ข้อบังคับกรมเจ้าท่า ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และค่าธรรมเนียมการตรวจและการออกใบสำคัญรับรอง ให้เป็นไปตามประมวลข้อบังคับว่าด้วยการบริหารจัดการความปลอดภัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2566
ข้อบังคับกรมเจ้าท่า ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และค่าธรรมเนียมการตรวจและการออกใบสำคัญรับรอง ให้เป็นไปตามประมวลข้อบังคับว่าด้วยการบริหารจัดการความปลอดภัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2566
ข้อบังคับกรมเจ้าท่า ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และค่าธรรมเนียมการตรวจและการออกใบสำคัญรับรอง ให้เป็นไปตามประมวลข้อบังคับว่าด้วยการบริหารจัดการความปลอดภัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2566 โดยที่องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ ( International Maritime Organization : IMO ) ได้กำหนดในอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล ค.ศ. 1974 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ( International Convention for the Safety of Life at Sea, 1974 ( SOLAS ) , as amended ) บทที่ IX Management for the safe operation of ships ให้ใช้ประมวลข้อบังคับว่าด้วยการบริหารจัดการความปลอดภัยระหว่างประเทศ ( International Safety Management Code : ISM Code ) กับบริษัทและเรือ ดังนั้น เพื่อให้การปฏิบัติตามพันธกรณี ระหว่างประเทศ และการบังคับใช้กฎหมายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด จึงมีความจาเป็นต้องกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และค่าธรรมเนียมการตรวจและการออกใบสาคัญ รับรองเพื่อปฏิบัติตามอนุสัญญาและประมวลข้อบังคับ ดังกล่าว อาศัยอานาจตามความในมาตรา 163/1 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พระพุทธศักราช 2456 เพิ่มโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2560 และมาตรา 163 (3) แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พระพุทธศักราช 2456 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2560 เจ้าท่า โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกข้อบังคับกรมเจ้าท่าไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ ข้อบังคับกรมเจ้าท่า ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และ ค่าธรรมเนียมการตรวจและการออกใบสาคัญรับรองให้เป็นไปตามประมวลข้อบังคับว่าด้วยการบริหาร จัดการความปลอดภัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2566” ข้อ 2 ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 บรรดากฎข้อบังคับและระเบียบในส่วนที่บัญญัติไว้แล้วซึ่งขัดหรือแย้งกับข้อบังคับนี้ ให้ใช้ข้อบังคับนี้แทน ข้อ 4 ในข้อบังคับนี้ “ ใบสาคัญรับรอง ” หมายถึง เอกสารที่ออกให้กับบริษัทหรือเรือที่ได้ปฏิบัติตามประมวลข้อบังคับ ดังต่อไปนี้ (1) หนังสือรับรองการปฏิบัติตำมฉบับชั่วคราว หรือ (2) หนังสือรับรองการปฏิบัติตาม หรือ (3) ใบสำคัญรับรองการบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัยของเรือฉบับชั่วคราว หรือ (4) ใบสำคัญรับรองการบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัยของเรือ ้ หนา 20 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 37 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 กุมภาพันธ์ 2566
“ บริษัท ” ( Company ) หมายถึง เจ้าของเรือ หรือองค์กรหรือบุคคลอื่น ใด เช่น ผู้จัดการ หรือผู้เช่าเรือเปล่า ( bareboat charterer ) ซึ่งได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบในการปฏิบัติงานของเรือ แทนเจ้าของเรือ โดยการดาเนินการดังกล่าว องค์กรหรือบุคคลอื่นใดนั้นมีหน้าที่และความรับผิดชอบ ตามที่ประมวลข้อบังคับได้กำหนดไว้ “ อนุสัญญา ” หมายถึง อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล ค.ศ. 1974 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ( International Convention for the Safety of Life at Sea, 1974 as amended ) “ ประมวลข้อบังคับ ” หมายถึง ประมวลข้อบังคับว่าด้วยการบริหารจัดการความปลอดภัย ระหว่างประเทศ ( International Safety Management Code : ISM Code ) สำหรับการดาเนินงาน อย่างปลอดภัยของเรือและการป้องกันมลพิษ ซึ่งได้ผ่านการรับรองโดยมติสมัชชาขององค์การทางทะเล ระหว่างประเทศที่ 741 (18) แ ละที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยองค์การทางทะเลระหว่างประเทศ โดยมีเงื่อนไข ว่าการแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าวถูกรับรองและมีผลใช้บังคับตามบทบัญญัติของข้อ 8 ว่าด้วยเรื่องการแก้ไข เพิ่มเติมของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล ค.