Thu Feb 02 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดอัตราค่าบริการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรสำหรับมาตรฐานทั่วไป (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2566


ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดอัตราค่าบริการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรสำหรับมาตรฐานทั่วไป (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2566

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง ก ําหนดอัตรําค่ําบริกํารตรวจสอบและรับรองมําตรฐํานสินค้ําเกษตรส ําหรับมําตรฐํานทั่วไป (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2566 อําศัยอํานําจตํามควํามในมําตรํา 5 วรรคหนึ่ง แห่งพระรําชบัญญัติมําตรฐํานสินค้ําเกษตร พ.ศ. 2551 และมําตรํา 31 วรรคสําม แห่งพระรําชบัญญัติมําตรฐํานสินค้ําเกษตร พ.ศ. 2551 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระรําชบัญญัติมําตรฐํานสินค้ําเกษตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2561 รัฐมนตรีว่ํากําร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงออกประกําศกําหนดอัตรําค่ําบริกํารตรวจสอบและรับรองมําตรฐําน สินค้ําเกษตรส ําหรับมําตรฐํานทั่วไปไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มบทนิยํามคําว่ํา “ Manday ” ต่อจํากบทนิยํามค ําว่ํา “ เกษตรอินทรีย์ ” ในข้อ 1 ของประกําศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กําหนดอัตรําค่ําบริกํารตรวจสอบและ รับรองมําตรฐําน สินค้ําเกษตรส ําหรับมําตรฐํานทั่วไป พ.ศ. 2562 “ Manday ” หมํายควํามว่ํา หน่วยวัดปริมําณงํานตรวจประเมินที่ผู้ตรวจประเมิน 1 คน ปฏิบัติได้ใน 1 วัน (8 ชั่วโมง) ข้อ 2 ให้เพิ่มควํามต่อไปนี้เป็น (7) (8) (9) (10) และ (11) ในข้อ 2 ของประกําศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กําหนดอัตรําค่ําบริกํารตรวจสอบและรับรองมําตรฐํานสินค้ําเกษตร ส ําหรับมําตรฐํานทั่วไป พ.ศ. 2562 “( 7) ค่ําบริกํารตรวจสอบมําตรฐํานสินค้ําเกษตรสําหรับมําตรฐํานทั่วไปเกี่ยวกับกํารปฏิบัติ ทํางกํารเกษตรที่ดีส ําหรับสินค้ําเกษตรประเภทพืชอําหําร พืช สมุนไพร ไม้ผล หม่อน ไม้ดอก เห็ด ชํา และกําแฟ ให้เป็นไปตํามอัตรําที่กําหนดไว้ในตํารํางที่ 7 ท้ํายประกําศนี้ (8) ค่ําบริกํารตรวจสอบมําตรฐํานสินค้ําเกษตรสําหรับมําตรฐํานทั่วไปเกี่ยวกับกํารปฏิบัติ ทํางกํารเกษตรที่ดีส ําหรับสินค้ําเกษตรประเภทพืชไฮโดรโพนิกส์ ให้เป็นไปตํามอั ตรําที่กําหนดไว้ ในตํารํางที่ 8 ท้ํายประกําศนี้ (9) ค่ําบริกํารตรวจสอบมําตรฐํานสินค้ําเกษตรสําหรับมําตรฐํานทั่วไปเกี่ยวกับกํารปฏิบัติ ทํางกํารเกษตรที่ดีสําหรับสินค้ําเกษตรประเภทข้ําว พืชไร่ พืชเกษตรอุตสําหกรรม ยํางพํารํา และ พืชอําหํารสัตว์ ให้เป็นไปตํามอัตรําที่กําหนดไว้ในตํารํางที่ 9 ท้ํายประกําศนี้ (10) ค่ําบริกํารตรวจสอบมําตรฐํานสินค้ําเกษตรสําหรับมําตรฐํานทั่วไปเกี่ยวกับกํารทําฟําร์ม เกษตรอินทรีย์ กํารรวบรวม กํารคัดบรรจุ แปรรูป และจัดจําหน่ํายพืชอินทรีย์ สําหรับสินค้ําเกษตร ประเภทพืชอําหําร พืชสมุนไพร ไม้ ผล หม่อน เห็ด ชํา และกําแฟ ให้เป็นไปตํามอัตรําที่กําหนดไว้ ในตํารํางที่ 10 ท้ํายประกําศนี้ (11) ค่ําบริกํารตรวจสอบมําตรฐํานสินค้ําเกษตรสําหรับมําตรฐํานทั่วไปเกี่ยวกับกํารทําฟําร์ม เกษตรอินทรีย์ กํารรวบรวม กํารคัดบรรจุ แปรรูป และจัดจําหน่ํายพืชอินทรีย์ สําหรับสินค้ําเกษต ร ้ หนา 6 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 25 ง ราชกิจจานุเบกษา 3 กุมภาพันธ์ 2566

ประเภทข้ําว พืชไร่ พืชเกษตรอุตสําหกรรม ยํางพํารํา และพืชอําหํารสัตว์ ให้เป็นไปตํามอัตรํา ที่ก ําหนดไว้ในตํารํางที่ 11 ท้ํายประกําศนี้ ” ข้อ 3 ให้เพิ่มตํารํางที่ 7 ตํารํางที่ 8 ตํารํางที่ 9 ตํารํางที่ 10 และตํารํางที่ 11 ท้ํายประกําศนี้ เป็นตํารํางที่ 7 ตํารํางที่ 8 ตํารํางที่ 9 ตํารํางที่ 10 และตํารํางที่ 11 ท้ํายประกําศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กําหนดอัตรําค่ําบริกํารตรวจสอบและรับรองมําตรฐําน สินค้ําเกษตรส ําหรับมําตรฐํานทั่วไป พ.ศ. 2562 ประกําศ ณ วันที่ 18 มกรําคม พ.ศ. 256 6 ประภัตร โพธสุธน รัฐมนตรีช่วยว่ํากํารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปฏิบัติรําชกํารแทน รัฐมนตรีว่ํากํารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ้ หนา 7 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 25 ง ราชกิจจานุเบกษา 3 กุมภาพันธ์ 2566

  • 3 - ตารางท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กําหนดอัตราค่าบริการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรสําหรับมาตรฐานทั่วไป (ฉบับที่ 4 ) พ.ศ. 256 6 ตารางที่ 7 ค่าบริการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรสําหรับมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี สําหรับสินค้าเกษตรประเภท พืชอาหาร พืชสมุนไพร ไม้ผล หม่อน ไม้ดอก เห็ด ชา และกาแฟ โดยครอบคลุม มาตรฐานสินค้าเกษตรดังต่อไปนี้ ลําดับ ชื่อมาตรฐานสินค้าเกษตร รหัสมาตรฐาน 1 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับลําไย มกษ. 1 000 2 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับมะพร้าวน้ําหอม มกษ. 10 01 3 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับหม่อนเพื่อผลิตผล มกษ. 10 03 4 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับหน่อไม้ฝรั่ง มกษ. 25 00 5 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับกระเจี๊ยบเขียว มกษ. 25 01 6 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับพริก มกษ. 25 02 7 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับข้าวโพดฝักอ่อน มกษ. 25 03 8 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับเห็ดเพาะในถุง มกษ. 25 04 9 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีส ําหรับเห็ดฟาง มกษ. 25 05 10 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับข้าวโพดหวาน มกษ. 2506 11 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับสับปะรด มกษ. 2508 12 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับเห็ดกระดุม มกษ. 2509 13 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับหม่อนเพื่อผลิตใบ มกษ. 35 00 14 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับขิง มกษ. 3501 15 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับพืชสมุนไพร มกษ. 3502 16 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับกล้วยไม้ตัดดอก มกษ. 55 01 17 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับไม้ดอกกลุ่มปทุมมา และกระเจียว มกษ. 5503 18 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีในการผลิตพืชสําหรับปลูก มกษ. 5504 19 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับกาแฟ มกษ. 5903 20 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับใบชาสด มกษ. 59 05 21 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับพืชอาหาร มกษ. 90 01

