์ ฝั่งตะวันออก ล. 1 - 20 เส้น ขนานระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่งแม่น้ำลัดเกร็ด ฝั่งตะวันตก และ ฝั่งตะวันออก ล. 1 - 2 1 เส้น ขนาน ระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่งคลองบางบัวทอง ฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออก ล. 1 - 2 2 เส้น ขนาน ระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่งคลองอ้อมนนท์ ฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออก ล. 1 - 2 3 เส้น ขนาน ระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่งคลองบางใหญ่ ฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออก ล. 1 - 2 4 เส้น ขนานระยะ 15 เมตร กับริม ฝั่งคลองบางกอกน้อย ฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออก

44 ล. 1 - 25 เส้น ขนาน ระยะ 15 เมตร กับริมฝั่ง คลองมหาสวัสดิ์ ฝั่งเหนือ ล. 2 - 1 สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ นนทบุรี ล. 2 - 2 อุทยานเฉลิมกาญจนาภิเษก 11. ที่ดินประเภท ศษ. ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ให้เป็นที่ดินประเภท สถาบันการศึกษา มีรายการดังต่อไปนี้ ศษ. - 1 โรงเรียนวัดปลายคลองขุนศรี ศษ. - 2 โรงเรียนราษฎร์นิยม ศษ. - 3 โรงเรียนชุมชนวัดราษฎร์นิยม ศษ. - 4 โรงเรียนวัดลากค้อน ศษ . - 5 โรงเรียนบ้านคลองหนึ่ง ศษ . - 6 โรงเรียนวัดสโมสร ศษ . - 7 โรงเรียนวัดคลองขวาง (จรูญชนม์ราษฎร์บำรุง) ศษ . - 8 โรงเรียนวัดคลองขุนศรี ศษ . - 9 โรงเรียนวัดศรีเขตนันทาราม ศษ . - 10 โรงเรียนบ้านคลองฝรั่ง ( บัวเอี่ยมพิทยากร ) ศษ . - 11 โรงเรียนวัดไทรใหญ่ และโรงเรียนไทรน้อย ศษ . - 12 โรงเรียนวัดคลองตาคล้าย ศษ . - 13 โรงเรียนเจริญรัฐอุปถัมภ์ ศษ . - 14 โรงเรียนวัดท่าเกวียน (ศึกษาประชาสรรค์) ศษ . - 15 โรงเรียนชุมชนวัดไทรน้อย ศษ . - 16 โรงเรียนวัดลำโพ (คล้อยประชารังสฤษฏ์) ศษ . - 17 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 95 (วัดโพธิ์ทองบน) ศษ . - 18 โรงเรียนวัดสลักเหนือ ศษ . - 19 โรงเรียนวัดมะสงมิตรภาพที่ 55 ศษ . - 20 โรงเรียนสมบูรณ์ศาสตร์พัฒนา ศษ . - 21 โรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม ศษ . - 22 โรงเรียนวัดตาล ศษ . - 23 โรงเรียนวัดส ะ พานสูง (รถไฟนุเคราะห์) ศษ . - 24 โรงเรียนคล้ายสอนศึกษา ศษ . - 25 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า นนทบุรี ศษ . - 26 โรงเรียนวัดตำหนักเหนือ (ชื่นวิทยานุสรณ์) ศษ . - 27 โรงเรียนบางคูลัด ศษ . - 28 โรงเรียนวัดเสนีวงศ์ ศษ . - 29 โรงเรียนวัดเพรางาย ศษ . - 30 โรงเรียนเทศบาลวัดละหาร ศษ . - 31 โรงเรียนบางบัวทอง ศษ . - 32 โรงเรียนวัดใหญ่สว่างอารมณ์ ศษ . - 33 โรงเรียนวัดปรมัยยิกาวาส (แสนสวัสดิ์วิทยาคาร)

45 ศษ. - 34 โรงเรียนวัดผาสุกมณีจักร ศษ. - 35 โรงเรียนปากเกร็ด ศษ. - 36 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ศษ. - 37 โรงเรียนเต็มรักศึกษา ศษ. - 38 โรงเรียนคลองเกลือ ศษ. - 39 โรงเรียนชลประทานวิทยา ศษ. - 40 โรงเรียนนนทบุรีวิทยาลัย ศษ. - 41 โรงเรียนวัดเชิงเลน ศษ . - 42 โรงเรียนชลประทานสงเคราะห์ ศษ . - 43 โรงเรียนวัดแดง ศษ . - 44 โรงเรียนวัดตำหนักใต้ (วิลาศโอสถานนท์นุเคราะห์) ศษ . - 45 โรงเรียนอนุบาลบางใหญ่ (ดอนลาดตะค้าน) ศษ . - 46 โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ ศษ . - 47 โรงเรียนวัดแคนอก ศษ . - 48 โรงเรียนชุมชนวัดบางไผ่ (บุญราษฎร์รังสรรค์) ศษ . - 49 โรงเรียนบ้านดอนตะลุมพุก (เจริญจิตต์วิทยา) ศษ . - 50 โรงเรียนวัดโมลี (นันทวิมล) ศษ . - 51 โรงเรียนแก้วอินทร์สุธาอุทิศ ศษ . - 52 โรงเรียนนนทบุรีพิทยาคม ศษ . - 53 โรงเรียน วัดแจ้งศิริสัมพันธ์ (สโมสรสากลอุทิศ) ศษ . - 54 โรงเรียนวัดบัวขวัญ (มีทับราษฎร์บำรุง) ศษ . - 55 โรงเรียนวัดประชารังสรรค์ ศษ . - 56 โรงเรียนชุมชนวัดไทรม้า ศษ . - 57 โรงเรียนวัดศรีราษฎร์ (เอนกนาครราษฎร์บำรุง) ศษ . - 58 มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ วิทยาเขตนนทบุรี ศษ . - 59 โรงเรียนนครนนท์วิทยา 2 วัดทินกรนิมิต ศษ . - 60 โรงเรียนวัดลานนาบุญ (น้อม หงสะเดชอุปถัมภ์) ศษ . - 61 โรงเรียนวัดสังวรพิบูลไพบูลย์ (จันทานุกูล) ศษ . - 62 โรงเรียนชุมชนวัดต้นเชือก (ถาวรวิทย์อุปกฤต) ศษ . - 63 โรงเรียนวัดแคใน ศษ . - 64 โรงเรียนวัดโบสถ์บน ศษ . - 65 โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม ศษ . - 66 โรงเรียนวัดซองพลู (วิทิตราชประชานุสรณ์) ศษ . - 67 โรงเรียนสตรีนนทบุรี ศษ . - 68 โรงเรียนชุมชนวัดบางไกรใน (ศีลพิบูลย์วิทยา) ศษ . - 69 โรงเรียนวัดบางอ้อยช้าง ศษ . - 70 โรงเรียนนุ่มประสงค์วิทยา ศษ . - 71 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์บางกรวย