ศ. 1974 และที่แก้ไข เพิ่ มเติมในเรื่องที่เกี่ยวกับขั้นตอนแก้ไขเพิ่มเติมที่ใช้บังคับกับภาคผนวกนอกเหนือจากบทที่ 1 รวมถึง ที่อาจมีการแก้ไขปรับปรุงในอนาคต “ หลักฐานที่เป็นรูปธรรม ” ( Objective evidence ) หมายถึง ข้อมูลเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ ไม่ว่าจะเป็นบันทึกข้อเท็จจริงเรื่องความปลอดภัย หรือแสดงถึงการมีอยู่และการนาองค์ประกอบของ ระบบการบริหารจัดการความปลอดภัยของบริษัทหรือเรือมาปรับใช้ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของการสังเกต การวัด หรือการทดสอบ รวมถึงวิธีการอื่นใดซึ่งสามารถตรวจสอบได้ “ ข้อสังเกต ” ( Observation ) หมายถึง บันทึกข้อเท็จจริงซึ่งตรวจพบสิ่งที่อาจไม่สอดคล้อง ระหว่างการตรวจประเมินระบบการบริหารจัดการความปลอดภัยของบริษัทหรือเรือ และสามารถพิสูจน์ได้ โดยหลักฐานที่เป็นรูปธรรม “ ความไม่สอดคล้อง ” ( Non - conformity ) หมายถึง หลักฐานที่เป็นรูปธรรมซึ่งบ่งชี้ถึงการ ไม่สอดคล้องตามข้อกำหนดเฉพาะที่กำหนดไว้ในข้อบังคับนี้ “ ความไม่สอดคล้องระดับรุนแรง ” ( Major non - conformity ) หมายถึง หลักฐานที่เป็นรูปธรรม ซึ่งบ่งชี้ถึงความไม่สอดคล้อง ซึ่งเป็นภัยคุกคามต่อความปลอดภัยของบุคคลหรือเรืออ ย่างร้ายแรง หรือมีความเสี่ยงต่อสิ่งแวดล้อมอย่างร้ายแรงซึ่งต้องได้รับการแก้ไขในทันที รวมไปถึงการขาดการดาเนินการ อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพในการดาเนินการตามข้อกำหนดเพื่อความปลอดภัยตามข้อบังคับนี้ “ การตรวจสอบประจาปี ” ( Annual verification ) หมายถึง กา รตรวจประเมินการปฏิบัติประจำปี ของบริษัท ้ หนา 21 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 37 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 กุมภาพันธ์ 2566
“ การตรวจสอบช่วงกลางอายุ ” ( Intermediate verification ) หมายถึง การตรวจประเมิน การปฏิบัติช่วงกลางอายุของระบบการบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัยของเรือ ( Safety Management System : SMS ) “ สถาบันการตรวจเรือ ” หมายถึง องค์กรที่ได้รับการยอมรับ ( Recognized Organization ) จากกรมเจ้าท่าให้ดาเนินการตรวจเรือ ตรวจรับรองวัสดุ ตรวจรับรองมาตรฐานอุปกรณ์ตรวจสถานีบริการ และตรวจบริษัทบริหาร หรือดำเนินการตรวจใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานที่องค์การทางทะเล ระหว่างประเทศ ( IMO ) ห รือองค์กรสถาบันจัดชั้นเรือระหว่างประเทศ ( International Association of Classification Societies : IACS ) กาหนด รวมถึงออกใบสาคัญรับรองตามข้อกาหนดของอนุสัญญา ระหว่างประเทศและพิธีสารที่เกี่ยวข้อง “ วันครบรอบปี ( Anniversary date )” หมายถึง วันและเดือนของแต่ละปีซึ่งตรงกับวันที่หมดอายุ ของหนังสือรับรองการปฏิบัติตาม หรือใบสำคัญรับรองที่เกี่ยวข้อง “ หมายเลขประจาตัวขององค์การทางทะเลระหว่างประเทศสาหรับบริษัทและเจ้าของเรือ ที่ขึ้นทะเบียน ” ( IMO Unique Company and Registered Owner Identificati on Number ) หมายถึง หมายเลขถาวรที่องค์การทางทะเลระหว่างประเทศได้จัดสรรให้บริษัท เมื่อมีการออกหนังสือ หรือใบสาคัญรับรองเพื่อเป็นมาตรการในการเพิ่มความปลอดภัย การรักษาความปลอดภัย และการปกป้อง สิ่งแวดล้อมทางทะเล รวมถึงเพื่ออานวยความสะดวกในการป้องกันการฉ้อฉลทางทะเล ใช้ในการ ตรวจสอบย้อนกลับ และเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมป้องกันการกระทำผิดกฎหมาย ข้อ 5 ข้อบังคับนี้ใช้บังคับกับเรือเดินทะเลระหว่างประเทศ ดังต่อไปนี้ (1) เรือโดยสารและเรือโดยสารความเร็วสูง (2) เรือบรรทุก น้ำมัน เรือบรรทุกสารเคมี เรือบรรทุกแก๊ส เรือบรรทุกสินค้าเทกอง และเรือบรรทุก สินค้าความเร็วสูง ที่มีขนาดตั้งแต่ 500 ตันกรอส ขึ้นไป (3) เรือบรรทุกสินค้าอย่างอื่นและแท่นขุดเจาะเคลื่อนที่นอกชายฝั่ง ซึ่งมีขนาดตั้งแต่ 500 ตันกรอส ขึ้นไป ข้อบังคับนี้ไม่ใช้บังคับกับเรือของรัฐบาลที่มิได้ใช้เพื่อการพาณิชย์ ข้อ 6 ให้อธิบดีกรมเจ้าท่ามีอานาจประกาศกาหนดหลักเกณฑ์ มาตรฐาน ข้อกาหนด ตลอดจนรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการความปลอดภัยระหว่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นระบบ การบริหารจัดการความปลอดภัยภาคสมัครใจ หรือระบบการบริหารจัดการความปลอดภัยภาคบังคับ ให้เป็นไปตามข้อบังคับและแนวทางตามที่กาหนดในประมวลข้อบังคับตามภาคผนวก 1 ท้ายข้อบังคับนี้ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 7 ให้อธิบดีกรมเจ้าท่ามีอำนาจประกาศกำหนดหลั กเกณฑ์ในการตรวจประเมิน สั่งการให้บริษัทแก้ไขและกาหนดวิธีการแก้ไขข้อสังเกต ความไม่สอดคล้อง หรือความไม่สอดคล้อง ระดับรุนแรง ให้เป็นไปโดยสอดคล้องกับแนวทางการปฏิบัติตามประมวลข้อบังคับในเรื่อง ดังต่อไปนี้ ้ หนา 22 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 37 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 กุมภาพันธ์ 2566
( 1 ) การจัดทำนโยบายการปฏิบัติการของเรือด้านความปลอ ดภัยและการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ( 2 ) การจัดทาคาแนะนำและขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อให้มั่นใจถึงการปฏิบัติงาน เพื่อให้เรือ มีความปลอดภัยและคุ้มครองสิ่งแวดล้อมทางทะเล ให้สอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ( 3 ) การกำหนดระดับการบังคับบัญชาและช่องทางการสื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติงานบนฝั่งและในเรือ ( 4 ) การกาหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานสาหรับการรายงานอุบัติเหตุและความไม่สอดคล้อง ตามที่กาหนดในประมวลข้อบังคับนี้ ( 5 ) การกำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานสำหรับการเตรียมความพร้อมและตอบสนอง ต่อ สถานการณ์ฉุกเฉิน และ ( 6 ) การกาหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานสาหรับการตรวจประเมินภายในและการทบทวนโดย ฝ่ายบริหาร ข้อ 8 กรมเจ้าท่าอาจมอบอานาจให้สถาบันการตรวจเรือ ดาเนินการตรวจสอบบริษัท