  • 4 - การตรวจประเมิน ค่าบริการตรวจสอบ 1. การตรวจสอบและประเมิน เพื่อรับรอง แหล่ง ผลิต พืช ครั้งแรก หรือการตรวจสอบและประเมินเพื่อต่ออายุใบรับรอง ให้คิดค่าบริการตามขนาด พื้นที่แปลง ดังต่อไปนี้ (1) ขนาดเล็กพิเศษ ไม่เกิน 5 ไร่ ใช้จํานวน วัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 0.5 Manday (2) ขนาดเล็ก มากกว่า 5 ไร่ แต่ไม่เกิน 10 ไร่ ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 0.75 Manday (3) ขนาดกลาง มากกว่า 1 0 ไร่ แต่ไม่เกิน 30 ไร่ ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 1 Manday ( 4) ขนาดใหญ่ มากกว่า 3 0 ไร่ แต่ไม่เกิน 50 ไร่ ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 1.5 Manday (5) ขนาดใหญ่พิเศษ มากกว่า 5 0 ไร่ ขึ้นไป ใช้จํานวนวัน การ ตรวจ ประเมินไม่เกิน 3 Manday ไม่เกิน 2 , 5 00 บาท ไม่เกิน 3 , 75 0 บาท ไม่เกิน 5 ,000 บาท ไม่เกิน 7 , 500 บาท ไม่เกิน 1 5,000 บาท 2. การตรวจติดตาม แหล่งผลิตพืช (1) ขนาด พื้นที่แปลง ตาม 1. (1) ใช้จํานวน วัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 0.25 Manday (2) ขนาดพื้นที่แปลงตาม 1. (2) ( 3 ) (4) และ (5) ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน หนึ่งในสามของจํานวน วัน การตรวจประเมิน เพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช ครั้งแรก ตาม 1. ไม่เกิน 1 , 25 0 บาท ไม่เกินหนึ่งในสามของค่าบริการตรวจสอบ ใน การตรวจ ประเมินเพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช ครั้ง แรก 3 . การตรวจประเมิน แหล่งผลิตพืช สามารถเพิ่มจํานวนวัน การ ตรวจประเมินตาม 1. และ 2. ได้ไม่เกินร้อยละ 30 สําหรับ กรณี ใดกรณีหนึ่ง ดัง ต่อไป นี้ ( 1 ) มีชนิดพืชที่ปลูกหลายชนิดภายในพื้นที่เดียวกัน (2) สภาพพื้นที่มีความซับซ้อน ยากต่อการตรวจประเมิน (3) ต้องใช้ล่ามในการแปลภาษาในการตรวจประเมิน (4) การตรวจประเมินครั้งก่อนพบข้อบกพร่อง เพิ่มค่าบริการตรวจสอบ ตาม 1. และ 2. ได้ไม่เกินร้อยละ 30 4 . การตรวจประเมิ น แหล่ งผลิ ตพื ช ให้ ลดจํานวนวั น การ ตรวจประเมินตาม 1. และ 2. อย่างน้อยร้อยละ 30 สําหรับกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (1) ปริมาณและชนิดพืชที่ปลูกต่อพื้นที่น้อย (2) การตรวจประเมินครั้ งก่อนไม่พบข้อบกพร่อง หรือพบข้อบกพร่องน้อย (3) สภาพพื้นที่ไม่มีความซับซ้อน (4) กรณีการตรวจประเมินเพื่อรับรองบางส่วน ของมาตรฐานสินค้าเกษตร กรณีการลดจํานวนวัน การ ตรวจประเมินตามวรรคหนึ่ง ไม่ให้ บังคับกับกรณีที่ ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินต่ํากว่า 0.5 M anday ลดค่าบริการตรวจสอบตาม 1. และ 2. อย่างน้อย ร้อยละ 30 5 . การตรวจสอบและประเมิน เพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช ครั้ง แรก หรือการตรวจสอบและประเมินเพื่อต่ออายุใบรับรอง

  • 5 - การตรวจประเมิน ค่าบริการตรวจสอบ กรณีการรับรองแบบกลุ่ม และการตรวจประเมินระบบ ควบคุมภายใน ( 1 ) การตรวจ ประเมิน แหล่งผลิตพืช ( 1 . 1) กรณีการตรวจประเมิน เพื่อรับรอง ครั้ งแรก ให้ คํานวณจํานวน สมาชิก ที่ ต้องถูก สุ่มตรวจ โดยกําหนดให้ จํานวนสมาชิกที่ ต้องถูกสุ่ ม ตรวจ = √ จํานวนสมาชิกของกลุ่มที่ขอการรับรองทั้งหมด ( 1 . 2 ) กรณีการตรวจประเมิน เพื่อ ต่ออายุ ใบรับรอง ให้คํานวณจํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ โดยกําหนดให้จํานวนสมาชิกที่ ต้องถูกสุ่มตรวจ = 0.8 √ จํานวนสมาชิกของกลุ่มที่ขอการรับรองทั้งหมด ถ้าผลการคํานวณตาม (1 . 1) หรือ (1 . 2) มีเศษให้ปัด จํานวนเศษขึ้นเป็นจํานวนเต็ม ( 2 ) การ ตรวจประเมิน ระบบควบคุมภายใน (2.1) การตรวจประเมิ นระบบควบคุ มภายใน ใช้ จํานวนวัน การ ตรวจประเมินได้ไม่เกิน 1 Manday (2.2) การตรวจประเมินระบบควบคุมภายในสําหรับ กรณี ใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้ สามารถเพิ่มจํานวนวัน การ ตรวจประเมิน จากข้อ (2.1) ไม่เกินร้อยละ 30 ( 2.2 . 1) กลุ่มเกษตรกรจัดทําระบบควบคุมภายใน ซับซ้อน (มีหลายกิจกรรมในกลุ่ม เช่น ผลิตหลายชนิดพืช/ ชนิดพันธุ์ กรณีเพิ่มแปลงใหม่ระหว่างปี กรณีกลุ่มมีระบบ ควบคุมภายในย่อย) ( 2.2 . 2) จํานวนเกษตรกรภายในกลุ่มเกิน 50 ราย (2.3) การตรวจประเมินระบบควบคุมภายในสําหรับ กลุ่มที่มีจํานวนแปลง มากกว่า 1 , 000 แปลง และมีความ หลากหลายของชนิดพืชที่ปลูก ใช้ จํานวนวัน การ ตรวจประเมิน ได้ไม่เกิน 2 Manday ให้ นําค่าบริการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตร ตาม 1. ของแต่ละ ขนาดพื้นที่แปลง จาก จํานวน สมาชิกที่ถูกสุ่มตรวจ มา รวมกัน เป็นค่าบริการ ที่จะเรียกเก็บ ในการตรวจประเมิน ไม่เกิน 5,000 บาท ต่อกลุ่ม ไม่เกิน 6 , 50 0 บาท ต่อกลุ่ม ไม่เกิน 10,000 บาท ต่อกลุ่ม 6 . การตรวจติดตามกรณีการรับรองแบบกลุ่ม (1) การ ตรวจ ประเมิน แหล่งผลิตพืช ให้คํานวณจํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ โดยกําหนดให้จํานวนสมาชิกที่ ต้องถูกสุ่มตรวจ = 0.6 √ จํานวนสมาชิกของกลุ่มที่ขอการรับรองทั้งหมด ถ้าผลการคํานวณ มีเศษให้ปัดจํานวนเศษขึ้นเป็นจํานวนเต็ม (2) การ ตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน ให้ นําค่าบริการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตร ตาม 1. ของแต่ละขนาดพื้นที่แปลงจากจํานวน สมาชิกที่ถูกสุ่มตรวจ มา รวมกันเป็นค่าบริการ ที่จะเรียกเก็บในการตรวจประเมิน แต่ไม่เกิน หนึ่งในสามของค่าบริการตรวจสอบในการ ตรวจประเมินเพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช ครั้งแรก ไม่เกินหนึ่งในสาม ของ ค่าบริการใน การตรวจ ประเมิน ระบบควบคุมภายในตาม 5 . (2)

