ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง แนวทางการคำนวณราคาก๊าซธรรมชาติ และค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft) พ.ศ. 2566
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง แนวทางการคำนวณราคาก๊าซธรรมชาติ และค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft) พ.ศ. 2566
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง แนวทางการคานวณราคาก๊าซธรรมชาติ และค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ ( F t ) พ.ศ. 2566 โดยที่เป็นการสมควรกาหนดแนวทางการดาเนินการคานวณราคาก๊าซธรรมชาติ และการปรับ อัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (ค่า F t ) รอบเดือนมกราคม - เมษายน 2566 ให้เป็นไปตามมติ คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) ในการประชุมครั้งที่ 17/2565 (ครั้งที่ 55) เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2565 และมติ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ในการประชุมครั้งที่ 8/2565 (ครั้งที่ 163) เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2565 ที่กำหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการกำหนดราคาพลังงานให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนการบริหาร และพัฒนาพลังงานของปร ะเทศ ตามมาตรา 6 (2) แห่งพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบาย พลังงานแห่งชาติ พ.ศ. 2535 และการประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงพลังงาน ครั้งที่ 21/2565 วันที่ 19 ธันวาคม 2565 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ เพื่อลดภาระ ค่าไฟฟ้าในช่วงวิกฤ ตราคาพลังงาน และโดยที่มาตรา 64 แห่งพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 ให้รัฐมนตรีกาหนดนโยบายและแนวทางในการกาหนดอัตราค่าบริการในการประกอบ กิจการพลังงานตามมติ กพช. ที่ เห็นชอบแนวทางการบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติเพื่อลดภาระค่าไฟฟ้า ในช่วงวิกฤตราคำพลังงาน (ตั้งแต่เดือนมกราคม - เมษายน 2566) โดยให้ดำเนินการจัดสรร ก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทยหลังโรงแยกก๊าซธรรมชาติ เพื่อใช้ในการผลิตไฟฟ้าสาหรับผู้ใช้ไฟฟ้าประเภท บ้านอยู่อาศัยเป็นลาดับแรก ในปริมาณที่ไม่เพิ่มภาระอัตราค่าไฟฟ้าจากปัจจุบันและเห็นชอบให้ บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) (ปตท.) ร่วมกับ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) บริหารจัดการ ผลกระทบของราคาก๊าซธรรมชาติต่อค่าไฟฟ้า โดยให้ ปตท. คิดราคำก๊าซธรรมชาติสาหรับโรงไฟฟ้า ของ กฟผ. ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ ( IPP ) ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก ( SPP ) ในระดับราคาเดียวกับที่ใช้การประมาณการ ค่า F t และให้นาส่วนต่างของราคาก๊าซธรรมชาติที่เกิดขึ้นจริงกับราคาก๊าซธรรมชาติที่เรียกเก็บดังกล่าว ไปทยอยเรียกเก็บคืนในการคานวณค่า F t รอบถัดไป โดยมอบหมายให้อยู่ภายใต้การกากับดูแลของ คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กก พ.) ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (สานักงาน กกพ.) ได้ประชุมหารือร่วมกับ ปตท. กฟผ. และมีข้อยุติร่วมกันในการดาเนินการตามแนวทาง การคำนวณราคาก๊าซธรรมชาติ และค่า F t ในวันที่ 24 มกราคม 2566 อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 11 (1) และมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัติการประกอบ กิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 ประกอบกับมติคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ใน การประชุม ครั้งที่ 5/2566 (ครั้งที่ 833) เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 35 ง ราชกิจจานุเบกษา 15 กุมภาพันธ์ 2566
ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่ำ “ ประกาศคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน เรื่อง แนวทาง การคำนวณราคาก๊าซธรรมชาติ และค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ ( F t ) พ.ศ. 2566 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ในประกาศนี้ “ กพช. ” หมายความว่า คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ “ กบง. ” หมายความว่า คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน “ กฟผ. ” หมายความว่า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย “ ปตท. ” หมายความว่า บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) “ ค่า F t ” หมายความว่า อัตราค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ “ ราคาก๊าซธรรมชาติ ” หมายความว่า ราคาเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของเนื้อก๊าซธรรมชาติ จาก Gulf Gas ก๊าซธรรมชาติจากเมียนมา ณ ชายแดน และ LNG สาหรับ Shipper รายเดิม (ปตท.) ที่ส่งเข้าระบบ ท่อส่งก๊าซธรรมชาติบนบก เพื่อจาหน่ายให้แก่โรงไฟฟ้าของ กฟผ. ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ ( IPP ) ผู้ผลิตไฟฟ้า รายเล็ก ( SPP ) และผู้ใช้ก๊าซธรรมชาติอื่น “ Gulf Gas ” หมายความว่า ก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทยที่ ปตท. เป็นผู้จัดหา โดยให้คิดจาก ราคาเฉลี่ยของก๊าซธรรมชาติจา กอ่าวไทยหลังโรงแยกก๊าซธรรมชาติ และจากส่วนที่ไม่ผ่านโรงแยก ก๊าซธรรมชาติ ( Bypass Gas ) ที่ส่งเข้าระบบส่งก๊าซธรรมชาติบนบก โดยรวมค่าบริการส่งก๊าซธรรมชาติ ทางท่อนอกชายฝั่ง ซึ่งประกอบด้วยระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติในทะเลของ ปตท. และของบริษัท ทรานส์ไทย - มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ( TTM ) และจัดสรรก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทยหลังโรงแยก เพื่อใช้ในการผลิตไฟฟ้าสาหรับผู้ใช้ไฟฟ้า