และเรือตามข้อกำหนดของระบบการบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัย และสามารถออกหนังสือ รับรอง การปฏิบัติตามให้กับบริษัท รวมถึงสามารถออกใบสาคัญรับรองการบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัย ของเรือให้แก่เรือที่ชักธงไทย ให้สถาบันการตรวจเรือจัดส่งรายงานผลการตรวจสอบประจาปี และรายงานผลการตรวจสอบ ช่วงกลางอายุ ต่อกรมเจ้าท่าทราบทุกครั้ง ข้อ 9 เจ้าของเรือหรือตัวแทนเจ้าของเรือที่มีความประสงค์จะให้เจ้าพนักงานตรวจเรือ ดาเนินการตรวจสอบเพื่อออกใบสาคัญรับรอง ต้องยื่นคาร้องตามแบบ ก. 5 ล่วงหน้าก่อนวันนัดหมาย ตรวจเรือหรือบริษัทไม่น้อยกว่า 3 วัน สำหรับการตรวจสอบภายในประเทศ และไม่น้อยกว่า 21 วัน สำห รับการตรวจสอบในต่างประเทศ เมื่อพบว่าเป็นไปตามข้อบังคับนี้ให้เจ้าพนักงานตรวจเรือดาเนินการ ออกใบสำคัญรับรอง ภายใน 3 วันทำการนับตั้งแต่กลับจากการตรวจสอบ ข้อ 10 ให้เจ้าพนักงานตรวจเรือออกใบสาคัญรับรอง เมื่อตรวจประเมินบริษัทหรือเรือเสร็จสิ้น ตามข้อ 8 และพบว่าเรือหรือบริษัทนั้นได้ดาเนินการตามข้อบังคับนี้แล้ว ทั้งนี้ ให้ออกใบสาคัญรับรองได้ แล้วแต่กรณี ดังต่อไปนี้ (1) หนังสือรับรองการปฏิบัติตามฉบับชั่วคราว ให้เป็นไปตามแบบในภาคผนวก 2 ที่แนบท้าย ข้อบังคับนี้หรือตามที่อธิบดีกรมเจ้าท่าประกาศกาหนด โดยมี กาหนดอายุไม่เกิน 1 ปี นับแต่วันที่ ออกหนังสือรับรอง (2) หนังสือรับรองการปฏิบัติตาม ให้เป็นไปตามแบบในภาคผนวก 3 ที่แนบท้ายข้อบังคับนี้ หรือตามที่อธิบดีกรมเจ้าท่าประกาศกำหนด โดยมีกำหนดอายุไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันที่ออกหนังสือรับรอง ทั้งนี้ ต้องมีการตรวจสอบประจาปี ภายในเวลา 3 เดือน ก่อนหรือหลังวันครบรอบปี อีกทั้ง บริษัท ต้องสำเนาหนังสือรับรองเก็บรักษาไว้บนเรือด้วย ้ หนา 23 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 37 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 กุมภาพันธ์ 2566
(3) ใบสำคัญรับรองการบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัยของเรือฉบับชั่วคราว ให้เป็นไปตาม แบบในภาคผนวก 4 ที่แนบท้ายข้อบังคับนี้หรือตำมที่อธิบดีกรมเจ้าท่าประกาศกาหนด โดยมีกาหนด อายุไม่เกิน 6 เดือน นับแต่วันที่ออกใบสำคัญรับรอง (4) ใบสาคัญรับรองการบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัยของเรือ ให้เป็นไปตามแบบใน ภาคผนวก 5 ที่แนบท้ายข้อบังคับนี้หรือตามที่อธิบดีกรมเจ้าท่าประกาศกาหนด โดยมีกาหนดอายุ ไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันที่ออกใบสาคัญรับรอง ทั้งนี้ ต้องมีการตรวจสอบช่วงกลางอายุ ของใบสาคัญ รับรองจำนวน 1 ครั้ง ในช่วงเวลาระหว่างครบรอบปีที่สองและปีที่สามของใบสำคัญรับรอง กรณีการออกใบสาคัญรับรองการบริหารจัดการความปลอดภัย ให้พิจารณาโดยมีเงื่อนไข ขึ้นอยู่กับความถูกต้องครบถ้วนของหนังสือรับรองการปฏิบัติตาม หากหนังสือรับรองการปฏิบัติตามได้ ถูกยกเลิกหรือเพิกถอน ใบสาคัญรับรองการบริหารจัดการความปลอดภัยดังกล่าว จะถูกยกเลิกหรือ เพิกถอนด้วยเช่นกัน กรณีการออกใบสำคัญรับรองการบริหารจัดการความปลอดภัย และใ บสำคัญรับรองการบริหาร จัดการความปลอดภัยฉบับชั่วคราว ให้พิจารณาความถูกต้องและครบถ้วนของหนังสือรับรองการปฏิบัติตาม หรือหนังสือรับรองการปฏิบัติตามฉบับชั่วคราวด้วย อธิบดีกรมเจ้าท่าอาจพิจารณาขยายอายุใบสาคัญรับรองการบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัย ฉบับชั่วคราวตาม (3) ออกไปได้เป็นระยะเวลาไม่เกิน 6 เดือน นับจากวันหมดอายุ กรณีใบสาคัญรับรองการบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัยของเรือตาม (4) หมดอายุ ในขณะที่ เรือนั้นไม่อยู่ในเมืองท่าที่สามารถกระทาการตรวจเรือได้ กรมเจ้าท่าอาจพิจารณาขยายอายุของใบสำคัญ รับรองดังกล่าวออกไปได้เป็นระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน นับจากวันหมดอายุ โดยการสลักหลัง ขยายอายุใบสาคัญรับรองท้ายใบสาคัญรับรองฉบับเดิม เมื่อเรือนั้นเดินทางถึงเมืองท่าที่สามารถกระทาการ ตรวจเรือได้แล้ว เรือนั้นต้องได้รับการตรวจเรือโดยพลัน กรณีการตรวจสอบเพื่อ ขอออกใบสาคัญรับรองใหม่ ( Renewal verification ) ก่อนวันหมดอายุ ของหนังสือรับรองการปฏิบัติตามตาม (2) หรือใบสาคัญรับรองการบริหารจัดการความปลอดภัย ตาม (4) หากได้ดาเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลา 3 เดือน ก่อนถึงวันหมดอายุ ให้ใบสาคัญ รับรองฉบับใหม่ดังกล่าวมีผลใช้บังคับในทันที ทั้งนี้ โดยมีกำหนดอายุไม่เกิน 5 ปี นับแต่การตรวจสอบ เพื่อขอออกใบสำคัญรับรองใหม่ได้ดาเนินการแล้วเสร็จ ข้อ 11 อธิบดีกรมเจ้าท่ามีอำนาจยกเลิกหรือเพิกถอนใบสาคัญรับรอง ด้วยเหตุอย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้ (1) กรณีไม่ได้มีการตรวจสอบประจาปีสำหรับหนังสือรับรองการปฏิบัติตามหรือหนังสือรับรอง การปฏิบัติตามฉบับชั่วคราว ซึ่งตามข้อกาหนดระบุว่าการจะออกหนังสือรับรองการปฏิบัติตามได้ ก็ต่อเมื่อมีการตรวจสอบประจาปีโดยกรมเจ้าท่าหรือสถาบันการตรวจเรือ หรือตามการร้องขอของรัฐ ที่เป็นภาคี อนุสัญญาภายในระยะเวลา 3 เดือนของวันครบรอบปี หรือเมื่อมีหลักฐานแสดงความไม่สอดคล้อง ้ หนา 24 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 37 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 กุมภาพันธ์ 2566
