Wed Feb 22 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ เรื่อง โครงสร้างและการจัดหน่วยงาน อำนาจหน้าที่ วิธีดำเนินงานและสถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้


ประกาศองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ เรื่อง โครงสร้างและการจัดหน่วยงาน อำนาจหน้าที่ วิธีดำเนินงานและสถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้

ประกาศองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ เรื่อง โครงสร้างและการจัดหน่วยงาน อานาจหน้าที่ วิธีดาเนินงานและ สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 7 (1) (2) และ (3) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร ของราชการ พ.ศ. 2540 ที่จะให้ประชาชนได้มีโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดาเนินการต่าง ๆ ของราชการสมควรประกาศโครงสร้างและการจัดหน่วยงาน อำนาจหน้าที่ วิธีการดำเนินงาน และสถานที่ติดต่อเพื่อข อรับข้อมูลข่าวสารขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ มีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งตามที่กำหนดไว้เป็น พระราชกฤษฎีกา พ.ศ. 2499 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2517 พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2542 และ พ.ศ. 2559 โดยมีอำนาจห น้าที่โดยสรุป ดังนี้ 1.1 วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งตามที่กาหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกา พ.ศ. 2499 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2517 พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2542 และ พ.ศ. 2559 ดังนี้ 1 ) อำนวยบริการแก่รัฐและประชาชนในการอุตสาหกรรมป่าไม้ 2 ) ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมป่าไม้ เช่น เกี่ยวกับการทำไม้ และเก็บหาของป่า แปรรูปไม้ ทาไม้อัด อบไม้ อัดน้ายาไม้ กลั่นไม้ และประดิษฐ์หรือผลิตวัตถุ หรือสิ่งของจากไม้และของป่า และธุรกิจที่ต่อเนื่องคล้ายคลึงกัน รวมทั้งอุตสาหกรรมอื่นใดที่เกี่ยวด้ว ยไม้ หรือของป่า 3 ) ปลูกสร้างสวนป่า คุ้มครองรักษาป่าไม้ และบูรณะป่าไม้เพื่อประโยชน์แก่ การป่าไม้ ไม่ว่าจะเป็นการดาเนินการเองหรือเป็นการดาเนินการเพื่อช่วยเหลือรัฐ 4 ) วิจัย ค้นคว้าและทดลองเกี่ยวกับผลิตผลและผลิตภัณฑ์ในด้าน อุตสาหกรรมป่าไม้ 5 ) ดำเนินกิจการเกี่ยวกับการเผยแพร่ความรู้ การปลูกฝังทัศนคติและ ความสำนึกในการคุ้มครอง ดูแลรักษา บูรณะ และพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ รวมทั้งการอนุรักษ์ และบริบาลช้างเลี้ยงของไทย ตลอดจนดาเนินการเกี่ยวกับการจัดหาที่พัก การอานวยความสะดวก หรือการให้บริการในกิจการที่เกี่ยวกับการทัศนาจร หรือกิจการอื่นใด เพื่อประโยชน์แก่การดาเนินการ ดังกล่าวด้วย 6 ) ดาเนินธุรกิจอื่นที่เกี่ยวเนื่องหรือที่เป็นประโยชน์แก่กิจการของ อ.อ.ป. 1.2 อำนาจหน้าที่โดยสรุป ดังนี้ 1 ) ถือกรรมสิทธิ์ ครอบครองที่ดินและทรั พย์สินอื่น ๆ มีสิทธิต่าง ๆ สร้าง ซื้อ ขาย เช่า ให้เช่า ให้เช่าซื้อ ยืม ให้ยืม จัดหา จำหน่าย แลกเปลี่ยน โอน และรับโอน ด้วยประการใด ๆ ซึ่งที่ดิน ทรัพย์สินอื่น ๆ หรือสิทธิ ทั้งภายในและภายนอกราชอาณาจักร ้ หนา 43 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 44 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 กุมภาพันธ์ 2566

