ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเมืองพังงา พ.ศ. 2566
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเมืองพังงา พ.ศ. 2566
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเมืองพังงา พ.ศ. 2566 โดยที่เป็นการสมควรให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเมืองพังงา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา และการดำรงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท ในด้านการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน การคมนาคมและการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะ และสภาพแวดล้อม ทั้งนี้ เพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์ของการผังเมือง อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 3 3 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวม เมืองพังงา พ.ศ. 2566 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ใช้บังคับผังเมืองรวม ในท้องที่ตาบลนบปริง ตาบลถ้าน้าผุด ตาบลท้ายช้าง ตาบลตากแดด และตาบลเกาะปันหยี อาเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา ภายในแนวเขตตามแผนที่ ท้ายประกาศนี้ ข้อ 4 การวางและจัดทาผังเมืองรวมตามประกาศนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการพัฒนา และการดารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท ในด้านการใช้ประโยชน์ ในทรัพย์สิน การคมนาคมและการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะ และสภาพแวดล้อม ในบริเวณแนวเขตตามข้อ 3 ให้สอดคล้องกับการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ข้อ 5 ผังเมืองรวมตามประกาศนี้ มีนโยบายและมาตรการเพื่อจัดระบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน โครงข่ายคมนาคมขนส่งและบริการสาธารณะให้มีประสิทธิภาพ สามารถ รองรับและสอดคล้องกับ การขยายตัวของชุมชนในอนาคต รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจ โดยมีสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้ (1) ส่งเสริมและพัฒนาชุมชนเมืองให้เป็นศูนย์กลางการบริหารและการปกครองของจังหวัด (2) ส่งเสริมการพัฒนาด้านที่อยู่อาศัยและพาณิชยกรรมให้สอดคล้องกับการข ยายตัว ของชุมชนและระบบเศรษฐกิจของจังหวัด (3) ส่งเสริมและพัฒนาการบริการทางสังคม การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้เพียงพอและได้มาตรฐาน รวมทั้งขยายพื้นที่เพื่อการพัฒนาเมืองให้สัมพันธ์กับระบบถนนและ การให้บริการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ้ หนา 14 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 27 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กุมภาพันธ์ 2566
(4) ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว (5) ดารงรักษารูปแบบการตั้งถิ่นฐาน วิถีชีวิตดั้งเดิม ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชุมชน (6) อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ข้อ 6 การใช้ประโยชน์ที่ดินภายในเขตผังเมืองรวม ให้เป็นไปตามแผนผังกาหนด การใช้ ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จำ แนกประเภท แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง และรายการประกอบ แผนผังท้ายประกาศนี้ ข้อ 7 การใช้ประโยชน์ที่ดินตามแผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท ท้ายประกาศนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ (1) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 1.1 ถึงหมายเลข 1.18 ที่กาหนดไว้เป็นสีเหลือง ให้เป็น ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (2) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 2.1 ถึงหมายเลข 2.9 ที่กำหนดไว้เป็นสีส้ม ให้เป็น ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (3) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 3.1 ถึงหมายเลข 3.5 ที่กำหนดไว้เป็นสี แดง ให้เป็น ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก (4) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 4.1 ถึงหมายเลข 4.20 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียว ให้เป็น ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (5) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 5.1 ถึงหมายเลข 5.8 ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน ให้เป็น ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (6) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 6.1 ถึงหมายเลข 6.4 ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน มีเส้นทแยงสีขาว ให้เป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ (7) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 7.1 ถึงหมายเลข 7.9 ที่กำหนดไ ว้เป็นสีเขียวมะกอก ให้เป็น ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา (8) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 8.1 ถึงหมายเลข 8.8 ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ให้เป็น ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา (9) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 9.1 ถึงหมายเลข 9.30 ที่กาหนดไว้เป็นสีน้าเงิน ให้เป็น ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ข้อ 8 ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ ไม่เกินร้อยละสิบห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ้ หนา 15 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 27 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กุมภาพันธ์ 2566
(1) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และจาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ ที่ไ ม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ และโรงงาน บำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน (2) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย (3) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง (4) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า (5) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็น การก่อสร้างแทนหรือดัดแปลงสุสานหรือฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม (6) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม (7) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม (8) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ่ (9) โรงฆ่าสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ (10) สวนสนุก (11) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล (12) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อ ไปนี้ (1) ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 15 เมตร การวัดความสูง ของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างอาคารถึงส่วนที่สูงที่สุดของอาคาร เว้นแต่ เป็นการก่อสร้าง เพื่อกิจการสาธารณูปโภคและโครงสร้างสำหรับใช้ในการรับส่งสัญญาณวิทยุหรือสัญญาณโทรทัศน์ (2) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 1.4 ให้ดำเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มี ความสูงไม่เกิน 9 เมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับถนนมนตรีถึงส่วนที่ สูงที่สุดของอาคาร (3) ในระยะ 100 เมตร จากริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 ให้ดำเนินการ หรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 15 เมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 ถึงส่วนที่สูงที่สุดของอาคาร และให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทาง ไม่น้อยกว่า 12 เมตร ้ หนา 16 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 27 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กุมภาพันธ์ 2566
(4) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของลาคลองหรือแหล่งน้าสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมและขนส่งทางน้า การสาธารณูปโภค หรือเขื่อน ข้อ 9 ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย ที่ไม่ใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สำหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสามสิบของที่ดินประ เภทนี้ ในแต่ละบริเวณ ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ (1) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และ จาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ ที่ไม่ใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ และ โรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน (2) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย (3) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ และ สถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง (4) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า (5) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็น การก่อสร้างแทนหรือดัดแปลงสุสานหรือฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม (6) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม (7) การประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารสูง (8) โรงฆ่าสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ (9) สวนสนุก (10) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล (11) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ (1) ในระยะ 50 เมตร จากริมถนนมนตรี ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคาร ที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับถนนมนตรีถึงส่วนที่สูงที่สุด ของอาคาร ้ หนา 17 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 27 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กุมภาพันธ์ 2566