ระดับรุนแรง หนังสือรับรองการปฏิบัติตามดังกล่าวจะถูกยกเลิกหรือเพิกถอนโดยกรมเจ้าท่า หรือ ตามการร้องขอของรัฐที่เป็นภาคีอนุสัญญาซึ่งเป็นผู้ออกหนังสือรับรอง (2) ก รณีที่หนังสือรับรองการปฏิบัติตามหรือหนังสือรับรองการปฏิบัติตามฉบับชั่วคราวถูกยกเลิก หรือเพิกถอน ใบสาคัญรับรองการบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัยของเรือฉบับชั่วคราว และใบสาคัญ รับรองการบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัยของเรือ ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดจะถูกยกเลิกหรือเพิกถอนด้วย (3) กรณีที่สถาบันการตรวจเรือจะยกเลิกหรือเพิกถอนหนังสือรับรองการปฏิบัติตามหรือ หนังสือรับรองการปฏิบัติตามฉบับชั่วคราว หรือใบสาคัญรับรองและใบสาคัญรับรองฉบับชั่วคราว ต้องแจ้งมายังกรมเจ้าท่าเพื่อทราบก่อนยกเลิก หรือเพิกถอนหนังสือรับรองการปฏิบัติตามหรือหนังสือรับรอง การปฏิบัติตามฉบับชั่วคราว หรือใบสำคัญรับรองและใบสำคัญรับรองฉบับชั่วคราวดังกล่าว ข้อ 12 อัตราค่าธรรมเนียมสาหรับการตรวจบริษัทและเรือเพื่อออกหรือสลักหลังใบสาคัญ รับรองให้เป็นไปตามที่ปรากฏในภาคผนวก 6 ที่ แนบท้ายข้อบังคับนี้ ข้อ 1 3 ใบสำคัญรับรองที่กรมเจ้าท่าออกให้ก่อนวันที่ข้อบังคับนี้ใช้บังคับ ให้ใช้ได้ต่อไป ตามกาหนดเวลาและเงื่อนไขที่ระบุไว้ในใบสำคัญรับรองนั้น ข้อ 14 ให้อธิบดีกรมเจ้าท่าเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนี้ และมีอำนาจออกประกาศ เพื่อกำหนดรายละเอี ยดการปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อบังคับนี้ ประกาศ ณ วันที่ 1 0 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 256 6 ภูริพัฒน์ ธีระกุลพิศุทธิ์ รองอธิบดี รักษาราชการแทน อธิบดีกรมเจ้าท่า ้ หนา 25 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 37 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 กุมภาพันธ์ 2566
ภาคผนวก 1 ประมวลข้อบังคับว่าด้วยการบริหารจัดการความปลอดภัยระหว่างประเทศ ( International Safety Management Code: ISM Code)
A 18/Res.741 1 ASSEMBLY - 18th session 17 November 1993 Agenda item 11 Resolution A.741(18) Adopted on 4 November 1993 INTERNATIONAL MANAGEMENT CODE FOR THE SAFE OPERATION OF SHIPS AND FOR POLLUTION PREVENTION (International Safety Management (ISM) Code) (Electronic Version for Distribution on the World Wide Web) The Assembly, RECALLING Article 15 (j) of the Convention on the International Maritime Organization concerning the functions of the Assembly in relation to regulations and guidelines concerning maritime safety and the prevention and control of marine pollution from ships, RECALLING ALSO resolution A.680(17), by which it invited Member Governments to encourage those responsible for the management and operations of ships to take appropriate steps to develop, implement and assess safety and pollution-prevention management in accordance with the IMO Guidelines on Management for the Safe Operation of Ships and for Pollution Prevention, RECALLING ALSO resolution A.596(15), by which it requested the Maritime Safety Committee to develop, as a matter of urgency, guidelines, wherever relevant, concerning shipboard and shore-based management, and its decision to include in the work program of the Maritime Safety committee and the Marine Environment Protection Committee an item on shipboard and shore-based management for the safe operation of ships and for the prevention of marine pollution, respectively, RECALLING FURTHER resolution A.441(XI), by which it invited every State to take the necessary steps to ensure that the owner of a ship which flies the flag of the State provides such State with the current information necessary to enable it to identify and contact the person contracted or otherwise entrusted by the owner to discharge his responsibilities for that ship in regard to matters relating to maritime safety and the protection of the marine environment, RECALLING FURTHER resolution A.443(XI), by which it invited Governments to take the necessary steps to safeguard the shipmaster in the proper discharge of his responsibilities in regard to maritime safety and the protection of the marine environment, RECOGNIZING the need for appropriate organization of management to enable it to respond to the need of those on board ships to achieve and maintain high standards of safety and environmental protection, RECOGNIZING ALSO that the most important means of preventing maritime casualties and pollution of the sea from ships is to design, construct, equip and maintain ships and to operate them with properly trained crews in compliance with international conventions and standards relating to maritime safety and pollution prevention, NOTING that the Maritime Safety Committee is developing requirements for adoption by Contracting Governments to the International Convention for the Safety of Life at Sea (SOLAS), 1974, which will make compliance with the Code referred to in operative paragraph 1 mandatory, CONSIDERING that the early implementation of that Code would greatly assist in improving safety at sea and protection of the marine environment, NOTING FURTHER that the Maritime Safety Committee and the Marine Environment Protection Committee have reviewed resolution A.680(17) and the Guidelines annexed thereto in developing the Code,