2 ) ค้าผลิตผลและผลิตภัณฑ์ของอุตสาหกรรมป่าไม้ ทั้งภายในและภายนอก ราชอาณาจักร 3 ) สั่งเข้ามาในและส่งออกไปนอกราชอาณาจักร ซึ่งเครื่องมือเครื่องใช้ และเครื่องจักรที่ใช้ในการอุตสาหกรรมป่าไม้ 4 ) เป็นนายหน้าและตัวแทนค้าต่างในการค้าผลิตผลและผลิตภัณฑ์ของ อุตสาหกรรม ป่าไม้ เครื่องมือ เครื่องใช้ และเครื่องจักรที่ใช้ในการอุตสาหกรรมป่าไม้ 5 ) กู้ ยืมเงิน แต่ถ้าเป็นจำนวนเงินเกินกว่าคราวละห้าสิบล้านบาท ต้องได้รับ ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีก่อน 5/1 ) ให้กู้ ให้ยืมเงิน หรือจ่ายเงินล่วงหน้าโดยมีหลักประกันด้วยบุคคล หรือทรัพย์สินเพื่อประโยชน์แก่กิจการของ อ.อ.ป. 5/2 ) ออกพันธบัตรหรือตราสารอื่นใดเพื่อการลงทุนหรือเพื่อประโยชน์ แก่กิจการของ อ.อ.ป. โดยต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีก่อน 6 ) ตั้งและรับเป็นสาขา ตัวแทน ตั วแทนค้าต่างหรือนายหน้าในกิจการต่าง ๆ ของเอกชนหรือนิติบุคคลใด ๆ ทั้งภายในและภายนอกราชอาณาจักร ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์แก่กิจการ ของ อ.อ.ป. 7 ) ร่วมการงานหรือสมทบกับบุคคลอื่น เพื่อประโยชน์แก่กิจการของ อ.อ.ป. รวมทั้งการเข้าเป็นหุ้นส่วนหรือถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือนิติบุคคลใด ๆ แต่ต้องได้รับอนุญาตจาก คณะรัฐมนตรี ก่อน ข้อ 2 องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ มีโครงสร้างและการจัดหน่วยงานภายใน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) สำนักบริหารกลาง ( 2 ) สำนักตรวจสอบภายใน ( 3 ) สำนักบัญชีและการเงิน ( 4 ) สำนักนโยบายแผนและยุทธศาสตร์ ( 5 ) สำนักกฎหมาย ( 6 ) สำนักวิจัยพัฒนาและสารสนเทศ ( 7 ) สำนักธุรกิจการตลาด ( 8 ) องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ภาคเหนือบน ( 9 ) องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ภาคเหนือล่าง ( 10 ) องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ภาคกลาง ( 11 ) องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ( 12 ) องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ภาคใต้ ( 13 ) สถาบันคชบาลแห่งชาติ ในพระอุปถัมภ์ฯ ( 14 ) สำนักธุรกิจคาร์บอนและนวัตกรรม ้ หนา 44 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 44 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 กุมภาพันธ์ 2566

ข้อ 3 อำนาจหน้าที่สำคัญของหน่วยงานในองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ มีดังนี้ 3.1 สานักบริหารกลาง มีผู้อานวยการสานัก (ระดับ 8 - 9) เป็นผู้รับผิดชอบ มีหน้าที่ความรับผิดชอบบริหารจัดการและดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) งานบริหารทั่วไป งานสารบรรณ งานอำนวยการ และงานพัสดุ ของ อ.อ.ป. ( 2 ) งานด้านการบริหาร พัฒนา และระบบงานของทรัพยากรมนุษย์ ( 3 ) การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ภาพลักษณ์ที่ดีของ อ.อ.ป. ( 4 ) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องและหรือตามที่ อ.อ.ป. มอบหมาย 3.2 สานักตรวจสอบภายใน มีผู้อานวยการสานัก (ระดับ 8 - 9) เป็นผู้รับผิดชอบ มีหน้าที่ความรับผิดชอบบริหารจัดการและดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) สอบทานประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการควบคุมภายใน กระบวนการกากับดูแลที่ดี กระบวนการบริหารความเสี่ยง ( 2 ) ตรวจสอบความถูกต้องและความเชื่อถือได้ของข้อมูลทางการเงิน และระบบสารสนเทศ ( 3 ) ตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีปฏิบัติงาน มติคณะรัฐมนตรี ประกาศ และคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของ อ.