46 ศษ. - 72 โรงเรียนเทศบาลปลายบางวัดส้มเกลี้ยง ศษ. - 73 โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี ศษ. - 74 โรงเรียนอนุบาลบางกรวย (วัดศรีประวัติ) ศษ. - 75 โรงเรียนวัดสนามนอก 12 . ที่ดิน ประเภท ศ . ที่กาหนดไว้เป็นสีน้ำตาลอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทย มีรายการดังต่อไปนี้ ศ. - 1 วัดบรมราชกาญจนาภิเษกอนุสรณ์ (วัดเล่งเน่ยยี่ 2) ศ. - 2 พุทธสถานเชิงท่าหน้าโบสถ์ ศ. - 3 วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร ศ. - 4 วัดอัมพวัน ศ. - 5 ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี (หลังเก่า) ศ. - 6 วัดปรางค์หลวง 13 . ที่ดินประเภท ศน. ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทสถาบันศาสนา มีรายการดังต่อไปนี้ ศน. - 1 วัดปลายคลองขุนศรี ศน. - 2 วัดราษฎร์นิยม ศน. - 3 วัดลากค้อน ศน. - 4 วัดสโมสร ศน. - 5 วัดคลองขวาง ศน. - 6 วัดคลองขุนศรี ศน. - 7 วัดยอดพระพิมล ศน. - 8 วัดศรีเขตนันทาราม ศน. - 9 วัดสามง่าม ศน. - 10 วัดไทรใหญ่ ศน. - 11 วัดคลองตาคล้าย ศน. - 12 วัดท่าเกวียน ศน. - 13 วัดไทรน้อย ศน. - 14 วัดลำโพ ศน. - 15 วัดโพธิ์ทองบน ศน. - 16 วัดช่องลม ศน. - 17 วัดมะสง ศน. - 18 วัดสลักเหนือ ศน. - 19 วัดศรีรัตนาราม (วัดบางพัง) ศน. - 20 วัดโพธิ์บ้านอ้อย ศน. - 21 สุสานบางบัวทองมูลนิธิ ศน. - 22 วัดตาล ศน. - 23 วัดกู้ ศน. - 24 วัดสะพานสูง

47 ศน. - 25 วัดโปรดเกษ ศน. - 26 วัดบางพูดนอก ศน. - 27 วัดเกาะพญาเจ่ง ศน. - 28 วัดตำหนักเหนือ ศน. - 29 วัดเสนีวงศ์ ศน. - 3 0 วัดปากคลองพระอุดม ศน . - 31 วัดละหาร ศน . - 32 วัดเพรางาย ศน . - 33 วัดเสาธงทอง ศน . - 34 วัดบ่อ ศน . - 35 วัดปรมัยยิกาวาส ศน . - 36 วัดสนามเหนือ ศน . - 37 วัดผาสุกมณีจักร ศน . - 38 วัดใหญ่สว่างอารมณ์ ศน . - 39 วัดกลางเกร็ด ศน . - 40 วัดบางบัวทอง ศน . - 41 วัดลาดปลาดุก ศน . - 42 วัดแสง ศิ ริธรรม ศน . - 43 วัดเต็มรักสามัคคี ศน . - 44 วัดชลประทานรังสฤษฏ์ ศน . - 45 วัดท่าอิฐ ศน . - 46 วัดเชิงเลน ศน . - 47 วัดชมภู เวก ศน . - 48 วัดแดงธรรมชาติ ศน . - 49 วัดตำหนักใต้ ศน . - 50 วัดแคนอก ศน . - 51 วัดบางไผ่ ศน . - 52 วัดโมลี ศน . - 53 วัดแจ้งศิริสัมพันธ์ ศน . - 54 วัดบัวขวัญ ศน . - 55 วัดเพลง ศน . - 56 วัดประชารังสรรค์ ศน . - 57 วัดไทรม้าเหนือ ศน . - 58 วัดสวนแก้ว ศน . - 59 วัดไทรม้าใต้ ศน . - 60 วัดศรีราษฎร์ ศน . - 61 วัดท้ายเมือง ศน . - 62 วัดขวัญเมือง

48 ศน . - 63 วัดโบสถ์ดอนพรหม ศน . - 64 วัดคงคา ศน . - 65 วัดบางโค ศน . - 66 วัดบางระโหง ศน . - 67 วัดโตนด ศน . - 68 วัดท่าบันเทิงธรรม ศน . - 69 วัดสลักใต้ ศน . - 70 วัดทินกรนิมิต ศน . - 71 วัดเอนกดิษฐาราม ศน . - 72 วัดลานนาบุญ ศน . - 73 วัดสังวรพิมลไพบูลย์ ศน . - 74 วัดแคใน ศน . - 75 วัดต้นเชือก ศน . - 76 วัดยุคันธราวาส ศน . - 77 วัดโบสถ์บน ศน. - 78 วัดทางหลวง ศน . - 79 วัดนครอินทร์ ศน . - 80 วัดพระเงิน ศน . - 81 วัดตะเคียน ศน . - 82 วัดบางค้อ ศน . - 83 วัดอุทยาน ศน . - 84 วัดไทยเจริญ (บ้านจีน) ศน . - 85 วัดบางไกรนอก ศน . - 86 วัดฝาง ศน . - 87 วัดสังฆทาน ศน . - 88 วัดศาลารี ศน . - 89 วัดสิงห์ ศน . - 90 วัดตึก ศน . - 91 วัดเขมาภิรตาราม ศน . - 92 วัดบางขนุน ศน . - 93 วัดแก้วฟ้า ศน . - 94 วัดหูช้าง ศน . - 95 วัดบางไกรใน ศน . - 96 วัดบางอ้อยช้าง ศน . - 97 วัดลุ่มคงคาราม ศน . - 98 วัดโคนอน ศน . - 99 วัดส้มเกลี้ยง ศน . - 100 วัดอุบลวนาราม

