Wed Jan 04 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เรื่อง กำหนดมาตรฐานคุณภาพตะกอนดินในแหล่งน้ำผิวดิน พ.ศ. 2565


ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เรื่อง กำหนดมาตรฐานคุณภาพตะกอนดินในแหล่งน้ำผิวดิน พ.ศ. 2565

ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานคุณภาพตะกอนดินในแหล่งน ้าผิวดิน พ.ศ. 2565 โดยที่เป็นการสมควรก้าหนดมาตรฐานคุณภาพตะกอนดินในแหล่งน ้าผิวดิน เพื่อเป็นแนวทาง ในการบ่งชี และเฝ้าระวังคุณภาพตะกอนดินในแหล่งน้าผิวดิน และการป้องกันผลกระทบของสารอันตราย ในตะกอนดินที่จะมีต่อสัตว์หน้าดินในแหล่งน ้าผิวดินและมนุษย์ผ่านห่วงโซ่อาหาร อาศัยอ้านาจตามความในมาตรา 32 (6) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชา ติ พ.ศ. 2535 และค้าสั่งส้านักนายกรัฐมนตรี ที่ 239/2563 ลงวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2563 เรื่อง มอบหมายและมอบอ้านาจให้รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ประจ้าส้านักนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติหน้าที่ประธานกรรมการในคณะกรรมการต่าง ๆ ตามกฎหมาย และระเบียบส้านักนายกรัฐมน ตรี ประกอบกับมติคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในการประชุม ครังที่ 4/2565 เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2565 จึงออกประกาศก้าหนดมาตรฐานคุณภาพตะกอนดิน ในแหล่งน ้าผิวดินเพื่อปกป้องสัตว์หน้าดินและมนุษย์ผ่านห่วงโซ่อาหารไว้ ดังต่อไปนี ข้อ 1 ในประกาศนี “ ตะกอนดินในแหล่งน ้าผิวดิน ” หมายความว่า ชันอนุภาคที่สะสมอยู่บนพืนแหล่งน ้าผิวดิน ประกอบด้วย อินทรีย์วัตถุ หรืออนินทรีย์วัตถุที่มีขนาดเล็ก เช่น กรวด หิน ดิน ทราย เป็นต้น ซึ่งผ่านกระบวนการสลายตัวตามธรรมชาติ ที่ถูกพัดพาปะปนกับกระแสน ้าหรือตกลงจาก ชันบรรยากาศ สู่แหล่งน ้าผิวดิน และจมลงทับถมกันบริเวณพืนด้านล่างของแหล่งน ้าผิวดิน โดยแหล่งน ้าผิวดินนัน หมายความรวมถึง แม่น้า ล้าคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ อ่างเก็บน ้า และแหล่งน ้าผิวดินสาธารณะอื่น ๆ “ สัตว์หน้าดิน ” หมายความว่า สัตว์ที่อาศัยหรือด้ารงชีพ อยู่ในหรืออยู่บนตะกอนดินในแหล่งน ้า ผิวดิน ส่วนใหญ่จะเป็นสัตว์จ้าพวกที่ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น ไส้เดือนน้า หนอนแดง ตัวอ่อนแมลงปอ ตัวอ่อนแมลงชีปะขาว เป็นต้น ซึ่งจั ดเป็นผู้บริโภคระดับแรกของห่วงโซ่อาหารและเป็นแหล่งอาหาร ที่ส้าคัญของสัตว์น ้าขนาดใหญ่อื่น ๆ ข้อ 2 ให้ก้าหนดมาตรฐานคุณภาพตะกอนดินในแหล่งน้าผิวดิน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังต่อไปนี 2.1 มาตรฐานคุณภาพตะกอนดินในแหล่งน ้าผิวดินเพื่อปกป้องสัตว์หน้าดิน คือ ระดับความเข้มข้นสูงสุดของสารอันตรายในตะกอนดินที่สัตว์หน้าดินสามารถอาศัยได้ โดยไม่เกิดอันตรำย ต่อสัตว์หน้าดินอย่างมีนัยส้าคัญ ซึ่งจะส่งผลต่อความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศแหล่งน ้าผิวดินต่อไป 2.2 มาตรฐานคุณภาพตะกอนดินในแหล่งน ้าผิวดินเพื่อปกป้องมนุษย์ผ่านห่วงโซ่อาหาร คือระดับความเข้มข้นสูงสุดของสารอันตรายในตะกอนดินที่สะสมและถ่ายทอดสู่สัตว์น ้าผ่านห่วงโซ่อาหาร และมนุษย์สามารถรับประทานสัตว์น ้าโดยไม่เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัยในระยะยาว ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 3 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 มกราคม 2566