ประเภทบ้านอยู่อาศัยเป็นลาดับแรก ตามสัดส่วนที่กาหนด ใน ประกาศ ฉบับนี้ “ LNG ” หมายความว่า ก๊าซธรรมชาติเหลวที่จัดหาโดย ปตท. โดยเป็นสัญญำระยะยาว ที่มีอยู่ในปัจจุบันและสัญญาเป็นครั้งคราวแบบเปลี่ยนแปลงได้ ( LNG Spot Flexible ) ซึ่งรวมค่าบริการ สถานีเก็บรักษาและแปรสภาพก๊าซธรรมชาติ “ Energy Pool Price ” หมายความว่า ราคาที่คานวณตามประกาศคณะกรรมการกากับ กิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การคานวณราคาก๊าซธรรมชาติภายใต้การกากับของคณะกรรมการ กำกับกิจการพลังงาน พ.ศ. 2565 ข้อ 4 ในการประมาณการราคาก๊าซธรรมชาติและการส่งข้อมูลที่ใช้ในการคานวณ ให้ กฟผ. หรือ ปต ท. แล้วแต่กรณี ดาเนินการตามมติ กพช. โดยกาหนดสัดส่วนการใช้ไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัย คงที่ตามสัดส่วนที่ใช้คานวณประมาณการราคาก๊าซธรรมชาติ ในการประมาณการค่า F t รอบเดือน มกราคม - เมษายน 2566 เท่ากับร้อยละ 19.9964 สาหรับใช้จัดสรรปริมาณก๊าซธรรมชาติ จากอ่ำวไทยหลังโรงแยก ก๊าซธรรมชาติ เพื่อใช้ในการผลิตไฟฟ้าสำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัย ้ หนา 19 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 35 ง ราชกิจจานุเบกษา 15 กุมภาพันธ์ 2566
ให้ กฟผ. นาส่งประมาณการปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติที่ใช้ผลิตไฟฟ้าสาหรับผู้ใช้ไฟฟ้า ประเภทบ้านอยู่อาศัย โดยนาปริมาณก๊าซธรรมชาติทั้งหมดที่คาดว่าจะใช้ในการผลิตไฟฟ้าเข้าระบบ ของ กฟผ. ในเดือนที่ใช้ก๊าซธรรมชาติ คูณด้วยสัดส่วนการใช้ไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัยในอัตราคงที่ ที่ร้อยละ 19.9964 ให้ ปตท. ภายในวันที่ 28 ของเดือนที่ใช้ก๊าซธรรมชาติ เพื่อให้ ปตท. ดา เนินการ คานวณประมาณการราคาก๊าซธรรมชาติในเบื้องต้น และนาส่ง ให้ กฟผ. เพื่อใช้คานวณราคา Energy Pool Price ข้อ 5 ในการคานวณปริมาณก๊าซธรรมชาติที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้าสาหรับผู้ใช้ไฟฟ้า ประเภท บ้านอยู่อาศัย ให้ กฟผ. หรือ ปตท. แล้วแต่กรณี ดาเนินการ ดังต่อ ไปนี้ (1) สาหรับโรงไฟฟ้า SPP ให้ กฟผ. นาส่งปริมาณก๊าซธรรมชาติที่ใช้ผลิตไฟฟ้า แยกรายการ ตามโรงไฟฟ้าแต่ละราย คูณด้วยสัดส่วนการใช้ไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัยในอัตราคงที่ร้อยละ 19.9964 และส่งให้ ปตท. ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป (2) สาหรับโรงไฟฟ้า IPP และโรงไฟฟ้าของ กฟผ. ให้ ปตท. ใช้ข้อมูลปริมาณก๊าซธรรมชาติ ที่ใช้ผลิตไฟฟ้าจากค่าที่อ่านจากมาตรวัดปริมาณก๊าซธรรมชาติของ ปตท. คูณด้วยสัดส่วนการใช้ไฟฟ้า ประเภทบ้านอยู่อาศัยในอัตราคงที่ร้อยละ 19.9964 เพื่อคานวณราคาก๊าซธรรมชาติที่เกิดขึ้นจริง และนาส่งรา ยละเอียดที่ใช้คานวณปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติสาหรับผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัย ทั้งหมดให้ กฟผ. ภายในวันที่ 6 ของเดือนถัดไป เพื่อตรวจสอบและยืนยันความถูกต้อง และให้ กฟผ. แจ้งผลการตรวจสอบให้ ปตท. ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป (3) ให้ ปตท. นำส่งข้อมูลที่ดาเนินการทั้งหมดให้แก่สำนักงาน กกพ. และ กฟผ. ข้อ 6 การคิดค่าใช้จ่ายราคาก๊าซธรรมชาติ (1) ให้ ปตท. คานวณราคาก๊าซธรรมชาติที่เกิดขึ้นจริงตามรายละเอียดที่กาหนดตามมติ กพช. โดยจัดสรรก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทยหลังโรงแยกก๊าซธรรมชาติเพื่อใช้ในการผลิ ตไฟฟ้าสาหรับ ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัย (2) ให้ ปตท. เรียกเก็บเงินตามราคาก๊าซธรรมชาติ สำหรับผู้ใช้ก๊าซธรรมชาติ ดัง ต่อไปนี้ (ก) ผู้ใช้ก๊าซ ธรรมชาติ ภาคไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วย โรงไฟฟ้าของ กฟผ. IPP และ SPP (ทั้ง SPP ที่ขายไฟ ฟ้า เข้าระบบ ของ กฟผ. และผลิตไฟฟ้าสาหรับภาคอุตสาหกรรม) เรียกเก็บเงิน ตาม ราคาก๊าซธรรมชาติในระดับราคาเดียวกับที่ใช้ประมาณการค่า F t ตามมติของ กกพ. ในการประชุม ครั้งที่ 61/2565 (ครั้งที่ 828) วันที่ 28 ธันวาคม 2565 ดัง ต่อไปนี้ 1) สำหรับโรงไฟฟ้าของ กฟผ. IPP และ SPP ให้ เรียกเก็บตามประมาณการราคา ก๊าซธรรมชาติภายหลังการจัดสรรก๊าซธรรมชาติอ่าวไทยให้ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัย ( Tier - 2 Gas Price ) เท่ากับ 495.88 บาทต่อล้านบีทียู เป็นค่าคงที่ทุกเดือนตามรอบ F t เดือนมกราคม - เมษายน 2566 2) ให้ ปตท. ปรับปรุงมูลค่าส่วนต่าง ต้นทุนค่า ก๊าซธรรมชาติที่เรียกเก็บกับ ผู้ใช้ก๊าซธรรมชาติ ที่ผลิตไฟฟ้า สาหรับผู้ใช้ไฟฟ้า ประเภท บ้านอยู่อาศัยแต่ละราย โดยคานวณจากส่วนต่าง ้ หนา 20 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 35 ง ราชกิจจานุเบกษา 15 กุมภาพันธ์ 2566
ของราคา Tier - 2 Gas Price (495.88 บาทต่อล้านบีทียู) กับราคาก๊าซธรรมชาติสาหรับผู้ใช้ไฟฟ้า ประเภทบ้านอยู่อาศัย (236.94 บาทต่อล้านบีทียู) และคูณด้วยปริมาณก๊าซธรรมชาติที่ใช้ผลิตไฟฟ้า สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัย (คำนวณจากปริมาณก๊าซธรรมชาติที่ใช้ผลิตไฟฟ้าส่วนที่ขายไฟฟ้า เข้ำระบบ ของ กฟผ. คูณด้วยสัดส่วนการใช้ก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้าสำหรับผู้ใช้ไฟฟ้า ประเภท บ้านอยู่อาศัย (ร้อยละ 19.9964)) มูลค่าส่วนต่างต้นทุนค่าก๊าซธรรมชาติสำหรับผู้ใช้ไฟฟ้า ประเภท บ้านอยู่อาศัย = (495.88 - 236.94) x (ร้อยละ 19.9964 ของปริมาณ ก๊าซธรรมชาติ ที่ใช้ ผลิตไฟฟ้าเข้าระบบ ของ กฟผ. ) เท่ากับ 51.78 บาทต่อล้านบีทียู ซึ่งมูลค่า ดั งกล่าว เทียบเท่ากับ ส่วนต่างต้นทุนราคาก๊าซธรรมชาติสาหรับใช้ผลิตไฟฟ้าส่วนที่ขาย เข้าระบบไฟฟ้าของ กฟผ. ทั้งนี้ ให้โรงไฟฟ้า กฟผ. IPP และ SPP ที่ขายเข้าระบบ ของ กฟผ. นามูลค่า ส่วนต่างต้นทุนค่าก๊าซธรรมชาติสาหรับ ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภท บ้านอยู่อาศัยไปเป็นส่วนลด เพื่อให้ราคา ก๊าซธรรมชาติในการคานวณราคาเชื้อเพลิงของ กฟผ. และค่าพลังงานไฟฟ้ารับซื้อ ( Energy Payment : EP ) เป็นเท่ากับ 444.10 บาทต่อล้านบี ทียู ตามที่ใช้ในการประมาณการค่า F t เดือนมกราคม - เมษายน 2566 (ราคาก๊าซธรรมชาติในการคานวณค่า F t = 495.88 - 51.78 = 444.10 บาทต่อล้านบีทียู) โดยเป็นค่าคงที่ทุกเดือน ใน ระหว่างเดือนมกราคม - เมษายน 2566 3) ให้ ปตท. นาส่วนต่างของ มูลค่า ก๊าซธรรมชาติที่เกิดขึ้นจริงกับ มูลค่า ก๊าซธรรมชาติ ที่เรียกเก็บตามข้อ 6 (2) (ก) 1) และข้อ 6 (2) (ก) 2) ดังกล่าวไปทยอยเรียกเก็บคืนในการ คำนวณค่า F t รอบถัดไป ภายใต้การกากับดูแลของ กกพ. (ข) ผู้ใช้ก๊าซธรรมชาติกลุ่มอื่น ๆ ปตท. อาจพิจารณาได้ตามความเหมาะสมให้สอดคล้อง กับนโยบายรัฐบาล กพช. และ กบง. เพื่อเรียกเก็บเงินด้วยราคาก๊าซธรรมชาติที่เกิดขึ้นจริง โดยคำนึงถึงประโยชน์สาธารณะและทางเลือกอย่างเป็นธรรมของผู้ประกอบธุรกิจร่วมกับ ปตท. (3) ให้ ปตท. สรุปผลการดาเนินการ และ มู ลค่าส่วนต่างต้นทุนค่าก๊าซธรรมชาติ สาหรับ ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัยที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการตามนโยบายรัฐบาล กพช. และ กบง. และ นำส่งให้แก่ สำนักงาน กกพ. ทุกเดือน (4) หากมีการปรับปรุงปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติของงวดเดือนมกราคม - เมษายน 2566 ภายในเดือนเมษายน 2566 ให้ดาเนินการโดยใช้ราคาก๊าซธรรมชาติตามข้อ 6 (2) ข้อ 7 ให้ กฟผ. คานวณราคา Energy Pool Price จากประมาณการปริมาณและราคา ก๊าซธรรมชาติในเบื้องต้นที่ ปตท. นาส่งให้ตามข้อ 4 วรรคสอง และให้ ปตท. ดาเนินการนาส่วนต่ำง ของราคา Energy Pool Price และราคาก๊าซธรรมชาติดังกล่าวในแต่ละเดือน ( Settlement Value : SV ) (ถ้ามี) ไปรวมกับราคาก๊าซธรรมชาติตามข้อ 6 (2) เพื่อให้ ปตท. ดาเนินการเก็บเงิน และนาส่งเงิน Settlement Value ( SV ) แก่ กฟผ. ต่อไป ้ หนา 21 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 35 ง ราชกิจจานุเบกษา 15 กุมภาพันธ์ 2566
ข้อ 8 ขั้นตอนการเ รียกเก็บเงิน ค่า ก๊าซธรรมชาติ ให้ ปตท. ดาเนินการเรียกเก็บเงินตามข้อ 6 สำหรับเดือนมกราคม - เมษายน 2566 ดังต่อไปนี้ ( 1 ) สาหรับโรงไฟฟ้าของ กฟผ. และ IPP ให้ ปตท. ดาเนินการเรียกเก็บเงิน โดยกาหนด วิธีการคำนวณ ดัง ต่อไปนี้ Tier - 2 Gas Price - ส่วนต่างต้นทุนค่าก๊าซสาหรับผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัย + ค่าบริการในการจัดหาและค้าส่งก๊าซธรรมชาติ + ค่าบริการขนส่งก๊าซธรรมชาติทางท่อ ผ่านระบบส่งก๊าซธรรมชาติบนบก + Settlement Value ( SV ) ( 2 ) สำหรับโรงไฟฟ้า SPP (ทั้ง SPP ที่ขายไฟ ฟ้า เข้าระบบและผลิตไฟฟ้าสำหรับ ภาคอุตสาหกรรม) ให้ ปตท. ดาเนินการเรียกเก็บเงิน โดยกำหนดวิธีการคำนวณ ดัง ต่อไปนี้ Tier - 2 Gas Price - ส่วนต่างต้นทุนค่าก๊าซสาหรับผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัย ตามปริมาณก๊าซธรรมชาติที่ได้รับแจ้งจาก กฟผ. + ค่าบริการในการจัดหำและ ค้า ส่ง ก๊าซธรรมชาติ + ค่าบริการขนส่งก๊าซธรรมชาติทางท่อผ่านระบบส่งก๊าซธรรมชาติบนบก + Settlement Value ( SV ) (3) สาหรับผู้ใช้ก๊าซธรรมชาติกลุ่มอื่น ๆ ให้ ปตท. ดาเนินการเรียกเก็บเงิน โดยกาหนด วิธีการคำนวณ ดัง ต่อไปนี้ ราคาก๊าซธรรมชาติ + ค่าบริ การในการจัดหาและค้าส่งก๊าซธรรมชาติ + ค่าบริการขนส่ง ก๊าซธรรมชาติทางท่อผ่านระบบส่งก๊าซธรรมชาติบนบก + Settlement Value ( SV ) ข้อ 9 การคานวณยอดสะสมยกมาจากงวดที่ผ่านมาสาหรับราคาก๊าซธรรมชาติ ( Accumulate Factor Gas : AF Gas ) และขั้นตอนการคืนเงิน (1) ยอดสะสมยกมาจากงวดที่ผ่านมาสาหรับมูลค่าก๊าซธรรมชาติ ( Accumulate Factor Gas : AF Gas ) คือส่วนต่างระหว่าง ต้นทุนค่า ก๊าซธรรมชาติที่เกิดขึ้นจริงของภาคไฟฟ้ากับ มูลค่า ก๊าซธรรมชาติ ที่เรียกเก็บ ตามใบแจ้งหนี้ ค่าก๊าซธรรมชาติของภาคไฟฟ้า ประจาเดือนมกราคม - เมษายน 2566 จะส่งผ่านเป็นส่วนลด หรือ ส่วนเพิ่มราคาก๊าซธรรมชาติ ในการคานวณค่า F t รอบถัดไป ภายใต้ การกำกับดูแลของ กกพ. ในเดือนพฤษภาคม 2566 เป็นต้นไป (2) ให้ ปตท. รวบรวมส่วนต่างของมูลค่าก๊าซธรรมชาติที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการตามมติ กพช. และ กบง. ที่เกิดขึ้นในเดือนมกราคม - เมษายน 2566 บันทึกไปในบัญชี AF Gas (3) ให้ ปตท. นาส่งรายละเอียดการคานวณส่วนต่างของมูลค่าก๊าซธรรมชาติที่เกิดขึ้นจาก การดาเนินการตามมติ กพช. และ กบง. ที่เกิดขึ้นในเดือนมกราคม - เมษายน 2566 ให้สานักงาน กกพ. เป็นรายเดือ น ภายในวันที่ 20 ของเดือนถัดจากเดือนที่ใช้ก๊าซธรรมชาติ เพื่อดาเนินการ ให้เป็นไปตามมติ กพช. ต่อไป ้ หนา 22 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 35 ง ราชกิจจานุเบกษา 15 กุมภาพันธ์ 2566
(4) ในกรณีที่มีการปรับปรุงสัดส่วนการใช้ก๊าซธรรมชาติสำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัย เพื่อให้เป็นไปตามมติ กพช. และ กบง. ให้ ปตท. นาส่งรายละเอียดกำรคานวณส่วนต่างของมูลค่า ก๊าซธรรมชาติที่เกิดขึ้นจริงจากการดาเนินการตามมติ กพช. และ กบง. ในเดือนมกราคม - เมษายน 2566 และให้ ปตท. และ กฟผ. นาส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ให้สำนักงาน กกพ. เพื่อนำเสนอ กกพ. พิจารณา กำกับดูแลให้เป็นไปตามมติ กพช. และ กบง. ต่อไป ข้อ 10 ปัญหาหรือข้อติดขัดใดที่เกิดจากการปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้ ปตท. กฟผ. และ สำนักงาน กกพ. หาข้อสรุปร่ วมกันในเบื้องต้น ข้อ 11 ให้ประธานกรรมการกำกับกิจการพลังงานเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ และ กกพ. เป็นผู้มีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25 6 6 เสมอใจ ศุขสุเมฆ ประธานกรรมการกากับกิจการพลังงาน ้ หนา 23 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 35 ง ราชกิจจานุเบกษา 15 กุมภาพันธ์ 2566