  • 6 - การตรวจประเมิน ค่าบริการตรวจสอบ ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมิน ไม่เกินหนึ่ งในสาม ของ จํานวนวันการตรวจประเมินระบบควบคุมภายในเพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช ครั้งแรก ตาม 5 . (2) 7 . การตรวจวิเคราะห์โลหะหนักตกค้างทางห้องปฏิบัติการ ให้คิดค่าบริการตรวจวิเคราะห์ ต่อไปนี้ ( 1 ) ตะกั่ว ( Lead ) ( 2 ) สารหนู ( Arsenic ) ( 3 ) แคดเมียม ( Cadmium ) ไม่เกิน 700 บาท ต่อหนึ่งตัวอย่าง ไม่เกิน 700 บาท ต่อหนึ่งตัวอย่าง ไม่เกิน 700 บาท ต่อหนึ่งตัวอย่าง 8 . การตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างทางห้องปฏิบัติการ ให้คิดค่าบริการตรวจวิเคราะห์ ต่อไปนี้ ( 1 ) กลุ่มออร์กาโนคลอรีน ( Organochlorine group ) ( 2 ) กลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต ( Organophosph a te group ) ( 3 ) กลุ่มไพรีทรอยด์ ( Pyrethroid group ) ( 4 ) กลุ่ม คาร์บาเมต ( Carbamate group ) ( 5 ) พาราควอท ( Paraquat ) ( 6 ) ไกลโฟเสท ( Glyphosate ) ไม่เกิน 3 , 500 บาท ต่อหนึ่งตัวอย่าง ไม่เกิน 3,500 บาท ต่อหนึ่งตัวอย่าง ไม่เกิน 3,500 บาท ต่อหนึ่งตัวอย่าง ไม่เกิน 3,500 บาท ต่อหนึ่งตัวอย่าง ไม่เกิน 3,500 บาท ต่อหนึ่งตัวอย่าง ไม่เกิน 9,500 บาท ต่อหนึ่งตัวอย่าง หมายเหตุ กรณีจําเป็นต้องไปตรวจประเมิน แหล่งผลิตพืช มากกว่า 1 ครั้ง/ประเภทการตรวจประเมิน (การตรวจประเมิน เพื่อรับรอง ครั้งแรก การตรวจติดตาม หรือการตรวจ เพื่อ ต่ออายุ ใบรับรอง ) เนื่องจาก ไม่สามำรถตรวจ ประเมิน ครบทุกข้อกําหนด ตามแผนการตรวจประเมิน ให้ผู้ประกอบการตรวจสอบมาตรฐาน คิดค่าบริการตรวจประเมินตามจํานวนวัน การ ตรวจ ประเมิน ในการตรวจแต่ละครั้งรวมกัน โดยการคิดค่าบริการ ต้องเป็นไปตามตารางที่ 7

  • 7 - ตารางที่ 8 ค่าบริการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรสําหรับมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี สําหรับสินค้าเกษตรประเภท พืชไฮโดรโพนิกส์ การตรวจประเมิน ค่าบริการตรวจสอบ 1. การตรวจสอบและประเมิน เพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช ครั้งแรก หรือการตรวจสอบและประเมินเพื่อต่ออายุ ใบรับรอง ให้คิดค่าบริการตามขนาดพื้นที่ของโรงเรือน และพื้นที่ในการทํางานรอบโรงเรือนรวมกัน ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ไม่เกิน 0 . 25 ไร่ ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 0.5 Manday ( 2 ) มากกว่า 0 . 25 ไร่ ขึ้นไป ใช้จํานวนวัน การ ตรวจ ประเมินไม่เกิน 1 Manday ไม่เกิน 2 , 5 00 บาท ไม่เกิน 5 ,000 บาท 2. การตรวจติดตาม แหล่งผลิตพืช (1) ขนาดพื้นที่ของโรงเรือนและพื้นที่ในการทํางานรอบ โรงเรือนรวมกัน ตาม 1. (1) ใช้จํานวน วัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 0.25 Manday (2) ขนาดพื้นที่ของโรงเรือนและพื้นที่ในการทํางานรอบ โรงเรือนรวมกัน ตาม 1. ( 2 ) ใช้จํานวนวัน การ ตรวจ ประเมินไม่เกินหนึ่งในสาม ของจํานวน วันการตรวจประเมินเพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช ครั้งแรก ตาม 1. ไม่เกิน 1 , 25 0 บาท ไม่เกินหนึ่งในสามของค่าบริการตรวจสอบ และประเมินเพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช ครั้งแรก 3 . การตรวจประเมิน แหล่งผลิตพืช สามารถเพิ่มจํานวนวัน การ ตรวจประเมินตาม 1. และ 2. ได้ไม่เกินร้อยละ 30 สําหรับ กรณี ใดกรณีหนึ่ง ดัง ต่อไป นี้ (1) มีชนิดพืชที่ปลูกหลายชนิดภายในพื้นที่เดียวกัน (2) สภาพพื้นที่มีความซับซ้อน ยากต่อการตรวจประเมิน (3) ต้องใช้ล่ามในการแปลภาษาในการตรวจประเมิน (4) การตรวจประเมินครั้งก่อนพบข้อบกพร่อง เพิ่มค่าบริการตรวจสอบตาม 1. และ 2. ได้ไม่เกินร้อยละ 30 4 . การตรวจประเมิ น แหล่ งผลิ ตพื ช ให้ ลดจํานวนวัน การ ตรวจประเมินตาม 1. และ 2. อย่างน้อย ร้อยละ 30 สําหรับกรณี ใดกรณีหนึ่ง ดัง ต่อไป นี้ (1) ปริมาณและชนิดพืชที่ปลูกต่อพื้นที่น้อย (2) การตรวจประเมินครั้งก่อนไม่พบข้อบกพร่อง หรือพบข้อบกพร่องน้อย (3) สภาพพื้นที่ไม่มีความซับซ้อน (4) กรณีการตรวจประเมินเพื่อรับรองบางส่วน ของมาตรฐานสินค้าเกษตร กรณีการลดจํานวนวัน การ ตรวจประเมินตามวรรคหนึ่ง ไม่ให้บังคับกับกรณีที่ ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมิน ต่ํากว่า 0.5 M anday ลดค่าบริการตรวจสอบตาม 1. และ 2. อย่างน้อย ร้อยละ 30

  • 8 - การตรวจประเมิน ค่าบริการตรวจสอบ 5 . การตรวจสอบและประเมิน เพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช ครั้งแรก หรือการตรวจสอบและประเมินเพื่อต่ออายุ ใบรับรอง กรณีการรับรองแบบกลุ่ม และการตรวจประเมิน ระบบควบคุมภายใน (1) การ ตรวจ ประเมิน แหล่งผลิตพืช (1.1) กรณีการตรวจประเมิน เพื่อรับรอง ครั้งแรก ให้คํานวณจํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ โดยกําหนดให้จํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ = √ จํานวนสมาชิกของกลุ่มที่ขอการรับรองทั้งหมด (1.2) กรณีการตรวจประเมิน เพื่อ ต่ออายุ ใบรับรอง ให้คํานวณจํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ โดยกําหนดให้จํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ = 0.8 √ จํานวนสมาชิกของกลุ่มที่ขอการรับรองทั้งหมด ถ้าผลการคํานวณตาม (1 . 1) หรือ (1 . 2) มีเศษให้ปัด จํานวนเศษขึ้นเป็นจํานวนเต็ม (2) การตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน (2.1) การตรวจประเมิ นระบบควบคุ มภายใน ใช้จํานวน วัน การ ตรวจประเมินได้ไม่เกิน 1 Manday (2.2) การตรวจประเมิ นระบบควบคุ มภายใน สําหรับกรณี ใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้ สามารถเพิ่มจํานวนวัน การ ตรวจประเมิน จากข้อ (2.1) ไม่เกินร้อยละ 30 (2.2 . 1) กลุ่มเกษตรกรจัดทําระบบควบคุมภายใน ซับซ้อน (มีหลายกิจกรรมในกลุ่ม เช่น ผลิตหลายชนิดพืช/ ชนิดพันธุ์ กรณีเพิ่มแปลงใหม่ระหว่างปี กรณีกลุ่มมีระบบ ควบคุมภายในย่อย) (2.2 . 2) จํานวนเกษตรกรภายในกลุ่มเกิน 50 ราย (2.3) การตรวจประเมินระบบควบคุมภายในสําหรับ กลุ่มที่มีจํานวนแปลงมากกว่า 1 , 000 แปลง และมีความ หลากหลายของชนิดพืชที่ปลูก ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมิน ได้ไม่เกิน 2 Ma nday ให้ นําค่าบริการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตร ตาม 1. ของแต่ละขนาดพื้นที่แปลงจากจํานวน สมาชิกที่ถูกสุ่มตรวจ มา รวมกันเป็นค่าบริการ ที่จะเรียกเก็บในการตรวจประเมิน ไม่เกิน 5,000 บาท ต่อกลุ่ม ไม่เกิน 6 , 500 บาท ต่อกลุ่ม ไม่เกิน 10,000 บาท ต่อกลุ่ม 6 . การตรวจติดตามกรณีการรับรองแบบกลุ่ม (1) การตรวจ ประเมิน แหล่งผลิตพืช ให้คํานวณจํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ โดยกําหนดให้จํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ = 0 . 6 √ จํานวนสมาชิกของกลุ่มที่ขอการรับรองทั้งหมด ถ้าผลการคํานวณ มีเศษให้ปัดจํานวนเศษขึ้นเป็นจํานวนเต็ม ให้ นําค่าบริการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตร ตาม 1. ของแต่ละขนาดพื้นที่แปลงจากจํานวน สมาชิกที่ถูกสุ่มตรวจ มา รวมกันเป็นค่าบริการ ที่จะเรียกเก็บในการตรวจประเมิน แต่ไม่เกิน หนึ่งในสามของค่าบริการตรวจสอบในการตรวจ ประเมินเพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช ครั้งแรก

