Sun Feb 12 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญา เรื่อง ให้ธุรกิจการให้บริการต่อเติมอาคารเพื่อการอยู่อาศัยเป็นธุรกิจที่ควบคุมรายการในหลักฐานการรับเงิน พ.ศ. 2566


ประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญา เรื่อง ให้ธุรกิจการให้บริการต่อเติมอาคารเพื่อการอยู่อาศัยเป็นธุรกิจที่ควบคุมรายการในหลักฐานการรับเงิน พ.ศ. 2566

ประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญา เรื่อง ให้ธุรกิจการให้บริการต่อเติมอาคารเพื่อการอยู่อาศัยเป็นธุรกิจที่ควบคุมรายการในหลักฐานการรับเงิน พ.ศ. 2566 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 35 เบญจ และมาตรา 35 อัฏฐ แห่งพระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 ประกอบกับมาตรา 3 มาตรา 4 และมาตรา 5 แห่งพระราชกฤษฎีกากาหนด หลักเกณฑ์และวิธีการในการกำหนดธุรกิจที่ควบคุมรำยการในหลักฐานการรับเงินและลักษณะ ของหลักฐานการรับเงิน พ.ศ. 2542 คณะกรรมการว่าด้วยสัญญา ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ธุรกิจการให้บริการต่อเติมอาคารเพื่อการอยู่อาศัยเป็นธุรกิจที่ควบคุมรายการ ในหลักฐานการรับเงิน ข้อ 2 ในประกาศนี้ “ ธุรกิจการให้บริการต่อเติมอาคารเพื่อการอยู่อาศัย ” หมายความว่า ธุรกิจที่ผู้ประกอบธุรกิจ ทาการรับจ้างต่อเติมอาคารไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนกับผู้บริโภค โดยผู้บริโภคมีวัตถุประสงค์ในการใช้อาคาร เพื่อการอยู่อาศัย “ ต่อเติม ” หมายความว่า การดัดแปลง เปลี่ยนแปลง ลดหรือขยาย ซึ่งลักษณะขอบเขตแบบ รูปทรง สัดส่วน น้าหนัก เนื้อที่ของโครงสร้างและส่วนต่าง ๆ ของอาคารที่ได้สร้างไว้แล้วให้ผิดจากเดิม และให้หมายความรวมถึง การแก้ไข การซ่อมแซม การปรับปรุง การกระทำหรือการดาเนินการอื่นใด เพื่อให้อาคารที่ได้ก่อสร้างไว้ แล้วคงสภาพเดิมหรือให้มีสภาพที่ดียิ่งขึ้น “ อาคาร ” หมายความว่า ตึก บ้าน เรือน และสิ่งที่สร้างขึ้นอย่างอื่นซึ่งบุคคลสามารถเข้าอยู่อาศัย “ เพื่อการอยู่อาศัย ” หมายความว่า การเข้าอยู่อาศัยในอาคารทั้งหมดหรือบางส่วนและมิได้ นำ อาคารทั้งหมดหรือบางส่วนไปขาย ให้เช่า ให้เช่าซื้อหรือจัดหาให้ไม่ว่าด้วยประการใด ๆ โดยเรียกค่าตอบแทน เป็นเงินหรือผลประโยชน์อย่างอื่น ข้อ 3 หลักฐานการรับเงินการให้บริการต่อเติมอาคารเพื่อการอยู่อาศัยที่ผู้ประกอบธุรกิจ ออกให้กับผู้บริโภค ต้องมีข้อความภาษาไทยที่สามารถเห็นและอ่านได้อย่างชัดเจน มีขนาดตัวอักษร ไม่เล็กกว่าสองมิลลิเมตร โดยมีจานวนตัวอักษรไม่เกินสิบเอ็ดตัวอักษรในหนึ่งนิ้ว และต้องใช้ข้อความ ที่มีสาระสำคัญและเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (1) รายละเอียดเกี่ยวกับผู้ประกอบธุรกิจ ผู้บริโภค และการให้บริการต่อเติมอาคาร (1.1) ชื่อ ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ และเลขประจาตัวประชาชนของผู้ประกอบธุรกิจ กรณีผู้ประกอบธุรกิจเป็นนิติบุคคล ให้ระบุรายละเอียดตามหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลของ หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องด้วย (1.2) ชื่อของผู้มีอำนาจออกหลักฐานการรับเงิน ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 33 ง ราชกิจจานุเบกษา 13 กุมภาพันธ์ 2566