อ.ป. ( 4 ) ประสานงานกับสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินในการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน ( 5 ) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องและหรือตามที่ อ.อ.ป. มอบหมาย 3.3 สำนักบัญชีและการเงิน มีผู้อำนวยการสำนัก (ระดับ 8 - 9) เป็นผู้รับผิดชอบ มีหน้าที่ความรับผิดชอบบริหารจัดการและดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ประมวลข้อมูลบัญชี เพื่อปิดบัญชีรายเดือน รายไตรมาส และจัดทา รายงานงบการเงินประจำปีของ อ.อ.ป. ให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี ( 2 ) วิเคราะห์ผลการดำเนินงานงบกระแสเงินสด และต้นทุนการผลิต ต้นทุนขาย ( 3 ) กำกับดูแลการปฏิบัติงานทางด้านบัญชีและการเงิน ให้เป็นไปตาม ข้อบังคับ ระเบียบ หลักเกณฑ์ คาสั่งของ อ.อ.ป. และระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการบัญชี และการเงินของรัฐวิสาหกิจ ( 4 ) ทำหน้าที่รับจ่ายเงิน ( Cashier ) ของ อ.อ.ป. และตรวจเอกสารเบิกจ่าย ให้เป็นไปตามข้อบังคับ ระเบียบ หลักเกณฑ์และคำสั่งที่ อ.อ.ป. กำหนด ( 5 ) บริหารการเงินและจัดหาแหล่งเงินทุน เพื่อรองรับการดำเนินธุรกิจ ของ อ.อ.ป. โดยใช้เครื่องมือทางการเงินต่าง ๆ ้ หนา 45 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 44 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 กุมภาพันธ์ 2566

( 6 ) วางแผนบริหารจัดการทางด้านการเงิน ให้เพียงพอต่อการดาเนินธุรกิจ ของ อ.อ.ป. ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ( 7 ) ควบคุมการปฏิบัติงานทางการเงินให้เป็นไปตามแผนการเงิน การลงทุน ลดภาระค่าใช้จ่ายทางการเงินของ อ.อ.ป. ( 8 ) บริหารจัดการเงินทุนหมุนเวียนของ อ.อ.ป. ( Cash Flow ) ให้มีสภาพคล่อง เพียงพอต่อความต้องการของหน่วยงานต่าง ๆ ( 9 ) ดาเนินการและกากับดูแลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณในระบบ GFMIS การรายงานข้อมูลในระบบ GFMIS - SOE และ GFMIS - TR ให้เป็นไปตามระเบียบของรัฐ ( 10 ) การให้บริการข้อมูลและคาปรึกษาทางด้านบัญชีและการเงิน รวมทั้ง การประสานหน่วยงานภายในและภายนอก อ.อ.ป. ( 11 ) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องและหรือตามที่ อ.อ.ป. มอบหมาย 3.4 สานักนโยบายแผนและยุทธศาสตร์ มีผู้อานวยการสานัก ( ระดับ 8 - 9) เป็นผู้รับผิดชอบ มีหน้าที่ความรับผิดชอบบริหารจัดการและดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ศึกษาวิเคราะห์นโยบายรัฐบาล เพื่อจัดทาแผนยุทธศาสตร์ แผนธุรกิจ และแผนงานต่าง ๆ ของ อ.อ.ป. โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกหน่วยงานใน อ.อ.ป. ( 2 ) การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน รวมถึงการบริหารความเสี่ยงและ การควบคุมภายในของ อ.อ.ป. ( 3 ) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องและหรือตามที่ อ.อ.ป. มอบหมาย 3.5 สานักกฎหมาย มีผู้อานวยการสานัก (ระดับ 8 - 9) เป็นผู้รับผิดชอบ มีหน้าที่ ความรับผิดชอบบริหารจัดการและดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้คาปรึกษากฎหมาย จัดทำสัญญา หนังสือมอบอำนาจ และวินิจฉัยปัญหา ข้อกฎหมายต่าง ๆ ( 2 ) ประสานงานกับอัยการเพื่อให้ดาเนินคดีแพ่ง คดีอาญา และคดีอื่น ๆ ให้กับ อ.อ.ป. รวมทั้งดาเนินคดีแพ่ง คดีอาญา และคดีอื่น ๆ ให้กับ อ.