Mon Jan 30 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อ ประเภท ชนิดหรือลักษณะของผลิตภัณฑ์สมุนไพรซึ่งการผลิตหรือนำเข้าเพื่อขาย ต้องได้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับใบรับแจ้งรายละเอียดหรือใบรับจดแจ้ง และชื่อ ปริมาณ และเงื่อนไขของวัตถุที่อาจใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์สมุนไพร สำหรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ขอจดแจ้ง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2566


ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อ ประเภท ชนิดหรือลักษณะของผลิตภัณฑ์สมุนไพรซึ่งการผลิตหรือนำเข้าเพื่อขาย ต้องได้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับใบรับแจ้งรายละเอียดหรือใบรับจดแจ้ง และชื่อ ปริมาณ และเงื่อนไขของวัตถุที่อาจใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์สมุนไพร สำหรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ขอจดแจ้ง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2566

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อ ประเภท ชนิดหรือลักษณะของผลิตภัณฑ์สมุนไพร ซึ่งการผลิตหรือนำเข้าเพื่อขาย ต้องได้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตารับ ใบรับแจ้งรายละเอียดหรือใบรับจดแจ้ง และชื่อ ปริมาณ และเงื่อนไขของวัตถุที่อาจใช้เป็นส่วนผสม ในผลิตภัณฑ์สมุนไพร สำหรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ขอจดแจ้ง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2566 โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงบัญชี 1 บัญชี 2 และบัญชี 3 ท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วย ชื่อ ประเภท ชนิดหรือลักษณะของผลิตภัณฑ์สมุนไพรซึ่งการผลิตหรือนาเข้าเพื่อขาย ต้องได้รับ ใบสาคัญการขึ้นทะเบียนตารับ ใบรับแจ้งรายละเอียดหรือใบรับจดแจ้ง และชื่อ ปริมาณ และเงื่อนไข ของวัตถุที่อาจใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์สมุนไพร สาหรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ขอจดแจ้ง เพื่อให้ การจดแจ้งมีความสะดวกและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และแก้ไขหัวข้อการควบคุมคุณภาพและข้อกำหนด คุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ของรายการผลิตภัณฑ์สมุนไพร ซึ่งผลิต หรือนาเข้าเพื่อขาย จะต้องได้รับ ใบรับจดแจ้ง ให้สอดคล้องกับประกาศคณะกรรมการผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ออกตามความในมา ตรา 15 (9) และ (12) อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 6 (2) (3) และ (7) แห่งพระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข โดยคำแนะนำของคณะกรรมการผลิตภัณฑ์สมุนไพร ในการประชุมครั้งที่ 6/ 2565 เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2565 ออกประกาศไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อ ประเภท ชนิด หรือลักษณะของผลิตภัณฑ์สมุนไพรซึ่งการผลิตหรือนาเข้าเพื่อขาย ต้องได้รับใบสาคัญการขึ้นทะเบียนตารับ ใบรับแจ้งรายละเอียดหรือใบรั บจดแจ้ง และชื่อ ปริมาณ และเงื่อนไขของวัตถุที่อาจใช้เป็นส่วนผสม ในผลิตภัณฑ์สมุนไพร สำหรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ขอจดแจ้ง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2566 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ข้อ 8 แห่งประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อ ประเภท ชนิด หรือลักษณะของผลิตภัณฑ์สมุนไพร ซึ่งการผลิตหรือนำเข้าเพื่อขาย ต้องได้รับใบสำคัญ การขึ้นทะเบียนตารับ ใบรับแจ้งรายละเอียดหรือใบรับจดแจ้ง และชื่อ ปริมาณ และเงื่อนไขขอ งวัตถุ ที่อาจใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์สมุนไพร สำหรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ขอจดแจ้ง พ.ศ. 2564 “ ข้อ 8 ข้อกาหนดคุณภาพโดยทั่วไปสาหรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรซึ่งการผลิตหรือนำเข้าเพื่อขาย ต้องได้รับใบรับจดแจ้ง ให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ออกตามควำมใน มาตรา 15 (9) และ (12) ” ้ หนา 7 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 22 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 มกราคม 2566

