Thu Feb 23 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศคณะกรรมการธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ เรื่อง หลักสูตรการฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ สำหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2566


ประกาศคณะกรรมการธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ เรื่อง หลักสูตรการฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ สำหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2566

ประกาศคณะกรรมการธุรกิจนาเที่ยวและมัคคุเทศก์ เรื่อง หลักสูตรการฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2566 โดยที่กฎกระทรวงการอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2561 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 18 เมษายน 2562 ได้กาหนดประเภทใบอนุญาต หลักเกณฑ์และวิธีการในการขอรับและการออก ใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต แต่ปรากฏว่า มีผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์จานวนหนึ่ง ไม่ได้มาต่ออายุใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ภายใน ระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดทาให้ใบอนุญาตสิ้นสุด และ ไม่สามารถปฏิบัติงานเป็นมัคคุเทศก์ได้ ด้วยมีเหตุจาเป็น อาทิ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ( COVID - 19) หรือไม่ได้รับข่าวสารการอบรมเปลี่ยนผ่านประเภทมัคคุเทศก์ เป็นต้น ดังนั้น เพื่อให้ผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และทักษะในการเป็นมัคคุเทศก์ สามารถเข้ารับการอบรมเพิ่มพูนองค์ความรู้ และทักษะสาหรับ อาชีพเพิ่มเติมในระยะสั้น และสามารถนาวุฒิบัตรผ่านการฝึกอบรมไปประกอบการขอรับใบอนุ ญาต เป็นมัคคุเทศก์ได้ ซึ่งเป็นการสนับสนุนอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวภายในประเทศ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 50 (1) (ค) แห่งพระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวและ มัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติธุรกิจนาเที่ยวและมัคคุเทศก์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ในการกาหนดหลักสูตรการฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ทั่วไป สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาต เป็นมัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) และหลักสูตรการฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค (ภาคกลาง/ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ภาคใต้/ภาคเหนือ) สำหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุ เทศก์เฉพาะ คณะกรรมการธุรกิจนาเที่ยวและมัคคุเทศก์ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศคณะกรรมการธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ เรื่อง หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2566 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศคณะกรรมการธุรกิจนาเที่ยวและมัคคุเทศก์ เรื่อง หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ทั่วไป สาหรับมัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) ที่ใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์สิ้นสุด และ ห ลักสูตรการฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค (ภาคกลาง/ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ภาคใต้/ ภาคเหนือ) สาหรับมัคคุเทศก์เฉพาะที่ใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์สิ้นสุด พ.ศ. 2564 ข้อ 4 หลักสูตรการฝึกอบรมให้เป็นไปตามรายละเอียดของหลักสูตรการฝึกอบรมวิชา มัคคุเทศก์ทั่วไป สาหรับผู้ ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) และหลักสูตรการฝึกอบรม วิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค (ภาคกลาง/ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ภาคใต้/ภาคเหนือ) สาหรับผู้ที่เคย ได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ แนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 5 สถาบันการศึกษาที่ได้รับความเห็นชอบเป็นสถานฝึกอบรมหลักสูตรวิชามัคคุเทศก์ และหลักสูตรผู้นาเที่ยวจากคณะกรรมการธุรกิจนาเที่ยวและมัคคุเทศก์สามารถจัดฝึกอบรมหลักสูตรนี้ได้ ้ หนา 50 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 45 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 กุมภาพันธ์ 2566

โดยให้ยื่นคำขอต่ออธิบดีกรมการท่องเที่ยว เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ ตามหลักเกณฑ์ วิธีกา ร และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมการท่องเที่ยวประกาศกำหนด ข้อ 6 ผู้ผ่านการฝึกอบรมตามหลักสูตรแนบท้ายประกาศนี้ให้ได้รับวุฒิบัตร เพื่อใช้ในการยื่น ขอรับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ได้เพียงครั้งเดียว วุฒิบัตรตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นตามแบบที่อธิบดีกาหนด ข้อ 7 ผู้ที่ได้รับวุฒิ บัตรตามประกาศนี้ สามารถใช้วุฒิบัตรยื่นขอเข้ารับการทดสอบความรู้ ความสามารถในการเป็นมัคคุเทศก์ได้ตามที่คณะกรรมการธุรกิจนาเที่ยวและมัคคุเทศก์กาหนด ข้อ 8 ผู้ที่ได้รับวุฒิบัตรตามประกาศคณะกรรมการธุรกิจนาเที่ยวและมัคคุเทศก์ เรื่อง หลักสูตรการฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ทั่วไป สาหรับมัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) ที่ใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ สิ้นสุด และหลักสูตรการฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค (ภาคกลาง/ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ ภาคใต้/ภาคเหนือ) สาหรับมัคคุเทศก์เฉพาะที่ใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์สิ้นสุด พ.ศ. 2564 ให้ถือว่า เป็นผู้ที่ได้รับวุฒิบัตรตามประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25 6 6 อารัญ บุญชัย ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ประธานกรรมการธุรกิจนาเที่ยวและมัคคุเทศก์ ้ หนา 51 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 45 ง ราชกิจจานุเบกษา 24 กุมภาพันธ์ 2566

หลักสูตรการฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ ทั่วไป สำหรับ ผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ ทั่วไป สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) 1 หลักสูตรการฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ ทั่วไป สำหรับ ผู้ ที่ เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ ทั่วไป (ไทย ) ( จำนวนชั่วโมงตลอดหลักสูตร 30 ชั่วโมง) ------------------------------------------------ 1 . ชื่อหลักสูตร หลักสูตรการฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ ทั่วไป สำหรับ ผู้ ที่ เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ ทั่วไป (ไทย) 2 . หน่วยงานที่รับผิดชอบ กองทะเบียนธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 3 . ความเป็นมาและ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 3 . 1 ความเป็นมา หลักสูตร นี้ จัดทาขึ้นเพื่อช่วยเหลือเยียวยา ผู้ที่เคย ได้รับ ใบอนุญาตเป็น มัคคุเทศก์ และใบอนุญาต เป็นมัคคุเทศก์ได้สิ้นสุด เนื่องจากไม่ได้ ต่ออายุใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ ตามระยะเวลาที่ กฎหมายกาหนด จึงส่งผลให้ใบอนุญำต เป็น มัคคุเทศก์สิ้นสุดลง ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่เป็นมัคคุเทศก์ได้อีกต่อไป ซึ่งคณะกรรมการธุรกิจนาเที่ยวและมัคคุเทศก์ประกาศกาหนด หลักสูตรนี้ ขึ้น โดยอาศัยอานาจ พระราชบัญญัติ ธุรกิจนำเที่ยว และมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 มาตรา 50 (1) (ค) ในการกาหนดหลักสูตร ฝึกอบรม เพื่อใ ห้ ผู้ ที่เคย ได้รับ ใบอนุญาต เป็น มัคคุเทศก์ ได้รับการเพิ่ มเติมองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะอาชีพ และความรู้ ภาษาต่างประเทศ ที่มีความทันสมั ย สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพ ให้ มัคคุเทศก์สามารถนาไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม และ สามารถ ยื่นขอใบอนุญาต เป็นมัคคุเทศก์ได้อีก ครั้ง 3 . 2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อเป็น หลักสูตรการฝึกอบรม วิชามัคคุเทศก์ ทั่วไป สาหรับ ผู้ ที่ เคย ได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ ทั่วไป (ไทย) และใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์สิ้น สุด ลง 3 . 3 ภาษาที่ใช้ในการฝึกอบรม ภาษาไทย และ/หรือภาษาต่างประเทศ 4 . คุณสมบัติของผู้ประสงค์ เข้ารับการฝึกอบรม ผู้ ประสงค์เข้ารับการฝึกอบรมจะต้อง เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ โดยมีคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ 4.1 เป็นผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) แล ะใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ สิ้นสุ ด 4.2 เป็นผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ทั่วไป ซึ่งเปลี่ยนผ่านมาจากมัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) และใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์สิ้น สุด 4.3 เป็นผู้ ที่ เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ทั่วไป จากการอบรมหลักสูตรการฝึกอบรม วิชามัคคุเทศก์ทั่วไป สำหรับมัคคุเทศก์ทั่ วไป (ไทย) ที่ ใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์สิ้นสุด พ.ศ. 2564 และใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์สิ้น สุด 5 . กำหนดระยะเวลาของหลักสูตร กำหนดระยะเวลาการฝึกอบรมตลอดหลักสูตร จำนวน 30 ชั่วโมง