(2) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของลาคลองหรือแหล่งน้าสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมและขนส่งทางน้า การสาธารณูปโภค หรือเขื่อน ข้อ 10 ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สำหรับการใช้ ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละยี่สิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ (1) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และ จาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ ที่ไม่ใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ และ โรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน (2) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย (3) คลังก๊าซปิโตรเ ลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ และสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง (4) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า (5) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็นการก่อสร้างแทน หรือดัดแปลงสุสานหรือฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม (6) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม (7) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารสูง (8) โรงฆ่าสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ (9) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล (10) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ ข้อ 11 ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับ การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ (1) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และ จำพวกที่กำหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 27 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กุมภาพันธ์ 2566
(2) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้ อเพลิง เพื่อการจำหน่าย (3) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง (4) จัดสรรที่ดิ นเพื่อประกอบอุตสาหกรรม (5) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม (6) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย (7) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ่ การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ (1) ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร การวัดความสูง ของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างอาคารถึงส่วนที่สูงที่สุดของอาคาร เว้นแต่ เป็นการก่อสร้าง เพื่อกิจการสาธารณูปโภคและโครงสร้างสำหรับใช้ในการรับส่งสัญญาณวิทยุ หรือสัญญำณโทรทัศน์ (2) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 ไม่น้อยกว่า 12 เมตร (3) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของลาคลองหรือแหล่งน้าสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมและขนส่งทางน้า การสาธารณูปโภค หรือเขื่อน ที่ดินประเภทนี้ในเขตปฏิรูปที่ดิน ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ข้อ 12 ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เฉพาะที่ดิน ซึ่งเป็นขอ งรัฐให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน ดังต่อไปนี้ (1) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 5.1 หมายเลข 5.2 หมายเลข 5.3 และหมายเลข 5.7 ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม สภาพภูมิทัศน์ของเมือง และ การท่องเที่ยวเท่านั้น (2) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 5.4 หมายเลข 5.6 และหมายเลข 5.8 ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและสวนสุขภาพเท่านั้น (3) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 5.5 ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อสนามกีฬาและการพักผ่อนหย่อนใจ เท่านั้น ที่ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อนันทนาการหรือเกี่ยวข้องกับนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การอยู่อาศัย ้ หนา 19 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 27 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กุมภาพันธ์ 2566
เกษตรกรรม การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น และห้ามใช้ ประโ ยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ (1) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า (2) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย (3) การอยู่อาศัยประเภทห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว (4) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม การใช้ประโยชน์ที่ดินริมฝั่งลาคลองหรือแหล่งน้าสาธารณะ ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่ง ตามสภาพธรรมชาติของลาคลองหรือแหล่งน้าสาธารณะไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้าง เพื่อการคมนาคมและขนส่งทางน้า การสาธารณูปโภค หรือเขื่อน ข้อ 13 ที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการสงวนและคุ้มครอง ดูแลรักษา หรือบำรุงป่าไม้ สัตว์ป่า ต้นน้า ลำธาร และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ตามมติคณะรัฐมนตรี และกฎหมายเกี่ยวกับการป่าไม้ การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า และการส่งเสริมและ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ที่ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย เว้นแต่ที่ดิน ในบริเวณหมายเลข 6.2 ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษต รกรรม การอยู่อาศัย การสาธารณูปโภคและ สาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น และห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ (1) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน (2) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ในอาคารที่มีพื้นที่ทุกชั้นในหลังเดียวกัน เกิน 200 ตารางเมตร หรือหลายหลังรวมกันเกิน 1 , 000 ตารางเมตร (3) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย (4) การอยู่อาศัยประเภทอาคารขนาดใหญ่ (5) การอยู่อาศัยประเภทห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว (6) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม (7) โรงเก็บผลิตผลทางการเกษตร เว้นแต่เป็นการดาเนินการหรือประกอบกิจการในอาคาร ที่มีพื้นที่ทุกชั้นในหลังเดียวกันไม่เกิน 200 ตารางเมตร หรือหลายหลั งรวมกันไม่เกิน 1 , 000 ตารางเมตร (8) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ที่ดินประเภทนี้ในบริเวณหมายเลข 6.2 ซึ่งเอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วย กฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การบริการเพื่อการท่องเที่ยวที่ไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ ้ หนา 20 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 27 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กุมภาพันธ์ 2566
และให้มีที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละสี่สิบของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต การอยู่อาศัย การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น และห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ (1) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน (2) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ในอาคารที่มีพื้นที่ทุกชั้นในหลังเดียวกัน เกิน 200 ตารางเมตร หรือหลายหลังรวมกันเกิน 1 , 000 ตารางเมตร (3) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย เว้นแต่เป็นการจัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยประเภท บ้านเดี่ยวหรือบ้านแฝด (4) การอยู่อาศัยประเภทอาคารขนาดใหญ่ (5) การอยู่อาศัยประเภทห้องแถว (6) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุดหรือหอพัก (7) โรงเก็บผลิตผลทางการเกษตร เว้นแต่เป็นการดา เนินการหรือประกอบกิจการในอาคาร ที่มีพื้นที่ทุกชั้นในหลังเดียวกันไม่เกิน 200 ตารางเมตร หรือหลายหลังรวมกันไม่เกิน 1 , 000 ตารางเมตร (8) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ (1) ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร เว้นแต่ที่ดิน ในบริเวณหมายเลข 6.2 ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 15 เมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างอาคารถึงส่วนที่สูงที่สุดของอาคาร เว้นแต่เป็น การก่อสร้างเพื่อกิจการสาธารณูปโภคและโครงสร้างสาหรับใช้ในการรับส่งสัญญาณวิทยุหรือสัญญาณ โทรทัศน์ (2) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 ไม่น้อยกว่า 12 เมตร (3) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของลาคลองหรือแหล่งน้าสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมและขนส่งทางน้า การสาธารณูปโภค หรือเขื่อน ข้อ 14 ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการศึกษาหรือเกี่ยวข้องกับ การศึกษา สถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น ข้อ 15 ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการศาสนาหรือเกี่ยวข้องกับ การศาสนา การศึกษา สถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น ้ หนา 21 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 27 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กุมภาพันธ์ 2566
ข้อ 16 ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการของรัฐ กิจการเกี่ยวกับการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์ เท่านั้น ข้อ 17 การใช้ประโยชน์ที่ดินในบริเวณถนนสาย ก 1 ถนนสาย ก 2 ถนนสาย ก 3 ถนนสาย ก 4 ถนนสาย ก 5 ถนนสาย ก 6 ถนนสาย ข 1 ถนนสาย ข 2 ถนนสาย ค 1 ถนนสาย ค 2 และถนนสาย ค 3 ตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่งท้ายประกาศ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น นอกจากกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ (1) การสร้างถนนหรือเกี่ยวข้องกับถนน และการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (2) การสร้างรั้วหรือกำแพง (3) เกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรมที่มีความสูงของอาคารไม่เกิน 9 เมตร หรือไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ ข้อ 18 ให้ผู้มีหน้าที่และอานาจในการควบคุมการก่อสร้างอาคารหรือกา รประกอบกิจการ ในเขตผังเมืองรวมปฏิบัติการให้เป็นไปตามประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 256 6 พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ้ หนา 22 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 27 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กุมภาพันธ์ 2566