(1.3) ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ของผู้บริโภค (1.4) วัน เดือน ปี ที่เริ่มต้น และวัน เดือน ปี ที่สิ้นสุดตามเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลา การให้บริการ (1.5) วัน เดือน ปี ที่รับเงินหรือค่าตอบแทนการให้บริการ ต่อเติมอาคารตามงวดงาน หรือเนื้องานที่ทำ (1.6) รายละเอียดเกี่ยวกับงวดงานกับการชาระเงินตามเนื้องานที่ได้สัดส่วนกันในแต่ละงวด (ถ้ามี) (1.7) รายละเอียดเกี่ยวกับการจัดหาวัสดุ ราคาวัสดุ และอุปกรณ์ ตามชนิด ปริมาณ ขนาดและคุณภาพตามที่ตกลงกันไว้ และราคาค่าบริ การต่อเติมอาคารทั้งหมดที่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม (ถ้ามี) (1.8) ระยะเวลาหรือเงื่อนไขการรับประกันสำหรับความชำรุดบกพร่องหรือคุณภาพงาน (1.9) อัตราค่าปรับเป็นรายวัน กรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจไม่ดาเนินการต่อเติมอาคาร หรือ ต่อเติมอาคารล่าช้า หรือไม่แก้ไขความชำรุดบกพร่องให้คืนดี หรือไม่ทำการให้เป็นไปตามที่ตกลงไว้ (2) หากผู้ประกอบธุรกิจไม่ต่อเติมอาคารภายใน กา หนดเวลาตามที่ตกลงกันไว้ หรือภายใน ระยะเวลำอันสมควร หรือต่อเติมอาคารล่าช้าโดยมิใช่ความผิดของผู้บริโภคจนคาดหมายได้ว่าการต่อเติม อาคารนั้นไม่อาจแล้วเสร็จได้ภายในระยะเวลาตามที่ตกลงกันไว้ (2.1) ให้ผู้บริโภคมีสิทธิบอกเลิกข้อตกลงการให้บริการต่อเติมอาคารและมีสิทธิเรียกเงิน ที่ผู้บริโภคได้ ชา ระไปแล้วในงวดงำนที่ผู้ประกอบธุรกิจยังมิได้ดาเนินการต่อเติมอาคารคืนให้กับผู้บริโภค รวมถึงค่าเสียหายอื่น ๆ (2.2) ในกรณีที่การต่อเติมอาคารล่าช้ากว่าเวลาที่ตกลงกันไว้และผู้บริโภคไม่ใช้สิทธิ บอกเลิกข้อตกลงการให้บริการต่อเติมอาคาร ผู้ประกอบธุรกิจยินยอมให้ผู้บริโภคปรับเป็ นรายวัน ตามที่ตกลงกันไว้ซึ่งต้องไม่ต่ากว่าร้อยละศูนย์จุดศูนย์หนึ่งของราคาการรับจ้างต่อเติมอาคาร โดยหักจาก ค่าจ้างต่อเติมอาคารส่วนที่ยังไม่ได้ชาระหรือยังไม่ถึงกาหนดชาระ แต่ถ้าผู้บริโภคใช้สิทธิในการปรับ ครบร้อยละสิบของราคาค่าบริการต่อเติมอาคารทั้งหมดแล้ว ผู้ บริโภคเห็นว่าผู้ประกอบธุรกิจไม่อาจปฏิบัติ ตามที่ ตกลงกันไว้ต่อไปได้ ให้ผู้บริโภคมีสิทธิบอกเลิกข้อตกลงการให้บริการต่อเติมอาคารได้ (2.3) กรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจไม่ดาเนินการแก้ไขความชารุดบกพร่อง หรือคุณภาพงาน ตามที่ผู้บริโภคได้แจ้งขอให้แก้ไข หรือแก้ไขล่าช้าเกินสมควร ให้ผู้บริโภคมีสิทธิบอกเลิกข้อตกลง การให้บริการต่อเติมอาคารได้ และผู้บริโภคมีสิทธิที่จะว่าจ้างบุคคลอื่นมาดาเนินการแก้ไข ความชารุด บกพร่องโดยผู้ประกอบธุรกิจเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายดังกล่าว และไม่จำกัดสิทธิที่ผู้บริโภค จะเรียกค่ำเสียหายจากผู้ประกอบธุรกิจ (3) ชื่อและนามสกุลตัวบรรจง และลายมือชื่อของผู้ประกอบธุรกิจหรือของผู้มีอำนาจ ออกหลักฐานการรับเงินแทน และลายมือชื่อของผู้รับเงิน ้ หนา 19 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 33 ง ราชกิจจานุเบกษา 13 กุมภาพันธ์ 2566

ข้อ 4 ผู้ประกอบธุรกิจต้องจัดทาหลักฐานการรับเงินตามข้อ 3 และส่งมอบให้แก่ผู้บริโภค ในทันทีที่ได้รั บชำระค่าบริการต่อเติมอาคารไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ข้อ 5 หลักฐานการรับเงินตามข้อ 4 ต้องไม่มีข้อความที่มีลักษณะหรือความหมาย ในลักษณะหรือทำนองเดียวกัน ดังต่อไปนี้ (1) ข้อความที่เป็นการยกเว้นหรือจากัดความรับผิดของผู้ประกอบธุรกิจที่เกิดจากความจงใจ หรือประมำทเลินเล่อในการให้บริการต่อเติมอาคารของผู้ประกอบธุรกิจหรือของบุคคลอื่นซึ่งผู้ประกอบธุรกิจ ต้องรับผิดด้วย (2) ข้อความที่ให้สิทธิผู้ประกอบธุรกิจแก้ไข เปลี่ยนแปลงการให้บริการต่อเติมอาคารหรือ เปลี่ยนแปลงค่าบริการต่อเติมอาคาร ราคาค่าต่อเติมอาคารทั้งหมดหรือแต่บา งส่วน รายละเอียด เกี่ยวกับราคาวัสดุ และอุปกรณ์ ตามชนิด ปริมาณ ขนาดและคุณภาพตามที่ตกลงกันไว้แต่เพียงฝ่ายเดียว โดยไม่ได้รับความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้บริโภค (3) ข้อความที่กาหนดว่าห้ามผู้บริโภคยกเลิกการใช้บริการ (4) ข้อความที่กาหนดว่าจะไม่คืนเงินที่ผู้บริโภคได้ชำระมาแล้วไม่ว่ากรณีใด ๆ ข้อ 6 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดเก้าสิบวันนับจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เ ป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 25 6 6 ธสรณ์อัฑฒ์ ธนิทธิพันธ์ ประธานกรรมการว่าด้วยสัญญา ้ หนา 20 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 33 ง ราชกิจจานุเบกษา 13 กุมภาพันธ์ 2566