A 18/Res.741 2 HAVING CONSIDERED the recommendations made by the Maritime Safety Committee at its sixty-second session and by the Marine Environment Protection Committee at its thirty-fourth session. 1. ADOPTS the International Management Code for the Safe Operation of Ships and for Pollution Prevention (International Safety Management (ISM) Code), set out in the annex to the present resolution; 2. STRONGLY URGES Governments to implement the ISM Code on a national basis, giving priority to passenger ships, tankers, gas carriers, bulk carriers and mobile offshore units which are flying their flags, as soon as possible but no later than 1 June 1998, pending development of the mandatory application of the Code; 3. REQUESTS Governments to inform the Maritime Safety Committee and the Marine Environment Protection Committee of the action they have taken in implementing the ISM Code; 4. REQUESTS the Maritime Safety Committee and the Marine Environment Protection Committee to develop Guidelines for the implementation of the ISM Code; 5. REQUESTS ALSO the Maritime Safety Committee and the Marine Environment Protection Committee to keep the Code and its associated Guidelines under review and to amend them as necessary; 6. REVOKES resolution A.680(17).
A 18/Res.741 3 Annex INTERNATIONAL MANAGEMENT CODE FOR THE SAFE OPERATION OF SHIPS AND FOR POLLUTION PREVENTION (International Safety Management(ISM) Code) SAFETY AND POLLUTION-PREVENTION MANAGEMENT REQUIREMENTS Contents Preamble 1 GENERAL 1.1 Definitions 1.2. Objectives 1.3 Application 1.4 Functional requirements for asafety-management system (SMS) 2 SAFETY AND ENVIRONMENTAL-PROTECTION POLICY 3 COMPANY RESPONSIBILITIES AND AUTHORITY 4 DESIGNATED PERSON(S) 5 MASTER’S RESPONSIBILITY AND AUTHORITY 6 RESOURCES AND PERSONNEL 7 DEVELOPMENT OF PLANS FOR SHIPBOARD OPERATIONS 8 EMERGENCY PREPAREDNESS 9 REPORTS AND ANALYSIS OF NON-CONFORMITIES, ACCIDENTS AND HAZARDOUS OCCURRENCES 10 MAINTENANCE OF THE SHIP AND EQUIPMENT 11 DOCUMENTATION 12 COMPANY VERIFICATION, REVIEW AND EVALUATION 13 CERTIFICATION, VERIFICATION AND CONTROL
A 18/Res.741 4 PREAMBLE 1. The purpose of this Code is to provide an international standard for the safe management and operation of ships and for pollution prevention. 2. The Assembly adopted resolution A.443(XI), by which it invited all Governments to take the necessary steps to safeguard the shipmaster in the proper discharge of his responsibilities with regard to maritime safety and the protection of the marine environment. 3. The Assembly also adopted resolution A.680(17), by which it further recognized the need for appropriate organization of management to enable it to respond to the need of those on board ships to achieve and maintain high standards of safety and environment protection. 4. Recognizing that no two shipping companies or shipowners are the same, and that ships operate under a wide range of different conditions, the Code is based on general principles and objectives. 5. The Code is expressed in broad terms so that it can have a widespread application. Clearly, different levels of management, whether shore-based or at sea, will require varying levels of knowledge and awareness of the items outlined. 6. The cornerstone of good safety management is commitment from the top. In matters of safety and pollution prevention it is the commitment, competence, attitudes and motivation of individuals at all levels that determine the end result. 1 GENERAL 1.1 Definitions 1.1.1 International Safety Management (ISM) Code means the International Management Code for the Safe Operation of Ships and for Pollution Prevention as adopted by the Assembly, as may be amended by the Organization. 1.1.2 Company means the owner of the ship or any other organization or person such as the manager, or the bareboat charter, who has assumed the responsibility for operation of the ship from the shipowner and who on assuming such responsibility has agreed to take over all the duties and responsibility imposed by the Code. 1.1.3 Administration means the Government of the State whose flag the ship is entitled to fly.