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ ทั่วไป สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) 2 6 . การประเมินผลการฝึกอบรม/การรับรองผลการฝึกอบรม 6 .1 การประเมินผลการฝึกอบรม ใช้เกณฑ์ตัดสินว่า “ ผ่าน ” หรือ “ ไม่ผ่าน ” สาหรับเกณฑ์ “ ผ่าน ” ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะต้องเข้ารับการทดสอบก่อนเรียน ( Pre - Test ) และ ผ่านการทดสอบหลังเรียน ( Post - Test ) และจะต้องเข้ารับการฝึกอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 8 0 ของชั่วโมง การฝึกอบรมทั้งหมด 6 .2 การรับรองผลการฝึกอบรม ผู้ ผ่านการประเมินผลการฝึกอบรม จะได้รับ วุฒิ บัตรว่าได้ผ่านการฝึกอบรม วิชามัคคุเทศก์ทั่วไป สาหรับ ผู้ ที่ เคย ได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ จากสถาบันการศึกษา ที่ได้รับความเห็นชอบเป็นสถานฝึกอบรม ห ลักสูตรวิชามัคคุเทศก์จากคณะกรรมการธุรกิจนาเที่ยวและมัคคุเทศก์ เพื่อนาไปประกอบการขอรับใบอนุญาต เป็นมัคคุเทศก์ทั่วไป สถานฝึกอบรมหลักสูตรวิชามัคคุเทศก์ ที่ได้รับความเห็นชอบให้จัดการฝึกอบรมจะต้องส่งรายชื่อ ผู้สาเร็จการฝึกอบร ม พร้อมเอกสารหลักฐาน ใ ห้กรมการท่องเที่ยวตรวจสอบทุกครั้ง และให้ สถานฝึกอบรมหลักสูตร วิชามัคคุเทศก์ ออกวุฒิบัตรให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เพื่อการกากับควบคุม มาตรฐานการฝึกอบรม ป้องกัน การปลอมแปลงวุฒิบัตร โดยแบบวุฒิบัตรให้เป็นไปตามแบบที่กรมการท่อง เที่ยวกำหนด 7 . โครงสร้างของหลักสูตร และการจัดหมวดหมู่ของหัวข้อวิชา 7 .1 โครงสร้างของหลักสูตร หมวด 1 ความรู้ทางวิชำการทั่วไป ไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง - ประกอบด้วยวิชา 1 วิชา หมวด 3 ความรู้และ ทักษะเฉพาะอาชีพ ไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง - ประกอบด้วยวิชา 2 วิชา หมวด 4 ความรู้ ภาษาต่างประเทศ ไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง - ประกอบด้วยวิชาต่าง ๆ รวม 4 วิชา

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ ทั่วไป สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) 3 7 .2 การจัดหมวดหมู่ของหัวข้อวิชา โดยแบ่งเป็น 3 หมวด ดังนี้ หมวด 1 ความรู้ทางวิชาการทั่วไป ไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง (1) อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและนโยบายการส่งเสริมการท่องเที่ยวของรัฐ และกฎหมายว่าด้วยธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 3 ชั่วโมง หมวด 3 ความรู้และทักษะเฉพาะอาชีพ ไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง (1) บทบาทหน้าที่ ของมัคคุเทศก์ และการให้บริการ ท่องเที่ยว ในรูปแบบวิถีใหม่ 2 ชั่วโมง (2) การสื่อความหมายด้านการท่องเที่ยว 1 ชั่วโมง หมวด 4 ความรู้ ภาษาต่างประเทศ ไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง (1) ศัพท์เทคนิคและสำนวนในงานมัคคุเทศก์ 6 ชั่วโมง (2) การสนทนาและการสื่อสารกับนักท่องเที่ยว 6 ชั่วโมง (3) การบรรยายและนำชมสถานที่ท่องเที่ยว 6 ชั่วโมง (4) การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า 6 ชั่วโมง 8 . การกำหนดวัตถุประสงค์ คาอธิบายรายวิชา และเทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา * รหัสวิชาเป็นไปตามเกณฑ์การกำหนดรหัสวิชาของกรมการท่องเที่ยว หมวด 1 ความรู้ทางวิชาการ ทั่วไป รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 611 - 01 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและนโยบายการส่งเสริม การท่องเที่ยวของรัฐ และกฎหมายว่าด้วยธุรกิจ นำเที่ยว และมัคคุเทศก์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 3 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและนโยบายการส่งเสริมการท่องเที่ยวของรัฐ และกฎหมายว่าด้วยธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ และกฎหมายที่เกี่ ยวข้องแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามาร ถ 1 . อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวได้ 2 . อธิบายสถานการณ์ ของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว นโยบายการส่งเสริมและสนับสนุน การท่องเที่ยวของรัฐบาล และแนวโน้มและทิศทางของการท่องเที่ยวในอนาคตได้ 3 . ระบุและอธิบายพระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติมได้ 4 . ระบุและอธิบายกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานมัคคุเทศก์ได้

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ ทั่วไป สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) 4 เนื้อหา ประกอบด้วย 1 . ความเป็นมาของการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 2 . ความหมาย ความสำคัญ และบทบาทของการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 3 . ความหมายและประเภทของนักท่องเที่ยว 4 . ผลกระทบของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวต่อเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม 5 . องค์ประกอบของการท่องเที่ยว 6 . ปัจจัยสนับสนุนการท่องเที่ยว 7 . รูปแบบการท่องเที่ยวเพื่อการพักผ่อน เพื่อธุรกิจ การท่องเที่ยวโดยชุมชน และการท่องเที่ยว เฉพาะทาง 8 . สถานการณ์ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 9 . นโยบายการส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยว ของรัฐบาล 10 . แนวโน้มและทิศทางของการท่องเที่ยวในอนาคต และการส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 11 . การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ และ โรคอุบัติใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว 12 . พระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 13 . กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากรและศุลกากร 14 . กฎหมายเกี่ยวกับการคมนาคมขนส่ง 15 . กฎหมาย สิ่งแวดล้อม และกฎระเบียบต่าง ๆ เกี่ยวกับการคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติ 16 . กฎหมายที่เกี่ยวกับโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ 17 . กฎหมายเกี่ยวกับโรงแรมและสถานบริการ 18 . กฎหมายแรงงาน 19 . กฎหมายเกี่ยวกับการตรวจคนเข้าเมือง 20 . กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค 21 . กฎหมายเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน 22 . กฎหมายว่าด้วยการควบคุมเครื่องเล่น เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หมายเหตุ 1. เป็นการศึกษากฎหมายใน 2 แง่มุม ได้แก่ การปกป้องผลประโยชน์ของตนและการใช้ปฏิบัติ ต่อนักท่องเที่ยวได้อย่างถูกต้อง 2. เน้นการสอนหลักของกฎหมายเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดจิตสานึกและอธิบายให้เข้าใจ ถึงเหตุผล ความจำเป็นของการกำหนดข้อกฎหมายนั้น 3. ควรรวบรวมรายละเอียดต่าง ๆ ของกฎหมายที่เกี่ยวข้อ งแจกประกอบในการอบรม เพื่อให้ เป็นคู่มือศึกษาด้วยตนเองและใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการปฏิบัติงาน

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ ทั่วไป สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) 5 หมวด 3 ความรู้และทักษะเฉพาะอาชีพ รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า ค 1 บทบาทหน้าที่ของมัคคุเทศก์ และการให้บริการ ท่องเที่ยว ในรูปแบบวิถีใหม่ 2 วัตถุประส ง ค์ เมื่อศึ กษาวิชา บทบาทหน้าที่ของมัคคุเทศก์ และการให้บริการ ท่องเที่ยว ในรูปแบบวิถีใหม่ จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1. อธิบายบทบาท จรรยาบรรณ ความสำคัญ และผลกระทบของมัคคุเทศก์ ต่ออุตสาหกรรม กา ร ท่องเที่ยว และการให้บริการ ท่องเที่ยว ในรูปแบบวิถีใหม่ ได้ 2. อธิบาย รูปแบบการท่องเที่ยวในสถานการณ์ปัจจุบัน ได้ 3. อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนักท่องเที่ยวในสถานการณ์ปัจจุบันได้ 4. นำความรู้ด้านเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อการท่องเที่ยวได้ 5. ระบุข้อควรปฏิบัติเพื่อเตรียมความพร้อมและป้องกันโรคอุบัติใหม่ได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1 . บทบาท จรรยาบรรณ ความสาคัญ และผลกระทบของมัคคุเทศก์ต่ออุตสาหกรรม การท่องเที่ยว 2 . การปรับเปลี่ยนรูปแบบการท่องเที่ยวในสถานการณ์ปัจจุบัน 3 . การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนักท่องเที่ยวในสถานการณ์ปัจจุบัน 4 . เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการท่องเที่ยว 5 . มัคคุเทศก์กับการเตรียมความพร้อมและป้องกันโรคอุบัติใหม่ เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ ทั่วไป สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) 6 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า ค 12 การสื่อความหมายด้านการท่องเที่ยว 1 วัตถุประส ง ค์ เมื่อศึกษาวิชาการสื่อความหมายด้านการท่องเที่ยวจบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1. อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการสื่อความห มา ยทางการท่องเที่ยวได้ 2. ระบุเทคนิคการสื่อความหมายทางการท่องเที่ยวได้ 3. อธิบายการออกแบบรายการนำเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ได้ 4. อธิบายวิธีการสร้างใจความหลัก ( Theme ) เพื่อถ่ายทอดเรื่องรา ว ได้ 5. ระบุวิธีการจัดนันทนาการเพื่อการนำเที่ยวได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. ความห มา ยความสำคัญและบทบาทของการสื่อความหมาย 2. หลักการสื่อความหมายอย่างมีคุณภาพ 3. คุณลักษณะของการสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ 4. เทคนิคการสื่อความหมายทางการท่องเที่ยว 5. การสร้างใจความหลัก ( Theme ) เพื่อถ่ายทอดเรื่องรายได้ 6. นันทนาการเพื่อการนำเที่ยวได้ เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ ทั่วไป สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) 7 หมวด 4 ความรู้ ภาษาต่างประเทศ รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 614 - 01 ศัพท์เทคนิคและสำนวนในงานมัคคุเทศก์ 6 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาศัพท์เทคนิคและสานวนในงานมัคคุเทศก์จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ ใช้คำศัพท์และสำนวนภาษาต่างประเทศในงานมัคคุเทศก์ได้ เนื้อหา ประกอบด้วย 1 . คำศัพท์และสำนวนภาษาต่างประเทศสำหรับการรับเข้าและส่งออกนักท่องเที่ยว 2 . คาศัพท์และสำนวนภาษาต่างประเทศสำหรับการติดต่อและประสานงานกับผู้นำเที่ยว และบุคคลที่เกี่ยวข้อง 3 . คำศัพท์และสำนวนภาษาต่างประเทศสาหรับการให้ข้อมูลเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ และสังคมไทย 4 . คำศัพท์และสำนวนภาษาต่างประเทศสำหรับการให้ข้อมูลเกี่ยวกับศิลป ะ และวัฒนธรรมไทย เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา การบรรยาย และฝึกปฏิบัติ

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ ทั่วไป สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) 8 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 614 - 02 การสนทนาและการสื่อสารกับนักท่องเที่ยว 6 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาการสนทนาและการสื่อสารกับนักท่องเที่ยวจบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ ใช้ภาษาต่างประเทศในการสนทนาและสื่อสารกับนักท่องเที่ยวในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ เนื้อหา ประกอบด้วย 1 . การสนทนาเกี่ยวกับการต้อนรับ การทักทาย การแนะนำตัว และการนัดหมาย 2 . การสนทนาบนรถโดยสารนำเที่ยวและในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการเดินทางท่องเที่ยว 3 . การสื่อสารและให้ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทยแก่นักท่องเที่ยว 4 . การตอบข้อซักถามของนักท่องเที่ยว เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา การบรรยาย และฝึกปฏิบัติ

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ ทั่วไป สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) 9 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 614 - 03 การบรรยายและนำชมสถานที่ท่องเที่ยว 6 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาการบรรยายและการนาชมสถานที่ท่องเที่ยวจบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ ใช้ภาษาต่างประเทศในบรรยายและนำชมสถานที่ท่องเที่ยวได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1 . การบรรยายเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมไทย 2 . การบรรยายเกี่ยวกับศาสนาพุทธ และพระพุทธรูปในสมัยต่าง ๆ 4 . การบรรยายเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย 5 . การบรรยายเกี่ยวกับอาหารและหัตถกรรมไทย 6 . การนำชมวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และพระบรมมหาราชวัง เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา การบรรยาย และฝึกปฏิบัติ

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ ทั่วไป สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) 10 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 614 - 04 การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า 6 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าจบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถใช้ภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสาร และแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างเหมาะสม เนื้อหา ประกอบด้วย 1 . การสื่อสารเพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับยานพาหนะและการเดินทาง 2 . การสื่อสารเพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับที่พักแรม 3 . การสื่อสารเพื่อแก้ไขปัญหาในสถานที่ท่องเที่ยว 4 . การสื่อสารเพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเข้าใช้บริการในร้านอาหาร ร้านจำหน่ายของที่ระลึก และสื่อสารกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5 . การสื่อสารเพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับอุบัติเหตุ และการเจ็บป่วย 6 . การสื่อสารเพื่อแก้ไขปัญหาในสถานการณ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการเดินทางท่องเที่ยว เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา การบรรยาย และฝึกปฏิบัติ

กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา หลักสูตรการฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์ เฉพาะภูมิภาค (ภาคกลาง/ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ภาคใต้/ภาคเหนือ) สำหรับ ผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ เฉพาะ

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 1 หลักสูตรการฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค (ภาคกลาง/ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ภาคใต้/ภาคเหนือ) สำหรับ ผู้ ที่ เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ เฉพาะ ( จำนวนชั่วโมงตลอดหลักสูตร 30 ชั่วโมง) ------------------------------------------------ 1 . ชื่อหลักสูตร หลักสูตรการฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค (ภาคกลาง/ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ภาคใต้/ ภาคเหนือ) สำหรับ ผู้ ที่ เคยได้รับใบอนุญาตเป็น มัคคุเทศก์ เฉพาะ 2 . หน่วยงานที่รับผิดชอบ กองทะเ บียนธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 3 . ความเป็นมาและ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 3 . 1 ความเป็นมา หลักสูตร นี้ จัดทาขึ้นเพื่อช่วยเหลือเยียวยา ผู้ที่เคย ได้รับ ใบอนุญาตเป็น มัคคุเทศก์ และใ บอนุญาต เป็นมัคคุเทศก์ได้สิ้นสุด เนื่องจากไม่ได้ ต่ออายุใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ ตามระยะเวลาที่ กฎหมายกาหนด จึงส่งผลให้ ใบอนุญำต เป็น มัคคุเทศก์สิ้นสุดลง ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่เป็นมัคคุเทศก์ได้อีกต่อไป ซึ่งคณะกรรมการธุรกิจนาเที่ยวและมัคคุเทศก์ประกาศกาหนดหลักสูตรนี้ขึ้น โดยอาศัยอานาจพระราชบัญญัติ ธุรกิจนำเที่ยว และมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 มาตรา 50 (1) (ค) ในการกาหนดหลักสูตร ฝึกอบรม เพื่อใ ห้ ผู้ที่เคย ได้รับ ใบอนุญาต เป็น มัคคุเทศก์ ได้รับการเพิ่มเติมองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะอาชีพ และ ความรู้เฉพาะภูมิภาคนั้น ๆ ที่มีความทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพ ให้ มัคคุเทศก์สามารถนาไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม และ สามารถ ยื่นขอใบอนุญาต เป็นมัคคุเทศก์ได้อีกครั้ง ตามภูมิภาคที่ผ่านการฝึกอบรม ดังต่อไปนี้ ภาคกลาง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดกาญจนบุรี ชัยนาท นครนายก นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี ประ จวบคีรีขันธ์ พระนครศรีอยุธยำ เพชรบุรี รำชบุรี ลพบุรี สมุทรปราการ ส มุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบุรี สิงห์บุรี สุ พรรณบุรี อ่าง ทอง จันทบุรี ฉ ะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด ป ราจีนบุรี ระยอง และ สระแก้ว รวม 26 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บุรีรัมย์ บึงกาฬ มหาสารคาม มุ กดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด เ ลย ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร์ ห นองคาย หนองบัวลาภู อานาจเจริญ อุดรธานี และอุบลราชธานี รวม 20 จังหวัด ภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดกระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี พังงา พัทลุง ภูเก็ต ยะลา ระนอง สงขลา ส ตูล และสุราษฎร์ธานี รวม 14 จังหวัด ภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดกาแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แ พร่ แม่ฮ่องสอน ลำ ปาง ลำพูน สุโ ขทัย อุตรดิตถ์ และอุทัยธานี รวม 17 จังหวัด