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการบ่มใบชาหรือใบยาสูบ ได้ ได้ 2 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตผลเกษตรกรรมอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การต้ม นึ่ง หรืออบพืชหรือเมล็ดพืช ได้ ได้ ได้ ได้ ( 2 ) การกะเทาะเมล็ดหรือเปลือกเมล็ดพืช ได้ ได้ ได้ ได้ ( 3 ) การอัดปอหรือใบยาสูบ ได้ ได้ ( 4 ) การหีบหรืออัดฝ้าย หรือการปั่นหรืออัดนุ่น ได้ ( 5 ) การเก็บรักษาหรือลําเลียงพืช เมล็ดพืช หรือผลิตผลจากพืชในไซโล โกดัง หรือคลังสินค้า ได้ ( 6 ) การบด ป่น หรือย่อยส่วนต่าง ๆ ของพืช ซึ่งมิใช่เมล็ดพืชหรือหัวพืช ได้ ได้ ( 7 ) การเผาถ่านจากกะลามะพร้าว หรือการบดถ่าน หรือแบ่งบรรจุผงถ่าน ที่เผาได้จากกะลามะพร้าว ได้ ( 8 ) การเพาะเชื้อเห็ด กล้วยไม้ หรือถั่วงอก ได้ ได้ ได้ ( 9 ) การร่อน ล้าง คัด หรือแยกขนาดหรือคุณภาพของผลิตผลเกษตรกรรม ได้ ได้ ได้ ( 10 ) การถนอมผลิตผลเกษตรกรรม โดยวิธีฉายรังสี ได้ ( 11 ) การฟักไข่ โดยใช้ตู้อบ ได้ ได้ 3 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับหิน กรวด ทราย หรือดินสําหรับใช้ในการก่อสร้างอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 2 ) การขุดหรือลอก กรวด ทราย หรือดิน ได้ ( 3 ) การร่อนหรือคัดกรวดหรือทราย ได้ ได้ เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเมืองพังงา ที่ดินประเภท ที่อยู่อาศัย หนาแน่นปานกลาง โรงงานจําพวกที่ ที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย โรงงานจําพวกที่ เกษตรกรรม โรงงานจําพวกที่ โรงงานจําพวกที่ บัญชีท้ายประกาศกระทรวงมหาดไทย ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หมายเหตุ พาณิชยกรรมและ ชนบทและ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก พ . ศ . 2566
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับสัตว์ ซึ่งมิใช่สัตว์น้ําอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การฆ่าสัตว์ ได้ ( 2 ) การถนอมเนื้อสัตว์ โดยวิธีอบ รมควัน ใส่เกลือ ดอง ตากแห้ง หรือทําให้เยือกแข็งโดยฉับพลัน ได้ ได้ หรือเหือดแห้ง ( 3 ) การทําผลิตภัณฑ์อาหารสําเร็จรูปจากเนื้อสัตว์ มันสัตว์ หนังสัตว์ หรือสารที่สกัดจากไขสัตว์ ได้ ได้ หรือกระดูกสัตว์ ( 4 ) การสกัดน้ํามันหรือไขมันที่เป็นอาหารจากสัตว์ หรือการทําน้ํามันหรือไขมันที่เป็นอาหารจากสัตว์ ได้ ได้ ให้บริสุทธิ์ ( 5 ) การบรรจุเนื้อสัตว์หรือมันสัตว์ หรือผลิตภัณฑ์สําเร็จรูปจากเนื้อสัตว์หรือมันสัตว์ ในภาชนะที่ผนึก ได้ ได้ และอากาศเข้าไม่ได้ ( 6 ) การล้าง ชําแหละ แกะ ต้ม นึ่ง ทอด หรือบดสัตว์หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของสัตว์ ได้ ( 7 ) การทําผลิตภัณฑ์จากไข่ เพื่อใช้ประกอบเป็นอาหาร เช่น ไข่เค็ม ไข่เยี่ยวม้า ไข่ผง ไข่เหลวเยือกแข็ง ได้ หรือไข่เหลวแช่เย็น 5 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับน้ํานมอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทํานมสดให้ไร้เชื้อหรือฆ่าเชื้อ โดยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง เช่น การพาสเจอร์ไรส์ หรือสเตอริไลส์ ได้ ( 4 ) การทําครีมจากน้ํานม ได้ ( 5 ) การทําเนยเหลวหรือเนยแข็ง ได้ ( 6 ) การทํานมเปรี้ยวหรือนมเพาะเชื้อ ได้ ที่ดินประเภท โรงงานจําพวกที่ ที่อยู่อาศัย หนาแน่นปานกลาง ที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย โรงงานจําพวกที่ 2 ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หมายเหตุ พาณิชยกรรมและ ชนบทและ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เกษตรกรรม โรงงานจําพวกที่ โรงงานจําพวกที่
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 6 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับสัตว์น้ําอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทําอาหารจากสัตว์น้ําและบรรจุในภาชนะที่ผนึกและอากาศเข้าไม่ได้ ได้ ( 2 ) การถนอมสัตว์น้ําโดยวิธีอบ รมควัน ใส่เกลือ ดอง ตากแห้ง หรือทําให้เยือกแข็งโดยฉับพลัน ได้ หรือเหือดแห้ง ( 3 ) การทําผลิตภัณฑ์อาหารสําเร็จรูปจากสัตว์น้ํา หนัง หรือไขมันสัตว์น้ํา ได้ ( 4 ) การสกัดน้ํามันหรือไขมันที่เป็นอาหารจากสัตว์น้ํา หรือการทําน้ํามันหรือไขมันที่เป็นอาหารจากสัตว์น้ํา ได้ ให้บริสุทธิ์ ( 5 ) การล้าง ชําแหละ แกะ ต้ม นึ่ง ทอด หรือบดสัตว์น้ํา ได้ 8 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผัก พืช หรือผลไม้อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทําอาหารหรือเครื่องดื่มจากผัก พืช หรือผลไม้ และบรรจุในภาชนะที่ผนึกและอากาศเข้าไม่ได้ ได้ ได้ ได้ ( 2 ) การถนอมผัก พืช หรือผลไม้ โดยวิธีกวน ตากแห้ง ดอง หรือทําให้เยือกแข็งโดยฉับพลันหรือเหือดแห้ง ได้ ได้ ได้ 9 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเมล็ดพืชหรือหัวพืชอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การสี ฝัด หรือขัดข้าว ได้ ( 2 ) การทําแป้ง ได้ ( 3 ) การป่นหรือบด เมล็ดพืช หรือหัวพืช ได้ ( 4 ) การผลิตอาหารสําเร็จรูปจากเมล็ดพืชหรือหัวพืช ได้ ( 5 ) การผสมแป้งหรือเมล็ดพืช ได้ ( 6 ) การปอกหัวพืช หรือทําหัวพืชให้เป็นเส้น แว่น หรือแท่ง ได้ ที่ดินประเภท ที่อยู่อาศัย หนาแน่นปานกลาง โรงงานจําพวกที่ ที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย โรงงานจําพวกที่ พาณิชยกรรมและ ชนบทและ 3 ลําดับที่ หมายเหตุ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เกษตรกรรม โรงงานจําพวกที่ โรงงานจําพวกที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 10 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับอาหารจากแป้งอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทําขนมปังหรือขนมเค้ก ได้ ได้ ได้ ( 2 ) การทําขนมปังกรอบหรือขนมอบแห้ง ได้ ได้ ได้ ( 3 ) การทําผลิตภัณฑ์อาหารจากแป้ง เป็นเส้น เม็ด หรือชิ้น ได้ ได้ ได้ 11 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับน้ําตาล ซึ่งทําจากอ้อย บีช หญ้าหวาน หรือพืชอื่นที่ให้ความหวาน อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทําน้ําเชื่อม ได้ ได้ ( 7 ) การทําน้ําตาลจากน้ําหวานของต้นมะพร้าว ต้นตาลโตนด หรือพืชอื่น ๆ ซึ่งมิใช่อ้อย ได้ ได้ 12 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับชา กาแฟ โกโก้ ช็อกโกเลต หรือขนมหวานอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทําใบชาแห้งหรือใบชาผง ได้ ได้ ( 2 ) การคั่ว บด หรือป่นกาแฟ หรือการทํากาแฟผง ได้ ได้ ได้ ได้ ( 3 ) การทําโกโก้ผงหรือขนมจากโกโก้ ได้ ได้ ได้ ได้ ( 4 ) การทําช็อกโกเลต ช็อกโกเลตผง หรือขนมจากช็อกโกเลต ได้ ได้ ได้ ได้ ( 5 ) การทําเก็กฮวยผง ขิงผง หรือเครื่องดื่มชนิดผงจากพืชอื่น ๆ ได้ ได้ ได้ ได้ ( 6 ) การทํามะขามอัดเม็ด มะนาวอัดเม็ด หรือผลไม้อัดเม็ด ได้ ได้ ได้ ได้ ( 7 ) การเชื่อมหรือแช่อิ่มผลไม้หรือเปลือกผลไม้ หรือการเคลือบผลไม้หรือเปลือกผลไม้ด้วยน้ําตาล ได้ ได้ ได้ ได้ ( 8 ) การอบหรือคั่วถั่วหรือเมล็ดผลไม้ (Nuts) หรือการเคลือบถั่วหรือเมล็ดผลไม้ (Nuts) ด้วยน้ําตาล ได้ ได้ ได้ ได้ กาแฟ โกโก้ หรือช็อกโกเลต ( 10 ) การทําลูกกวาดหรือทอฟฟี่ ได้ ได้ ได้ ได้ ( 11 ) การทําไอศกรีม ได้ ได้ ได้ ได้ ที่ดินประเภท โรงงานจําพวกที่ ที่อยู่อาศัย หนาแน่นปานกลาง ที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย โรงงานจําพวกที่ เกษตรกรรม โรงงานจําพวกที่ โรงงานจําพวกที่ 4 ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หมายเหตุ พาณิชยกรรมและ ชนบทและ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 13 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องปรุงหรือเครื่องประกอบอาหารอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 5 ) การทํามัสตาร์ด ได้ ( 6 ) การทําน้ํามันสลัด ได้ ได้ ได้ ( 7 ) การบดหรือป่นเครื่องเทศ ได้ ได้ ได้ ( 8 ) การทําพริกป่น พริกไทยป่น หรือเครื่องแกง ได้ ได้ ได้ 14 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการทํา ตัด ซอย บด หรือย่อยน้ําแข็ง ได้ ได้ 20 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับน้ําดื่ม เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ น้ําอัดลม หรือน้ําแร่อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทําน้ําดื่ม ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ( 2 ) การทําเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ ได้ ( 4 ) การทําน้ําแร่ ได้ ได้ 23 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์จากสิ่งทอ ซึ่งมิใช่เครื่องนุ่งห่มอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทําผลิตภัณฑ์จากสิ่งทอเป็นเครื่องใช้ในบ้าน ได้ ได้ ( 2 ) การทําถุงหรือกระสอบซึ่งมิใช่ถุงหรือกระสอบพลาสติก ได้ ได้ ( 3 ) การทําผลิตภัณฑ์จากผ้าใบ ได้ ได้ ( 4 ) การตบแต่งหรือเย็บปักถักร้อยสิ่งทอ ได้ ได้ 24 โรงงานถักผ้า ผ้าลูกไม้ หรือเครื่องนุ่งห่มด้วยด้ายหรือเส้นใย หรือฟอก ย้อมสี หรือแต่งสําเร็จผ้า ได้ ได้ ผ้าลูกไม้ หรือเครื่องนุ่งห่มที่ถักด้วยด้ายหรือเส้นใย 25 โรงงานผลิตเสื่อหรือพรมด้วยวิธีทอ สาน ถัก หรือผูกให้เป็นปุย ซึ่งมิใช่เสื่อหรือพรมที่ทําด้วยยาง ได้ ได้ หรือพลาสติกหรือพรมน้ํามัน ที่ดินประเภท ที่อยู่อาศัย หนาแน่นปานกลาง โรงงานจําพวกที่ เกษตรกรรม โรงงานจําพวกที่ โรงงานจําพวกที่ ที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย โรงงานจําพวกที่ 5 ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หมายเหตุ พาณิชยกรรมและ ชนบทและ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 26 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเชือก ตาข่าย แห หรืออวนอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การผลิตเชือก ได้ ได้ ( 2 ) การผลิต ประกอบ หรือซ่อมแซมตาข่าย แห หรืออวน และรวมถึงชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ ได้ ได้ ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว 28 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องแต่งกายซึ่งมิใช่รองเท้าอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การตัดหรือเย็บเครื่องนุ่งห่ม เข็มขัด ผ้าเช็ดหน้า ผ้าพันคอ เนกไท หูกระต่าย ปลอกแขน ถุงมือ ได้ ได้ ถุงเท้า จากผ้าหนังสัตว์ ขนสัตว์ หรือวัสดุอื่น ( 2 ) การทําหมวก ได้ ได้ 33 โรงงานผลิตรองเท้าหรือชิ้นส่วนของรองเท้าซึ่งมิได้ทําจากไม้ยางอบแข็ง ยางอัดเข้ารูป ได้ หรือพลาสติกอัดเข้ารูป 34 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับไม้อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การเลื่อย ไส ซอย เซาะร่อง หรือการแปรรูปไม้ด้วยวิธีอื่นที่คล้ายคลึงกัน ได้ ( 2 ) การทําวงกบ ขอบประตู ขอบหน้าต่าง บานหน้าต่าง บานประตู หรือส่วนประกอบที่ทําด้วยไม้ ได้ ของอาคาร ( 3 ) การทําไม้วีเนียร์หรือไม้อัดทุกชนิด ได้ ( 4 ) การทําฝอยไม้ การบด ป่น หรือย่อยไม้ ได้ ได้ ได้ ( 5 ) การถนอมเนื้อไม้หรือการอบไม้ ได้ ( 6 ) การเผาถ่านจากไม้ ได้ 35 โรงงานผลิตภาชนะบรรจุหรือเครื่องใช้จากไม้ไผ่ หวาย ฟาง อ้อ กก หรือผักตบชวา ได้ ได้ ได้ ที่อยู่อาศัย หนาแน่นปานกลาง ที่ดินประเภท ที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย โรงงานจําพวกที่ 6 ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หมายเหตุ พาณิชยกรรมและ ชนบทและ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เกษตรกรรม โรงงานจําพวกที่ โรงงานจําพวกที่ โรงงานจําพวกที่