  • 9 - การตรวจประเมิน ค่าบริการตรวจสอบ ( 2) การตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกินหนึ่งในสามของ จํานวนวั น การตรวจประเมิน ระบบควบคุมภายในเพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช ครั้งแรก ตาม 5 . (2) ไม่เกินหนึ่งในสาม ของ ค่าบริการในการ ตรวจประเมิน ระบบควบคุม ภายในตาม 5 . (2) 7 . การตรวจวิเคราะห์ โลหะหนัก และ สารพิษ ตกค้างทาง ห้องปฏิบัติการ ให้นําค่าบริการตรวจสอบ ตาม 7 . และ 8 . ในตารางที่ 7 มาคิดเป็น ค่าบริการที่จะเรียกเก็บในการตรวจวิเคราะห์ หมายเหตุ กรณีจําเป็นต้องไปตรวจประเมิน แหล่งผลิตพืช มากกว่า 1 ครั้ง/ประเภทการตรวจประเมิน (การตรวจประเมินเพื่อรับรองครั้งแรก การตรวจติดตาม หรือการตรวจเพื่อต่ออายุใบรับรอง) เนื่องจาก ไม่สามารถตรวจ ประเมิน ครบทุกข้อกําหนดตามแผนการตรวจประเมิน ให้ผู้ประกอบการตรวจสอบมาตรฐาน คิดค่าบริการตรวจประเมินตามจํานวนวัน การ ตรวจประเมินในการตรวจแต่ละครั้งรวมกัน โดยการคิดค่าบริการ ต้องเป็นไปตามตารางที่ 8

  • 10 - ตารางที่ 9 ค่าบริการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรสําหรับมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี สําหรับสินค้าเกษตรประเภท ข้าว พืชไร่ พืชเกษตรอุตสาหกรรม ยางพารา และพืชอาหารสัตว์ โดยครอบคลุม มาตรฐานสินค้าเกษตรดังต่อไปนี้ ลําดับ ชื่อมาตรฐานสินค้าเกษตร รหัสมาตรฐาน 1 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับข้าวหอมมะลิไทย มกษ. 4400 2 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับข้าว มกษ. 4401 3 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับเมล็ดพันธุ์ข้าว มกษ. 4406 4 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับข้าวโพดเมล็ดแห้ง มกษ. 44 02 5 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพด มกษ. 4407 6 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับถั่วลิสง มกษ. 49 00 7 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับถั่วเมล็ดแห้ง มกษ. 4902 8 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง มกษ. 4903 9 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับมันสําปะหลัง มกษ. 59 01 10 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับอ้อยโรงงาน มกษ. 59 02 11 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับปาล์มน้ํามัน มกษ. 59 04 12 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับยางพารา เล่ม 1 : การผลิตน้ํายางสด มกษ. 5908 13 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับยางพารา เล่ม 2 : การผลิตยางก้อนถ้วย มกษ. 5910 14 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับหญ้าแพงโกลา มกษ. 89 00 15 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับพืชอาหารสัตว์ มกษ. 89 01 16 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์ มกษ. 8902

  • 11 - การตรวจประเมิน ค่าบริการตรวจสอบ 1. การตรวจสอบและประเมิน เพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช ครั้งแรก หรือการตรวจสอบและประเมินเพื่อต่ออายุ ใบรับรอง ให้คิดค่าบริการตามขนาดพื้นที่แปล ง ดังต่อไปนี้ (1) ขนาดเล็ก ไม่เกิน 10 ไร่ ใช้จํานวน วัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 0.5 Manday (2) ขนาดกลาง มากกว่า 1 0 ไร่ แต่ไม่เกิน 30 ไร่ ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 0.75 Manday (3) ขนาดใหญ่ มากกว่า 3 0 ไร่ แต่ไม่เกิน 50 ไร่ ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 1 Manday ( 4 ) ขนาดใหญ่พิเศษ มากกว่า 5 0 ไร่ ขึ้นไป ใช้จํานวนวัน การ ตรวจ ประเมินไม่เกิน 1.5 Manday ไม่เกิน 2 , 5 00 บาท ไม่เกิน 3 , 75 0 บาท ไม่เกิน 5 ,000 บาท ไม่เกิน 7 , 5 00 บาท 2. การตรวจติดตาม แหล่งผลิตพืช ขนาดพื้นที่แปลงตาม 1. (1) ( 2 ) ( 3 ) และ ( 4 ) ใช้จํานวน วัน การ ตรวจ ประเมินไม่เกินหนึ่ งในสาม ของ จํานวนวันการตรวจประเมินเพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช ครั้งแรก ตาม 1. ไม่เกินหนึ่งในสามของค่าบริการตรวจสอบ ในการตรวจ ประเมินเพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช ครั้งแรก 3 . การตรวจประเมิน แหล่งผลิตพืช สามารถเพิ่มจํานวน วัน การ ตรวจประเมินตาม 1. และ 2. ได้ไม่เกิน ร้อยละ 30 สําหรับกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (1) มีชนิดพืชที่ปลูกหลายชนิดภายในพื้นที่เดียวกัน (2) สภาพพื้นที่มีความซับซ้อน ยากต่อการตรวจประเมิน (3) ต้องใช้ล่ามในการแปลภาษาในการตรวจประเมิน (4) การตรวจประเมินครั้งก่อนพบข้อบกพร่อง เพิ่มค่าบริการตรวจสอบตาม 1. และ 2. ได้ไม่เกินร้อยละ 30 4 . การตรวจประเมิ น แหล่ ง ผลิ ตพื ช ให้ ลดจํานวนวัน การ ตรวจประเมินตาม 1. และ 2. อย่างน้อยร้อยละ 30 สําหรับกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (1) ปริมาณและชนิดพืชที่ปลูกต่อพื้นที่น้อย (2) การตรวจประเมินครั้งก่อนไม่พบข้อบกพร่อง หรือพบข้อบกพร่องน้อย (3) สภาพพื้นที่ไม่มีความซับซ้อน กรณีการลดจํานวนวัน การ ตรวจประเมินตามวรรคหนึ่ง ไม่ให้บังคับกับกรณีที่ ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมิน ต่ํากว่า 0.5 M anday ลดค่าบริการตรวจสอบตาม 1. และ 2. อย่างน้อย ร้อยละ 30 5 . การตรวจสอบและประเมินเพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช ครั้งแรก หรือการตรวจสอบและประเมินเพื่อต่ออายุ ใบรับรอง กรณีการรับรองแบบกลุ่ม และการตรวจประเมิน ระบบควบคุมภายใน