49 ศน . - 101 วัดศรีประวัติ ศน . - 102 วัดกระโจมทอง ศน . - 103 วัดใหม่ผดุงเขต ศน . - 104 วัดเกตุประยงค์ - เล็ก ตั้งตรงจิตร ศน . - 105 วัดสนามใน 14 . ที่ดินประเภท ส. ที่กำหนดไว้เป็นสีน้ำเงินให้เป็นที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ มีรายการดังต่อไปนี้ ส . - 1 สำนักงานองค์การบริหารส่วนตาบลไทรใหญ่ สถานีตำรวจภูธรตำบลไทรใหญ่ ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียน ตำบลไทรใหญ่ ส . – 2 โรงพยาบาลไทรน้อย ส . - 3 ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียน อำเภอไทรน้อย ห้องสมุดประชาชน อาเภอไทรน้อย และสำนักงานสาธารณสุขอาเภอไทรน้อย ส . – 4 ที่ว่าการอาเภอไทรน้อย หอประชุมอาเภอไทรน้อย และสำนักงาน เทศบาลตำบลไทรน้อย ส . - 5 ที่ทำการไปรษณีย์ไทรน้อย ส . - 6 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สถานีไทรน้อย และการไฟฟ้านครหลวง สถานีต้นทางไทรน้อย ส . - 7 สถานีตำรวจภูธรบางบัวทอง สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลละหาร ที่ว่าการอาเภอบางบัวทอง ศาลาประชาคมอาเภอบางบัวทอง ส . - 8 โรง ปรับปรุงคุณภาพน้ำ เทศบาลนครปากเกร็ด ส . - 9 สำนักงาน เทศบาลเมืองใหม่บางบัวทอง ส . - 10 สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ส . - 11 เขตการเดินรถที่ 7 กลุ่มปฏิบัติการที่ 1 องค์การขนส่งมวลชน กรุงเทพ ส . - 12 ฝ่ายธุรกิจขนส่งและผลิตภัณฑ์ การไฟฟ้านครหลวง ส . - 13 สำนักงานเทศบาลเมืองพิมลราช ส . - 14 ฝ่ายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาลเมืองบางบัวทอง โรงพยาบาลบางบัวทอง ส . - 15 สำนักงานเทศบาลนครปากเกร็ด ที่ว่าการอาเภอปากเกร็ด โรงพยาบาลปากเกร็ด ส . - 16 อาคารรังวัด และทำแผนที่ กรมที่ดิน และสำนักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี สาขาปากเกร็ด ส . - 17 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ส . - 18 สำนักงานเทศบาลเมืองบางบัวทอง ส . - 19 โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาพระยาบรรลือ สานักงานชลประทานที่ 11 กรมชลประทาน ส . - 20 ดุริยางค์ตำรวจ

50 ส . - 21 สถานสงเคราะห์เด็กชายบ้านปากเกร็ด สถานสงเคราะห์แรกรับเด็กชาย บ้านปากเกร็ด สถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพญาไท ศูนย์พัฒนาสมรรถภาพคนตาบอด งานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยเทศบาลนครปากเกร็ด สถานสงเคราะห์เด็กอ่อนปากเกร็ด สถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพิการทางสมอง และปัญญาสถานสงเคราะห์ เด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ด สถานสงเคราะห์ เด็กพิการทางสมองและปัญญา (หญิง) ปากเกร็ด สถานสงเคราะห์เด็กพิการทางสมองและปัญญา (ชาย) ปากเกร็ด ศูนย์สุขภาพสงเคราะห์ จังหวัดนนทบุรี ศูนย์พัฒนาอาชีพคนพิการ และสถานแรกรับคนไร้ที่พึ่งนนทบุรี ส . - 22 สถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพบ้านเกร็ดตระการ ส . - 23 สำนักชลประทานที่ 11 จังหวัด เรือยนต์หลวง 904 ศูนย์การแพทย์ ปัญญานันทภิกขุ (โรงพยาบาลชลประทาน) สานักงานประถมศึกษาอาเภอปากเกร็ด และโครงการ ชลประทานนนทบุรี ส. - 24 ระบบบำบัดน้ำเสีย เทศบาลนครปากเกร็ด ส . - 2 5 สถาบันพัฒนาการจัดเก็บภาษีอากร กรมสรรพสามิต ส . - 2 6 สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ตำรวจภูธรจังหวัดนนทบุรี ส . - 2 7 กระทรวงพาณิชย์ ส . - 2 8 ที่ว่าการอาเภอบางใหญ่ สานักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี สาขาบางใหญ่ ส . - 29 ศูนย์บริการสาธารณสุขและสถานธนานุบาล ฝ่ายป้องกันและบรรเทาสาธำ รณภัย ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครนนทบุรี ส . - 30 สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ กรมอนามัย ส . - 3 1 สำนักงานขนส่งจังหวัดนนทบุรี ศูนย์โทรคมนาคมนนทบุรี บริษัท กสท . โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 สานักงานอัยการ จังหวัดนนทบุรี สานักงานพาณิชย์จังหวัดนนทบุรี สำนักงานเกษตรจังหวัดนนทบุรี อาคารสวัสดิการ ข้าราชการ และที่จอดรถองค์ การบริหารส่วนจังหวัด นนทบุรี บ้านธนารักษ์ สำนักงานประกันสังคมจังหวัดนนทบุรี ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี ศาลจังหวัดนนทบุรี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี องค์การ บริหาร ส่วนจังหวัดนนทบุรี ที่ว่าการอาเภอเมืองนนทบุรี สำนักงานเทศบา ลนครนนทบุรี สถานีตารวจภูธร รัตนาธิเบศร์ สำนักงาน คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เขต 1 นนทบุรี และสถานีดาวเทียมไทยคม ส . - 3 2 ไปรษณีย์นนทบุรี และการไฟฟ้านครหลวง เขตนนทบุรี ส . - 3 3 โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า ส . - 34 สถาบันโรคทรวงอก วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนนทบุรี ส . - 3 5 สถาบันบำราศนราดูร สถาบันทันตกรรม ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟู สมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ กรมควบคุมโรค กรมอนามัย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขแห่งชาติ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมสุขภำพจิต สภาการพยาบาล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมการแพทย์ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สถาบันที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ สถาบันพัฒนา ข้าราชการพลเรือน สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 6 นนทบุรี สำนักงานประกันสังคม โ รงพยาบาลศรีธัญญา

51 ส . - 3 6 เรือนจำ กลาง บางขวาง สถาบันพัฒนาข้าราชการกรมราชทัณฑ์ กรมราชทัณฑ์ สถานีตำรวจภูธรอำเภอเมืองนนทบุรี และสานักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี ส . - 3 7 การไฟฟ้านครหลวงบางใหญ่ ส . - 3 8 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ส . - 3 9 โรงผลิตน้ามหาสวัสดิ์ การ ประปานครหลวง สาขามหาสวัสดิ์ ส. - 40 สำนักงานเทศบาลตำบลศาลากลาง ส . - 4 1 กองออกแบบก่อสร้างพลับพลาพิธี และโครงการพิเศษ กรมโยธาธิการ และผังเมือง ส . - 4 2 สำนักงานทางหลวงชนบทนนทบุรี

รายการประกอบแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง ท้ายประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมนนทบุรี พ.ศ. 2566 ถนนตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง แบ่งเป็น 6 ขนาด คือ 1. ถนนแบบ ก ขนาดเขตทาง 12.00 เมตร จานวน 7 สาย ดังนี้ ถนนสาย ก 1 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยาย เขตทาง คือ ทางหลวงชนบท นบ. 5027 ทางหลวงชนบท นบ. 3017 และถนนไม่ปรากฏชื่อ และถนนโครงการกาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเ ลข 3215 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 5 027 ระยะประมาณ 1,300 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 3017 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนว ทางหลวงชนบท นบ. 3017 ระยะประมาณ 300 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนว ถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 150 เมตร จนบรรจบกับถนนสาย ข 3 ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข 3 บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 5010 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนสาย ข 3 ระยะประมาณ 400 เมตร ถนนสาย ก 2 เป็นถนนเดิม ไม่ปรากฏชื่อ กำหนดให้ขยายเขตทาง และถนนโครงการ กาหนดให้ก่อสร้าง ใหม่ เริ่มต้นจากถนน ไ ม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ข 3) ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ข 3) บรรจบกับทางหลวงชนบท น บ. 5027 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนว ถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ข 3) ระยะประมาณ 450 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 900 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ที่บริเวณห่างจาก ทางหลวงชนบท นบ. 5027 (ถนนสาย ก 1) บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ระยะประมาณ 950 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนเดิม บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ที่บริเวณ ห่างจากทางหลวงชนบท นบ. 5027 (ถนนสาย ก 1) บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ระยะ ประมาณ 1,000 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 1,200 เมตร จนบรรจบกับถนนสาย ข 2 ที่บริเวณห่างจาก ถนน ไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ก 3) บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ข 2) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนสาย ข 2 ระยะประมาณ 1,400 เมตร ถนนสาย ก 3 เป็นถนนเดิม ไม่ปรากฏชื่อ กำหนดให้ขยายเขตทาง และถนนโครงการ กาหนดให้ก่อสร้าง ใหม่ เริ่มต้นจากถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสำย ข 2) ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ก 2 บรรจบกับถนนสำย ข 2 ไป ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวถนนสาย ข 2 ระยะประมาณ 1,400 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวถนน ไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ก) ระยะประมาณ 1,000 เมตร บรรจบกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ที่บริเวณห่างจาก ถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 2) บรรจบกับทางหลวงแผ่นดิน หมายเล ข 3215 ไปทางทิศตะวันออกเฉียง ใต้ ตาม แนว ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ระยะประมาณ 1,200 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะ ประมาณ 1,400 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ก 2) บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ไปทางทิศตะวันออกเฉียง ใต้ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ระยะประมาณ 1,2 00 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ก 3) ระยะประมาณ 900 เมตร จนบรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ข 3) ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ข 3) บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ . 5027 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวถนนสาย ข 3 ระยะประมาณ 1 , 550 เมตร

2 ถนนสาย ก 4 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ถนนสุขาประชาสรรค์ 2 และถนนโครงการกำหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากถนนติวานนท์ ที่บริเวณห่างจาก ถนนแจ้งวัฒนะ บรรจบกับถนนติวา นนท์ไป ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนติวานนท์ ระยะประมาณ 1,300 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียง เหนือ ระยะประมาณ 1,400 เมตร บรรจบกับถนนสุขาประชาสรรค์ 2 ไปทาง ทิศต ะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออก ตามแนวถนนเดิม ระยะประมาณ 2,8 00 เมตร ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 1,350 เมตร จนบรรจบกับถนนติวานนท์ ที่บริเวณถนนบอนด์สตรีท บรรจบกับถนนติวานนท์ ถนนสาย ก 5 เป็นถนนเดิมกำหนดให้ขยายเขตทาง คือ ซอยนนทบุรี 20 และถนนโครงการกำหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจาก ถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี - สนามบิ นน้ำ ไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนเดิม ระยะประมาณ 800 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 600 เมตร จนบรรจบกับถนน สนามบินน้า ที่บริเวณห่างจากถนน สนามบินน้าบรรจบกับ ถนนรัตนาธิเบศร์ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตาม แนวถนนสนามบินน้ำ ระยะประมาณ 700 เมตร ถนนสาย ก 6 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ซอยวัดบางเลนเจริญ ซอยต้นคูณ 1 ทางหลวงชนบท นบ. 4077 และทางหลวงชนบท นบ. 4140 และถนนโครงการกาหนดให้ ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจาก ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนว ซอยวัดบางเลนเจริญ ระยะประมาณ 1,0 00 เมตร บรรจบกับซอยต้นคูณ 1 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวซอยต้นคูณ 1 ระยะประมาณ 5 00 เมตร ไปทางทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 1,000 เมตร บรรจบกับ ทางหลวงชนบท นบ. 4077 ไปทางทิศตะวันออกเฉียง ใต้ ตามแนว ทางหลวงชนบท นบ. 4077 ระยะประมาณ 200 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท น บ. 4140 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนว ทางหลวงชนบท นบ. 4140 จนบรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1020 ถนนสาย ก 7 เป็น ถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ทางหลวงชนบท นบ. 1026 เริ่มต้นจากทางหลว งชนบท นบ. 5014 ไปทางทิศตะวันออก ตามแนวถนนเดิม จนบรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก 2. ถนนแบบ ข ขนาดเขตทาง 16.00 เมตร จานวน 20 สาย ดังนี้ ถนนสาย ข 1 เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกำหนดให้ขยายเขตทาง และถนนโครงการ กาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากถนน อบจ. นบ. 2044 (ถนนสาย ง 3) ที่บริเวณห่างจากถนน อบจ. นบ. 2044 (ถนนสาย ง 3) บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ไปทางทิศเหนือตามแนวถนน อบจ. นบ. 2044 (ถนนสาย ง 3) ระยะ ประมาณ 1,400 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 1,200 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 3032 (ถนนสาย ค 3) ที่บริเวณห่างจาก ทางหลวงชนบท นบ. 3032 บรรจบกับทาง หลวง แผ่นดินหมายเลข 3215 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 3032 (ถนนสาย ค 3) ระยะประมาณ 700 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 70 0 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 500 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 3017 ที่บริเวณห่างจาก ทางหลวงชนบท นบ. 3017 (ถนนสาย ก 1) บรรจบกับ ทางหลวงชนบท นบ. 5027 ไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทิศตะวันออกเฉี ยงเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตามแนวทางหลวง ชนบท นบ. 3017 ระยะประมาณ 1 , 900 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 900 เมตร จนบรรจบ กับถนนสาย ข 3 ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข 3 บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 5010 ไปทางทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนสาย ข 3 ระยะประมาณ 1 , 600 เมตร