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 36 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์จากไม้หรือไม้ก๊อกอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทําภาชนะบรรจุ เครื่องมือ หรือเครื่องใช้จากไม้ และรวมถึงชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ได้ ( 2 ) การทํารองเท้า ชิ้นส่วนของรองเท้า หรือหุ่นรองเท้าจากไม้ ได้ ได้ ได้ ( 3 ) การแกะสลักไม้ ได้ ได้ ( 4 ) การทํากรอบรูปหรือกรอบกระจกจากไม้ ได้ ( 5 ) การทําผลิตภัณฑ์จากไม้ก๊อก ได้ ได้ 37 โรงงานทําเครื่องเรือนหรือตบแต่งภายในอาคารจากไม้ แก้ว ยาง หรืออโลหะอื่น ซึ่งมิใช่เครื่องเรือน ได้ หรือเครื่องตบแต่งภายในอาคารจากพลาสติกอัดเข้ารูป และรวมถึงชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว 41 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ ( 1 ) การพิมพ์ การทําแฟ้มเก็บเอกสาร การเย็บเล่ม ทําปก หรือตบแต่งสิ่งพิมพ์ ได้ ได้ ได้ ( 2 ) การทําแม่พิมพ์โลหะ ได้ 48 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เคมีอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 5 ) การทําเทียนไข ได้ 52 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับยางอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทํายางแผ่นในขั้นต้นจากน้ํายางธรรมชาติ ซึ่งมิใช่การทําในสวนยางหรือป่า ได้ ( 2 ) การหั่น ผสม รีดให้เป็นแผ่น หรือตัดแผ่นยางธรรมชาติ ซึ่งมิใช่การทําในสวนยางหรือป่า ได้ 57 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับซีเมนต์ ปูนขาว หรือปูนปลาสเตอร์อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 3 ) การผสมซีเมนต์ ปูนขาว หรือปูนปลาสเตอร์อย่างหนึ่งอย่างใดเข้าด้วยกัน หรือการผสมซีเมนต์ ได้ ปูนขาว หรือปูนปลาสเตอร์อย่างหนึ่งอย่างใดเข้ากับวัสดุอื่น หนาแน่นน้อย โรงงานจําพวกที่ ที่ดินประเภท ที่อยู่อาศัย เกษตรกรรม โรงงานจําพวกที่ โรงงานจําพวกที่ ที่อยู่อาศัย หนาแน่นปานกลาง โรงงานจําพวกที่ พาณิชยกรรมและ ชนบทและ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หมายเหตุ 7
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 58 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์อโลหะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทําผลิตภัณฑ์คอนกรีต ผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสม ผลิตภัณฑ์ยิปซัม หรือผลิตภัณฑ์ปูนปลาสเตอร์ ได้ ได้ ( 3 ) การทําผลิตภัณฑ์จากหิน ได้ ได้ 61 โรงงานผลิต ตบแต่ง ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องมือหรือเครื่องใช้ที่ทําด้วยเหล็กหรือเหล็กกล้า ได้ และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของเครื่องมือหรือเครื่องใช้ดังกล่าว 62 โรงงานผลิต ตบแต่ง ดัดแปลง หรือซ่อมแซม เครื่องเรือนหรือเครื่องตบแต่งภายในอาคารที่ทําจากโลหะ ได้ หรือโลหะเป็นส่วนใหญ่ และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของเครื่องเรือนหรือเครื่องตบแต่งดังกล่าว 63 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์โลหะสําหรับใช้ในการก่อสร้าง หรือติดตั้งอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทําส่วนประกอบสําหรับใช้ในการก่อสร้างสะพาน ประตูน้ํา ถังน้ํา หรือปล่องไฟ ได้ ( 2 ) การทําส่วนประกอบสําหรับใช้ในการก่อสร้างอาคาร ได้ ( 3 ) การทําส่วนประกอบสําหรับใช้ในการต่อเรือ ได้ ( 4 ) การทําส่วนประกอบสําหรับใช้ในการสร้างหรือซ่อมหม้อน้ํา ได้ ( 5 ) การทําส่วนประกอบสําหรับใช้กับระบบเครื่องปรับอากาศ ได้ 64 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์โลหะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทําภาชนะบรรจุ ได้ ( 4 ) การทําตู้หรือห้องนิรภัย ได้ ( 9 ) การทําเครื่องใช้เล็ก ๆ จากโลหะ ได้ ( 10 ) การทําผลิตภัณฑ์โลหะสําเร็จรูปด้วยวิธีเคลือบ ลงรัก (Enamelling , Japanning , or ได้ Lacquering) ชุบ หรือขัด ที่อยู่อาศัย หนาแน่นปานกลาง โรงงานจําพวกที่ ที่ดินประเภท โรงงานจําพวกที่ โรงงานจําพวกที่ เกษตรกรรม ที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย โรงงานจําพวกที่ ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หมายเหตุ พาณิชยกรรมและ ชนบทและ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก 8
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 ( 11 ) การอัดเศษโลหะ ได้ ( 12 ) การตัด พับ หรือม้วนโลหะ ได้ ( 13 ) การกลึง เจาะ คว้าน กัด ไส เจียน หรือเชื่อมโลหะทั่วไป ได้ ( 14 ) การทําชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ของผลิตภัณฑ์โลหะตาม ( 1 ) ถึง ( 10 ) ได้ 65 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องยนต์ เครื่องกังหัน และรวมถึงส่วนประกอบ ได้ ได้ หรืออุปกรณ์ของเครื่องยนต์หรือเครื่องกังหันดังกล่าว 66 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องจักรสําหรับใช้ในการกสิกรรมหรือการเลี้ยงสัตว์ ได้ ได้ และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของเครื่องจักรดังกล่าว 69 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องคํานวณ เครื่องทําบัญชี เครื่องจักรสําหรับระบบ ได้ ได้ ได้ บัตรเจาะ เครื่องจักรสําหรับใช้ในการคํานวณชนิดดิจิทัลหรือชนิดอนาล็อก หรือเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ สําหรับปฏิบัติกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันหรืออุปกรณ์ (Digital or Analog Computers , Associated Electronic Data Processing Equipment , or Accessories) เครื่องรวมราคาของขาย (Cash Registers) เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องชั่งซึ่งมิใช่เครื่องชั่งที่ใช้ในห้องทดลองวิทยาศาสตร์ หรือเครื่องอัดสําเนา ซึ่งมิใช่เครื่องอัดสําเนาด้วยการถ่ายภาพ และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว 70 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องสูบน้ํา เครื่องอัดอากาศหรือก๊าซ เครื่องเป่าลม ได้ ได้ ได้ เครื่องปรับหรือถ่ายเทอากาศ เครื่องโปรยน้ําดับไฟ ตู้เย็นหรือเครื่องประกอบตู้เย็น เครื่องขายสินค้าอัตโนมัติ เครื่องล้าง ซัก ซักแห้ง หรือรีดผ้า เครื่องเย็บ เครื่องส่งกําลังกล เครื่องยก ปั้นจั่น ลิฟต์ บันไดเลื่อน รถบรรทุก รถแทกเตอร์ รถพ่วงสําหรับใช้ในการอุตสาหกรรม รถยกซ้อนของ (Stackers) เตาไฟ หรือเตาอบสําหรับใช้ในการอุตสาหกรรมหรือสําหรับใช้ในบ้าน แต่ผลิตภัณฑ์นั้นต้องไม่ใช้พลังงานไฟฟ้า และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ที่ดินประเภท ที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย โรงงานจําพวกที่ ชนบทและ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เกษตรกรรม 9 ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หมายเหตุ พาณิชยกรรมและ โรงงานจําพวกที่ โรงงานจําพวกที่ ที่อยู่อาศัย หนาแน่นปานกลาง โรงงานจําพวกที่
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 71 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องจักร หรือผลิตภัณฑ์ที่ระบุไว้ในลําดับที่ 70 ได้ ได้ ได้ เฉพาะที่ใช้ไฟฟ้า เครื่องยนต์ไฟฟ้า เครื่องกําเนิดไฟฟ้า หม้อแปลงแรงไฟฟ้า เครื่องสับหรือบังคับไฟฟ้า เครื่องใช้สําหรับแผงไฟฟ้า เครื่องเปลี่ยนทางไฟฟ้า เครื่องส่งหรือจําหน่ายไฟฟ้า เครื่องสําหรับใช้บังคับไฟฟ้า หรือเครื่องเชื่อมไฟฟ้า 72 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องรับวิทยุ เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องกระจายเสียง ได้ ได้ ได้ หรือบันทึกเสียง เครื่องเล่นแผ่นเสียง เครื่องบันทึกคําบอก เครื่องบันทึกเสียงด้วยเทป เครื่องเล่นหรือ เครื่องบันทึกแถบภาพ ( วีดิทัศน์ ) แผ่นเสียง เทปแม่เหล็กที่ได้บันทึกเสียงแล้ว เครื่องโทรศัพท์หรือ โทรเลขชนิดมีสายหรือไม่มีสาย เครื่องส่งวิทยุ เครื่องส่งโทรทัศน์ เครื่องรับส่งสัญญาณหรือจับสัญญาณ เครื่องเรดาร์ ผลิตภัณฑ์ที่เป็นตัวกึ่งนําหรือตัวกึ่งนําชนิดไวที่เกี่ยวข้อง (Semi - Conductor or Related Sensitive Semi - Conductor Devices) คาปาซิเตอร์หรือคอนเดนเซอร์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดคงที่หรือ เปลี่ยนแปลงได้ (Fixed or Variable Electronic Capacitors or Condensers) เครื่องหรือ หลอดเรดิโอกราฟ เครื่องหรือหลอดฟลูโรสโคป หรือเครื่องหรือหลอดเอกซเรย์ และรวมถึงการผลิตอุปกรณ์ หรือชิ้นส่วนสําหรับใช้กับเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าว 75 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเรืออย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การต่อ ซ่อมแซม ทาสี หรือตอกหมันเรือในอู่ต่อเรือนอกจากเรือยาง ได้ ได้ ( 2 ) การทําชิ้นส่วนพิเศษสําหรับเรือหรือเครื่องยนต์เรือ ได้ ได้ ( 3 ) การเปลี่ยนแปลงหรือรื้อทําลายเรือ ได้ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เกษตรกรรม ที่ดินประเภท ที่อยู่อาศัย หนาแน่นปานกลาง โรงงานจําพวกที่ โรงงานจําพวกที่ หนาแน่นน้อย ที่อยู่อาศัย 10 ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หมายเหตุ พาณิชยกรรมและ โรงงานจําพวกที่ ชนบทและ โรงงานจําพวกที่
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 78 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับจักรยานยนต์ จักรยานสามล้อ หรือจักรยานสองล้ออย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) สร้าง ประกอบ ดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลงสภาพจักรยานยนต์ จักรยานสามล้อ หรือจักรยานสองล้อ ได้ ได้ ได้ ( 2 ) การทําชิ้นส่วนพิเศษ หรืออุปกรณ์สําหรับจักรยานยนต์ จักรยานสามล้อหรือจักรยานสองล้อ ได้ ได้ ได้ 80 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมล้อเลื่อนที่ขับเคลื่อนด้วยแรงคนหรือสัตว์ ซึ่งมิใช่จักรยาน ได้ ได้ ได้ และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว 81 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องมือ เครื่องใช้ หรืออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ หรือการแพทย์ อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทํา ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องมือหรืออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ที่ใช้ในห้องทดลอง ได้ ได้ หรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการชั่ง ตวง วัด หรือบังคับควบคุม 84 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเพชร พลอย ทอง เงิน นาก หรืออัญมณีอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทําเครื่องประดับโดยใช้เพชร พลอย ไข่มุก ทองคํา ทองขาว เงิน นาก หรืออัญมณี ได้ ได้ ได้ ( 2 ) การทําเครื่องใช้ด้วยทองคํา ทองขาว เงิน นาก กะไหล่ทอง หรือโลหะที่มีค่า ได้ ได้ ได้ ( 3 ) การตัด เจียระไน หรือขัดเพชร พลอย หรืออัญมณี ได้ ได้ ได้ ( 4 ) การเผาหรืออบพลอยหรืออัญมณีอื่น ๆ ได้ ได้ ( 5 ) การทําดวงตรา หรือเหรียญตราของเครื่องราชอิสริยาภรณ์หรือเหรียญอื่น ได้ 85 โรงงานผลิตหรือประกอบเครื่องดนตรี และรวมถึงชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ของเครื่องดนตรีดังกล่าว ได้ ได้ ได้ 86 โรงงานผลิตหรือประกอบเครื่องมือหรือเครื่องใช้ในการกีฬา การบริหารร่างกาย การเล่นบิลเลียด ได้ ได้ โบว์ลิ่ง หรือตกปลา และรวมถึงชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ของเครื่องมือหรือเครื่องใช้ดังกล่าว ที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย โรงงานจําพวกที่ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เกษตรกรรม โรงงานจําพวกที่ ชนบทและ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ลําดับที่ โรงงานจําพวกที่ ที่อยู่อาศัย หนาแน่นปานกลาง หมายเหตุ พาณิชยกรรมและ โรงงานจําพวกที่ ที่ดินประเภท 11