A 18/Res.741 5 1.2 Objectives 1.2.1 The objectives of the Code are to ensure safety at sea, prevention of human injury or loss of life, and avoidance of damage to the environment, in particular to the marine environment, and to property. 1.2.2 Safety-management objectives of the Company shoul d inter alia : .1 provide for safe practices in ship operation and a safe working environment; .2 establish safeguards against all identified risks; and .3 continuously improve safety-management skills of personnel ashore and aboard ships, including preparing for emergencies related both to safety and environmental protection. 1.2.3 The safety-management system should ensure: .1 compliance with mandatory rules and regulations; and .2 that applicable codes, guidelines and standards recommended by the Organization, Administrations, classification societies and maritime industry organizations are taken into account. 1.3 Application The requirements of this Code may be applied to all ships. 1.4 Functional requirements for a safety-management system (SMS) Every Company should develop, implement and maintain a safety-management system (SMS), which includes the following functional requirements: .1 a safety and environmental-protection policy; .2 instructions and procedures to ensure safe operation of ships and protection of the environment in compliance with relevant international and flag State legislation; .3 defined levels of authority and lines of communication between, and amongst, shore and shipboard personnel; .4 procedures for reporting accidents and non-conformities with the provisions of this Code; .5 procedures to prepare for and respond to emergency situations; and .6 procedures for internal audits and management reviews. 2 SAFETY AND ENVIRONMENTAL-PROTECTION POLICY 2.1 The Company should establish a safety and environmental-protection policy which describes how the objectives given in paragraph 1.2 will be achieved.
A 18/Res.741 6 2.2 The Company should ensure that the policy is implemented and maintained at all levels o f the organization, both ship-based as well as shore-based. 3 COMPANY RESPONSIBILITIES AND AUTHORITY 3.1 If the entity who is responsible for the operation of the ship is other than the owner, the owner must report the full name and details of such entity to the Administration. 3.2 The Company should define and document the responsibility, authority and interrelation of all personnel who manage, perform and verify work relating to and affecting safety and pollution prevention. 3.3 The Company is responsible for ensuring that adequate resources and shore-based support are provided to enable the designated person or persons to carry out their functions. 4 DESIGNATED PERSON(S) To ensure the safe operation of each ship and to provide a link between the company and those on board, every company, as appropriate, should designate a person or persons ashore having direct access to the highest level of management. The responsibility and authority of the designated person or persons should include monitoring the safety and pollution-prevention aspects of the operation of each ship and ensuring that adequate resources and shore-based support are applies, as required. 5 MASTER’S RESPONSIBILITY AND AUTHORITY 5.1 The Company should define and document the master’s responsibility with regard to: .1 implementing the safety and environmental-protection policy of the Company; .2 motivating the crew in the observation of that policy; .3 issuing appropriate orders and instructions in a clear and simple manner; .4 verifying that specified requirements are observed; and .5 reviewing the SMS and reporting its deficiencies to the shore-based management. 5.2 The Company should ensure that the SMS operating on board the ship contains a clear statement emphasizing the master’s authority. The Company should establish in the SMS that the master has the overriding authority and the responsibility to make decisions with respect to safety and pollution-prevention and to request the Company’s assistance as may be necessary.
A 18/Res.741 7 6 6.1 RESOURCES AND PERS O NNEL The Company should ensure that the master is: .1 properly qualified for command; .2 fully conversant with the Company’s SMS; and .3 given the necessary support so that the master’s duties can be safely performed. 6.2 The Company should ensure that each ship is manned with qualified, certificated and medically fit seafarers in accordance with national and international requirements. 6.3 The Company should establish procedures to ensure that new personnel and personnel transferred to new assignments related to safety and protection of the environment are given proper familiarization with their duties. Instructions which are essential to be provided prior to sailing should be identified, documented and given. 6.4 The Company should ensure that all personnel involved in the Company’s SMS have an adequate understanding of relevant rules, regulations, codes and guidelines. 6.5 The Company should establish and maintain procedures for identifying any training which may be required in support of the SMS and ensure that such training is provided for all personnel concerned. 6.6 The Company should establish procedures by which the ship’s personnel receive relevant information on the SMS in a working language or languages understood by them. 6.7 The Company should ensure that the ship’s personnel are able to communicate effectively in the execution of their duties related to the SMS. 7 DEVELOPMENT OF PLANS FOR SHIPBOARD OPERATIONS The Company should establish procedures for the preparation of plans and instructions for key shipboard operations concerning the safety of the ship and the prevention of pollution. The various tasks involved should be defined and assigned to qualified personnel. 8 EMERGENCY PREPAREDNESS 8.1 The Company should establish procedures to identify, describe, and respond to potential emergency shipboard situations. 8.2 The Company should establish programmes for drills and exercises to prepare for emergency actions. 8.3 The SMS should provide for measures that the Company’s organization can respond at any time to hazards, accidents and emergency situations involving its ships.