3 ถนนสาย ข 2 เป็นถนนเดิม ไม่ปรากฏชื่อกำหนดให้ขยายเขตทาง และถนนโครงการ กาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากถนน อบจ. นบ. 2044 (ถนนสาย ง 3) ที่บริเวณห่างจาก ถนน อบจ. นบ. 2044 (ถนนสาย ง 3) บรรจบกับทางหลวงแผ่ นดินหมายเลข 3215 ไปทางทิศเหนือ ตามแนวถนน อบจ. นบ. 2044 (ถนนสาย ง 3) ระยะประมาณ 1 , 400 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 2,500 เมตร บรรจบกับถนนสาย ก 2 ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ก 2 บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนสาย ก 2 ระยะประมาณ 1,200 เมตร ไปทางทิศตะวัน ออก เฉียงใต้ ระยะประมาณ 200 เมตร บรรจบกับถนน เดิม ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวถนนเดิม ระยะ ประมาณ 1,700 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 1,100 เมตร จนบรรจบกับ ถนนสาย ข 4 ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข 4 บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนสาย ข 4 ระยะประมาณ 800 เมตร ถนนสาย ข 3 เป็นถนนเดิม ไม่ปรากฏชื่อ กาหนดให้ขยายเขตทาง และถนนโครงการ กำหนดให้ก่อสร้าง ใหม่ เริ่มต้นจากถนนสาย ข 1 ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข 1 บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 3017 ไปทางทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ ตามแนวถนนสาย ข 1 ระยะประมาณ 900 เมตร ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะ ประมาณ 1,700 เมตร บรรจบกับถนนสาย ก 1 ที่บริเวณห่างจาก ทางหลวงชนบท นบ. 3017 (ถนนสาย ก 1) บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 5 027 ไปทางทิศตะวันตก เฉียงใต้ ตามแนวถนนสาย ก 1 ระยะประมาณ 300 เมตร ไปทางทิศ ตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 35 0 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 5010 ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท นบ. 5010 บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 5027 ไปทางทิศตะวันตกเฉียง ใต้ ตามแนวทางหลวง ชนบท นบ. 5010 ระยะประมาณ 300 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 300 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 5027 ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท นบ. 5010 บรรจบกับทางหลวง ชนบท นบ. 5027 ไปทางทิศใต้ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 5027 ระยะประมาณ 400 เมตร ไป ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวถนนไม่ปราก ฏชื่อ ระยะประมาณ 600 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียง ใต้ ระยะประมาณ 600 เมตร บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 2 ,0 00 เมตร จนบรรจบกับถนนสาย ข 4 ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข 4 บรรจบกับทางหลวง ชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวถนนสาย ข 4 ระยะประมาณ 700 เมตร ถนนสาย ข 4 เป็นถนนเดิม ไม่ปรากฏชื่อ กำหนดให้ขยายเขตทาง และถนนโครงการ กาหนดให้ก่อสร้าง ใหม่ เริ่มต้นจากถนนสาย ข 2 ที่บริเวณห่างจากถนน ไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ก 3) บรรจบกับถนนไม่ ปรากฏชื่อ (ถนนสา ย ข 2) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวถนนสาย ข 2 ระยะประมาณ 1,600 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 800 เมตร บรรจบกับทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3215 ที่บริเวณ ห่างจาก ทางหลวงชนบท นบ. 3008 บรรจบกับทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3215 ไปทางทิศตะวันตกเฉียง เหนือตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ระยะประมาณ 650 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 900 เมตร ไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 200 เมตร บรรจบกับถนนไม่ปรำกฏชื่อ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแ นวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 400 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ที่บริเวณห่างจาก ถนน ไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ฉ) บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) .

4 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ระยะประมาณ 1,700 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 700 เมตร จนบรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ข 3) ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ก 3) บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสา ย ข 3) ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ข 3) ระยะประมาณ 1 , 6 00 เมตร ถนนสาย ข 5 เป็นถนนเดิม ไม่ปรากฏชื่อ กำหนดให้ขยายเขตทาง และ ถนนโครงการ กำหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจาก ทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ที่บริเวณห่างจาก ซอยหมู่บ้านเดอะลีฟวิ่ง 2 (ถนนสาย จ 2) บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตามแนวทางหลวง ชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ระยะประมาณ 1,400 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนว ถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 1,600 เมตร บรรจบกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ที่ บริเวณห่างจาก ซอยบริสุทธิพงศ์ (ถนนสาย จ 2) บรรจบกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตามแนวทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3215 ระยะประมาณ 1,400 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 700 เมตร บรรจบกับถนนไม่ปรากฏ ชื่ อ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 900 เมตร จนบรรจบกับ ถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ข 6 ) ที่บริเวณห่างจาก ถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ข 6) บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย จ 2) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตามแนว ถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ข 6 ) ระยะประมาณ 1,000 เมตร ถนนสาย ข 6 เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกำหนดให้ขยายเขตทาง และถนนโครงการ กาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ข 5) ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข 5 บรรจบกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ไปทางทิศตะวัน ออกเฉียงเหนือตามแนวถนนสาย ข 5 ระยะประมาณ 1,600 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 1,000 เมตร บรรจบกับ ถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย จ 2) ที่บริเวณห่างจากถนนสาย จ 2 บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนื อตามแนวถนนสาย จ 2 ระยะประมาณ 1,300 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 500 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 300 เมตร บรรจบกับถนน ไม่ปรากฏชื่อ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 1,000 เมตร จนบรรจบกับถน นสาย ข 7 ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข 7 บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนสาย ข 7 ระยะประมาณ 1,000 เมตร ถนนสาย ข 7 เป็นถนนเดิม ไม่ปรากฏชื่อ กำหนดให้ขยายเขตทาง และถนนโครงการ กำหนดให้ก่อสร้าง ใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ที่บริเวณห่างจาก ทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนน สาย ง 4) บรรจบกับถนนกาญจนา ภิเษก ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ระยะประมาณ 1 , 250 เมตร ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 400 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 400 เมตร บรรจบกับถนนไม่ปรากฏ ชื่อ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 900 เมตร บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ที่บริเวณห่างจาก ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3215 บรรจบกับถนนกาญจนา ภิเษก ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตามแนวทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3215 ระยะประมาณ 950 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 1,000 เมตร จนบรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ข 6) ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ข 6) บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย จ 2) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวถนนสาย ข 6 ระยะประมาณ 1,800 เมตร