ข้อ 3 ก้าหนดมาตรฐานคุณภาพตะกอนดินในแหล่งน ้าผิวดินเพื่อปกป้องสัตว์หน้าดินไว้ ดังต่อไปนี 3.1 โลหะหนัก ( Heavy Metals ) ได้แก่ (1) สารหนู ( Arsenic ) ต้องไม่เกิน 10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (2) แคดเมียม ( Cadmium ) ต้องไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (3) โครเมียม ( Chromium ) ต้องไม่เกิน 43.4 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (4) ทองแดง ( Copper ) ต้องไม่เกิน 31.5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (5) ตะกั่ว ( Lead ) ต้องไม่เกิน 36 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (6) ปรอท ( Total Mercury ) ต้องไม่เกิน 0.2 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (7) นิกเกิล ( Nickel ) ต้องไม่เกิน 23 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (8) สังกะสี ( Zinc ) ต้องไม่เกิน 120 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง 3.2 สารป้องกันและก้าจัดศัตรูพืชและสัตว์ ( Pesticid es ) ได้แก่ (1) อะทราซีน ( Atrazine ) ต้องไม่เกิน 0.3 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (2) อะซินฟอส เอธิล ( Azinphos - ethyl ) ต้องไม่เกิน 0.02 ไมโครกรัม ต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (3) อะซินฟอส เมธิล ( Azinphos - methyl ) ต้องไม่เกิน 0.06 ไมโครกรัม ต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (4) คลอร์เดน ( Chlordane ) ต้องไม่เกิน 3.2 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (5) ดีลดริน ( Dieldrin ) ต้องไม่เกิน 2 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (6) ดีดีดีรวม ( Sum DDD ) ต้องไม่เกิน 5 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (7) ดีดีอีรวม ( Sum DDE ) ต้องไม่เกิน 3.2 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (8) ดีดีทีรวม ( Sum DDT ) ต้องไม่เกิน 4.2 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (9) ดีดีทีทังหมด ( Total DDTs ) ต้องไ ม่เกิน 5.3 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม น ้าหนักแห้ง (10) เอ็นดริน ( Endrin ) ต้องไม่เกิน 2.2 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (11) เฮปตาคลอร์ อิพอกไซด์ ( Heptachlor Epoxide ) ต้องไม่เกิน 2.5 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (12) ลินเดน ( Lindane or gamma - BHC ) ต้องไม่เกิน 2.4 ไมโครกรัม ต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (13) มาลาไธออน ( Malathion ) ต้องไม่เกิน 0.67 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม น ้าหนักแห้ง ้ หนา 19 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 3 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 มกราคม 2566

(14) ท็อกซาฟีน ( Toxaphene ) ต้องไม่เกิน 0.1 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม น ้าหนักแห้ง 3.3 สารอันตรำยอื่น ๆ ได้แก่ (1) แอนทราซีน ( Anthracene ) ต้องไม่เกิน 57 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม น ้าหนักแห้ง (2) เบนซ์ (เอ) แอนทราซีน ( Benz [ a ] anthracene ) ต้องไม่เกิน 110 ไมโครกรัม ต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (3) เบนโซ (เอ) ไพรีน ( Benzo [ a ] pyrene ) ต้องไม่เกิน 150 ไมโครกรัม ต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (4) ไครซีน ( Chrysene ) ต้องไม่เกิน 170 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (5) ไดเบนซ์ (เอ , เอช) แอนทราซีน ( Dibenz [ a,h ] anthracene ) ต้องไม่เกิน 33 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (6) ฟลูออแรนทรีน ( Fluoranthene ) ต้องไม่เกิน 420 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม น ้าหนักแห้ง (7) ฟลูออรีน ( Fluorene ) ต้องไม่เกิน 77 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (8) แนพธาลีน ( Napthalene ) ต้องไม่เกิน 180 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม น ้าหนักแห้ง (9) ฟีแนนทรีน ( Phenanthrene ) ต้องไม่เกิน 200 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม น ้าหนักแห้ง (10) ไพรีน ( Pyrene ) ต้องไม่เกิน 195 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (11) พีเอเอชเอสทั งหมด ( Total PAHs หรือ Total Polycyclic Aromatic Hydrocarbon ) ต้องไม่เกิน 1 , 600 ไมโค รกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (12) พี ซี บี ทั ง ห ม ด ( Total PCBs ห รื อ Total Polychlorinated biphenyls ) ต้องไม่เกิน 60 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง ทังนี การประเมินคุณภาพตะกอนดินในแหล่งน ้าผิวดินด้วยมาตรฐานคุณภาพตะกอนดิน ในแหล่งน ้าผิวดินเพื่อ ปกป้องสัตว์หน้าดินให้เป็นไปตามที่ก้าหนดไว้ในภาคผนวกแนบท้ายประกาศนี ข้อ 4 ก้าหนดมาตรฐานคุณภาพตะกอนดินในแหล่งน ้าผิวดินเพื่อปกป้องมนุษย์ผ่านห่วงโซ่อาหาร ที่ปริมาณคาร์บอนอินทรีย์ทั งหมดร้อยละ 2 ไว้ ดังต่อไปนี 4.1 สารป้องกันและก้าจัดศัตรูพืชและสัตว์ ( Pesticides ) ได้แก่ (1) คลอร์เดน ( Chlordane ) ต้องไม่เกิน 0.3 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (2) ดีดีดีรวม ( Sum DDD ) ต้องไม่เกิน 1.4 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (3) ดีดีอีรวม ( Sum DDE ) ต้องไม่เกิน 0.6 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง ้ หนา 20 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 3 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 มกราคม 2566