A 18/Res.741 8 9 REPORTS AND ANALYSIS OF NON-CONFORMITIES, ACCIDENTS AND HAZARDOUS OCCURRENCES 9.1 The SMS should include procedures ensuring that non-conformities, accidents and hazardous situations are reported to the Company, investigated and analyzed with the objective of improving safety and pollution prevention. 9.2 The Company should establish procedures for the implementation of corrective action. 10 MAINTENANCE OF THE SHIP AND EQUIPMENT 10.1 The Company should establish procedures to ensure that the ship is maintained in conformity with the provisions of the relevant rules and regulations and with any additional requirements which may be established by the Company. 10.2 In meeting these requirements, the Company should ensure that: .1 inspections are held at appropriate intervals; .2 any non-conformity is reported, with its possible cause, if known; .3 appropriate corrective action is taken; and .4 records of these activities are maintained. 10.3 The Company should establish procedures in its SMS to identify equipment and technical systems the sudden operational failure of which may result in hazardous situations. The SMS should provide for specific measures aimed at promoting the reliability of such equipment or systems. These measures should include the regular testing of stand-by arrangements and equipment or technical systems that are not in continuous use. 10.4 The inspections mentioned in 10.2 as well as the measures referred to in 10.3 should be integrated into the ship’s operational maintenance routine. 11 DOCUMENTATION 11.1 The Company should establish and maintain procedures to control all documents and data which are relevant to the SMS. 11.2 The Company should ensure that: .1 .2 .3 valid documents are available at all relevant locations; changes to documents are reviewed and approved by authorized personnel; and obsolete documents are promptly removed.
A 18/Res.741 9 11.3 The documents used to describe and implement the SMS may be referred to as the Safety Management Manual. Documentation should be kept in a form that the Company considers most effective. Each ship should carry on board all documentation relevant to that ship. 12 COMPANY VERIFICATION, REVIEW AND EVALUATION 12.1 The Company should carry out internal safety audits to verify whether safety and pollution-prevention activities comply with the SMS. 12.2 The Company should periodically evaluate the efficiency of and, when needed, review the SMS in accordance with procedures established by the Company. 12.3 The audits and possible corrective actions should be carried out in accordance with documented procedures. 12.4 Personnel carrying out audits should be independent of the areas being audited unless this is impracticable due to the size and the nature of the Company. 12.5 The results of the audits and reviews should be brought to the attention of all personnel having responsibility in the area involved. 12.6 The management personnel responsible for the area involved should take timely corrective action on deficiencies found. 13 CERTIFICATION, VERIFICATION AND CONTROL 13.1 The ship should be operated by a Company which is issued a document of compliance relevant to that ship. 13.2 A document of compliance should be issued for every Company complying with the requirements of the ISM Code bye the Administration, by an organization recognized by the Administration or by the Government of the country acting on behalf of the Administration in which the Company has chosen to conduct its business. This document should be accepted as evidence that the Company is capable of complying with the requirements of the Code. 13.3 A copy of such a document should be placed on board in order that the master, if so asked, may produce it for the verification of the Administration of organizations recognized by it. 13.4 A certificate, call a Safety Management Certificate, should be issued to a ship by the Administration or organizations recognized bye the Administration. The Administration should, when issuing the certificate, verify that the Company and its shipboard management operate in accordance with the approved SMS. 13.5 The Administration or an organization recognized by the Administration should periodically verify the proper functioning of the ship’s SMS as approved. __________
ภาคผนวก 2 หนังสือรับรองการปฏิบัติตามฉบับชั่วคราว
Certificate No. … INTERIM DOCUMENT OF COMPLIANCE Issued under the provision of the INTERNATIONAL CONVENTION FOR THE SAFETY OF LIFE AT SEA, 1974, as amended Under the authority of the Government of the Kingdom of Thailand by The Marine Department Name of the Company : … Address of the Company : … … … … The company identification number … THIS IS TO CERTIFY THAT the safety management system of the company has been audited and that it complies with the requirements of the International Management Code for the safe Operation of the Ships and for Pollution Prevention (ISM Code) for the types of Ships listed below (delete as appropriate): Passenger ship Passenger high - speed craft Cargo high - speed craft Bulk carrier Oil tanker Chemical tanker Gas carrier Mobile offshore drilling unit Other cargo ship This Document of Compliance is valid until… subject to periodical verification. Completion date of the verification on which this certificate is based… Issued at … date of issue … … ( ) GOVERNMENT SHIP SURVEYOR
ภาคผนวก 3 หนังสือรับรองการปฏิบัติตาม
Certificate No. … DOCUMENT OF COMPLIANCE Issued under the provision of the INTERNATIONAL CONVENTION FOR THE SAFETY OF LIFE AT SEA, 1974, as amended Under the authority of the Government of the Kingdom of Thailand by The Marine Department Name of the Company : … Address of the Company : … … … The company identification number … … THIS IS TO CERTIFY THAT the safety management system of the company has been audited and that it complies with the requirements of the International Management Code for the safe Operation of the Ships and for Pollution Prevention (ISM Code) for the types of Ships listed below (delete as appropriate): Passenger ship passenger high - speed craft Cargo high - speed craft Bulk carrier Oil tanker Chemical tanker Gas carrier Mobile offshore drilling unit Other cargo ship This Document of Compliance is valid until… subject to periodical verification. Completion date of the verification on which this certificate is based… Issued at … date of issue … ( ) GOVERNMENT SHIP SURVEYOR
Certificate No. … ENDORSEMENT FOR ANNUAL VERIFICATION THIS IS TO CERTIFY THAT, at the periodical verification in accordance with the regulation IX/6.1 of the Convention and paragraph 13.4 of the ISM Code, the safety management system was found to comply with the requirements of the ISM Code. 1 st Annual verification S igned… Place … Date … 2 nd Annual verification S igned… Place … Date … … 3 rd Annual verification S igned… Place … Date … 4 th Annual verification S igned… Place … Date … …
ภาคผนวก 4 ใบสำคัญรับรองการบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัยของเรือฉบับชั่วคราว
Certificate No. … INTERIM SAFETY MANAGEMENT CERTIFICATE Issued under the provisions of the INTERNATIONAL CONVENTION FOR THE SAFETY OF LIFE AT SEA, 1974, as amended Under the authority of the Government of the Kingdom of Thailand by The Marine Department Name of Ship Distinctive number or letter Port of Registry Gross Tonnage Type of ship* … … IMO number … .. Number of the Company … Address of the Company… .. … … The company identification number … … THIS IS TO CERTIFY THAT the safety management of the ship has been audited and that it complies with the requirements of the International Management Code for the safety Operation of the ships and for pollution Prevention (ISM Code), following verification that the Document of compliance for the company is applicable to this type of ship. This Safety Management Certificate is valid until … … … . subject to periodical verification and the validity of the Document of Compliance Completion date of the verification on which this certificates is based… … . I ssued at … Date of issue… … ( ) GOVERNMENT SHIP SURVEYOR * Insert the type of ship from among the following: passenger ship; passenger high - speed craft; cargo high - speed craft; bulk carrier; oil tanker; chemical tanker; gas carrier; mobile offshore drilling unit; other cargo ship.