5 ถนนสาย ข 8 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ถนนบ้านวังข่า - วัดสิงห์ทอง ซอย บางรักใหญ่ 8 และถนนโครงการกาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจาก ทางหลวงชนบท นบ. 3021 ไปทางทิศตะวันตกเฉียง ใต้ และทิศใต้ ตามแนวถนน บ้านวังข่า - วัดสิงห์ทอง ระยะประมาณ 4,900 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 1,200 เมตร บรรจบกับ ซอย บางรักใหญ่ 8 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตาม แนวซอย บางรัก ใหญ่ 8 ระยะประมาณ 2 ,1 00 เมตร จนบรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ถนนสาย ข 9 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ถนน อบจ. นบ. 4005 เริ่มต้นจาก ที่ บริเวณ ถนน อบจ. นบ. 4005 บรรจบกับแม่น้ำเจ้าพระยา ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ และทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนว ถนน อบจ. นบ. 4005 จนบรรจบกับ ถนนรัตนาธิเบศร์ ถนนสาย ข 10 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ถนน เทศบาล 6 และ ถนนโครงการกาหนดให้ก่อสร้าง ใหม่ เริ่มต้นจาก ซอย บางรักใหญ่ 8 (ถนนสาย ข 8) ไปทางทิศตะวันตก ตามแนว ถนน เดิม ระยะ ประมาณ 900 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะ ประมาณ 550 เมตร จนบรรจบกับถนนบางกรวย - ไทรน้อย ที่บริเวณห่างจากถนนบางกรวย - ไทรน้อย บรรจบกับทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 302 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวถนนบางกรวย - ไทรน้อย ระยะประมาณ 1 , 900 เมตร ถนนสาย ข 11 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ถนนจันทร์ทองเอี่ยม เริ่มต้นจากถนนกาญจนาภิเษก ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนเดิม จนบรรจบกับถนนบางกรวย - ไทรน้อย ถนนสาย ข 12 เป็นถนนเดิมกำหนดให้ขยายเขตทาง คือ ซอยวัดไผ่เหลือง เริ่มต้นจากถนนจันทร์ ทอง เอี่ยม (ถนนสาย ข 11) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนเดิม จนบรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ถนนสาย ข 13 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ซอยบางรักน้อย 1 เริ่มต้นจาก ทางหลวงชนบท นบ. 3021 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแน วถนนเดิม จนบรรจบกับถนน อบจ. นบ. 4005 (ถนนสาย ข 9) ถนนสาย ข 14 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ซอย บางรักใหญ่ 16 (วัดมะเดื่อ) ทางหลวงชนบท นบ. 4161 ซอยวัดเสาธงหิน และถนนโครงการ กาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ไปทางทิศใต้ ตามแนว ซอยบางรักใหญ่ 16 (วัดมะเดื่อ) ระยะประมาณ 6 00 เมตร ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 600 เมตร บรรจบกับ ทางหลวงชนบท นบ. 4161 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนว ทางหลวงชนบท นบ. 4161 ระยะ ประมาณ 1, 1 00 เมตร บรรจบกับซอยวัดเสาธง หิน ไปทางทิศตะวันตก ตามแนวซอยวัดเสาธงหิน ระยะประมาณ 800 เมตร ไปทาง ทิศ ตะวันตก ระยะประมาณ 500 เมตร จนบรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก ที่ บริเวณ ห่างจาก ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 302 บรรจบกับ ถนนกาญจนา ภิเษ ก ไปทางทิศใต้ตามแนวถนนกาญจนาภิเษก ระยะประมาณ 2,000 เมตร

6 ถนนสาย ข 15 เป็นถนนเดิมกำหนดให้ขยายเขตทาง คือ ถนนบ้านไทรม้า - ท่าอิฐ และ ซอย วัดเพลง - บางนา และถนนโครงการกำหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 302 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนว ถนนบ้านไทรม้า - ท่าอิฐ ระยะประมาณ 500 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 900 เมตร บรรจบกับ ซอยวัดเพลง - บางนา ไปทาง ทิศ ตะวันออกเฉียง ใต้ ตามแนวซอยวัดเพลง - บางนา ระยะประมาณ 1 , 500 เมตร บรรจบกับคลองอ้อมนนท์ ไปทางทิศใต้ ระยะประมาณ 400 เมตร จน บรรจบกับถนน ราชพฤกษ์ - นนทบุรี 1 ที่บริเวณถนนราชพฤกษ์ - นนทบุรี 1 บรรจบกับ ทางหลวงชนบท นบ. 3021 ไปทางทิศตะวันออกตามแนวถนนราชพฤกษ์ - นนทบุรี 1 ระยะประมาณ 2,350 เมตร ถนนสาย ข 16 เป็นถนนโครงการกาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากซอยกานันสมจิตร ที่บริเวณ ห่างจากซอยกำนันสมจิตรบรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1026 (ถนนสาย ก 7) ไปทางทิศตะวันตก เฉียง เหนือ ตามแนว ซอยกำนันสมจิตร ระยะประมาณ 1 , 600 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 3,700 เมตร จนบรรจบกับถนนสาย ฉ ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ฉ บรรจบกับ ทางหลวงชนบท นบ. 1026 (ถนนสาย ก 7 ) ไปทางทิศเหนือตามแนวถนนสาย ฉ ระยะประมาณ 1,400 เมตร ถนนสาย ข 17 เป็นถนนเดิมกำหนดให้ขยายเขตทาง คือ ซอยวัดพุฒิปรางค์ปราโมทย์ ซอยบางศรีเมือง 8 และซอยบาง ศรีเมือง 1/19 และถนนโครงการกาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจาก ถนนราชพฤกษ์ - นนทบุรี 1 ที่บริเวณห่างจากถนนราชพฤกษ์ - นนทบุรี 1 บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 3021 ไปทางทิศตะวันออกตาม แนวถนน ราชพฤกษ์ - นนทบุรี 1 ระยะประมาณ 2,300 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะ ประมาณ 300 เมตร บรรจบกับซอยวัดพุฒิปรางค์ปราโมทย์ ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวซอยวัดพุฒิ ปรางค์ปราโมทย์ และซอยบางศรีเมือง 8 ระยะประมาณ 900 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 300 เมตร บรรจบกับซอยบางศรีเมื อง 1/19 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวซอยบางศรีเมือง 1/19 ระยะประมาณ 400 เมตร ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 700 เมตร จนบรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1020 ที่บริเวณ ห่างจากทางหลวงชนบท นบ. 1020 บรรจบกับถนนบางกรวย - ไทรน้อย ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 1020 ระยะประมาณ 800 เมตร ถนนสาย ข 18 เป็นถนนโครงการ กาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้น จาก ทางหลวงชนบท นบ. 1001 (ถนน สาย ฉ) ที่ บริเวณ ห่างจากทางหลวงชนบท นบ. 1026 (ถนนสาย ก 7 ) บรรจบกับ ทางหลวงชนบท นบ. 1001 (ถนนสาย ฉ) ไปทางทิศ ใต้ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 1001 (ถนนสาย ฉ) ระยะประมาณ 1,200 เมตร ไป ทาง ทิศตะวันออก เฉียงเหนือ ระยะประมาณ 2,200 เมตร บรรจบกับ ทางหลวงชนบท นบ. 5035 (ถนนสาย ค 7) ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท นบ. 1026 (ถนนสาย ก 7 ) บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 5035 (ถนนสาย ค 7) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนว ทางหลวงชนบท นบ. 5035 (ถนนสาย ค 7) ระยะประมาณ 1,000 เมตร ไปทางทิศตะวันออก ระยะประมาณ 1,800 เมตร จนบรรจบ กับซอยกานันสมจิตร ที่บริเวณห่างจาก ซอยกำนันสมจิตร บรรจบกับ ทางหลวงชนบท นบ. 1026 (ถนนสาย ก 7) ไปทางทิศตะวันออก เฉียงใต้ ตามแนวซอยกานันสมจิตร ระยะประมาณ 1,100 เมตร