อ.ป. ( 3 ) ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบังคับคดี เพื่อยึดทรัพย์สิน ของลูกหนี้ รวมทั้งดาเนินการเกี่ยวกับงานด้านวินัยและความรับผิดชอบทางละเมิดให้กับ อ.อ.ป. ( 4 ) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องและหรือตามที่ อ.อ.ป. มอบห มาย 3.6 สำนักวิจัยพัฒนาและสารสนเทศ มีหน้าที่และอำนาจบริหารจัดการและ ดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การส่งเสริมและเผยแพร่การศึกษา ค้นคว้า ทดลอง และวิจัยของ อ.อ.ป. ้ หนา 46 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 44 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 กุมภาพันธ์ 2566

( 2 ) วิเคราะห์ศึกษาวิจัยพัฒนากรรมวิธีการผลิตด้านป่าไม้ สวนป่าเศรษฐกิจ อย่างยั่งยืน งานทาไม้ งานอุตสาหกรรมป่าไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้และไม่ใช่ไม้จากสวนป่า พัฒนา การใช้ประโยชน์ไม้อย่างครบวงจร ( 3 ) พัฒนางานปลูกสร้างสวนป่า การทำอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ติดตาม การดาเนินงานด้านสวนป่า ส่งเสริมการปลูกสร้างสวนป่าภาคเอกชน ประสานงานหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน การสนับสนุนด้านการตลาดไม้เศรษฐกิจรองรับผลผลิตไม้จากการส่งเสริม ( 4 ) การสำรวจรังวัด จัดทำแผนที่ ฐานข้อมูล พื้นที่สวนป่า และที่ดิน ในความรับผิดชอบของ อ.อ.ป. การจัดทาระบบภูมิสารสนเทศ ( Geo Information System : GI S ) และพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการบนพื้นฐานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ( Geographic Information System : GIS ) และตามมาตรฐานสากลที่เกี่ยวข้อง ( 5 ) บริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของ อ.อ.ป. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การบริหารงานขององค์กร ( 6 ) การขับเคลื่อนการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล การนาเทคโนโลยีมาปรับใช้ กับองค์กรการกากับดูแลและบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ ( Big Data ) การบริหารความมั่นคง ปลอดภัยของสารสนเทศ การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจและความพร้อมใช้ระบบ ( 7 ) ป ฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องและหรือตามที่ อ.อ.ป. มอบหมาย 3.7 สำนักธุรกิจการตลาด มีผู้อำนวยการสำนัก (ระดับ 8 - 9) เป็นผู้รับผิดชอบ มีหน้าที่ความรับผิดชอบบริหารจัดการและดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) บริหารจัดการงานด้านการตลาดและเศรษฐกิจดิจิทัล ( Digital Economy ) ของ อ.อ.ป. ( 2 ) นาเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้กับกระบวนการปฏิบัติงานด้านการตลาด ( Digital Market ) ( 3 ) กาหนดกรอบ แนวทาง กากับดูแล บริหารจัดการ และจัดทาแผนงาน ด้านการตลาด อาทิ การสนับสนุนการขาย การวางระบบการจัดจำหน่าย การจัดแสดงสินค้า การเผยแพร่ผลผลิต และแสวงหาช่องทางใหม่ด้านการตลาด ( 4 ) ศึกษาความต้องการของตลาดและกลุ่มเป้าหมาย เพื่อนำมาพัฒนา การตลาดเชิงรุก ( 5 ) พัฒนางานด้านตลาดกลางและคลังสินค้า จัดการงานแสดงสินค้า โรดโชว์ เพื่อสนับสนุนงานการตลาดและบริหารสต๊อ กสินค้า ( 6 ) พัฒนาใช้ประโยชน์ที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ของ อ.อ.ป. ให้สมประโยชน์ มีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ และสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 ( 7 ) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องและหรือตามที่ อ.อ.ป. มอบหมาย ้ หนา 47 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 44 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 กุมภาพันธ์ 2566