(4) ดีดีทีรวม ( Sum DDT ) ต้องไม่เกิน 0.4 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (5) ดีลดริน ( Dieldrin ) ต้องไม่เกิน 0.002 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (6) เอ็นดริน ( Endrin ) ต้องไม่เกิน 5 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (7) เฮปตาคลอร์ ( Heptachlor ) ต้องไม่เกิน 4 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม น ้าหนักแห้ง (8) เฮปตาคลอร์ อิพอกไซด์ ( Heptachlor Epoxide ) ต้องไม่เกิน 1 ไมโครกรัม ต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (9) เฮ็กซะคลอโรเบนซีน ( Hexachlorobenzene ) ต้องไม่เกิน 0.2 ไมโครกรัม ต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (10) เฮ็กซะคลอโรอีเทน ( Hexachloroethane ) ต้องไม่เกิน 110 ไมโครกรัม ต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (11) ลินเดน ( Lindane หรือ gamma - Hexachlorocyclohexane ) ต้องไม่เกิน 0.65 ไม โครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (12) ไมเร็กซ์ ( Mirex ) ต้องไม่เกิน 0.1 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (13) ท็อกซาฟีน ( Toxaphene ) ต้องไม่เกิน 0.002 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม น ้าหนักแห้ง 4.2 สารอินทรีย์ระเหยง่าย ( Volatile Organic Compounds ) ได้แก่ (1) เบนซีน ( Benzene ) ต้องไม่เกิน 25 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน้าหนักแห้ง (2) คลอโรเบนซีน ( Chlorobenzene ) ต้องไม่เกิน 5 , 200 ไมโครกรัม ต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (3) เฮ็กซะคลอโรบิวตะไดอีน ( Hexachlorobutadiene ) ต้องไม่เกิน 12 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (4) เมทธิลีนคลอไรด์ ( Methylene Chloride ) ต้องไม่เกิน 68 ไมโครกรัม ต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง ( 5) เตตราคลอโรเอทธิลีน ( Tetrachloroethylene ) ต้องไม่เกิน 44 ไมโครกรัม ต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (6) โทลูอีน ( Toluene ) ต้องไม่เกิน 56 , 000 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง 4.3 สา รอันตรายอื่น ๆ ได้แก่ (1) เบนโซ (เอ) ไพรีน ( Benzo [ a ] pyrene ) ต้องไม่เกิน 18 ไมโครกรัม ต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (2) 2 , 4 - ไดเมธิลฟีนอล ( 2,4 - Dimethylphenol ) ต้องไม่เกิน 3 , 600 ไมโครกรัม ต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง ้ หนา 21 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 3 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 มกราคม 2566

(3) 2 , 4 - ไดไนโตรฟีนอล (2,4 - Dinitrophenol ) ต้องไม่เกิน 280 ไมโครกรัม ต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (4) อ็อกตาคลอโรสไตรีน ( Octachlorostyrene ) ต้องไม่เกิน 0.18 ไมโครกรัม ต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (5) พีบีดีอี - 47 ( PBDE - 47 หรือ Polybrominated diphenyl ethers - 47) ต้องไม่เกิน 3 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (6) พีบีดีอี - 99 ( PBDE - 99 หรือ Polybrominated diphenyl ethers - 99) ต้องไม่เกิน 1.8 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (7) พีบีดีอี - 153 ( PBDE - 153 หรือ Polybrominated diphenyl ethers - 153) ต้องไม่เกิน 11 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (8) พีซีบี ทั้งหมด ( Total PCBs หรือ Total Polychlorinated biphenyls ) ต้องไม่เกิน 0.2 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง (9) 2 , 3 , 7 , 8 - ทีซีดีดี (2,3,7,8 - TCDD หรือ 2,3,7,8 - Tetrachlorodibenzo - p - dioxin ) ต้องไม่เกิน 0.0001 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ง ทังนี การประเมินคุณภาพตะกอนดินในแหล่งน ้าผิวดินด้วยมาตรฐานคุณภาพตะกอนดิน ในแหล่งน ้าผิวดินเพื่อปกป้องมนุษย์ผ่านห่วงโซ่อาหารให้เป็ นไปตามที่ก้าหนดไว้ในภาคผนวกแนบท้าย ประกาศนี ข้อ 5 การเก็บตัวอย่างตะกอนดิน การรักษาสภาพตัวอย่างตะกอนดิน และการวิเคราะห์ ตัวอย่างตะกอนดิน ให้เป็นไปตาม Method for Collection, Storage and Manipulation of Sediments for Chemical and Toxicological Analyses : Technical Manual แ ล ะ Test Methods of Evaluating Solid Waste, Physical / Chemical Methods ( SW - 846) ของ องค์การพิทักษ์สิ่งแวดล้อมแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ( United States Environmental Protection Agency ) ตามที่ปรากฏในภาคผนวกแนบท้ายประกาศนี ข้อ 6 ประกาศนีให้ใช้บังคับตังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 256 5 พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติหน้าที่ ประธานกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ้ หนา 22 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 3 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 มกราคม 2566