ภาคผนวก 5 ใบสำคัญรับรองการบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัยของเรือ
Certificate No. … SAFETY MANAGEMENT CERTIFICATE Issued under the provisions of the INTERNATIONAL CONVENTION FOR THE SAFETY OF LIFE AT SEA, 1974, as amended Under the authority of the Government of the Kingdom of Thailand by The Marine Department Name of Ship Distinctive number or letter Port of Registry Gross Tonnage Type of ship* … IMO number … .. Number of the Company … Address of the Company… … … The compa ny identification number … THIS IS TO CERTIFY THAT the safety management of the ship has been audited and that it complies with the requirements of the International Management Code for the safety Operation of th e ships and for pollution Prevention (ISM Code), following verification that the Document of compliance for the company is applicable to this type of ship. This Safety Management Certificate is valid until … … subject to periodical verification and the validity of the Document of Compliance Completion date of the verification on which this certificates is based… . Issued at … Date of issue… ( ) GOVERNMENT SHIP SURVEYOR * Insert the type of ship from among the following: passenger ship; passenger high - speed craft; cargo high - speed craft; bulk carrier; oil tanker; chemical tanker; gas carrier; mobile offshore drilling unit; other cargo ship.
Certificate No. … ENDORSEMENT FOR PERIODICAL VERIFICATION AND ADDITION VERIFICATION (IF REQUIREMENT) THIS IS TO CERTIFY THAT, at the periodical verification in accordance with the regulation IX/6.1 of the Convention and paragraph 13.8 of the ISM Code, the safety management system was found to comply with the requirements of the ISM Code. Intermediate verification* S igned… Place … Date … … Additional Verification* S igned… Place … Date … Additional Verification* S igned… Place … Date … … Additional Verification* S igned… Place … … Date … * If applicable. Refer to the relevant provisions of section 4.3, Initial verification, of the Revised Guidelines on the implementation of the International Safety Management (ISM) Code by Administrations (resolution A.118(30)).
Certificate No. … ENDORSEMENT WHERE THE RENEWAL VERIFICATION HAS BEEN COMPLETED AND PART B 13.13 OF THE ISM CODE APPIES The ship complies with the relevant provisions of part B of the ISM Code, and the Certificate should, in accordance with part B 13.13 of the ISM Code, be accepted as valid until… S igned… Place … Date … ENDORSEMENT TO EXTEND THE VALIDITY OF THE CERTIFICATE UNTIL REACHING THE PORT OF VERIFICATION WHERE PART B 13.12 OF THE ISM CODE APPLIES OR FOR A PERIOD OF GRACE WHERE PART B 13.14 OF THE ISM CODE APPLIES This Certificate should, on accordance with part B 13.12 or part B 13.14 of the ISM Code, be accepted as valid until… … S igned… Place … Date … …
ภาคผนวก 6 อัตราค่าธรรมเนียมสำหรับการตรวจบริษัทและเรือ เพื่อออกหรือสลักหลังใบสำคัญรับรอง หนังสือ รับรองการปฏิบัติตาม ( Document of Compliance: DOC) ตรวจเพื่อออก หนังสือ รับรอง การปฏิบัติตาม ครั้งแรก ออก ใหม่ สลักหลัง หรือ ฉบับชั่วคราว ฉบับละ (บาท) 5,000 ใบสาคัญรับรองการ บริหารจัดการเพื่อ ความปลอดภัยของ เรือ ( Safety Management Certificate: SMC) ขนาดตันกรอส ตรวจเรือเพื่อออก ใบสาคัญรับรองฯ ครั้งแรก ออกใหม่ สลักหลัง หรือฉบับชั่วคราว ฉบับ ละ (บาท) ขนาดต่ากว่า 500 500 ขนาดตั้งแต่ 500 แต่ไม่ถึง 1 , 000 1 , 000 ขนาดตั้งแต่ 1 , 000 แต่ไม่ถึง 1 , 500 2 , 000 ขนาดตั้งแต่ 1 , 500 แต่ไม่ถึง 5 , 000 3 , 000 ขนาดตั้งแต่ 5 , 000 แต่ไม่ถึง 10 , 000 5 , 000 ขนาดตั้งแต่ 10 , 000 แต่ไม่ถึง 100 , 000 10 , 000 ขนาดตั้งแต่ 100 , 000 ขึ้นไป 20 , 000