3.8 องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ภาคเหนือบน มีผู้อานวยการสานัก (ระดับ 8 - 9) เป็นผู้รับผิดชอบ มีหน้าที่ความรับผิดชอบบริหารจัดการและดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) บริหารจัดการและดาเนินกิจการขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ภาคเหนือบน ให้เป็นหน่วยธุรกิจ ( Business Unit ) ที่มีศักยภาพ สอดคล้องกับนโยบายและพันธกิจของ อ.อ.ป. ในพื้นที่ความรับผิดชอบ รวม 8 จังหวัด คือ แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง เชียงราย พะเยา แพร่ และน่าน ( 2 ) บริหารจัดการสวนป่าในความรับผิดชอบ พัฒนาระบบการจัดการสวนป่าไม้ เศรษฐกิจอย่าง ยั่งยืน ( SFM ) พัฒนาระบบการเคลื่อนย้ายสินค้าไม้ ( CoC ) และพัฒนาคุณภาพของ สินค้าและบริการ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานทั้งในประเทศและมาตรฐานสากล ( 3 ) ประสานงานและให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ทางราชการ ในการดาเนินการ เรื่องต่าง ๆ ในท้องที่เกี่ยวกับการปลูกสร้างสวนป่าฯ การส่งเสริมการปลูกป่าเศรษฐกิจ การทาไม้สวนป่า การบริหารจัดการ และใช้ประโยชน์ไม้ตามนโยบายของรัฐ อุตสาหกรรมไม้และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ( 4 ) บริหารจัดการ การผลิต การตลาด เศรษฐกิจดิจิทัล ( Digital Economy ) การบริการ การเพิ่มมูลค่า ในธุรกิจอุตสาหกรรมไม้อย่างครบวงจร ( 5 ) บริหารจัดการธุรกิจบริการที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการทาไม้ การปลูก สร้างสวนป่า การท่องเที่ยวอุตสาหกรรมไม้ และตามนโยบายรัฐ ( 6 ) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องและหรือตามที่ อ.อ.ป. มอบหมาย 3.9 องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ภาคเหนือล่าง มีผู้อำนวยการสำนัก (ระดับ 8 - 9) เป็นผู้รับผิดชอบ มีหน้าที่ความรับผิดชอบบริหารจัดการและดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) บริหารจัดการและดาเนินกิจการขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ภาคเหนือล่าง ให้เป็นหน่วยธุรกิจ ( Business Unit ) ที่มีศักยภาพ สอดคล้องกับนโยบายและพันธกิจของ อ.อ.ป. ในพื้นที่ความรับผิดชอบ รวม 10 จังหวัด คือ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก ตาก สุโขทัย เพชรบูรณ์ พิจิตร กำแพงเพชร นครสวรรค์ ชัยนาท และอุทัยธานี ( 2 ) บริหารจัดการสวนป่าในความรับผิดชอบ พัฒนาระบบการจัดการสวนป่าไม้ เศรษฐกิจอย่างยั่งยืน ( SFM ) พัฒนาระบบการเคลื่อนย้ายสินค้าไม้ ( CoC ) และพัฒนาคุณภาพ ของสินค้าและบริการ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานทั้งในประเทศและมาตรฐานสากล ( 3 ) ประสานงานและให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ทางราชการ ในการดาเนินการ เรื่องต่าง ๆ ในท้องที่เกี่ยวกับการปลูกสร้างสวนป่าฯ การส่งเสริมการปลูกป่าเศรษฐกิจ การทาไม้สวนป่า การบริหารจัดการและใช้ประโยชน์ไม้ตามนโยบายของรัฐ อุตสาหกรรมไม้และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ( 4 ) บริหารจัดการ การผลิต การตลาด เศรษฐกิจดิจิทัล ( Digital Economy ) การบริการ การเพิ่มมูลค่า ในธุรกิจอุตสาหกรรมไม้อย่างครบวงจร ้ หนา 48 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 44 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 กุมภาพันธ์ 2566