  • 12 - การตรวจประเมิน ค่าบริการตรวจสอบ (1) การ ตรวจ ประเมิน แหล่งผลิตพืช (1.1) กรณีการตรวจประเมินเพื่อรับรองครั้งแรก ให้คํานวณจํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ โดยกําหนดให้จํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ = √ จํานวนสมาชิกของกลุ่มที่ขอการรับรองทั้งหมด (1.2) กรณีการตรวจประเมินเพื่อต่ออายุใบรับรอง ให้คํานวณจํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ โด ยกําหนดให้จํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ = 0 . 8 √ จํานวนสมาชิกของกลุ่มที่ขอการรับรองทั้งหมด ถ้าผลการคํานวณตาม (1 . 1) หรือ (1 . 2) มีเศษให้ปัด จํานวนเศษขึ้นเป็นจํานวนเต็ม (2) การตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน (2.1) การตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน ใช้ จํานวนวัน การ ตรวจประเมินได้ไม่เกิน 1 Manday (2.2) การตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน สําหรับกรณี ใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้ สามารถเพิ่มจํานวนวัน การ ตรวจประเมินจากข้อ (2.1) ไม่เกินร้อยละ 30 (2.2 . 1) กลุ่มเกษตรกร จัดทําระบบควบคุมภายใน ซับซ้อน (มีหลายกิจกรรมในกลุ่ม เช่น ผลิตหลายชนิดพืช/ ชนิดพันธุ์ กรณีเพิ่มแปลงใหม่ระหว่างปี กรณีกลุ่มมีระบบ ควบคุมภายในย่อย) (2.2 . 2) จํานวนเกษตรกรภายในกลุ่มเกิน 50 ราย (2.3) การตรวจประเมินระบบควบคุ มภายใน สําหรับกลุ่ มที่ มีจํานวนแปลงมากกว่า 1 , 00 0 แปลง และมีความหลากหลายของชนิดพืชที่ปลูก ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินได้ไม่เกิน 2 Manday ให้นําค่าบริการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตร ตาม 1. ของแต่ละขนาดพื้นที่แปลงจากจํานวน สมาชิกที่ถูกสุ่มตรวจมารวมกันเป็นค่าบริการ ที่จะเรียกเก็บในการตรวจประเมิน ไม่เกิน 5 , 000 บาท ต่อกลุ่ม ไม่เกิน 6 , 500 บาท ต่อกลุ่ม ไม่เกิน 10 , 000 บาท ต่อกลุ่ม 6 . การตรวจติดตามกรณีการรับรองแบบกลุ่ม (1) การ ตรวจ ประเมิน แหล่ง ผลิตพืช ให้คํานวณจํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ โดยกําหนดให้จํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ = 0 .5 √ จํานวนสมาชิกของกลุ่มที่ขอการรับรองทั้งหมด ถ้าผลการคํานวณ มีเศษให้ปัดจํานวนเศษขึ้ นเป็น จํานวนเต็ม (2) การตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน ใช้จํานวน วัน การ ตรวจ ประเมินไม่เกินหนึ่ งในสาม ของ จํานวนวั นการตรวจประเมิ นระบบควบคุ มภายใน เพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช ครั้งแรก ตาม 5 . (2) ให้นําค่าบริการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตร ตาม 1. ของแต่ละขนาดพื้นที่ แปลงจากจํานวน สมาชิกที่ถูกสุ่มตรวจมารวมกันเป็นค่าบริการ ที่จะเรียกเก็บในการตรวจประเมิน แต่ไม่เกิน หนึ่งในสามของค่าบริการตรวจสอบในการตรวจ ประเมิน เพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช ครั้งแรก ไม่เกินหนึ่งในสาม ของ ค่าบริการใน การตรวจ ประเมิน ระบบควบคุมภายในตาม 5 (2)

  • 13 - การตรวจประเมิน ค่าบริการตรวจสอบ 7 . การตรวจวิเคราะห์ คุณภาพข้าว ให้คิดค่าบริการตรว จ วิเคราะห์ ดังต่อไปนี้ (1) ข้าว - % ข้าวแดง - % พันธุ์ปน - % ต้นข้าวและข้าวเต็มเมล็ด (2) เมล็ดพันธุ์ข้าว - % ความชื้น - จํานวนเมล็ดข้าวแดง (เมล็ดใน 500 กรัม) - จํานวนเมล็ดข้าวพันธุ์อื่นปน (เมล็ดใน 500 กรัม) - % ความงอก - % เมล็ดพันธุ์สุทธิ - % สิ่งเจือปน ไม่เกิน 5 00 บาท ต่อหนึ่งตัวอย่าง ไม่เกิน 600 บาท ต่อหนึ่งตัวอย่าง 8 . การตรวจวิ เคราะห์ โลหะหนัก และ สารพิ ษ ตกค้ำง ทางห้องปฏิบัติการ ให้นําค่าบริการตรวจสอบ ตาม 7 . และ 8 . ในตารางที่ 7 มาคิดเป็นค่าบริการ ที่จะเรียกเก็บในการตรวจวิเคราะห์ หมายเหตุ กรณีจําเป็นต้องไปตรวจประเมิน แหล่งผลิตพืช มากกว่า 1 ครั้ง/ประเภทการตรวจประเมิน (การตรวจประเมินเพื่อรับรองครั้งแรก การตรวจติดตาม หรือการตรวจเพื่อต่ออายุใบรับรอง) เนื่องจาก ไม่สามารถ ตรวจ ประเมิน ครบทุกข้อกําหนดตามแผนการตรวจประเมิน ให้ผู้ประกอบการตรวจสอบมาตรฐาน คิดค่าบริการตรวจประเมินตามจํานวนวัน การ ตรวจประเมินในการตรวจแต่ละครั้งรวมกัน โดยการคิดค่าบริการ ต้องเป็นไปตามตารางที่ 9

  • 14 - ตารางที่ 10 ค่าบริการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรสําหรับมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการทําฟาร์มเกษตรอินทรีย์ การรวบรวม การคั ดบรรจุ แปรรูป และจัดจําหน่ายพืชอินทรีย์ สําหรับสินค้าเกษตร ประเภท พืชอาหาร พืชสมุนไพร ไม้ผล หม่อน เห็ด ชา และกาแฟ โดยครอบคลุมมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง เกษตรอินทรีย์ : การผลิต การแปรรูป การแสดงฉลาก และการจําหน่ายผลิตผลและผลิตภัณฑ์อินทรีย์ (มกษ. 9000 ) การตรวจประเมิน ค่าบริการตรวจสอบ 1. การตรวจสอบและประเมิน เพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช อินทรีย์ ครั้งแรก หรือการตรวจสอบและประเมินเพื่อต่ออายุ ใบรับรอง ให้คิดค่าบริการตามขนาดพื้นที่แปลง ดังต่อไปนี้ (1) ขนาดเล็กพิเศษ ไม่เกิน 1 ไร่ ใช้จํานวน วัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 0.5 Manday (2) ขนาดเล็ก มากกว่า 1 ไร่ แต่ไม่เกิน 5 ไร่ ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 1 Manday (3) ขนาดกลาง มากกว่า 5 ไร่ แต่ไม่เกิน 10 ไร่ ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 1.5 Manday (4) ขนาดใหญ่ มากกว่า 10 ไร่ แต่ไม่เกิน 30 ไร่ ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 2 Manday (5) ขนาดใหญ่พิเศษ มากกว่า 3 0 ไร่ ขึ้นไป ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมิน ไม่เกิน 3 Manday ไม่เกิน 2 , 5 00 บาท ไม่เกิน 5 , 000 บาท ไม่เกิน 7 , 5 00 บาท ไม่เกิน 10 , 000 บาท ไม่เกิน 1 5,000 บาท 2. การตรวจติดตาม แหล่งผลิตพืชอินทรีย์ (1) ขนาดพื้นที่แปลงตาม 1. (1) ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 0.25 Manday (2) ขนาดพื้นที่แปลงตาม 1. ( 2 ) ( 3 ) ( 4 ) และ ( 5 ) ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกินหนึ่งในสาม ของจํานวน วันการตรวจประเมินเพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืชอินทรีย์ ครั้งแรก ตาม 1. ไม่เกิน 1 , 25 0 บาท ไม่เกินหนึ่งในสามของค่าบริการตรวจสอบ ในการตรวจ ประเมินเพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืชอินทรีย์ ครั้งแรก 3 . การตรวจประเมิน แหล่งผลิตพืชอินทรีย์ สามารถเพิ่ม จํานวนวัน การ ตรวจประเมิน ตาม 1. และ 2. ได้ไม่เกิน ร้อยละ 30 สําหรับกรณี ใดกรณีหนึ่ง ดัง ต่อไป นี้ (1) มีชนิดพืชที่ปลูกหลายชนิดภายในพื้นที่เดียวกัน (2) สภาพพื้นที่มีความซับซ้อน ยากต่อการตรวจประเมิน (3) ต้องใช้ล่ามในการแปลภาษาในการตรวจประเมิน (4) การตรวจประเมินครั้งก่อนพบข้อบกพร่อง เพิ่มค่าบริการตรวจสอบตาม 1. และ 2. ได้ไม่เกินร้อยละ 30 4 . การตรวจประเมิน แหล่งผลิตพืช อินทรีย์ ให้ลดจํานวนวัน การ ตรวจประเมินตาม 1. และ 2. อย่างน้อยร้อยละ 30 สําหรับกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (1) ปริมาณและชนิดพืชที่ปลูกต่อพื้นที่น้อย (2) การตรวจประเมินครั้ งก่อนไม่พบข้อบกพร่อง หรือพบข้อบกพร่องน้อย (3) สภาพพื้นที่ไม่มีความซับซ้อน ลดค่าบริการตรวจสอบตาม 1. และ 2. อย่างน้อย ร้อยละ 30