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 2 3 . 2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อเป็น หลักสูตรการฝึกอบรม วิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค (ภาคกลาง/ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ ภาคใต้/ภาคเหนือ) สำหรับ ผู้ ที่ เคย ได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ เฉพาะ และใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ได้สิ้น สุด ลง 3 . 3 ภาษาที่ใช้ในการฝึกอบรม ภาษาไทย และ/หรือภาษาต่างประเทศ 4 . คุณสมบัติของผู้ประสงค์ เข้ารับการฝึกอบรม ผู้ประสงค์เข้ารับการฝึกอบรมจะต้อง เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ โดยมีคุณสมบัติข้อใด ข้อหนึ่ง ดังนี้ 4.1 เป็นผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ เฉพาะ แล ะ ใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ สิ้นสุด 4.2 เป็นผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ เฉพาะภูมิภาค ซึ่งเปลี่ยนผ่านมาจากมัคคุเทศก์ เฉพาะ แ ละใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์สิ้น สุด 4.3 เป็นผู้ ที่ เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ เฉพาะภูมิภาค จากการอบรมหลักสูตรการฝึกอบรม วิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สำหรับมัคคุเทศก์ เฉพาะ ที่ใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์สิ้นสุด พ.ศ. 2564 แ ละใบ อนุญาตเป็นมัคคุเทศก์สิ้น สุด 5 . กำหนดระยะเวลาของหลักสูตร กำหนดระยะเวลาการฝึกอบรมตลอดหลักสูตร จำนวน 30 ชั่วโมง 6 . การประเมินผลการฝึกอบรม/การรับรองผลการฝึกอบรม 6 .1 การประเมินผลการฝึกอบรม ใช้เกณฑ์ตัดสินว่า “ ผ่าน ” หรือ “ ไม่ผ่าน ” สาหรับเกณฑ์ “ ผ่าน ” ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะต้องเข้ารับการทดสอบก่อนเรียน ( Pre - Test ) และ ผ่านการทดสอบหลังเรียน ( Post - Test ) และจะต้องเข้า รับการฝึกอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 8 0 ของ ชั่วโมง การฝึกอบรมทั้งหมด 6 .2 การรับรองผลการฝึกอบรม ผู้ ผ่านการประเมินผลการฝึกอบรม จะได้รับ วุฒิ บัตรว่าได้ผ่านการฝึกอบรม วิชามัคคุเทศก์เฉพาะ ภูมิภาค (ภาคกลาง/ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ภาคใต้/ภาคเหนือ) สาหรับผู้ ที่ เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ จากสถาบันการศึกษาที่ได้รับความเห็นชอบเป็นสถานฝึกอบรมหลักสูตรวิชามัคคุเทศก์จากคณะกรรมการธุรกิจ นำ เที่ยวและมัคคุเทศก์ เพื่อนำไปประกอบการขอรับ ใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สถานฝึกอบรมหลักสูตรวิชามัคคุเทศก์ ที่ได้รับความเห็นชอบให้จัดการฝึกอบรมจะต้องส่งรายชื่อ ผู้สาเร็จการฝึกอบรม พร้อมเอกสารหลักฐาน ใ ห้กรมการท่องเที่ยวตรวจสอบทุกครั้ง และให้ สถานฝึกอบรมหลักสูตร วิชามัคคุเทศก์ ออกวุฒิบัตรให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เพื่อการกากับควบคุม มาตรฐานการฝึกอบรม ป้องกัน การปลอมแปลงวุฒิบัตร โดยแบบวุฒิบัตรให้เป็นไปตามแบบที่กรมการท่อง เที่ยวกำหนด

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 3 7 . โครงสร้างของหลักสูตร และการจัดหมวดหมู่ของหัวข้อวิชา 7 .1 โครงสร้างของหลักสูตร หมวด 1 ความรู้ทางวิชาการทั่วไป ไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง - ประกอบด้วยวิชา 1 วิชา หมวด 2 ความรู้ทางวิชาการเฉพาะภูมิภาค ไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง - ประกอบด้วยวิชาต่าง ๆ รวม 7 วิชา หมวด 3 ความรู้และ ทักษะเฉพาะอาชีพ ไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง - ประกอบด้วยวิชา 2 วิชา 7 .2 การจัดหมวดหมู่ของหัวข้อวิชา โดยแบ่งเป็น 3 หมวด ดังนี้ หมวด 1 ความรู้ทางวิชาการทั่วไป ไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง (1) อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและนโยบายการส่งเสริมการท่องเที่ยวของรัฐ และกฎหมายว่าด้วยธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 3 ชั่วโมง หมวด 2 ความรู้ทางวิชาการเฉพาะภูมิภาค (เลือก 1 ภูมิภาค) ไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง (1) ภูมิศาสตร์ท้องถิ่น 3 ชั่วโมง (2) ประวัติศาสตร์ โบราณคดี และวรรณกรรมท้องถิ่น 6 ชั่วโมง (3) ทรัพยากรการท่องเที่ยวท้องถิ่น 6 ชั่วโมง (4) ศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่น 3 ชั่วโมง (5) กลุ่มชาติพันธุ์และชุมชนท้องถิ่น 3 ชั่วโมง (6) สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกท้องถิ่น 1 ชั่วโมง (7) รูปแบบการท่องเที่ยวเฉพาะท้องถิ่น 2 ชั่วโมง หมวด 3 ความรู้และทักษะเฉพาะอาชีพ ไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง (1) บทบาทหน้าที่ของมัคคุเทศก์ และการให้บริการ ท่องเที่ยว ในรูปแบบวิถีใหม่ 2 ชั่วโมง (2) การสื่อความหมายด้านการท่องเที่ยว 1 ชั่วโมง

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 4 8 . การกำหนดวัตถุประสงค์ คาอธิบายรายวิชา และเทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา หมวด 1 ความรู้ทางวิชาการ ทั่วไป รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 712 - 01 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและนโยบายการส่งเสริม การท่องเที่ยวของรัฐ และกฎหมายว่าด้วยธุรกิจนำเที่ยว และมัคคุเทศก์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 3 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและนโยบายการส่งเสริมการท่องเที่ยวของรัฐ และ กฎหมายว่าด้วยธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องแล้ว ผู้เข้ารับการฝึ กอบรมสามารถ 1. อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวได้ 2. อธิบายสถานการณ์ของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว นโยบายการส่งเสริมและสนับสนุน การท่องเที่ยวของรัฐบาล และแนวโน้มและทิศทางของการท่องเที่ยวในอนาคตได้ 3. ระบุและอธิบายพระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติมได้ 4. ระบุและอธิบายกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานมัคคุเทศก์ได้ เนื้อหา ประกอบด้วย 1 . ความเป็นมาของการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 2 . ความหมาย ความสำคัญ และบทบาทของการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 3 . ความหมายและประเภทของนักท่องเที่ยว 4 . ผลกระทบของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวต่อเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม 5 . องค์ประกอบของการท่องเที่ยว 6 . ปัจจัยสนับสนุนการท่องเที่ยว 7 . รูปแบบการท่องเที่ยวเพื่อการพักผ่อน เพื่อธุ รกิจ การท่อ งเที่ยวโดยชุมชน และการท่องเที่ยว เฉพาะทาง 8 . สถานการณ์ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 9 . นโยบายการส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวของรัฐบาล 10 . แนวโน้มและทิศทางของการท่องเที่ยวในอนาคต และการส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 11 . การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ และโรคอุบัติใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว 12 . พระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 13 . กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากรและศุลกากร 14 . กฎหมายเกี่ยวกับการคมนาคมขนส่ง 15 . กฎหมาย สิ่งแวดล้อม และกฎระเบียบต่าง ๆ เกี่ยวกับการคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติ

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 5 16 . กฎหมายที่เกี่ยวกับโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ 17 . กฎหมายเกี่ยวกับโรงแรมและสถานบริการ 18 . กฎหมายแรงงาน 19 . กฎหมายเกี่ยวกับการตรวจคนเข้าเมือง 20 . กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค 21 . กฎหมายเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน 22 . กฎหมาย ว่าด้วยการควบคุมเครื่องเล่น เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หมายเหตุ 1. เป็นการศึกษากฎหมายใน 2 แง่มุม ได้แก่ การปกป้องผลประโยชน์ของตนและการใช้ปฏิบัติ ต่อนักท่องเที่ยวได้อย่างถูกต้อง 2. เน้นการสอนหลักของกฎหมายเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดจิตสานึกและอธิบายให้เข้าใจ ถึงเหตุผล ความจำเป็นของการกำหนดข้อกฎหมายนั้น 3. ควรรวบรวมรายละเอียดต่าง ๆ ของกฎหมายที่เกี่ยวข้องแจกประกอบในการอบรม เพื่อให้ เป็นคู่มือศึกษาด้วยตนเองและใช้เป็นเอกสารอ้างอิงใน การปฏิบัติงาน