( 5 ) บริหารจัดการธุรกิจบริการที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการทาไม้ การปลูก สร้างสวนป่า การท่องเที่ยวอุตสาหกรรมไม้ และตามนโยบายรัฐ ( 6 ) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องและหรือตามที่ อ.อ.ป. มอบหมาย 3.10 องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ภาคกลาง มีผู้อานวยการสานัก (ระดับ 8 - 9) เป็นผู้รับผิดชอบ มีหน้าที่ความรับผิดชอบบริหารจัดการและดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) บริหารจัดการและดาเนินกิจการขององค์การ อุตสาหกรรมป่าไม้ภาคกลาง ให้เป็นหน่วยธุรกิจ ( Business Unit ) ที่มีศักยภาพ สอดคล้องกับนโยบายและพันธกิจของ อ.อ.ป. ในพื้นที่ความรับผิดชอบ รวม 25 จังหวัด คือ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ ปทุมธานี นนทบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ปราจีนบุรี นครนายก ฉะเชิงเทรา สระแก้ว สิงห์บุรี นครปฐม กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ราชบุรี สระบุรี ลพบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ ( 2 ) บริหารจัดการสวนป่าในความรับผิดชอบ พัฒนาระบบการจัดการสวนป่าไม้ เศรษฐกิจอย่างยั่งยืน ( SFM ) พัฒนาระบบการเคลื่อนย้ายสินค้าไม้ ( CoC ) และพัฒนาคุณภาพของ สินค้าและบริการ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานทั้งในประเทศและมาตรฐานสากล ( 3 ) ประสานงานและให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ทางราชการ ในการดาเนินการ เรื่องต่าง ๆ ในท้องที่เกี่ ยวกับการปลูกสร้างสวนป่าฯ การส่งเสริมการปลูกป่าเศรษฐกิจ การทาไม้สวนป่า การบริหารจัดการและใช้ประโยชน์ไม้ตามนโยบายของรัฐ อุตสาหกรรมไม้และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ( 4 ) บริหารจัดการ การผลิต การตลาด เศรษฐกิจดิจิทัล ( Digital Economy ) การบริการ การเพิ่มมูลค่า ในธุรกิจอุตสาหกรรมไม้อย่างครบวงจร ( 5 ) บริหารจัดการธุรกิจบริการที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการทาไม้ การปลูกสร้าง สวนป่า การท่องเที่ยวอุตสาหกรรมไม้ และตามนโยบายรัฐ ( 6 ) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องและหรือตามที่ อ.อ.ป. มอบหมาย 3.11 องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีผู้อานวยการสานัก (ระดับ 8 - 9) เป็นผู้รับผิดชอบ มีหน้าที่ความรับผิดชอบบริหารจัดการและดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) บริหารจัดการและดำเนินกิจการขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ให้เป็นหน่วยธุรกิจ ( Business Unit ) ที่มีศักยภาพ สอดคล้องกับนโยบาย และพันธกิจของ อ.อ.ป. ในพื้นที่ความรับผิดชอบ รวม 20 จังหวัด คือ นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ อุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ สุรินทร์ ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ อุดรธานี สกลนคร เลย หนองคาย มุกดาหาร นครพนม หนองบัวลำภู อำนาจเจริญ และบึงกาฬ ( 2 ) บริหารจัดการสวนป่าในความรับผิดชอบ พัฒนาระบบการจัดการสวนป่าไม้ เศรษฐกิจอย่างยั่งยืน ( SFM ) พัฒนาระบบการเคลื่อนย้ายสินค้าไม้ ( CoC ) และพัฒนาคุณภาพของ สินค้าและบริการ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานทั้งในประเทศและมาตรฐานสากล ้ หนา 49 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 44 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 กุมภาพันธ์ 2566