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 87 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องเล่น เครื่องมือ หรือเครื่องใช้ที่มิได้ระบุไว้ในลําดับอื่น อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทําเครื่องเล่น ได้ ( 2 ) การทําเครื่องเขียนหรือเครื่องวาดภาพ ได้ ( 3 ) การทําเครื่องเพชร พลอย หรือเครื่องประดับสําหรับการแสดง ได้ ได้ ได้ ( 4 ) การทําร่ม ไม้ถือ ขนนก ดอกไม้เทียม ซิป กระดุม ไม้กวาด แปรง ตะเกียง โป๊ะตะเกียงหรือไฟฟ้า ได้ ได้ ได้ กล้องสูบยาหรือกล้องบุหรี่ ก้นกรองบุหรี่ หรือไฟแช็ก ( 5 ) การทําป้าย ตรา เครื่องหมาย ป้ายติดของ หรือเครื่องโฆษณาสินค้า ตราโลหะ หรือยางแม่พิมพ์ลายฉลุ ได้ ได้ ได้ (Stencils) ( 6 ) การทําแหคลุมผม ช้องผม หรือผมปลอม ได้ ได้ ได้ 88 โรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้าอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ยกเว้นที่ติดตั้งบนหลังคา ดาดฟ้า หรือส่วนหนึ่ง ได้ ส่วนใดบนอาคารซึ่งบุคคลอาจเข้าอยู่หรือใช้สอยได้ โดยมีขนาดกําลังการผลิตติดตั้งสูงสุดรวมกัน ของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ไม่เกิน 1 , 000 กิโลวัตต์ ( 2 ) การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานความร้อน ได้ ให้ดําเนินการได้ เฉพาะโรงงานไฟฟ้า ชีวมวล 90 โรงงานจัดหาน้ํา ทําน้ําให้บริสุทธิ์ หรือจําหน่ายน้ําไปยังอาคารหรือโรงงานอุตสาหกรรม ได้ 91 โรงงานบรรจุสินค้าในภาชนะโดยไม่มีการผลิตอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การบรรจุสินค้าทั่วไป ได้ ได้ ได้ หนาแน่นปานกลาง โรงงานจําพวกที่ ที่ดินประเภท ที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย โรงงานจําพวกที่ ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หมายเหตุ พาณิชยกรรมและ ชนบทและ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เกษตรกรรม โรงงานจําพวกที่ โรงงานจําพวกที่ ที่อยู่อาศัย 12
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 92 โรงงานห้องเย็น ได้ 93 โรงงานซ่อมรองเท้าหรือเครื่องหนัง ได้ ได้ ได้ ได้ 94 โรงงานซ่อมเครื่องมือไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า สําหรับใช้ในบ้านหรือใช้ประจําตัว ได้ ได้ ได้ ได้ 95 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับยานที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ รถพ่วง จักรยานสามล้อ จักรยานสองล้อ หรือส่วนประกอบของยานดังกล่าวอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การซ่อมแซมยานที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หรือส่วนประกอบของยานดังกล่าว ได้ ได้ ( 2 ) การซ่อมแซมรถพ่วง จักรยานสามล้อ จักรยานสองล้อ หรือส่วนประกอบของยานดังกล่าว ได้ ได้ ( 3 ) การพ่นสีกันสนิมยานที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ ได้ ( 4 ) การล้างหรืออัดฉีดยานที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ ได้ ได้ ได้ ได้ 96 โรงงานซ่อมนาฬิกา เครื่องวัดเวลา หรือเครื่องประดับที่ทําด้วยเพชร พลอย ทองคํา ทองขาว เงิน ได้ นาก หรืออัญมณี 97 โรงงานซ่อมผลิตภัณฑ์ที่มิได้ระบุการซ่อมไว้ในลําดับใด ได้ ได้ 98 โรงงานซักรีด ซักแห้ง ซักฟอก รีด อัด หรือย้อมผ้า เครื่องนุ่งห่ม พรม หรือขนสัตว์ ได้ ได้ 100 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการตบแต่งหรือเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ หรือส่วนประกอบ ของผลิตภัณฑ์โดยไม่มีการผลิตอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การทา พ่น หรือเคลือบสี ได้ ( 2 ) การทา พ่น หรือเคลือบเชลแล็ก แล็กเกอร์ หรือน้ํามันเคลือบเงาอื่น ได้ ( 3 ) การลงรักหรือการประดับตบแต่งด้วยแก้ว กระจก มุก ทอง หรืออัญมณี ได้ ( 4 ) การขัด ได้ โรงงานจําพวกที่ ที่ดินประเภท เกษตรกรรม โรงงานจําพวกที่ โรงงานจําพวกที่ ที่อยู่อาศัย หนาแน่นปานกลาง หนาแน่นน้อย โรงงานจําพวกที่ ที่อยู่อาศัย 13 ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หมายเหตุ พาณิชยกรรมและ ชนบทและ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 101 โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม (Central Waste Treatment Plant) ได้ หมายเหตุ ลําดับที่ หมายถึง ลําดับที่ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน ได้ หมายถึง สามารถประกอบกิจการโรงงานได้ภายใต้บังคับของกฎหมายว่าด้วยโรงงาน โรงงานจําพวกที่ หมายถึง จําพวกโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน 14 ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท ที่อยู่อาศัย ที่อยู่อาศัย หมายเหตุ พาณิชยกรรมและ ชนบทและ หนาแน่นน้อย หนาแน่นปานกลาง ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เกษตรกรรม โรงงานจําพวกที่ โรงงานจําพวกที่ โรงงานจําพวกที่ โรงงานจําพวกที่
รายการประกอบแผนผัง กาหนด การใช้ประโยชน์ที่ดิน ตามที่ได้จำแนกประเภท ท้ายประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การ ให้ใช้บังคับ ผั งเมืองรวมเมืองพังงา พ.ศ. 2566 การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นไปตามแผนผัง กาหนด การใช้ประโยชน์ที่ ดิน ตามที่ได้จำแนก ประเภทท้าย ประกาศ ตามที่กำหนดไว้ใน ข้อ 7 คือ 1 . ที่ดินใ นบริเวณหมายเลข 1.1 ถึงหมายเลข 1.18 ที่กำหนดไว้เป็นสีเหลือง ให้เป็นที่ดิน ประเภท ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย มีรายการดังต่อไปนี้ 1.1 ด้านเหนือ จดเส้น ตั้งฉากกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวัน ออก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจาก คลองพังงาบรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเ กษม) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวทางหลวงแผ่นดินห มายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เป็นระยะ 250 เมตร ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระ ยะ 150 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) และถนนเทศบาลบำ รุง ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดวัดสราภิมุข ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่ นดินหมาย เลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟาก ตะวันออก 1.2 ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนเทศบาลบำรุง ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเขตเทศบาลเมืองพังงา ระหว่างหลักเขตที่ 3 กับ หลักเขตที่ 2 ด้านตะวันตก จดทางหลว งแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันออก 1.3 ด้านเหนือ จดสำนักงานการประปาส่วนภูมิภาคจังหวัดพังงา ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันตก และวัดประชุมโยธี ด้านใต้ จดเขาหลักเมื อง ด้านตะวันตก จดเขาหลักเมือง เส้นตั้งฉากกับทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เป็ นระยะ 200 เมตร และเส้นขนานระยะ 100 เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) 1.4 ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก 1 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด สำนักสงฆ์ถ้าตาปาน ( ที่ธรณีสงฆ์วัดประชุมโยธี ) ด้านตะวันตก จดเขตเ ทศบาลเมืองพังงา ระหว่างหลักเขตที่ 7 กับหลักเขตที่ 1
2 1.5 ด้านเหนือ จดเขตเทศบาลเมืองพังงา ระหว่างหลักเขตที่ 7 กับหลักเขตที่ 1 ด้านตะวันออก จด สำนักสงฆ์ถ้าตาปาน ( ที่ธรณีสงฆ์วั ดประชุมโยธี ) ถนนสาย ข 1 ฟากเหนือและฟากตะวันตก สานักงาน เหล่ำ กาชาดจังหวัดพังงา ศูนย์ บริหารการทะเบียนภาค 8 สาขาจังหวัดพังงา หอการค้าจังหวัดพังงา สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดพังงา สำนักงานคณะกรรมการอิสลาม ประจำจังหวัดพังงา ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนเขต 10 และบ้านพักข้าราชการ ด้านใต้ จดสวนกาญจนภิ เษกเท ศบาลเมืองพังงำ และวัดประพำส ประจิมเขต ด้านตะวันตก จดเขตเทศบาลเมืองพังงา ระหว่างหลักเขตที่ 7 กับหลักเขตที่ 1 1.6 ด้านเหนือ จดถนนสาย ข 1 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดโรงพยาบาลพังงา สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดพังงา และ บ้านพักข้าราชการ ด้านใต้ จดโรงพยาบาลพังงา สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดพังงา และ บ้านพักข้าราชการ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ข 1 ฟากตะวันออก 1.7 ด้านเหนือ จดถนนสาย ข 2 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนเทศบาลบำรุง ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนเจริญราษฎร์ ฟากเหนือ ด้านตะวั นตก จด ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันออก โรงเรียนเทศบาลบ้านท้ายช้าง และ ที่ทำการ ไปรษณีย์จังหวัดพังงา 1.8 ด้านเหนือ จดถนนสาย ก 6 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด จวน ผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา (หลังเก่า) และ บ้านพักรอ งผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา และถนนมนตรี ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ข 1 ฟากตะวันออก 1.9 ด้านเหนือ จดธนาคารแห่งประเทศไทย ศูนย์จัดการธนบัตรพังงา สนามกีฬา กลางองค์การบริหารส่วน จังหวัดพังงา และหนองน้าสาธารณะ ด้านตะวันออก จดคลองพังงา ฝั่งตะวันตก ด้ำนตะวันตก จดถนนเทศบาลบำรุง ฟากตะวันออก 1.10 ด้านเหนือ จดคลองพังงา ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดคลองพังงา ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดถนนเชิงลาดสะพาน พง. 008 (สะพานถ้ำน้ำผุด อนุสรณ์) ฟากเหนือ โรงเรียนอนุบาลพังงา ที่ทำการ โครงการชลประทานจังหวัดพังงา ตรวจคน เข้ำเมือง จังหวัด พังงา สำนักงานจัดหางานจังหวัดพังงา สำนักงานบังคับคดีจังหวัดพังงา สำนักงานโยธาธิการและผังเมือง จังหวัดพังงา บ้านพักข้าราชการ และ บ้านพักรองผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา