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 6 หมวด 2 ความรู้ทางวิชาการเฉพาะภูมิภาค ให้เลือกศึกษาเพียง 1 ภูมิภาค ความรู้ทางวิชาการเฉพาะภูมิภาค ภาคกลาง รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 7 2 2 - 01 ภูมิศาสตร์ท้องถิ่น 3 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาภูมิศาสตร์ท้องถิ่น ภาคกลาง จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1. ระบุที่ตั้ง ขนาด ลักษณะภูมิประเท ศ และอาณาเขตการติดต่อของภาคกลาง ได้ 2. ระบุ เทือกเขา และแม่น้ำสำคัญของภาคกลาง ได้ 3. อธิบายลักษณะภูมิอากาศของภาคกลาง ได้ 4. ระบุทรั พยากรธรรมชาติที่สำ คัญของภาคกลาง ได้ 5. อธิบายสภาพภูมิศาสตร์ภาคกลาง ที่มีความสัมพันธ์กับการท่องเที่ยวได้ เนื้อหา ประกอบด้วย 1. ที่ตั้ง ขนาด ลักษณะภูมิประเท ศ และอาณาเขตการติดต่อของภาคกลาง 2. เทือกเขาสำคัญของภาคกลาง 3. แม่น้ำ สำคัญของภาคกลาง 4. ลักษณะภูมิอากาศของภาคกลาง 5. ทรั พยากรธรรมชาติที่สำคัญของภาคกลาง เช่น ป่าไม้ ดิน และแร่ธาตุ เป็นต้น 6. สภาพภูมิศาสตร์ภาคกลาง ที่มีความสัมพันธ์กับการท่องเที่ยว เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 7 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 722 - 02 ประวัติศาสตร์ โบราณคดี แล ะวรรณกรรมท้องถิ่น 6 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ โบราณคดี และวรรณกรรมท้องถิ่น ภาคกลาง จบแล้ว ผู้เข้ารับ การฝึกอบรมสามารถ 1. อธิบายยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนภาคกลางได้ 2. อธิบายแคว้นโบราณในดินแดนภาคกลางได้ 3. อธิบายประวัติศาสตร์ในภาคกลาง ตั้งแต่สุโขทัยจนถึงรัตนโกสินทร์ได้ 4. อธิบายแหล่งโบราณคดีที่สำคัญในภาคกลางได้ 5. อธิบายวรรณกรรมที่สำคัญของภาคกลางได้ เนื้อหา ประกอบด้วย 1. ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนภาคกลาง 2. แคว้นโบราณในดินแดนภาคกลาง เช่น ทวารวดี สุวรรณภูมิ อู่ทอง 3. ประวัติศาสตร์ในภาคกลาง ตั้งแต่สุโขทัยจนถึงรัตนโกสินทร์ 4. แหล่งโบราณคดีที่สาคัญในภาคกลาง เช่น ทวาร วดี จังหวัดนครปฐม อู่ทอง จังหวัด สุพรรณบุรี คูบัว จังหวัดราชบุรี เป็นต้น 5. วรรณกรรมที่สำคัญของภาคกลาง เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 8 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 722 - 03 ทรัพยากรการท่องเที่ยวท้องถิ่น 6 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาทรัพยากรการท่องเที่ยวท้องถิ่น ภาคกลาง จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1. อธิบายและยกตัวอย่างทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สำคัญของภาคกลางได้ 2. อธิบายและยกตัวอย่างทรัพยากรการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ และศาสนสถานที่สำคัญของภาคกลางได้ 3. อธิบายและยกตัวอย่างทรัพยากรการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม เทศกาล และงานประเพณี ที่สำคัญของภาคกลางได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สำคัญของภาคกลาง 2. ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โบราณส ถาน โบราณวัตถุ และศาสนสถาน ที่สำคัญของภาคกลาง 3. ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม เทศกาล และงานประเพณีที่สำคัญของภาคกลาง เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 9 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 722 - 04 ศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่น 3 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่น ภาคกลาง จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1. อธิบายสถาปัตยกรรมท้องถิ่น ประติมากรรมท้องถิ่น จิตรกรรมท้องถิ่น ภาษาและวรรณคดี ท้องถิ่นและศิลปะการแสดงพื้นบ้านของภาคกลางได้ 2. อธิบายวัฒนธรรมด้านการดำรงชีวิตของคนภาคกลางได้ 3. อธิบายความเชื่อและขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่นของภาคกลางได้ เนื้อหา ประกอบด้วย 1. สถาปัตยกรรมท้องถิ่นของภาคกลาง 2. ประติมากรรมท้องถิ่นของภาคกลาง 3. จิตรกรรมท้องถิ่นของภาคกลาง 4. ภาษาและวรรณคดีท้องถิ่นของภาคกลาง 5. ศิลปะการแสดงพื้นบ้านของภาคกลาง 6. วัฒนธรรมด้านการดารงชีวิตของภาคกลาง เช่น การแต่งกาย อาหารการกิน และการรักษาโรค 7. ความเชื่อและขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่นของภาคกลาง เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 10 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 722 - 05 กลุ่มชาติพันธุ์และชุมชนท้องถิ่น 3 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชากลุ่มชาติพันธุ์และชุมชนท้องถิ่น ภาคกลาง จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1. อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในภาคกลางได้ 2. อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่นในจังหวัดต่าง ๆ ของภาคกลางได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. ประชากรและกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคกลาง เช่น ไทยทรงดำ ลาวโซ่ง ลาวพวน มอญ/รามัญ ไทยยวน ญวน ชาวจีน มุสลิม เป็นต้น 2. ชุมชนท้องถิ่นในจังหวัดภาคกลาง เช่น ชุมชนมอญเกาะเกร็ด/พระประแดง/สามโคก เป็นต้น เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หมายเหตุ ศึกษาความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์และชุมชนท้องถิ่นต่าง ๆ เช่น การตั้งบ้านเรือน การแต่งกาย ภาษา ค วามเชื่อ อาชีพ พ ฤติกรรมและกิจกรรมประจาวัน ตลอดจนข้อควรปฏิบัติและข้อควร ละเว้นเมื่อเข้าไปเยี่ยมเยียน