( 3 ) ประสานงานและให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ทางราชการ ในการดาเนินการ เรื่องต่าง ๆ ในท้องที่เกี่ยวกับการปลูกสร้างสวนป่าฯ การส่งเสริมการปลูกป่าเศรษฐกิจ การทาไม้สวนป่ำ การบริหารจัดการและใช้ประโยชน์ไม้ตามนโยบายของรัฐ อุตสาหกรรมไม้และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ( 4 ) บริหารจัดการ การผลิต การตลาด เศรษฐกิจดิจิทัล ( Digital Economy ) การบริการ การเพิ่มมูลค่า ในธุรกิจอุตสาหกรรมไม้อย่างครบวงจร ( 5 ) บริหารจัดการธุรกิจบริการที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการทาไม้ การปลูกสร้าง สวนป่า การท่องเที่ยวอุตสาหกรรมไม้ และตามนโยบายรัฐ ( 6 ) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องและหรือตามที่ อ.อ.ป. มอบหมาย 3.12 องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ภาคใต้ มีผู้อำนวยการสานัก (ระดับ 8 - 9) เป็นผู้รับผิดชอบ มีหน้าที่ความรับผิดชอบบริหารจัดการและดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) บริหารจัดการและดาเนินกิจการขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ภาคใต้ ให้เป็นหน่วยธุรกิจ ( Business Unit ) ที่มีศักยภาพ สอดคล้องกับนโยบายและพันธกิจของ อ.อ.ป. ในพื้นที่ความรับผิดชอบ รวม 14 จังหวัด คือ สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา ภูเก็ต สงขลา พัทลุง ตรัง สตูล ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส ( 2 ) บริหารจัดการสวนป่าในความรับผิดชอบ พัฒนาระบบการจัดการสวนป่าไม้ เศรษฐกิจอย่างยั่งยืน ( SFM ) พัฒนาระบบการเคลื่อนย้ายสินค้าไม้ ( CoC ) และพัฒนาคุณภาพ ของสินค้าและบริการ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานทั้งในประเทศและมาตรฐานสากล ( 3 ) ประสานงานและให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ทางราชการ ในการดาเนินการ เรื่องต่าง ๆ ในท้องที่เกี่ยวกับการปลูกสร้างสวนป่าฯ การส่งเสริมการปลูกป่าเศรษฐกิจ การทาไม้สวนป่า การบริหารจัดการและใช้ประโยชน์ไม้ตามนโยบายของรัฐ อุตสาหกรรมไม้และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ( 4 ) บริหารจัดการ การผลิต การตลาด เศรษฐกิจดิจิทัล ( Digital Economy ) การบริการ การเพิ่มมูลค่าในธุรกิจอุตสาหกรรมไม้อย่างครบวงจร ( 5 ) บริหารจัดการธุรกิจบริการที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการทาไม้ การปลูกสร้าง สวนป่า การท่องเที่ยวอุตสาหกรรมไม้ และตามนโยบายรัฐ ( 6 ) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องและหรือตามที่ อ.อ.ป. มอบหมาย 3.13 สถาบันคชบาลแห่งชาติ ในพระอุปถัมภ์ฯ มีผู้อานวยการสานัก (ระดับ 8 - 9) เป็นผู้รับผิดชอบ มีหน้าที่ความรับผิดชอบบริหารจัดการและดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ดูแลช้างสาคัญและช้างต้น รวมถึงโครงการพระราชดาริที่เกี่ยวข้องกับช้าง ตามที่ได้รับมอบหมาย ้ หนา 50 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 44 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 กุมภาพันธ์ 2566