3 1.11 ด้านเหนือ จดถนนเจริญราษฎร์ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนเ ทศบาลบำรุง ฟากตะวันตก คลองพังงา ฝั่งตะวันตก และแนวเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ป่าชายเลนโครงการคลอง หาดคี่ (พง. 9 0 ) และเขางุ้ม ด้านใต้ จดสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดพังงา ด้านตะวันตก จดสถำนีดับเพลิง 2 เทศบาลเมืองพังงา สำนักงาน สาธำรณสุข จังหวัดพังงา บ้านพักข้าราชการ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันออก สำนักงานพาณิชย์จังหวัดพังงา ศาล เยาวชนและครอบครัว จังหวัดพังงา สำนักงานคุมประพฤติจังหวัดพังงา บ้านพักข้าราชการ สำนักงาน อัยการจังหวัด พังงา และบ้านพักข้าราชการ 1.12 ด้านเ หนือ จด วัดประพาสประจิมเขต ด้านตะวันออก จด สำนักงานที่ดินจังหวัดพังงา สานักงานเกษตร จังหวัดพังงา ห้องสมุดประชาชนจังหวัดพังงา องค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงา ที่ว่าการอำเภอเมืองพังงา ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันตก และสำนักงานเขตพื้นที่การศึ กษา มัธยมศึกษา เขต 14 ด้านใต้ จดสำนักงานขนส่งจังหวัดพังงา ด้านตะวันตก จดเขตเทศบาลเมืองพังงา ระหว่างหลักเขตที่ 7 กับหลักเขตที่ 1 1.13 ด้านเหนือ จดถนนเชิงลาดสะพาน พง. 008 ( สะพานถ้ำน้ำผุด อนุสรณ์ ) ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดคลองพังงา ฝั่งตะวั นตก ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 ฟากเหนือ และ วิทยาลัย เทคนิคพังงา เขต 2 ด้านตะวันตก จดแนวเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ป่าชาย เลน โครงการ คลองหาดคี่ (พง. 90 ) และถนนเทศบำรุง ฟากตะวันออก 1.14 ด้านเหนือ จดสำนักงานขนส่งจังหวัดพังงา ด้านตะ วันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันตก ด้านตะวันตก จดเขตเทศบาลเมืองพังงา ระหว่างหลักเขตที่ 7 กับหลักเขตที่ 1 1.15 ด้านเหนือ จดเขตเทศบาลเมืองพังงา ระหว่างหลักเขตที่ 7 กับหลักเขตที่ 1 ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นตั้งฉากกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บรรจบกับทางหลวงชนบท พง. 1001 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวทางหลวงแผ่ นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เป็นระยะ 450 เมตร
4 ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) 1.16 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม ) ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดสวนสมเด็จพระศรีนคริ นทร์ จังหวัดพังงา ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 ฟากเหนือ 1.17 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ศูนย์บริหารจัดการทรัพยากรป่าชายเลนจังหวัดพังงา และสำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 6 แนวเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณ ะรัฐมนตรี ป่าชายเลน โครงการป่าคลองหาดคี่ (พง. 90) แนวเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรั ฐมนตรี ป่าชายเลนโครงการคลองสามฮ ก (พง. 91 ) และแนวเขตอุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา ด้านใต้ จดเขตเทศบาลเมืองพังงา ระหว่างหลักเขตที่ 4 กับหลักเขตที่ 5 เส้นขนานระยะ 200 เมตร กับ ศูน ย์กลางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เส้นตั้งฉากกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บรรจบกับทางหลวงชนบท พง. 1001 ไปทาง ทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวทางหลวงแผ่ นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เป็นระยะ 450 เมตร ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันออก 1.18 ด้านเหนือ จดถนนเชิงลาดสะพาน พง. 008 (สะพานถ้ำน้ำผุด อนุสรณ์) ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ค 3 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 4311 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดคลองพังงา ฝั่งตะวันออก และเรือนจำจังหวัดพังงา 2. ที่ดิน ใน บริเวณหมายเลข 2.1 ถึงหมายเลข 2.9 ที่กำหนดไว้เป็นสีส้ม ให้เป็นที่ดิน ประเภทที่ อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง มีรายการดังต่อไปนี้ 2.1 ด้านเหนือ จดเขตเทศบาลเ มืองพังงา ระหว่างหลักเขตที่ 2 กับหลักเขตที่ 3 และโรงเรียนอนุบาลช้าง ด้านตะวันอ อก จดถนนเทศบาลบำรุง ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนกฤษณาอุทิศ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันออก 2.2 ด้านเหนือ จดถนนกฤษณาอุทิ ศ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนเทศบาลบำรุง ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนโรงเรือ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนบริรักษ์บำรุง ฟากตะวันออ ก และวัดมงคล สุทธาวาส
5 2.3 ด้านเหนือ จด เขตเทศบาลเมืองพังงา ระหว่างหลักเขตที่ 7 กับหลักเขตที่ 1 ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 100 เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย ค 2 ด้านใต้ จดถนนสาย ก 1 ฟากเหนือ และถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด เขตเทศบาลเมืองพังงา ระหว่างหลักเขตที่ 7 กับหลักเขตที่ 1 2.4 ด้านเหนือ จดถนนสาย ก 1 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด เส้นขนาน ระยะ 100 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) และโรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน ด้านใต้ จดโรงเรียนสตรีพังงา ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก 1 ฟากตะวันออ ก 2.5 ด้านเหนือ จดถนนโรงเรือ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จ ดถนนเทศบาลบำรุง ฟากตะวัน ตก และสำนักงาน ประกันสังคมจังหวัดพังงา ด้านใต้ จดถนนสาย ก 4 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด สถานีตำรวจภูธรจังหวัดพังงา วัดทักษิณาวาส และถนนสาย ก 3 ฟากตะวันออก 2.6 ด้านเหนือ จดแขวงทางหลวง พังงา ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพช รเกษม) ฟากตะวันตก วิทยาลัยเทคนิคพังงา วัดประชาสันติ และสำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดพังงา (ร้าง) ด้านใต้ จดถนนสำย ก 5 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก 1 ฟากตะวันออก 2.7 ด้านเหนือ จดโรงเรียนบ้านทุ่งเจดีย์ บ้านพักข้าราชการตำรวจ ภูธร จังหวัดพังงำ และถนนสาย ก 4 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนเทศบาลบำรุง ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ก 5 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟาก ตะวันออก 2.8 ด้านเหนือ จดถนนสำย ก 5 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเ พชรเกษม) ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ข 1 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จด สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาส มหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก และถนนสาย ก 1 ฟากตะวันออก
6 2.9 ด้านเหนือ จดถนนสำย ก 5 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จด ถนน เทศบาลบำรุง ฟา กตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ข 2 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันออก 3. ที่ดินในบริเวณหมายเลข 3.1 ถึงหมายเลข 3.5 ที่กำ หนดไว้เป็นสีแดง ให้เป็นที่ดิน ประเภทพาณิช ยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก มีรายการดังต่อไปนี้ 3 .1 ด้านเหนือ จดวัดประชุมโยธี ด้านตะวันออก จด ถนนสาย ค 2 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ก 1 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 100 เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย ค 2 และเขตเทศบาลเมืองพังงา ระหว่างหลักเขตที่ 7 กับหลักเขตที่ 1 3.2 ด้านเหนือ จดถนนกฤษณา อุทิ ศ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนบริรักษ์บำรุง ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ก 2 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันออก และสำนักงานเทศบาลเมืองพังงา 3.3 ด้านเหนือ จดถนนสำย ก 1 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่ นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดโรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน ด้านตะวันตก จดเ ส้นขนานระยะ 100 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) 3.4 ด้านเหนือ จดโรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่น ดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดโรงเรียนสตรีพังงา ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 100 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) 3.5 ด้านเหนือ จดถนนสาย ก 2 ฟากใต้ และสำนักงาน เขตพื้นที่ การศึกษา ประถมศึกษาพังงา ด้านตะวั นออก จดถนนสาย ก 3 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดสถานีตารวจภูธร เมือง พังงา ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันออก
7 4. ที่ดินในบริเวณหมายเลข 4.1 ถึงหมายเลข 4.20 ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียว ให้เ ป็นที่ดิน ประเภทชนบทและเกษตรกรรม มีรายกา รดังต่อไปนี้ 4.1 ด้านเหนือ จดแ นวเขตผังเมืองรวมด้านเหนือ ซึ่งเป็นเส้นตั้งฉาก กับทางหลว งแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บรรจบกับถนนสาย ค 1 ไปทางทิศเหนือตามแนวทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเ พชรเกษม) เป็นระยะ 200 เมตร ด้านตะวันออก จดหลว งแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันตก สถานีตำรวจทางหลวงที่ 1 กองกำกับการ 7 และวัดมะปริง ด้านตะวันตก จดคลองพังงา ฝั่งตะวันออก และสถานีผลิตน้าขุมเหมือง การประปาส่วนภูมิภาคจังหวัดพังงา 4.2 ด้า นเหนือ จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านเหนือ ซึ่งเป็นเส้นตั้งฉาก กับทางหลว งแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บรรจบกับถนนสาย ค 1 ไปทางทิศเหนือตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เป็นระยะ 200 เมตร ด้านตะวันออก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้าน ตะวันออก ซึ่งเป็นแนวเขต ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเขาทอยและป่านางหงส์ ด้านใต้ จดแนวเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ป่าชายเลน บ้านฝายท่า - บ้านถ้ำน้ำผุด และถนนสาย ค 1 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมาย เลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันออก 4.3 ด้านเหนือ จดถนนสาย ค 1 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ค 1 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสายนาม่วง - วัดมะปริง ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทาง หลว งแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันออก และ ศูนย์พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพังงา 4.4 ด้านเหนือ จด ถนนสายนาม่วง - วัดมะปริง ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ค 1 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดแนวเขตป่าไม้ถาวรตา มมติคณะรัฐมนตรี ป่าชายเลน บ้านฝายท่า – บ้านถ้ำน้ำผุด แ ละถนนเทศบาลบำรุง ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทาง หลวง แผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันออก 4.5 ด้านเหนือ จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขต การปกครองระหว่างตำบลถ้ำน้ำผุดกับตำบลป่ากอ ด้านตะวันออก จดคลองพังงา ฝั่งตะวันตก และทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พง. 1001 ฟากเหนือ