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 11 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 722 - 06 สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกท้องถิ่น 1 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกท้องถิ่นภาคกลาง จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1. ระบุสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของภาคกลางได้ 2. ระบุแหล่งผลิต และแหล่งจาหน่ายสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของภาคกลางแต่ละประเภทได้ 3. อธิบายกรรมวิธีการผลิตสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของภาคกลางแต่ละประเภทได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของภาคกลาง เช่น ผ้าทอ เครื่องโลหะ เครื่องจักสาน เครื่องปั้นดินเผา และอาหารท้องถิ่น 2. แหล่งผลิต และแหล่งจำหน่ายสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของภาคกลางแต่ละประเภท 3. กรรมวิธีการผลิตสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของภาคกลางแต่ละประเภท เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 12 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 722 - 07 รูปแบบการท่องเที่ยวเฉพาะท้องถิ่น 2 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชารูปแบบการท่องเที่ยวเฉพาะท้องถิ่น ภาคกลาง จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1. อธิบายแนวคิดของการท่องเที่ยวรูปแบบต่าง ๆ ที่พบมากในภาคกลางได้ 2. อธิบายและยกตัวอย่างการท่องเที่ยวรูปแบบต่าง ๆ ที่พบมากในภาคกลางได้ เนื้อหา ประกอบด้วย 1. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศในภาคกลาง 2. การท่องเที่ยวทางธรรมชาติในภาคกลาง 3. การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคกลาง เช่น การท่องเที่ยวเชิงอาหาร การท่องเที่ยวเชิงศาสนา 4. การท่องเที่ยวโดยชุมชนในภาคกลาง 5. การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในภาคกลาง 6. การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในภาคกลาง 7. การท่องเที่ยวเชิงเกษตรในภาคกลาง เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 13 ความรู้ทางวิชาการเฉพาะภูมิภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 72 3 - 01 ภูมิศาสตร์ท้องถิ่น 3 วัตถุประสงค์ เมื่อศึ กษาวิชาภูมิศาสตร์ท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1. ระบุที่ตั้ง ขนาด ลักษณะภูมิประเทศ และอาณาเขตการติดต่อของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ 2. ระบุเทือกเขา และแม่น้ำสำคัญของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ 3. อธิบายลักษณะภูมิอากาศของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ 4. ระบุทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ 5. อธิบายสภาพภูมิศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีความสัมพันธ์กับการท่องเที่ยวได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. ที่ตั้ง ขนาด ลักษณะภูมิประเทศ และอาณาเขตการติดต่อของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 2. เทือกเขาสำคัญของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 3. แม่น้ำสำคัญของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 4. ลักษณะภูมิอากาศของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 5. ทรั พยากรธรรมชาติที่สำคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น ป่าไม้ ดิน และแร่ธาตุ เป็นต้น 6. สภาพภูมิศาสตร์ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีความสัมพันธ์กับการท่องเที่ยว เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 14 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 723 - 02 ประวัติศาสตร์ โบราณคดี แล ะวรรณกรรมท้องถิ่น 6 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ โบราณคดี และวรรณกรรมท้องถิ่นภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1. อธิบายยุคดึกดำบรรพ์ในดินแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้ 2. อธิบายการกาเนิดชาติพันธุ์อีสานได้ 3. อธิบายประวัติศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือในบริบทของประวัติศาสตร์ไทยได้ 4. อธิบายอาณาจักรโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้ 5. อธิบายแหล่งประวัติศาสตร์ที่เชื่อมโยงร่องรอยเมืองเก่าเมืองโบราณของภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้ 6. อธิบายวรรณกรรมที่สำคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น แหล่งฟอสซิลภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ภูกุ้มข้าว จังหวัดกาฬสินธุ์ ไม้กลายเป็นหิน จังหวัดนครราชสีมา เป็นต้น 2. การกาเนิดชาติพันธุ์อีสาน 3. ประวัติศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือในบริบทของประวัติศาสตร์ไทย ตั้งแต่สุโขทัยจนถึง รัตนโกสินทร์ 4. อาณาจักรโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5. แหล่งประวัติศาสตร์ที่เชื่อมโยงร่องรอยเมืองเก่าเมืองโบราณของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น แหล่งปราสาทหิน แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง แหล่งโบราณคดีบ้านปราสาท เมืองเสมา ผาแต้ม เป็นต้น 6. วรรณกรรมที่สำคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 15 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 723 - 03 ทรัพยากรการท่องเที่ยวท้องถิ่น 6 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาทรัพยากรการท่องเที่ยวท้องถิ่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จบแล้ว ผู้เข้ารับ การฝึกอบรมสามารถ 1. อธิบายและยกตัวอย่างทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สำคัญของ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ 2. อธิบายและยกตัวอย่างทรัพยากรการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ และศาสนสถานที่สำคัญของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ 3. อธิบายและยกตัวอย่างทรัพยากรการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม เทศกาล และงานประเพณี ที่สำคัญของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สำคัญของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2. ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ และศาสนสถาน ที่สำคัญของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3. ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม เทศกาล และงานประเพณีที่สำคัญของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 16 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 723 - 04 ศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่น 3 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรม สามารถ 1. อธิบายสถาปัตยกรรมท้องถิ่น ประติมากรรมท้องถิ่น จิตรกรรมท้องถิ่น ภาษาและวรรณคดี ท้องถิ่นและศิลปะการแสดงพื้นบ้านของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ 2. อธิบายวัฒนธรรมด้านการดำรงชีวิตของคน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ 3. อธิบายความเชื่อและขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่นของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. สถาปัตยกรรมท้องถิ่นของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น พระมหาธาตุ ปราสาทขอม ปราสาท และศิลปะเกี่ ยวกับเขมรต่ำ เป็นต้น 2. ประติมากรรมท้องถิ่นของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3. จิตรกรรมท้องถิ่นของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4. ภาษาและวรรณคดีท้องถิ่นของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น ผญา สุภาษิต คาคมอีสาน เป็นต้น 5. ศิลปะการแสดงพื้นบ้านของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น หมอลำ โปงลาง เป็นต้น 6. วัฒนธรรมด้านการดำรงชีวิตของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น การแต่งกาย อาหารการกิน และการรักษาโรค 7. ความเชื่อและขนบธรรม เนียมประเพณีท้องถิ่นของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น บูชาพระธาตุ บูชาพระมหาธาตุ และฮีต 12 ครอง 14 เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 17 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 723 - 05 กลุ่มชาติพันธุ์และชุมชนท้องถิ่น 3 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชากลุ่มชาติพันธุ์และชุมชนท้องถิ่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรม สามารถ 1. อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ 2. อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่นในจังหวัดต่าง ๆ ของ ภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ ได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. ประชากรและกลุ่มชาติพันธุ์ใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น ไทย - ภูไท จังหวัดนครพนม จังหวัดกาฬสินธุ์ ไทย - ญวน ไทย - ลาว ไทย - ดา ไทย - กะเลิง ไทย - เขมร ไทย - ลาว ไทย - เวียดนาม และส่วย เป็นต้น 2. ชุมชนท้องถิ่นในจังหวัด ต่าง ๆ ของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น บ้านภู บ้านกู่กาสิงห์ บ้านปลาค้าว บ้านซะซอม ชุมชนบ้านปะอาว เป็นต้น เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หมายเหตุ ศึกษาความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์และชุมชนท้องถิ่นต่าง ๆ เช่น การตั้งบ้านเรือน การแต่งกาย ภำษา ความเ ชื่อ อาชีพ พ ฤติกรรมและกิจกรรมประจาวัน ตลอดจนข้อควรปฏิบัติและข้อควร ละเว้นเมื่อเข้าไปเยี่ยมเยียน

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 18 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 723 - 06 สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกท้องถิ่น 1 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกท้องถิ่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จบแล้ว ผู้เข้ารับ การฝึกอบรมสามารถ 1. ระบุสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ 2. ระบุแหล่งผลิต และแหล่งจาหน่ายสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แต่ละประเภทได้ 3. อธิบายกรรมวิธีการผลิตสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แต่ละ ประเภทได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น ผ้าไหม เครื่อง เงิน เครื่องปั้นดินเผา ข้าวหอมมะลิ และอาหารท้องถิ่น 2. แหล่งผลิต และแหล่งจำหน่ายสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แต่ละประเภท 3. กรรมวิธีการผลิตสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แต่ละประเภท เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 19 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 723 - 07 รูปแบบการท่องเที่ยวเฉพาะท้องถิ่น 2 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชารูปแบบการท่องเที่ยวเฉพาะท้องถิ่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จบแล้ว ผู้เข้ารับ การฝึกอบรมสามารถ 1. อธิบายแนวคิดของการท่องเที่ยวรูปแบบต่าง ๆ ที่พบมากใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ 2. อธิบายและยกตัวอย่างการท่องเที่ยวรูปแบบต่าง ๆ ที่พบมากใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไ ด้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2. การท่องเที่ยวเชิงศาสนาใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3. การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4. การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5. การท่องเที่ยวโดยชุมชนใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 6. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น อุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เป็นต้น 7 . การท่องเที่ยว เชิงแสวงบุญ ใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น อีสานอริยสงฆ์ จังหวัดนครพนม 8 . การท่องเที่ยวเชิงศรัทธา/ความเชื่อในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น การบูชาพระธาตุตามวันเกิด คำชะโนด เป็นต้น 9 . การท่องเที่ยวเชิง ธรณีวิทยา ใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 20 ความรู้ทางวิชาการเฉพาะภูมิภาค ภาคใต้ รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 724 - 01 ภูมิศาสตร์ท้องถิ่น 3 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาภูมิศาสตร์ท้องถิ่นภาคใต้จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1. ระบุที่ตั้ง ขนาด ลักษณะภูมิประเทศ และอาณาเขตการติดต่อของ ภาคใต้ ได้ 2. ระบุเทือกเขา และแม่น้ำสำคัญของภาคใต้ได้ 3. อธิบายลักษณะชายทะเล เกาะ และอ่าวของภาคใต้ได้ 4. อธิบายลักษณะภูมิอากาศของภาคใต้ได้ 5 . ระบุทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของภาคใต้ได้ 6 . อธิบายสภาพภูมิศาสตร์ภาคใต้ที่มีความสัมพันธ์กับการท่องเที่ยวได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. ที่ตั้ง ขนาด ลักษณะภูมิประเทศ และอาณาเขตการติดต่อของภาคใต้ 2. เทือกเขาสำคัญของภาคใต้ 3. แม่น้ำสำคัญของภาคใต้ 4. ลักษณะชายฝั่งทะเล เกาะ และอ่าวของภาคใต้ 5 . ลักษณะภูมิอำกาศของภาคใต้ 6 . ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของภาคใต้เช่น ป่าไม้ ดิน และแร่ธาตุ เป็นต้น 7 . สภาพภูมิศาสตร์ภาคใต้ที่มีความสัมพันธ์กับการท่องเที่ยว เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 21 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 724 - 02 ประวัติศาสตร์ โบราณคดี แล ะวรรณกรรมท้องถิ่น 6 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ โบราณคดี และวรรณกรรมท้องถิ่นภาค ใต้ จบแล้ว ผู้เข้ารับ การฝึกอบรมสามารถ 1. อธิบายยุค ก่อนประวัติศาสตร์ ในดินแดน ภาคใต้ ได้ 2. อธิบายประวัติศาสตร์แคว้นโบราณในดินแดน ภาคใต้ ได้ 3. อธิบายประวัติศาสตร์ ภาคใต้ตั้งแต่สุโขทัยจนถึงรัตนโกสินทร์ ได้ 4. อธิบาย แหล่งโบราณคดีที่สำคัญ ใน ภาคใต้ ได้ 5 . อธิบายวรรณกรรมที่สำคัญของ ภาคใต้ ได้ เนื้อหา ประกอบด้วย 1. ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดน ภาคใต้ 2. แคว้นโบราณในดินแดน ภาคใต้ เช่น ศรีวิชัย ตามพรลิงค์ ลังกาสุกะ เป็นต้น 3. ประวัติศาสตร์ ภาคใต้ตั้งแต่สุโขทัยจนถึงรัตนโกสินทร์ 4. อาณาจักรโบราณใน ภาคใต้ 5. แหล่งโบราณคดีที่สำคัญในภาคใต้ เช่น ไชยา นครศรีธรรมราช ตะกั่วป่า สทิงพระ และยะรัง เป็นต้น 6. วรรณกรรมที่สำคัญของ ภาคใต้ เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 22 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 724 - 03 ทรัพยากรการท่องเที่ยวท้องถิ่น 6 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาทรัพยากรการท่องเที่ยวท้องถิ่นภาค ใต้ จบแล้ว ผู้เข้ารับ การฝึกอบรมสามารถ 1. อธิบายและยกตัวอย่างทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สาคัญของ ภาคใต้ได้ 2. อธิบายและยกตัวอย่างทรัพยากรการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ และศาสนสถานที่สำคัญของ ภาคใต้ ได้ 3. อธิบายและยกตัวอย่างทรัพยากรการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม เทศกาล และงานประเพณี ที่สำคัญของ ภาคใต้ ได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สำคัญของ ภาคใต้ 2. ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ และศาสนสถาน ที่สำคัญของ ภาคใต้ 3. ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม เทศกาล และงานประเพณีที่สำคัญของ ภาคใต้ เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 23 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 724 - 04 ศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่น 3 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่นภาค ใต้ จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1. อธิบายสถาปัตยกรรมท้องถิ่น ประติมากรรมท้องถิ่น จิตรกรรมท้องถิ่น ภาษาและวรรณคดี ท้องถิ่นและศิลปะการแสดงพื้นบ้านของ ภาคใต้ ได้ 2. อธิบายวัฒนธรรมด้านการดำรงชีวิตของคน ภาคใต้ ได้ 3. อธิบายความเชื่อและขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่นของ ภาคใต้ ได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. สถาปัตยกรรมท้องถิ่นของ ภาคใต้ 2. ประติมากรรมท้องถิ่นของ ภาคใต้ 3. จิตรกรรมท้องถิ่นของ ภาคใต้ 4. ภาษาและวรรณคดีท้องถิ่นของ ภาคใต้ 5. ศิลปะการแสดงพื้นบ้านของ ภาคใต้ 6. วัฒนธรรมด้านการดำรงชีวิตของ ภาคใต้ เช่น การแต่งกาย อาหารการกิน และการรักษาโรค 7. ความเชื่อและขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่นของ ภาคใต้ เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 24 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 724 - 05 กลุ่มชาติพันธุ์และชุมชนท้องถิ่น 3 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชากลุ่มชาติพันธุ์และชุมชนท้องถิ่น ภาคใต้ จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรม สามารถ 1. อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ใน ภาคใต้ ได้ 2. อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่นในจังหวัดต่าง ๆ ของ ภาคใต้ ได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. ประชากรและกลุ่มชาติพันธุ์ใน ภาคใต้ เช่น เซมัง หรือซาไก มอแกน เป็นต้น 2. ชุมชนท้องถิ่นใน ภาคใต้ เช่น ชุมชนชาวไทยพุทธ ชุมชนชาวไทยมุสลิม และชุมชนชาวจีน เป็นต้น เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หมายเหตุ ศึกษาความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์และชุมชนท้องถิ่นต่าง ๆ เช่น การตั้งบ้านเรือน การแต่งกาย ภาษา ความเชื่อ อำชีพ พฤติกร รมและกิจกรรมประจาวัน ตลอดจนข้อควรปฏิบัติและข้อคว ร ละเว้นเมื่อเข้าไปเยี่ยมเยียน