  • 15 - การตรวจประเมิน ค่าบริการตรวจสอบ กรณีการลดจํานวนวัน การ ตรวจประเมินตามวรรคหนึ่ง ไม่ให้บังคับกับกรณีที่ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินต่ํากว่า 0.5 M anday 5 . การตรวจสอบและประเมินเพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืชอินทรีย์ ครั้งแรก หรือการตรวจสอบและประเมินเพื่อต่ออายุ ใบรับรอง กรณีการรับรองแบบกลุ่ม และกา ร ตรว จ ประเมิน ระบบควบคุมภายใน (1) การ ตรวจ ประเมิน แหล่งผลิตพืชอินทรีย์ (1.1) กรณีการตรวจประเมินเพื่ อรับรองครั้ งแรก ให้คํานวณจํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ โดยกําหนดให้จํานวนสมาชิกที่ ต้องถูกสุ่ มตรวจ = √ จํานวนสมาชิกของกลุ่มที่ขอการรับรองทั้งหมด (1.2) กรณีการตรวจประเมินเพื่อต่ออายุใบรับรอง ให้คํานวณจํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ โดยกําหนดให้จํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ = 0.8 √ จํานวนสมาชิกของกลุ่มที่ขอการรับรองทั้งห มด ถ้าผลการคํานวณตาม (1 . 1) หรือ (1 . 2) มีเศษให้ปัด จํานวนเศษขึ้นเป็นจํานวนเต็ม (2) การตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน (2.1) การตรวจประเมิ นระบบควบคุ มภายใน ใช้จํานวน วัน การ ตรวจประเมินได้ไม่เกิน 1 Manday (2.2) การตรวจประเมินระบบควบคุมภายในสําหรับ กรณี ใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้ สามารถเพิ่มจํานวนวัน การ ตรวจ ประเมินจากข้อ (2.1) ไม่เกินร้อยละ 30 (2.2 . 1) กลุ่มเกษตรกรจัดทําระบบควบคุมภายใน ซับซ้อน (มีหลายกิจกรรมในกลุ่ม เช่น ผลิตหลายชนิดพืช/ ชนิดพันธุ์ กรณีเพิ่มแปลงใหม่ระหว่างปี ก รณีกลุ่มมีระบบ ควบคุมภายในย่อย) (2.2 . 2) จํานวนเกษตรกรภายในกลุ่มเกิน 50 ราย (2.3) การตรวจประเมินระบบควบคุมภายในสําหรับ กลุ่มที่มีจํานวนแปลงมากกว่า 1 , 000 แปลง และมีความ หลากหลายของชนิดพืชที่ปลูก ใช้จํานวน วัน การ ตรวจประเมิน ได้ไม่เกิน 2 Manday ให้ นําค่าบริการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตร ตาม 1. ของแต่ละขนาดพื้นที่แปลงจากจํานวน สมาชิกที่ถูกสุ่มตรวจ มา รวมกันเป็นค่าบริการ ที่จะเรียกเก็บในการตรวจประเมิน ไม่เกิน 5,000 บาท ต่อกลุ่ม ไม่เกิน 6 , 500 บาท ต่อกลุ่ม ไม่เกิน 10,000 บาท ต่อกลุ่ม 6. การตรวจติดตามกรณีการรับรองแบบกลุ่ม (1) การตรวจ ประเมิน แ หล่งผลิตพืชอินทรีย์ ให้คํานวณจํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ ให้นําค่าบริการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตร ตาม 1. ของแต่ละขนาดพื้นที่แปลง จากจํานวน สมาชิกที่ถูกสุ่มตรวจ มา รวมกัน เป็นค่าบริการ ที่จะเรียกเก็บในการตรวจประเมิน แต่ไม่เกิน หนึ่งในสามของค่าบริการตรวจสอบ

  • 16 - การตรวจประเมิน ค่าบริการตรวจสอบ โดยกําหนดให้จํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ = 0 .6 √ จํานวนสมาชิกของกลุ่มที่ขอการรับรองทั้งหมด ถ้าผลการคํานวณ มีเศษให้ปัดจํานวนเศษขึ้นเป็นจํานวนเต็ม (2) การตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน ใช้จํานวนวัน การ ต รวจประเมินไม่เกินหนึ่งในสาม ของจํานวน วันการตรวจประเมิน ระบบควบคุมภายในเพื่ อรับรอง แหล่งผลิตพืชอินทรีย์ ครั้งแรก ตาม 5 . (2) ในการตรวจประเมินเพื่อรับรอง แหล่งผลิต พืชอินทรีย์ ครั้งแรก ไม่เกินหนึ่งในสาม ของ ค่าบริการใน การตรวจ ประเมิน ระบบควบคุมภายในตาม 5 (2) 7 . การตรวจวิ เคราะห์ โลหะหนั กและสารพิ ษตกค้ำง ทางห้องปฏิบัติการ ให้นําค่าบริการตรวจสอบ ตาม 7 . และ 8 . ในตารางที่ 7 มาคิดเป็น ค่าบริการที่จะเรียกเก็บในการตรวจวิเคราะห์ 8 . การตรวจสอบและประเมิน เพื่อรับรอง สถาน ที่ผลิตซึ่งเป็น สถาน ที่ รวบรวม คั ดบรรจุ แปรรู ป และจัดจําหน่าย พืชอินทรีย์ ครั้ งแรก หรือการตรวจสอบและประเมิน เพื่อต่ออายุใบรับรอง สําหรับพืชอาหาร พืชสมุนไพร ไม้ผล หม่อน เห็ด ชา และกาแฟ ให้คิดค่าบริการตามขนาดของ สถานที่ผลิต ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ขนาดเล็กพิเศษ จํานวนคนงาน ไม่เกิน 5 คน ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 0.5 Manday ( 2 ) ขนาดเล็ก จํานวนคนงาน ตั ้ งแต่ 6 คน ถึง 10 คน ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 1 Manday ( 3 ) ขนาดกลาง จํานวนคนงาน ตั้ งแต่ 11 คน ถึง 30 คน ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 1.5 Manday ( 4 ) ขนาดใหญ่ จํานวนคนงาน ตั้งแต่ 31 คนขึ้นไป ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมิน ไม่เกิน 2 Manday ไม่เกิน 5,000 บาท ไม่เกิน 10 , 000 บาท ไม่เกิน 15 , 000 บาท ไม่เกิน 20 , 000 บาท 9 . การตรวจติดตามสถานที่ ผลิต ตาม 8 . ( 1 ) ขนาด ของ สถานที่ผลิต ตาม 8 . ( 1 ) ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 0.25 Manday ( 2 ) ขนาดของ สถานที่ผลิต ตาม 8 . ( 2 ) ( 3 ) และ ( 4 ) ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมิน ไม่เกินหนึ่งในสาม ของ จํานวน วันการตรวจประเมินเพื่อรับรอง สถานที่ ผลิต ครั้งแรก ตาม 8 . ไม่เกิน 2 , 500 บาท ไม่เกินหนึ่งในสามของค่าบริการตรวจสอบ ในการตรวจ ประเมิน เพื่อรับรอง สถานที่ผลิตครั้งแรก 10. การตรวจประเมิน สถานที่ผลิต สามารถเพิ่มจํานวนวัน การ ตรวจประเมิน ตาม 8. และ 9. ได้ไม่เกิน ร้อยละ 30 สําหรับกรณี ใดกรณีหนึ่ง ดัง ต่อไป นี้ (1) กระบวนการผลิตซับซ้อนหรือมีหลากหลายสายการผลิต (2) ต้องใช้ล่ามในการแปลภาษาในการตรวจประเมิน (3) การตรวจประเมินครั้งก่อน พบข้อบกพร่อง เพิ่มค่าบริการตรวจสอบตาม 8. และ 9. ได้ไม่เกินร้อยละ 30