8 4.6 ด้านเหนือ จดถนนเทศบาลบำรุง ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดแนวเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะ รัฐมนตรี ป่าชายเลน บ้านฝายท่า – บ้านถ้ำน้ำผุด ด้านใต้ จดคลองพังงา ฝั่งเหนื อ ด้านตะวันตก จดทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันออก 4.7 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท พง. 1001 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเก ษม) ฟากตะวันตก สำนักงานการ ประปาส่วนภูมิภาคจังหวัดพังงา เส้นขนานระยะ 1 00 เมตร กับศูนย์ก ลาง ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เส้นตั้งฉากกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพช รเกษม) เป็นระยะ 200 เมตร เขาหลักเมือง และเขตเทศบาลเมืองพังงา ระหว่างหลักเขตที่ 1 กับหลักเขตที่ 7 ด้านใต้ จด สำนักสงฆ์ถ้าตาปาน ( ที่ธรณีสงฆ์วัด ประชุมโยธี ) เขาวง เขตเทศบาลเมืองพังงา ระหว่างหลักเขตที่ 1 กับหลักเขตที่ 7 เขาวงและเขาช้าง ด้านตะวันตก จด แนวเขตผังเมืองรวมด้า นตะวันตก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขต การปกครองระหว่างตำบลถ้ำน้ำผุดกับตำบลตากแดด และเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลถ้ำน้ำผุด กับตำบลป่ากอ 4.8 ด้านเหนือ จดคลองพังงา ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดถนนเทศบาลบำรุง ฟากตะวันตก ด้าน ใต้ จดเส้นขนานระย ะ 150 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เส้นตั้งฉากกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บรรจบกับคลองพังงา ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวง แผ่นดินหมำยเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เป็นระยะ 250 เมตร ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันออก 4.9 ด้านตะวันออก จดคลองพังงา ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดถนนกฤษณาอุทิศ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนเทศบาลบำรุง ฟากตะวันออก 4.10 ด้านเหนือ จด แนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็นแนวเขต ป่า สงวนแห่งชาติ ป่าเขาทอยและป่านางหงส์ ด้านตะวันออก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวัน ออก ซึ่งเป็นแนวเขต ป่าสงวน แห่งชาติ ป่าเขาทอยและป่านางหงส์ ด้านตะวันตก จดแน วเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ป่าชายเลน บ้านฝายท่ำ – บ้านถ้ำน้ำผุด
9 4.11 ด้านเหนือ จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็นแนวเขต ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเขาทอยและป่านางหงส์ ด้านตะวันออก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็นแนวเขต ป่าสงวน แห่งชาติ ป่าเขาทอยและป่านางหงส์ ด้านตะวันตก จดแนวเข ตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ป่าชายเลน บ้านฝายท่า – บ้านถ้ำน้ำผุด 4.12 ด้านเหนือ จดถนนกฤษณาอุทิศ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดคลอ งพังงา ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดถนนโรงเรือ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนเทศบาลบำรุง ฟากตะวันออก 4.13 ด้านเหนือ จดถนนโร งเรือ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดคลองพังงา ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จด สนามกีฬากลาง องค์การบริหารส่วน จังหวัดพังงา และ หนองน้ำสาธารณะ ด้านตะวันตก จดถนนเทศบาลบำรุง ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้ นบริเวณหมายเลข 9.6 ที่กำหน ด ไว้เป็ นสีน้ำเงิน 4.14 ด้านเหนือ จด แนวเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ป่าชายเลน บ้านฝายท่า – บ้านถ้ำน้ำผุด ด้านตะวันออก จดถนนสาย ค 3 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด ถนนเชิงลาด สะพาน พง. 008 (สะพาน ถ้ำน้ำผุด อนุสรณ์ ) ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดคลองพังงา ฝั่งตะวันออก 4.15 ด้านเหนือ จดแน วเขตป่า ไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ป่าชายเลน บ้านฝายท่า – บ้านถ้ำน้ำผุด ด้านตะวันออก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็นแนวเขต ป่าสงวนแห่งชำติ ป่าเขาทอยและป่านางหงส์ ด้านใต้ จดแนวเขตผังเมืองรวมด้า นตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขต การ ปกครองระหว่างตำบลถ้ำน้า ผุดกับตาบลบางเตย ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 ฟากตะวันออก และ ถนนสาย ค 3 ฟากตะวันออก 4.16 ด้านเหนือ จดเขาวง และเขาช้าง ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมา ยเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เส้นตั้งฉากกับทา งหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่ง อยู่ ห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บรรจบกับทางหลวงชนบท พง. 1001 ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เป็นระยะ 450 เมตร และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พง. 1001 ฟากเหนือ
10 ด้านตะวันตก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขต การปกครองระหว่างตำบลถ้ำน้ำผุดกับตำบลตากแดด ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข 9.2 6 ที่กำหนดไว้เป็นสีน้ำเงิน 4.17 ด้านเหนือ จดเส้นตั้งฉากกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บรรจบกับ ทางหลวงชนบท พง. 1 001 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชร เกษม) เป็นระยะ 450 เมตร เส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) และเขตเทศบาลเมืองพังงา ระหว่างหลักเขตที่ 5 กับหลักเขตที่ 4 ด้านตะวันออก จดแนวเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ป่าชายเลน โครงการคลองหาดคี่ (พง. 90) แนวเขต ป่าไม้ ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ป่าชายเลนโครงการคลองสามฮก (พง. 91) และ แนวเขต อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา ด้านใต้ จด ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4144 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 4144 ฟากตะวันออก และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนน เพชรเกษม) ฟากตะวันออก 4. 18 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท พง. 1001 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากตะวันตก ด้านใต้ จด แนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้นตั้งฉาก กับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟาก ตะวันตก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทางหลวงแ ผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4144 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมา ยเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เป็นระยะ 300 เมตร ด้านตะวันตก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้นขนาน ระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ทาง หลวง แผ่นดินหมา ยเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) และแนวเขตผังเมืองรวม ด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตำบลถ้ำน้ำผุดกับตำบลตากแดด 4.19 ด้านเหนือ จด ศูนย์ราชการจังหวัดพังงา ศาลากลางจังหวั ด พังงา แขวงทางหลวงชนบทพังงา ศาลจังหวัดพังงา สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ งประจำจังหวัดพังงา สำนักงานสรรพากรพื้นที่พังงา สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดพังงา สำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาพังงา จวนผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา และสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดพังงา ด้านตะวันออก จด ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 ฟากตะวันตก และแนว เขต ผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตำบลถ้ำน้ำผุดกับตำบลบางเตย ด้านใต้ จดคลองพังงา ฝั่งเหนือ แนวเขตป่าไม้ถาวรตามมติ คณะรัฐ มนตรี ป่าชายเลน โครงการคลองหาดคี่ (พง. 90) แนวเขต ป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ป่าชายเลนโครงกา รคลองสามฮก (พง. 91) และ แนวเขต อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา ด้านตะวันตก จดคลองพังงา ฝั่งตะวันออก 4.20 ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4144 ฟากตะวันตก
11 ด้านใต้ จดแนวเขตป่าไม้ถาวรตาม มติคณะรัฐมนตรี ป่าชายเลน โครงการป่าลัดคลองสวน (พง. 89) และแนวเขตอุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา ด้านตะวันตก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้นขนาน ระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 4144 5. ที่ดินในบริเวณหมายเลข 5.1 ถึงหมายเลข 5.8 ที่ กำห นดไว้เป็นสีเขียวอ่อน ให้เป็น ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนัน ทนาการและ การ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม มีรายการดังต่อไปนี้ 5.1 เขาวงและเขาช้าง 5.2 เขาหลักเมือง 5.3 เขาวง 5.4 สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก 5.5 สนามกีฬากลาง อ งค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงา และหนองน้าสาธารณะ 5.6 สวนกาญจนภิเษก เท ศบาลเมืองพังงา 5.7 เขางุ้ม 5.8 สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดพังงา 6. ที่ดินในบริเวณหมายเลข 6.1 ถึงหมายเลข 6.4 ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อนมีเส้นทแยง สีขาว ให้เป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่ำไม้ มีรายการดังต่อไปนี้ 6.1 แนวเขต ป่าไม้ถาวรตา มมติคณะรัฐมนตรี ป่าชายเลนบ้านฝายท่า – บ้านถ้ำน้ำผุด 6.2 แนวเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ป่าชายเลน โครงการคลอง หาดคี่ (พง. 9 0 ) ทั้ งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข 5.8 ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน และบริเวณหมา ยเลข 9.29 ที่กำหนดไว้เป็นสีน้ำเงิน 6.3 แนวเขต ป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ป่าชายเลนโครงการคลอง หาดคี่ (พง. 9 0 ) แนวเขต ป่าไม้ถาวรตามมติ คณะรัฐมนตรี ป่าชายเลนโครงการคลอง สามฮก (พง. 9 1 ) และ แนวเขต อุทยาน แห่งชาติอ่าวพังงา 6.4 แนวเขต ป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ป่าชำยเลนโครงการป่าลัดคลองสวน (พง. 89) และ แนวเขต อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา 7. ที่ดินในบริเวณหมายเลข 7.1 ถึงหมายเล ข 7.9 ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ให้ เป็น ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา มีรายการดังต่อไปนี้ 7.1 ศูนย์พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่กา รศึกษา ประถมศึกษาพังงา 7.2 โรงเรียนอนุบาลช้าง 7.3 โรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน 7.4 โรงเรียนสตรีพังงา 7.5 โรงเรียนบ้านทุ่งเจดีย์ 7.6 วิทยาลัยเทคนิคพังงา 7.7 โรงเรียนเทศบาลบ้านท้ายช้าง 7.8 โรงเรียนอนุบาลพังงา 7.9 วิทยาลัยเทคนิคพังงา เขต 2