( 2 ) ดำเนินการให้สถาบันฯ เป็นศูนย์กลางการอนุรักษ์และบริบาลช้าง รวมถึงให้ความร่วมมือเพื่อแก้ปัญหาช้างอย่างครบวงจร ( 3 ) ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับช้างและวัฒนธรรม ประเพณีที่เกี่ยวข้องกับช้าง รวบรวมองค์ความรู้และเผยแพร่สู่สาธารณชน ( 4 ) พัฒนารูปแบบการเลี้ยงช้าง ให้เป็นไปตามหลักการจัดการสวัสดิภาพ ( 5 ) ให้บริการดูแลสุขภาพ และให้คำแนะนำในการรักษาพยาบาลช้าง ( 6 ) อนุรักษ์และสืบสานประเพณี วัฒนธรรมเกี่ยวกับช้าง ( 7 ) ให้การสนับสนุนหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดูแลช้าง ( 8 ) ส่งเสริมกระบวนการการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการการเรียนรู้ เกี่ยวกับช้าง ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ตลอดจนสร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน ( 9 ) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องและหรือตามที่ อ.อ.ป. มอบหมาย 3.14 สานักธุรกิจคาร์บอนและนวัตกรรม มีหน้าที่และอานาจบริหารจัดการและ ดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การบริหารคาร์บอนเครดิต การสารวจ การจัดทารูปเล่ม ยื่นขอขึ้นทะเบียน และรับรองปริมาณคาร์บอนเครดิต การบริหารสัญญา การประกาศหาผู้ซื้อ การจาหน่ายซื้อ - ขาย การให้คำปรึกษา เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ข้อมูลคาร์บอนเครดิต และการให้บริการต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน อย่างครบวงจร ( 2 ) งานด้านพลังงานทดแทน คาร์บอนฟุตพริ้นท์ การประเมินประสิทธิภาพ เชิงนิเวศเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ( Climate Change ) ( 3 ) การจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน ( Sustainable Forest Management : SFM ) การจัดทำระบบควบคุมการเคลื่อนย้ายของสินค้าไม้ ( Chain of Custod : CoC ) และการตรวจ ประเมินพื้นที่ที่มีคุณค่าด้านการอนุรักษ์สูง ( High Conservation Value Areas : HCVAs ) รวมไปถึง การให้ คำปรึกษาและบริการกับทั้งภาครัฐและเอกชน ( 4 ) งานด้านนวัตกรรมของ อ.อ.ป. การส่งเสริมการใช้ความคิดสร้างสรรค์ ทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม การพัฒนาและแสวงหาความร่วมมือเกี่ยวกับองค์ความรู้ทางด้านวิชาการ ( 5 ) การขับเคลื่อนการดาเนินการด้านนวัตกรรมของ อ.อ.ป. สู่การจัดการ นวัตกรรมที่ยั่งยืน ส่งเสริมการใช้ความคิดสร้างสรรค์สู่นวัตกรรม สร้างวัฒนธรรมและยกระดับความรู้ ความสามารถสู่นวัตกรรม (6) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องและหรือตามที่ อ.อ.ป. มอบหมาย ้ หนา 51 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 44 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 กุมภาพันธ์ 2566

ข้อ 4 สถำน ที่ติด ต่อเพื่อข อรั บข้อมูลข่าวสารหรื อคำแน ะนำในการติดต่ อกับ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ คือ สำนักบริหารกลาง เป็นสถานที่ติดต่อขอรับข้อมูลข่าวสารทั่วไป ที่มีไว้เผยแพร่ ตั้งอยู่ที่องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ เลขที่ 76 ถนนราชดาเนินนอก แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100 โทร. 0 2282 3243 ต่อ 131 - 133 โทรสาร 0 2282 4617 ประกาศ ณ วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 256 6 สุกิจ จันทร์ทอง ผู้อำนวยการองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ้ หนา 52 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 44 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 กุมภาพันธ์ 2566