  • 17 - การตรวจประเมิน ค่าบริการตรวจสอบ 11. การตรวจประเมิ น สถานที ่ ผลิ ต ให้ ลดจํานวนวัน การ ตรวจประเมิน ตาม 8. และ 9. อย่างน้อย ร้อยละ 30 สําหรับกรณี ใดกรณีหนึ่ง ดัง ต่อไป นี้ (1) เป็นกิจการที่ดําเนินการไม่ซับซ้อน แม้จะใช้คนงาน จํานวนมากหรือใช้เทคโนโลยีเข้ามาดําเนินงานแทน (2) การตรวจประเมินครั้ งก่อนไม่พบข้อบกพร่อง หรือพบข้อบกพร่องน้อย กรณีการลดจํานวนวัน การ ตรวจประเมินตามวรรคหนึ่ง ไม่ให้บังคับกับกรณีที่ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินต่ํากว่า 0.5 M anday ลดค่าบริการตรวจสอบตาม 8. และ 9. อย่างน้อย ร้อยละ 30 หมายเหตุ กรณีจําเป็นต้องไปตรวจประเมิน แหล่งผลิตพืชอินทรีย์ มากกว่า 1 ครั้ง/ประเภทการตรวจประเมิน (การตรวจประเมินเพื่อรับรองครั้งแรก การตรวจติดตาม หรือการตรวจเพื่อต่ออายุใบรับรอง) เนื่องจาก ไม่สามารถตรวจ ประเมิน ครบทุกข้อกําหนดตามแผนการตรวจประเมิน ให้ผู้ประกอบการตรวจสอบมาต รฐาน คิดค่าบริการตรวจประเมินตามจํานวนวัน การ ตรวจ ประเมินในการตรวจแต่ละครั้งรวมกัน โดยการคิดค่าบริการ ต้องเป็นไปตาม ตารางที่ 10

  • 18 - ตารางที่ 11 ค่าบริการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรสําหรับมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการทําฟาร์มเกษตรอินทรีย์ การ รวบรวม คัดบรรจุ แปรรูป และจัดจําหน่าย พืชอินทรีย์ สําหรับสินค้าเกษตรประเภท ข้าว พืช ไร่ พืชเกษตร อุตสาหกรรม ยางพารา และ พืชอาหารสัตว์ โดยครอบคลุมมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง เกษตรอินทรีย์ : การผลิต การแปรรูป การแสดงฉลาก และการจําหน่ายผลิตผลและผลิตภัณฑ์อินทรีย์ (มกษ. 9000 ) การตรวจประเมิน ค่าบริการตรวจสอบ 1. การตรวจสอบและประเมินเพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืช อินทรีย์ครั้งแรก หรือการตรวจสอบและประเมินเพื่อต่ออายุ ใบรับรอง ให้คิดค่าบริการตามขนาดพื้นที่แปลง ดังต่อไปนี้ (1) ขนาดเล็ก ไม่เกิน 10 ไร่ ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 0.5 Manday (2) ขนาดกลาง มากกว่า 1 0 ไร่ แต่ไม่เกิน 30 ไร่ ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 0.75 Manday (3) ขนาดใหญ่ มากกว่า 3 0 ไร่ แต่ไม่เกิน 50 ไร่ ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 1 Manday ( 4 ) ขนาดใหญ่พิเศษ มากกว่า 5 0 ไร่ ขึ้นไป ใช้จํานวนวัน การ ตรวจ ประเมินไม่เกิน 1.5 Manday ไม่เกิน 2 , 500 บาท ไม่เกิน 3 , 75 0 บาท ไม่เกิน 5 , 000 บาท ไม่เกิน 7 , 5 00 บาท 2. การตรวจติดตาม แหล่งผลิตพืชอินทรีย์ ขนาดพื้นที่แปลงตาม 1. (1) ( 2 ) ( 3 ) และ (4) ใช้จํานวนวันตรวจประเมินไม่เกินหนึ่งในสาม ของจํานวน วันการตรวจประเมินเพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืชอินทรีย์ ครั้งแรก ตาม 1. ไม่เกินหนึ่งในสามของค่าบริการตรวจสอบ ในการตรวจ ประเมินเพื่อรับรอง แหล่งผลิตพืชอินทรีย์ ครั้งแรก 3 . การตรวจประเมิน แหล่งผลิตพืชอินทรีย์ สามารถเพิ่ม จํานวน วัน การ ตรวจประเมินตาม 1. และ 2. ได้ไม่เกิน ร้อยละ 30 สําหรับกรณี ใดกรณีหนึ่ง ดัง ต่อไป นี้ (1) มีชนิดพืชที่ปลูกหลายชนิดภายในพื้นที่เดียวกัน (2) สภาพพื้นที่มีความซับซ้อน ยากต่อการตรวจประเมิน (3) ต้องใช้ล่ามในการแปลภาษาในการตรวจประเมิน (4) การตรวจประเมินครั้งก่อนพบข้อบกพร่อง เพิ่มค่าบริการตรวจสอบตาม 1. และ 2. ได้ไม่เกินร้อยละ 30 4 . การตรวจประเมิน แหล่งผลิตพืชอินทรีย์ ให้ ลดจํานวนวัน การ ตรวจประเมินตาม 1. และ 2. อย่างน้อย ร้อยละ 30 สําหรับ กรณีใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (1) ปริมาณและชนิดพืชที่ปลูกต่อพื้นที่น้อย (2) การตรวจประเมินครั้งก่อนไม่พบข้อบกพร่อง หรือพบข้อบกพร่องน้อย (3) สภาพพื้นที่ไม่มีความซับซ้อน กรณีการลดจํานวนวัน การ ตรวจประเมินตามวรรคหนึ่ง ไม่ให้บังคับกับกรณีที่ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินต่ํากว่า 0.5 M anday ลดค่าบริการตรวจสอบตาม 1. และ 2. อย่างน้อย ร้อยละ 30

  • 19 - การตรวจประเมิน ค่าบริการตรวจสอบ 5. การตรวจสอบและประเมินเพื่ อรับรองแหล่งผลิต พืชอินทรีย์ครั้งแรก หรือการตรวจสอบและประเมิน เพื่อต่ออายุใบรับรอง กรณีการรับรองแบบกลุ่ม และ การตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน (1) การ ตรวจ ประเมิน แหล่ง ผลิตพืชอินทรีย์ (1.1) กรณีการตรวจประเมินเพื่อรับรองครั้งแรก ให้คํานวณจํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ โดยกําหนดให้จํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ = √ จํานวนสมาชิกของกลุ่มที่ขอการรับรองทั้งหมด (1.2) กรณีการตรวจประเมินเพื่อต่ออายุใบรับรอง ให้คํานวณจํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ โดยกําหนดให้จํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ = 0.8 √ จํานวนสมาชิกของกลุ่มที่ขอการรับรองทั้งหมด ถ้าผลการคํานวณตาม (1 . 1) หรือ (1 . 2) มีเศษให้ปัด จํานวนเศษขึ้นเป็นจํานวนเต็ม (2) การตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน (2.1) การตรวจประเมิ นระบบควบคุ มภายใน ใช้ จํานวนวัน การ ตรวจประเมินได้ไม่เกิน 1 Manday (2.2) การตรวจประเมิ นระบบควบคุ มภายใน สําหรับกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้ สามารถเพิ่มจํานวนวัน การ ตรวจประเมิน จากข้อ (2.1) ไม่เกินร้อยละ 30 (2.2 . 1) กลุ่มเกษตรกรจัดทําระบบควบคุมภายใน ซับซ้อน (มีหลายกิจกรรมในกลุ่ม เช่น ผลิตหลายชนิดพืช/ ชนิดพันธุ์ กรณีเพิ่มแปลงใหม่ระหว่างปี กรณีกลุ่มมีระบบ ควบคุมภายในย่อย) (2.2 . 2) จํานวนเกษตรกรภายในกลุ่มเกิน 50 ราย (2.3) การตรวจประเมิ นระบบควบคุ มภายใน สําหรับกลุ่ มที่ มีจํานวนแปลง มากกว่า 1 , 000 แปลง และมีความหลากหลายของชนิดพืชที่ปลูก ใช้จํานวนวัน การ ตรวจ ประเมินได้ไม่เกิน 2 Manday ให้นําค่าบริการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตร ตาม 1. ของแต่ละขนาดพื้นที่แปลงจา ก จํานวน สมาชิกที่ถูกสุ่มตรวจ มา รวมกันเป็นค่าบริการ ที่จะเรียกเก็บในการตรวจประเมิน ไม่เกิน 5,000 บาท ต่อกลุ่ม ไม่เกิน 6 , 500 บาท ต่อกลุ่ม ไม่เกิน 10,000 บาท ต่อกลุ่ม 6. การตรวจติดตามกรณีการรับรองแบบกลุ่ม (1) การตรวจ ประเมิน แหล่ง ผลิตพืชอินทรีย์ ให้คํานวณจํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ โดยกําหนดให้จํานวนสมาชิกที่ต้องถูกสุ่มตรวจ = 0 . 5 √ จํานวนสมาชิกของกลุ่มที่ขอการรับรองทั้งหมด ถ้าผลการคํานวณ มีเศษให้ปัดจํานวนเศษขึ้นเป็นจํานวนเต็ม ให้นําค่าบริการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตร ตาม 1. ของแต่ละขนาดพื้นที่แปลงจา ก จํานวน สมาชิกที่ถูกสุ่มตรวจ มา รวมกันเป็นค่าบริการ ที่จะเรียกเก็บในการตรวจประเมิน แต่ไม่เกิน หนึ่งในสามของค่าบริการตรวจสอบในการตรวจ ประเมินเพื่อรับรองแหล่งผลิตพืชอินทรีย์ครั้ ง แรก