12 8. ที่ดินในบริเวณหมายเลข 8.1 ถึงหมายเลข 8.8 ที่กำหนดไว้เป็นสีเทา อ่อน ให้เป็นที่ดิน ประเภทสถาบันศาสนา มีรายการดังต่อไปนี้ 8.1 วัดมะปริง 8.2 วัดสราภิมุข 8.3 วัดประชุมโยธี 8.4 วัดมงคลสุทธาวาส 8.5 วัดทักษิณาวาส 8.6 สำนักสงฆ์ถ้ำตาปาน (ที่ธรณีสงฆ์วัดประชุมโยธี) 8.7 วัดประชาสันติ 8.8 วัดประพาสประจิมเขต 9. ที่ดินในบริ เวณหมายเลข 9.1 ถึงหมายเลข 9.30 ที่กำหนดไว้เป็นสีน้ำเงิน ให้เป็นที่ดิน ประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ มีรายการดังต่อไปนี้ 9.1 สถานีตำรวจทางหลวงที่ 1 กอ งกำกับการ 7 9.2 สถานีผลิตน้ำขุมเหมือง การประปาส่วนภูมิภาคจังหวัดพังงา 9.3 สำนักงานการประปาส่วนภูมิภาคจังหวัดพังงา 9.4 สำนักงานเทศบาลเมืองพังงา 9.5 สำนักงาน เขตพื้นที่ การศึกษา ประถมศึกษาพังงำ 9.6 ที่ทำการอง ค์การบริหารส่วนตำบลถ้ำน้ำผุด 9.7 สำนั กงานประกันสังคมจังหวัดพังงา 9.8 แขวงทางหลวงพังงา 9.9 สถานีตำรวจภูธร เมือง พังงา 9.10 สถานี ตำรวจ ภูธร จังหวัดพังงา 9.11 บ้านพักข้าราชการตารวจจังหวัดพังงา 9.12 สำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดพังงา (ร้าง) 9.13 โรงพยาบาลพังงา สำนักงานอุตสาหกรรมจั งหวัดพังงา และบ้านพักข้าราชการ 9.14 สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดพังงา บ้านพักข้าราชการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดพังงา และบ้านพักข้าราชการ 9.15 ธนาคารแห่งประเทศไทย ศูนย์จัดการธนบัตรพังงา 9.16 ที่ทำการ ไปรษณีย์จังหวัดพังงา 9.17 จวนผู้ ว่าราชการจังหวัดพังงา (หลังเก่า) และบ้า นพักรองผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา 9.18 สำนักงาน เหล่า กาชาดจังหวัดพังงา ศูนย์ บริหารการทะเบียนภาค 8 สาขาจังหวัดพังงา หอการค้าจังหวัดพังงา สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดพังงา สำนักงานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดพังงา ศูนย์ฝึกแ ละอบรมเด็กและเยาวชนเขต 10 และบ้านพักข้าราชการ 9.19 ที่ทำการ โครงการชลประทานพังงา ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดพังงา สำนักงาน จัดหางานจังหวัดพังงา สำนักงานบังคับคดีจังหวัดพังงา สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดพังงา บ้านพักข้าราชการ และบ้านพักรองผู้ว่าราชการจังห วัดพังงา 9.20 ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดพังงา สำนั กงานคุมประพฤติจังหวัดพังงา บ้านพักข้าราชการ สำนักงาน อัยการจังหวัด พังงา และบ้านพักข้าราชการ
13 9.21 สำนักงานพาณิชย์จังหวัดพังงา 9.22 สำนักงานที่ดินจังหวัดพังงา สำนักงานเกษ ตรจังหวัดพังงา ห้องสมุดประชา ชน จังหวัดพังงา องค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงา และ ที่ว่าการอำเภอเมืองพังงา 9.23 สถานีดับเพลิง 2 เทศบำลเมืองพังงา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพังงา และบ้านพักข้าราชการ 9.24 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 14 9.25 สำนักงานขนส่งจังหวัดพังงา 9.26 สถานีโทรคมนาคมเขาช้าง บริษัท ทีโอทีคอร์เปอร์เรชั่น จำกัด (มหาชน) และสถานีเครื่องส่ง สวท.พังงา 9.27 ศูนย์บริการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนจังหวัดพังงา และสำนักงานทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่งที่ 6 9 . 28 เรือนจำจังหวัดพังงา 9.29 ศูนย์ราชการจัง หวัดพังงา ศาลากลางจังหวัดพังงา แขวงทางหลวงชนบทพังงา ศาลจังหวัดพังงา สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดพังงา สานักงานสรรพากรพื้นที่พังงา สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินจังหวั ด พังงา สำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาพังงา จวนผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา และสำนักงานป้องกั นและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดพังงา 9.30 ด่านศุลกากร พังงา
รายการประกอบแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่งท้าย ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การ ให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเมืองพังงา พ.ศ. 2566 ถนนตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง แบ่งออกเป็น 3 ขนาด คือ 1. ถนนแบบ ก ขนาดเขตทาง 14.00 เมตร จำนวน 6 สาย ดังนี้ ถนนสำย ก 1 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ซอยพูนสินอุทิศ และถนนมนตรี เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) (ถนนสาย ค 2) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ทิศใต้ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวถนนเดิม จนบรรจบกับซอยบางแห้ง (ถนนสาย ข 1) ถนนสาย ก 2 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ซอยชุมนุมราษฎร์ เริ่มต้นจาก ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเ กษม) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวถน นเดิม จนบรรจบ กับถนนบริรักษ์บำรุง (ถนนสาย ก 3) ถนนสาย ก 3 เป็นถนนเดิมกำหนดให้ขยายเขตทาง คือ ถ นนบริรักษ์บำรุง เริ่มต้นจา ก ซอยชุมนุมราษฎร์ (ถนนสาย ก 2) บรรจบกับ ถนนโรงเรือ ไปทางทิศใต้ ทิศตะวันตก ทิศตะวันออกเฉียงใต้ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวถนนเดิม จนบรรจบกับซอยทุ่งเจดีย์ (ถนนสาย ก 4) ถนนสาย ก 4 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ซอยทุ่งเจดีย์ และถนนโครงการ กำหนดให้ ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพช รเกษม) ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวถนนเดิมจนสุดถนน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 350 เมตร จนบรรจบกับถนนเทศบาลบำ รุง ที่บริเวณห่างจากถนนโรงเรือ ตัดกับถน นเทศบำลบำรุง ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวถนนเทศบาลบำรุง ระยะประมาณ 6 5 0 เมตร ถนนสาย ก 5 เป็นถนนเดิมกำหนดให้ขยายเขตทาง คือ ซอยถ้ำตาปาน และถนนโครงการกาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากถนนมนตรี (ถนนสาย ก 1) ไปทางทิศตะวันออกเฉียง ใต้ ตามแนวถนนเดิม ตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ที่บริเวณห่างจาก ซอยทุ่งเจดีย์ (ถนนสาย ก 4) บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ไปทางทิศ ตะวัน ตก เฉียง ใต้ ตามแนวทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเ พชรเกษม) ระยะประมาณ 64 0 เมตร และ ไปทางทิศตะวั นออกเฉียงใต้ จนบรรจบกับ ถนนเทศบาลบารุง ระยะประมาณ 340 เมตร ที่บริเวณห่างจากถนนโรงเรือ ตัดกับถนนเทศบาลบารุ ง ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้และทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวถนนเทศบาลบำรุง ระยะประมาณ 1,3 6 0 เมตร ถนนสาย ก 6 เป็นถนนเดิมกำหนดให้ขยายเขตทาง คื อ ซอยนากรอก เริ่มต้นจาก ถนนมนตรี (ถนนสาย ข 1) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวถนนเดิม จนบรรจบกับทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) 2. ถนนแบบ ข ขนาดเขตทาง 16.00 เมตร จำนวน 2 สาย ดังนี้ ถนนสาย ข 1 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ถนนมนตรี และซอยบางแห้ง เริ่มต้นจากถนนมนตรีที่บริเวณห่างจากถนนมนตรีบรรจบกับทางหลว งแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนมนตรี ระยะประมาณ 1 7 0 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันออกเ ฉียงใต้ ตามแนวถนนเดิม จนบรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม)
2 ถนนสาย ข 2 เป็นถนนโ ค รงการกาหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ที่บริเวณซอยบางแห้ง (ถนนสาย ข 1) บรรจบกับทางหลว งแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษ ม) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 4 6 0 เมตร จนบรรจบกับถนนเทศบาลบำรุง ที่บริเวณห่างจากถนนเจริญราษฎร์บรรจบกับถนนเทศบาลบา รุง ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนว ถนนเทศบาลบำรุง ระยะประมาณ 81 0 เมตร 3. ถนนแบบ ค ขนาดเขตทาง 20.00 เมตร จำนวน 3 สาย ดังนี้ ถนนสาย ค 1 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ทางห ลวงชนบท พง. 1010 ถนนสายนาม่วง – วัดมะปริง และถนนไม่ปรากฏชื่อ เริ่ มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ไปทางทิศตะวันออก ตามแนวทางหลวงชนบท พง. 1010 ระยะประมาณ 36 0 เมตร ไปทางทิศตะวั นออก เฉียงใต้ ตามแนว ถนนสายนาม่วง – วัดมะปริง และทางหลวงชนบท พง. 3027 ระยะประมาณ 2 , 170 เมตร จนบรรจบกับแนวเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ป่าชายเลนบ้านฝายท่า – บ้านถ้ำน้ำผุด ด้าน เหนือ ถนนสาย ค 2 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ทางหลว งแผ่นดิ นหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เริ่มต้นจากจุดบรรจบของถนนกฤษณา อุทิศ กับทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ไปทางทิศใต้ ตามแนวถนนเดิม ระยะประมาณ 170 เมตร ถนนสาย ค 3 เป็นถนนเดิมกาหนดให้ขยายเขตทาง คือ ทางหลวงชนบท พง. 3027 เริ่มต้นจากแนวเขตป่าไม้ถำวรตามมติคณะรัฐมนตรี ป่าชายเลนบ้านฝายท่า – บ้านถ้ำน้ำผุด ด้าน ใต้ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ และทิศใต้ตามแนวถนนเดิม ระยะประมาณ 3,8 50 เมตร จนบรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 311 ที่บริเวณห่างจาก หลวงแผ่นดินหมายเลข 4 311 บรรจบ กับ ถนน สะพานเจริญราษฎร์ – ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 ไปทางทิศตะวัน ออก เฉียง ใต้ ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 ระยะประมาณ 870 เมตร