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 25 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 724 - 06 สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกท้องถิ่น 1 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกท้องถิ่น ภาค ใต้ จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1. ระบุสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาคใต้ ได้ 2. ระบุแหล่งผลิต และแหล่งจาหน่ายสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาคใต้ แต่ละประเภทได้ 3. อธิบายกรรมวิธีการผลิตสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาคใต้ แต่ละประเภทได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาคใต้ เช่น ผ้าทอ ผ้าบาติก เครื่องเงิน เครื่องถม เครื่องจักสาน และอาหารท้องถิ่น เป็นต้น 2. แหล่งผลิต และแหล่งจำหน่ายสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาคใต้ แต่ละประเภท 3. กรรมวิธีการผลิตสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาคใต้ แต่ละประเภท เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 26 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 724 - 07 รูปแบบการท่องเที่ยวเฉพาะท้องถิ่น 2 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชารูปแบบการท่องเที่ยวเฉพาะท้องถิ่น ภาค ใต้ จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1. อธิบายแนวคิดของการท่องเที่ยวรูปแบบต่าง ๆ ที่พบมากใน ภาคใต้ ได้ 2. อธิบายและยกตัวอย่างการท่องเที่ยวรูปแบบต่าง ๆ ที่พบมากใน ภาคใต้ ได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. การท่องเที่ยวทางทะเล ใน ภาคใต้ 2. การท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ใน ภาคใต้ 3. การท่องเที่ยวเดินป่า ใน ภาคใต้ 4. การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ใน ภาคใต้ เช่น การท่องเที่ยวเชิงอาหาร 5. การท่องเที่ยวโดยชุมชนใน ภาคใต้ 6. การท่องเที่ยวเชิง สุขภาพในภาคใต้ 7. การท่องเที่ยวเชิง ธรณีวิทยาใน ภาคใต้ เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 27 ความรู้ทางวิชาการเฉพาะภูมิภาค ภาคเหนือ รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 725 - 01 ภูมิศาสตร์ท้องถิ่น 3 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาภูมิศาสตร์ท้องถิ่นภาคเหนือจบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1. ระบุที่ตั้ง ขนาด ลักษณะภูมิประเทศ และอาณาเขตการติดต่อของ ภาคเหนือ ได้ 2. ระบุเทือกเขา และแม่น้ำสำคัญของภาคเหนือได้ 3 . อธิบายลักษณะภูมิอากาศของภาคเหนือได้ 4 . ระบุทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของภาคเหนือได้ 5 . อธิบายสภาพภูมิศาสตร์ ภาคเหนือ ที่มีความสัมพันธ์กับการท่องเที่ยวได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. ที่ตั้ง ขนาด ลักษณะภูมิประเทศ และอาณาเขตการติดต่อของ ภาคเหนือ 2. เทือกเขาสำคัญของ ภาคเหนือ 3. แม่น้ำสำคัญของ ภาคเหนือ 4 . ลักษณะภูมิอากาศของ ภาคเหนือ 5 . ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของ ภาคเหนือ เช่น ป่าไม้ ดิน และแร่ธาตุ เป็นต้น 6 . สภาพภูมิศาสตร์ ภาคเหนือ ที่มีความสัมพันธ์กับการท่องเที่ยว เทค นิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 28 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 725 - 02 ประวัติศาสตร์ โบราณคดี แล ะวรรณกรรมท้องถิ่น 6 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ โบราณคดี และวรรณกรรมท้องถิ่นภาค เหนือ จบแล้ว ผู้เข้ารับ การฝึกอบรมสามารถ 1. อธิบายยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดน ภาคเหนือ ได้ 2. อธิบายประวัติศาสตร์ อาณาจักรล้านนา หริภุญชัย และภูกามยาว ได้ 3. อธิบายประวัติศาสตร์ อาณาจักรสุโขทัย ได้ 4. อธิบายแหล่งโบราณคดีที่สำคัญใน ภาคเหนือ ได้ 5. อธิบายวรรณกรรมที่สำคัญของ ภาคเหนือ ได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดน ภาคเหนือ ได้แก่ ยุคหิน ยุคโลหะ 2. ประวัติศาสตร์อาณาจักรล้านนา หริภุญชัย และภูกามยาว 3. ประวัติศาสตร์ อาณาจักรสุโขทัย 4 . แหล่งโบราณคดีที่สำคัญ ใน ภาคเหนือ เช่น โบราณคดีลุ่มน้ำปิง วัง ยม น่าน เป็นต้น 5 . วรรณกรรมที่สำคัญของ ภาคเหนือ เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 29 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 725 - 03 ทรัพยากรการท่องเที่ยวท้องถิ่น 6 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาทรัพยากรการท่องเที่ยวท้องถิ่นภาค เหนือ จบแล้ว ผู้เข้ารับ การฝึกอบรม สามารถ 1. อธิบายและยกตัวอย่างทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ที่สำคัญ ของ ภาคเหนือ ได้ 2. อธิบายและยกตัวอย่างทรัพยากรการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ และศาสนสถานที่สำคัญของ ภาคเหนือ ได้ 3. อธิบายและยกตัวอย่างทรัพยากรการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม เทศกาล และงานประเพณี ที่สำคัญของ ภาคเหนือ ได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. ทรัพยากรการท่องเที่ ยวทางธรรมชาติที่สำคัญของ ภาคเหนือ 2. ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ และศาสนสถาน ที่สำคัญของ ภาคเหนือ 3. ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม เทศกาล และงานประเพณีที่สำคัญของ ภาคเหนือ เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลก เปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 30 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 724 - 04 ศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่น 3 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่นภาค เหนือ จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1. อธิบายสถาปัตยกรรมท้องถิ่น ประติมากรรมท้องถิ่น จิตรกรรมท้องถิ่น ภาษาและวรรณคดี ท้องถิ่นและศิลปะการแสดงพื้นบ้านของ ภาคเหนือ ได้ 2. อธิบายวัฒนธรรมด้านการดำรงชีวิตของคน ภาคเหนือ ได้ 3. อธิบายความเชื่อและขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่นของ ภาคเหนือ ได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. สถาปัตยกรรมท้องถิ่นของ ภาคเหนือ 2. ประติมากรรมท้องถิ่นของ ภาคเหนือ 3. จิตรกรรมท้องถิ่นของ ภาคเหนือ 4. ภาษาและวรรณคดีท้องถิ่นของ ภาคเหนือ 5. ศิลปะการแสดงพื้นบ้านของ ภาคเหนือ 6. วัฒนธรรมด้านการดำรงชีวิตของ ภาคเหนือ เช่น การแต่งกาย อาหารการกิน และการรักษาโรค 7. ความเชื่อและขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น ของ ภาคเหนือ เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 31 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 725 - 05 กลุ่มชาติพันธุ์และชุมชนท้องถิ่น 3 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชากลุ่มชาติพันธุ์และชุมชนท้องถิ่น ภาคเหนือ จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรม สามารถ 1. อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ใน ภาคเหนือ ได้ 2. อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่นในจังหวัดต่าง ๆ ของ ภาคเหนือ ได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. ประชากรและกลุ่มชาติพันธุ์ใน ภาคเหนือ เช่น ชาวไทยพื้นราบ ชาวไทยภูเขา อาข่า ปกาเกอ ะญอ ม้ง ลีซู มูเซอ เย้า ไทใหญ่ ไทลื้อ ไ ทเขิน ลัวะ เป็นต้น 2. ชุมชนท้องถิ่นใน จั ง หวัดต่าง ๆ ของภาคเหนือ เช่น ชุมชน บ้านถวาย ชุมชนวัวลาย ชุมชนบ้านเวียงบัว ชุมชนเมืองเก่าสุโขทัย ชุมชนบ้านร่องกล้า เป็นต้น เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หมายเหตุ ศึกษาความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์และชุมชนท้องถิ่นต่าง ๆ เช่น การตั้งบ้านเรือน การแต่งกาย ภาษา ความเชื่อ อาชีพ พฤติกรรมและกิจกรรมประจาวัน ต ลอดจนข้อควรปฏิบัติและข้อควร ละเว้นเมื่อเข้าไปเยี่ยมเยียน