  • 20 - การตรวจประเมิน ค่าบริการตรวจสอบ (2) การตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน ใช้จํานวน วัน การ ตรวจ ประเมินไม่เกินหนึ่ งในสาม ของ จํานวนวั นการตรวจประเมิ น ระบบควบคุ มภายใน เพื่อรับรองแหล่งผลิตพืชอินทรีย์ครั้งแรก ตาม 5 . (2) ไม่เกินหนึ่งในสามของ ค่าบริการใน การตรวจ ประเมิน ระบบควบคุมภายในตาม 5 . (2) 7. การตรวจวิ เคราะห์ โลหะหนักและสารพิ ษตกค้าง ทางห้องปฏิบัติการ ให้นําค่าบริการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตร ตาม 7. และ 8. ในตารางที่ 7 มาคิดเป็น ค่าบริการที่จะเรียกเก็บในการตรวจวิเคราะห์ 8 . การตรวจสอบและประเมินสถานที่ผลิต ซึ่งเป็นสถานที่ คัดบรรจุ และแปรรูปข้าวอินทรีย์ ครั้งแรก หรือการตรวจสอบ และประเมินเพื่อต่ออายุใบรับรอง ให้คิดค่าบริการตามขนาด ของสถานที่ผลิต โดยพิจารณาตามกําลังการผลิต ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ขนาดเล็กพิเศษ จํานวนคนงาน ไม่เกิน 5 คน และ กําลังการผลิตไม่เกิน 5 ตัน ต่อวัน ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินได้ไม่เกิน 0.5 Manday ( 2 ) ขนาดเล็ก จํานวนคนงานไม่เกิน 5 คน และกําลัง การผลิต มากกว่า 5 ตัน แต่ไม่เกิน 60 ตัน ต่อวัน ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินได้ไม่เกิน 1 Manday ( 3 ) ขนาดกลาง จํานวนคนงานตั้งแต่ 6 คน ถึง 10 คน และกําลังการผลิต มากกว่า 6 0 ตัน แต่ไม่เกิน 300 ตัน ต่อวัน ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินได้ไม่เกิน 1.5 Manday ( 4 ) ขนาดใหญ่ จํานวนคนงาน มากกว่า 1 0 คนขึ้นไป และกําลังการผลิต มากกว่า 30 0 ตัน ต่อวันขึ้นไป ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินได้ไม่เกิน 2 Manday ไม่เกิน 5 , 0 00 บาท ไม่เกิน 10 , 00 0 บาท ไม่เกิน 15 , 000 บาท ไม่เกิน 20 , 0 00 บาท 9 . การตรวจติดตาม สถานที่ผลิต ตาม 8 . ( 1 ) ขนาดของสถานที่ผลิต ตาม 8 . ( 1 ) ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินไม่เกิน 0.25 Manday ( 2 ) ขนาดของสถานที่ผลิต ตาม 8 . ( 2 ) ( 3 ) และ ( 4 ) ใช้จํานวนวัน การ ตรวจ ประเมินไม่เกินหนึ่งในสาม ของจํานวน วันการตรวจประเมิน เพื่อรับรองสถานที่ผลิตครั้งแรก ตาม 8 . ไม่เกิน 2 , 500 บาท ไม่เกินหนึ่งในสามของค่าบริการตรวจสอบ ในการตรวจ ประเมิน เพื่อรับรองสถานที่ผลิต ครั้งแรก 10. การตรวจประเมินสถานที่ผลิต สามารถเพิ่มจํานวนวัน การ ตรวจประเมิน ตาม 8. และ 9. ได้ไม่เกิน ร้อยละ 30 สําหรับกรณี ใดกรณีหนึ่ง ดัง ต่อไป นี้ (1) กระบวนการผลิตซับซ้อนหรือมีหลากหลายสายการผลิต (2) ต้องใช้ล่ามในการแปลภาษาในการตรวจประเมิน (3) การตรวจประเมินครั้งก่อนพบข้อบกพ ร่อง เพิ่มค่าบริการตรวจสอบตาม 8. และ 9. ได้ไม่เกินร้อยละ 30

  • 21 - การตรวจประเมิน ค่าบริการตรวจสอบ 11. การตรวจประเมิ นสถานที่ ผลิ ต ให้ ลดจํานวนวัน การ ตรวจประเมิน ตาม 8. และ 9. อย่างน้อย ร้อยละ 30 สําหรับ กรณีใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (1) เป็นกิจการที่ดําเนินการไม่ซับซ้อน แม้จะใช้คนงาน จํานวนมากหรือใช้เทคโนโลยีเข้ามาดําเนินงานแทน (2) การตรวจประเมินครั้งก่อนไม่พบข้อบกพร่อง หรือพบข้อบกพร่องน้อย กรณีการลดจํานวนวัน การ ตรวจประเมินตามวรรคหนึ่ง ไม่ให้บังคับกับกรณีที่ใช้จํานวนวัน การ ตรวจประเมินต่ํากว่า 0.5 M anday ลดค่าบริการตรวจสอบตาม 8. และ 9. อย่างน้อย ร้อยละ 30 12 . การตรวจสอบและประเมินสถานที่ ผลิตครั้ งแรก ซึ่งเป็นสถานที่รวบรวม คัดบรรจุ แปรรูป และจัดจําหน่าย พืชอินทรีย์ หรือการตรวจสอบและประเมินเพื่อต่ออายุ ใบรับรอง หรือ การตรวจติดตาม สําหรับสินค้าเกษตร ประเภทพื ชไร่ พื ชเกษตร อุ ต สาหกรรม ยางพารา และพืชอาหารสัตว์ ให้ใช้จํานวนวันตรวจประเมิน ตาม 8. และ 9. ในตารางที่ 10 ให้นําค่าบริการตรวจสอบมาตรฐาน สินค้าเกษตร ตาม 8 . และ 9 . ในตารางที่ 10 มาคิดเป็น ค่าบริการที่จะเรียกเก็บในการตรวจประเมิน หมายเหตุ กรณีจําเป็นต้องไปตรวจประเมินแหล่งผลิตพืชอินทรีย์มากกว่า 1 ครั้ง/ประเภทการตรวจประเมิน (การตรวจประเมินเพื่อรับรองครั้งแรก การตรวจติดตาม หรือการตรวจเพื่อต่ออายุใบรับรอง) เนื่องจาก ไม่สามารถ ตรวจ ประเมิน ครบทุกข้อกําหนดตามแผนการตรวจประเมิน ให้ผู้ประกอบการตรวจสอบมาตรฐาน คิดค่าบริการตรวจประเมินตามจํานวนวัน การ ตรวจประเมินในการตรวจแต่ละครั้งรวมกัน โดยการคิดค่าบริการ ต้องเป็นไปตาม ตารางที่ 11