7 ถนนสาย ข 19 เป็นถนนเดิมกำหนดให้ขยายเขตทาง คือ ถนนบางไผ่พัฒนา ซอยบางกรวย - ไทร น้อย 26 ซอยสุขมาก และ ถนนไม่ปรากฏชื่อ และถนนโครงการกาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจา ก ทางหลวงชนบท นบ. 1020 ไปทางทิศ ตะวันตกเฉียง ใต้ ตามแนวถนนบางไผ่พัฒนา ระยะประมาณ 9 00 เมตร บรรจบกับ ถนนไม่ปรากฏชื่อ ไปทางทิศ ตะวันตกเฉียง ใต้ ตามแนว ถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 90 0 เมตร บรรจบกับซอยบางกรวย - ไทรน้อย 26 ไปทาง ทิศตะวันตก และทิศตะวันออก เฉียง ใต้ ตามแนวซอยบางกรวย - ไทรน้อย 26 ระยะประมาณ 550 เมตร บรรจบกับซอยสุขมาก ไปทางทิศ ตะวัน ออ กเฉียง ใต้ ตามแนวซอยสุข มาก ระยะ ประมาณ 600 เมตร ไปทางทิศใต้ ระยะประมาณ 200 เมตร จนบรรจบกับถนนบางกรวย - ไทรน้อย ที่บริเวณห่างจากซอยบางกรวย - ไทรน้อย 20 บรรจบกับถนนบางกรวย - ไทรน้อย ไปทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนบางกรวย - ไทรน้อย ระยะประมาณ 300 เมตร ถนนสาย ข 20 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ถนนอัจฉริยะประสิทธิ์ 1 และถนนโครงการกาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท นบ. 1020 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนว ถนนเดิมระยะประมาณ 1,000 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 1,500 เมตร จนบรรจบ กับแนวเขต ผังเมืองรวมด้าน ใต้ 3. ถนนแบบ ค ขนาดเขตทาง 20.00 เมตร จานวน 8 สาย ดังนี้ ถนนสาย ค 1 เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกำหนดให้ขยายเขตทาง และถนนโครงการ กำหนดให้ก่อสร้าง ใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท นบ. 3004 (ถนนสาย ง 2) ที่บริเวณห่างจาก ทางห ลวงชนบท นบ. 3004 (ถนนสาย ง 2) บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 6 ไปทางทิศเหนือ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 3004 (ถนนสาย ง 2) ระยะประมาณ 5,000 เมตร ไปทางทิศตะวันตก ตามแนวถนนเดิม ระยะประมาณ 200 เมตร ไปทางทิศตะวันตก ระยะประมาณ 1,700 เมตร จนบรรจบกับ ทางหลวงชนบท นบ. 3015 (ถนนสาย จ 1) ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท นบ. 3015 (ถนนสาย จ 1) บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 0 ไปทาง ทิศตะวันตกและทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนว ทางหลวงชนบท นบ. 3015 (ถนนสาย จ 1) ระยะประมาณ 4,350 เมตร ถ นนสาย ค 2 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ซอยปลูกรัก และถนนโครงการ กำหนดให้ ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท นบ. 3004 (ถนนสาย ง 2) ที่ บริเวณห่างจาก ทางหลวงชนบท นบ. 3004 (ถนนสาย ง 2) บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 6 ไปทางทิศเหนือ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 3004 (ถนนสาย ง 2) ระยะประมาณ 3 , 100 เมตร ไปทางทิศตะวันตก ระยะประมาณ 1,000 เมตร บรรจบกับ ซอยปลูกรัก ไปทางทิศตะวันตก ตามแนว ซอยปลูกรัก ระยะประมาณ 800 เมตร ไปทางทิศตะวันตก ระยะประมาณ 700 เมตร จนบรรจบกับ ทางหลวงชนบท นบ. 3015 ( ถนน สาย จ 1) ที่บริเวณ ห่างจาก ทางหลวงชนบท นบ. 3015 ( ถนน สาย จ 1 ) บรรจบกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 0 ไปทางทิศ ตะวัน ตกและทิศตะวันตก เฉียงใต้ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 3015 ( ถนน สาย จ 1 ) ระยะประมาณ 6,320 เมตร ถนนสาย ค 3 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ทางหลวงชนบท นบ. 3032 และถนน โครงการกำหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจาก ถนน อบจ. นบ. 2044 (ถนนสาย ง 3) ไปทาง ทิศตะวันตก เฉียงเหนือ ตาม แนวทางหลวงชนบท นบ. 3032 ระยะประมาณ 2,200 เมตร บรรจบกับ คลองขุนศรี ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 2,300 เมตร จนบรรจบกับถนนสาย จ 1 ที่บริเวณ ห่างจาก ถนนสาย จ 1 บรรจบกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 1,000 เมตร

8 ถนนสาย ค 4 เป็นถนนเดิมกำหนดให้ขยายเขตทาง คือ ถนนเทศบาล 9 และถนนโครงการกาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากถนนบางกรวย - ไทรน้อย ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวถนนเดิม ระยะประมาณ 1,400 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 200 เมตร จนบรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท นบ. 1002 บรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนกาญจนาภิเษก ระยะประมาณ 400 เมตร ถนนสาย ค 5 เป็นถนนเดิมกำหนดให้ขยายเขตทาง คือ ถนนสามัคคี เริ่มต้นจาก ถนนติวานนท์ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนเดิม จนบรรจบกับถนนประชาชื่น ถนนสาย ค 6 เป็นถนนเดิมกำหนดให้ขยายเขตทาง คือ ซอยเทศบาล 5/5 และซอยบ้านนายดี และถนนโครงการกาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท นบ. 1026 (ถนนสาย ก 7) ไปทางทิศเหนือ ตามแนวซอยเทศบาล 5/5 ระยะประมาณ 300 เมตร ไปทางทิศเหนือ ระยะประมาณ 300 เมตร บรรจบกับซอยบ้ำนนายดี ไปทางทิศเหนือตามแนวซอยบ้านนายดี ระยะประมาณ 600 เมตร ไปทางทิศเหนือ ระยะ ประมาณ 600 เมตร จนบรรจบกับถนนสาย ข 16 ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข 16 บรรจบกับซอยกำนันสมจิตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวถนนสาย ข 16 ระยะประมาณ 1,500 เมตร ถนนสาย ค 7 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ทางหลวงชนบท นบ. 5035 เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท นบ. 1026 (ถนนสาย ก 7) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนเดิม จนบรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1001 ถนนสาย ค 8 เป็นถนนโครงการกา หนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจาก ทางหลวง ชนบท นบ. 1001 ที่ บริเวณห่างจาก ทางหลวงชนบท นบ. 1001 บรรจบกับ ถนนกาญจนาภิเษก ไปทางทิศตะวันตก เฉียงใต้ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 1001 ระยะประมาณ 5 , 0 00 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 1,000 เมตร จนบรรจบกับ ทางหลวงชนบท นบ. 1011 ที่บริเวณ ห่างจากทางหลวงชนบท นบ. 5014 บรรจบกับทางหลวงชนบท น บ. 1011 ไปทางทิศตะวันออก เฉียงใต้ ตามแนว ทางหลวงชนบท นบ. 1011 ระยะประมาณ 5 , 760 เมตร 4. ถนนแบบ ง ขนาดเขตทาง 30.00 เมตร จานวน 5 สาย ดังนี้ ถนนสาย ง 1 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ทางหลวงชนบท นบ. 3003 เริ่มต้นจากทาง หลวงแ ผ่นดินหมายเลข 340 ไปทางทิศเหนือ ตามแนวถนนเดิม จนบรรจบกับแนวเขต ผังเมืองรวมด้าน เหนือ ถนนสาย ง 2 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ทางหลวงชนบท นบ. 3 004 เริ่มต้นจาก ทาง หลว งแผ่นดินหมายเลข 340 ไปทางทิศใต้ ตามแนวถนนเดิม จนบรรจบกับทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 346 ถนนสาย ง 3 เป็นถนนเดิมกำหนดให้ขยายเขตทาง คือ ถนน อบจ. นบ. 2044 เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346 ไปทางทิศใต้ตามแนวถนนเดิม จนบรรจบกับทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3215 ถนนสาย ง 4 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ทางหลวงชนบท นบ. 1013 เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท นบ. 5027 (ถนนสาย ก 1) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนเดิม จนบรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก

9 ถนนสาย ง 5 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ทางหลวงชนบท นบ. 1009 และทางหลวงชนบท นบ. 5010 และถนนโครงการกาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากถนนกาญจนาภิเษก ไปทางทิศตะวันตก เฉียงเหนือและทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 1009 ระยะประมาณ 4,000 เมตร ไปทางทิศตะวันตก ระยะประมาณ 5,600 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 5027 ที่ บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท นบ. 1002 บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ . 5027 ไปทางทิศตะวันออก เฉียงใต้ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 5027 ระยะประมาณ 2 , 050 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 5010 ระยะประมาณ 4,100 เมตร จนบรรจบกับแนวเขตผังเมืองรวม ด้านทิศตะวันตก 5. ถนนแบบ จ ขนาดเขตทาง 40.00 เมตร จานวน 2 สาย ดังนี้ ถนนสาย จ 1 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ทางหลวงชนบท นบ. 3015 และถนนโครงการกาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ไปทางทิศตะวันตก และทิศตะวัน ตก เฉียงใต้ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 3015 ระยะประมาณ 7 ,800 เมตร บรรจบกับ ทางหลวงชนบท นบ. 5024 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 2,120 เมตร บรรจบกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346 ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท นบ. 3004 (ถนนสาย ง 2) บรรจบกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346 ไปทา งทิศตะวันตกตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346 ระยะประมาณ 3,800 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 2,450 เมตร บรรจบกับ ทางหลวงชนบท นบ. 3017 ที่บริเวณห่างจากคลองสว่างอารมณ์ บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 3017 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 3017 ระยะประมาณ 3,200 เมตร ไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 1,640 เมตร จนบรรจบกั บแนวเขตผังเมืองรวมด้าน ตะวันตก ถนนสาย จ 2 เป็นถนนเดิมกำหนดให้ขยายเขตทาง คือ ซอยบริสุทธิพงศ์ ซอยหมู่บ้านเดอะลีฟวิ่ง 2 ถนนไม่ปรากฏชื่อ และถนนโครงการกำหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ที่บริเวณห่างจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 บรรจบกับ ถนนกาญจนาภิเษก ไปทางทิศตะวันตกเฉียง เหนือ ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ระยะประมาณ 2,200 เมตร ไปทางทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 1,350 เมตร บรรจบกับ ถนนไม่ปรากฏชื่อ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 700 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 400 เมตร บรรจบกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ที่บริเวณ ห่างจาก ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3215 บรรจบกับ ถนนกาญจนาภิเษก ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตามแนวทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3215 ระยะประมาณ 2 , 850 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวถนน บริสุทธิพงศ์ ระยะประมาณ 800 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 170 เมตร บรรจบกับ ซอยหมู่บ้าน เดอะลีฟวิ่ง 2 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวซอยหมู่บ้านเดอะลีฟวิ่ง 2 ระยะประมาณ 400 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ที่ บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) บรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ระยะประมาณ 3 , 400 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศใต้ ระยะประมาณ 1,800 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1002 ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท นบ. 1002 บรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก ไปทาง ทิศตะวันตกตามแนวถนนทางหลวงชนบท นบ. 1002 ระยะประมาณ 2 , 900 เมตร ไปทางทิศใต้ ระยะประมาณ 1,700 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท .

10 นบ. 100 9 (ถนนสาย ง 5) ที่บริเวณทางหลวงชนบท นบ. 10 09 (ถนนสาย ง 5) บรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก ไปทาง ทิศตะวันตก เฉียงเหนือ ตามแนวถนนทางหลวงชนบท นบ. 10 09 (ถนนสาย ง 5) ระยะประมาณ 3,000 เมตร ไปทางทิศใต้ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 4,800 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1026 (ถนนสาย ก 7 ) ที่บริเวณ ห่างจาก ทางหลวงชนบท นบ. 1026 (ถนนสาย ก 7 ) บรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก ไปทางทิศตะวันตก ตามแนวถนนทางหลวงชนบท นบ. 1026 (ถนนสาย ก 7) ระยะประมาณ 2 , 750 เมตร ไปทาง ทิศตะวัน ตก เฉียงใต้และทิศตะวัน ออก เฉียงใต้ ระยะประมาณ 3,000 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1011 ที่บริเวณ ห่างจาก ทางหลวงชนบท นบ. 1011 บรรจบกับ ถนนกาญจนาภิเษก ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนว ทางหลวงชนบท นบ. 1011 ระยะประมาณ 2 , 950 เมตร ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 1,200 เมตร จน บรรจบกับแนวเขตผังเมืองรวมด้าน ใต้ 6 . ถนนแบบ ฉ ขนาดเขตทาง 50.00 เมตร จานวน 1 สาย ดังนี้ ถนนสาย ฉ เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ทางหลวงชนบท นบ. 1001 และถนนไม่ปรากฏชื่อ และถนนโครงการกาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากคลองลากค้อน ที่ บริเวณ ห่างจาก คลองลากค้อน บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมา ยเลข 340 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวคลองลากค้อน ระยะประมาณ 740 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 3 , 750 เมตร บรรจบกับทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3215 ที่บริเวณห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 บรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 ระยะประมาณ 7 ,07 0 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะ ประมาณ 1 , 000 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 500 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ที่บริเวณห่างจา ก ทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) บรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 1013 (ถนนสาย ง 4) ระยะประมาณ 7,730 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 1,750 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ และทิศใต้ ระยะประมาณ 1 0 , 9 00 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1026 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 1001 ระยะประมาณ 3 , 1 00 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 1 , 000 เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 1011 ที่บริเวณทางหลวงชนบท นบ. 1011 บรรจบกับทางหลวงชนบท นบ. 5014 ไปทางทิศตะวันออก เฉียง ใต้ ตามแนวทางหลวงชนบท นบ. 1011 ระยะประมาณ 4 , 3 00 เมตร ไปทางทิศใต้ ระยะประมาณ 65 0 เมตร จนบรรจบกับแนวเขตผังเมืองรวม ด้าน ใต้