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 32 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 725 - 06 สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกท้องถิ่น 1 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกท้องถิ่น ภาค เหนือ จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรม สามารถ 1. ระบุสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาค เหนือ ได้ 2. ระบุแหล่งผลิต และแหล่งจาหน่ายสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาค เหนือ แต่ละประเภทได้ 3. อธิบายกรรมวิธีการผลิตสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาค เหนือ แต่ละประเภทได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาคเหนือ เช่น ผ้า ทอ ผ้าบาติก เครื่องเงิน เครื่องเขิน เครื่องปั้นดินเผา งานแกะสลัก ร่ม กระดาษสา และอาหารท้องถิ่น เป็นต้น 2. แหล่งผลิต และแหล่งจำหน่ายสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาค เหนือ แต่ละประเภท 3. กรรมวิธีการผลิตสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกของ ภาค เหนือ แต่ละประเภท เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 33 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 725 - 07 รูปแบบการท่องเที่ยวเฉพาะท้องถิ่น 2 วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชารูปแบบการท่องเที่ยวเฉพาะท้องถิ่น ภาค เหนือ จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรม สามารถ 1. อธิบายแนวคิดของการท่องเที่ยวรูปแบบต่าง ๆ ที่พบมากใน ภาค เหนือ ได้ 2. อธิบายและยกตัวอย่างการท่องเที่ยวรูปแบบต่าง ๆ ที่พบมากใน ภาค เหนือ ได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ใน ภาค เหนือ 2. การท่องเที่ยวทางธรรมชาติใน ภาค เหนือ 3. การท่องเที่ยวเดินป่าใน ภาค เหนือ 4. การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาค เหนือ เช่น การท่องเที่ยวเชิงอาหาร การท่องเที่ยวเชิงศาสนา 5. การท่องเที่ยวโดยชุมชนใน ภาค เหนือ 6. การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในภาคเหนือ 7 . การท่องเที่ยวเชิง สุขภาพในภาคเหนือ 8 . การท่องเที่ยวเชิง ผจญภัย ใน ภาค เหนือ 9. การท่องเที่ยวเชิงอาสาสมัครในภาคเหนือ เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 34 หมวด 3 ความรู้และทักษะเฉพาะอาชีพ รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า ค 1 บทบาทหน้าที่ของมัคคุเทศก์ และการให้บริการ ท่องเที่ยว ในรูปแบบวิถีใหม่ 2 วัตถุประส ง ค์ เมื่อศึ กษาวิชาบทบาทหน้าที่ของมัคคุเทศก์ และการให้บริการ ท่องเที่ยว ในรูปแบบวิถีใหม่ จบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1. อธิบายบทบาท จรรยาบรรณ ความสำคัญ และผลกระทบของมัคคุเทศก์ ต่ออุตสาหกรรม กา ร ท่องเที่ยว และการให้บริการ ท่องเที่ยว ในรูปแบบวิถีใหม่ได้ 2. อธิบาย รูปแบบการท่องเที่ยวในสถานการณ์ปัจจุบัน ได้ 3. อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนักท่องเที่ยวในสถานการณ์ปัจจุบันได้ 4. นำความรู้ด้านเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อการท่องเที่ยวได้ 5. ระบุข้อควรปฏิบัติเพื่อเตรียมความพร้อมและป้องกันโรคอุบัติใหม่ได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1 . บทบาท จร รยาบรรณ ความสาคัญ และผลกระทบของมัคคุเทศก์ต่ออุตสาหกรรม การท่องเที่ยว 2 . การปรับเปลี่ยนรูปแบบการท่องเที่ยวในสถานการณ์ปัจจุบัน 3 . การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนักท่องเที่ยวในสถานการณ์ปัจจุบัน 4 . เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการท่องเที่ยว 5 . มัคคุเทศก์กับการเตรียมความพร้อมและป้องกันโรคอุบัติใหม่ เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

หลักสูตร การฝึกอบรมวิชามัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค สาหรับผู้ที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์เฉพาะ 35 รหัสวิชา ชื่อและคำอธิบายรายวิชา จำนวนชั่วโมง ไม่น้อยกว่า ค 12 การสื่อความหมายด้านการท่องเที่ยว 1 วัตถุประส ง ค์ เมื่อศึกษาวิชาการสื่อความหมายด้านการท่องเที่ยวจบแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ 1 . อธิ บายแนวคิดเกี่ยวกับการสื่อความห มา ยทางการท่องเที่ยวได้ 2 . ระบุเทคนิคการสื่อความหมายทางการท่องเที่ยวได้ 3 . อธิบายการออกแบบรายการนำเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ได้ 4 . อธิบายวิธีการสร้างใจความ หลัก ( Theme ) เพื่อถ่ายทอดเรื่องรา ว ได้ 5 . ระบุวิธีการจัดนันทนาการเพื่อการนำเที่ยวได้ เนื้อหาประกอบด้วย 1. ความห มา ยความสำคัญและบทบาทของการสื่อความหมาย 2. หลักการสื่อความหมายอย่างมีคุณภาพ 3. คุณลักษณะของการสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ 4. เทคนิคการสื่อความหมายทางการท่องเที่ยว 5. การสร้างใจความหลัก ( Theme ) เพื่อถ่ายทอดเรื่องรายได้ 6. นันทนาการเพื่อการนำเที่ยวได้ เทคนิคการฝึกอบรมรายวิชา บรรยาย อภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น