ข้อ 4 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ข้อ 9 แห่งประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อ ประเภท ชนิด หรือลักษณะของผลิตภัณฑ์สมุนไพร ซึ่งการผลิตหรือนำเข้าเพื่อขาย ต้องได้รับใบสำคัญ การขึ้นทะเบียนตารับ ใบรับแจ้งรายละเอียดหรือใบรับจดแจ้ง และชื่อ ปริมาณ และเงื่อนไขของวัตถุ ที่อาจใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์สมุนไพร สำหรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ขอจดแจ้ง พ.ศ. 2564 “ ข้อ 9 การแสดงชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร สาหรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรซึ่งการผลิตหรือนาเข้า เพื่อขาย ต้องไ ด้รับใบรับจดแจ้ง ให้เป็นชื่อตารับ หรือชื่อผลิตภัณฑ์ ตามที่ระบุในบัญชี 1 บัญชี 2 หรือบัญชี 3 ท้ายประกาศนี้ และต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการผลิตภัณฑ์สมุนไพร ที่ออกตามความในมาตรา 15 (7) ทั้งนี้ การแสดงชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพรตามวรรคหนึ่ง อาจแสดงชื่อด้วยภาษาต่างประเทศ หรืออาจแสดงควบคู่กับรูปแบบผลิตภัณฑ์ และอาจต่อท้ายด้วยความแรงของสารสาคัญ เครื่องหมาย ทางการค้า ชื่อ หรือสถานที่ของผู้ยื่นคำขอได้ ” ข้อ 5 ให้ยกเลิกบัญชี 1 บัญชี 2 และบัญชี 3 ท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อ ประเภท ชนิดหรือลักษณะของผลิตภัณฑ์สมุนไพร ซึ่งการผลิตหรือนาเข้าเพื่อขาย ต้องได้รับ ใบสาคัญการขึ้นทะเบียนตารับ ใบรับแจ้งรายละเอียดหรือใบรับจดแจ้ง และชื่อ ปริมาณ และเงื่อนไข ของวัตถุที่อาจใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์สมุนไพร สำหรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ขอจดแ จ้ง พ.ศ. 2564 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อ ประเภท ชนิดหรือลักษณะ ของผลิตภัณฑ์สมุนไพร ซึ่งการผลิตหรือนาเข้าเพื่อขาย ต้องได้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตารับ ใบรับแจ้งรายละเอียดหรือใบรับจดแจ้ง และชื่อ ปริมาณ และเงื่อนไขของวัตถุที่อาจใช้เป็นส่วนผสม ในผลิตภัณฑ์สมุนไพร สาหรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ขอจดแจ้ง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565 และให้ใช้บัญชี 1 บัญชี 2 และบัญชี 3 ท้ายประกาศนี้แทน ข้อ 6 ในกรณีที่ผู้รับใบรับจดแจ้งผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ออกให้ก่อนวันที่ประกาศนี้ มีผล ใช้บังคับประสงค์จะแก้ไขชื่อหรือขนาดบรรจุให้เป็นไปตามประกาศนี้ ให้สามารถดาเนินการแก้ไขก่อนได้ โดยให้แจ้งต่อผู้อนุญาตภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่มีการแก้ไข โดยดาเนินการให้เป็นไปตามประกาศ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเกี่ยวกับการแก้ไขรายการในใบรับจดแจ้งผ ลิตภัณฑ์สมุนไพร ที่สามารถดาเนินการแก้ไขก่อนได้ ประกาศ ณ วันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 256 6 สาธิต ปิตุเตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ้ หนา 8 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 22 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 มกราคม 2566

1 บั ญชี 1 ท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อ ประเภท ชนิดหรือลักษณะของผลิตภัณฑ์สมุนไพรซึ่งการผลิตหรือนําเข้าเพื่อขาย ต้องได้รับ ใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับ ใบรับแจ้งรายละเอียดหรือใบรับจดแจ้ง และชื่อ ปริมาณ และเงื่อนไขของ วัตถุที่อาจใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์สมุนไพร สําหรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ขอจด แจ้ง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2565 ยาจากสมุนไพร ประเภทตํารับยาแผนไทย 1. ยาประสะไพล 1. ชื่อยา ยาประสะไพล ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 162 กรัม 1 ไพล เหง้า 81 กรัม 2 กระเทียม หัว 8 กรัม 3 เกลือสินเธาว์* - 8 กรัม 4 ขมิ้นอ้อย เหง้า 8 กรัม 5 ขิง เหง้า 8 กรัม 6 ดีปลี ช่อผล 8 กรัม 7 เทียนดํา เมล็ด 8 กรัม 8 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 8 กรัม 9 มะกรูด ผิว* * 8 กรัม 10 ว่านน้ํา เหง้า 8 กรัม 11 หอม หัว 8 กรัม 12 การบูร - 1 กรัม * เกลือสินเธาว์ที่ใช้เป็นเกลือภูเขาหรือเอือด เช่น เกลือสินเธาว์จากอําเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน , อําเภอนาแห้ว จังหวัดเลย อําเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ** ผิวมะกรูดอาจมีส่วนของเปลือกผลชั้นกลาง ( Mesocarp ) ที่ไม่สามารถแยกออกได้ ติดมาบ้าง 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มำของตํารับยา 3.1 ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 3.2 ตําราอายุรเวทศึกษา ขุนนิทเทสสุขกิจ เล่ม 2 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร (ยกเว้นเกลือสินเธาว์และการบูร) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม

2 2) อบสมุนไพร (ยกเว้นเกลือสินเธาว์และการบูร) ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งเกลือสินเธาว์และการบูร ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดประจําเดือน แก้ประจําเดือนมาไม่สม่ําเสมอหรือมาน้อยกว่าปกติ ขับน้ําคาวปลาในหญิงห ลังคลอดบุตร แก้จุกเสียด 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 กรณีปวดประจําเดือน กินครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน และเย็น ในกรณีที่มีอาการปวดประจําเดือนเป็นประจํา ให้กินยาก่อนมีประจําเดือน 2 - 3 วัน ไปจนถึงวันแรกและ วันที่สองที่มีประจําเดือน 7.2 กรณีประจําเดือนมาไม่สม่ําเสมอหรือมาน้อยกว่าปกติ กิ นครั้ งละ 2 แคปซู ล วั นละ 3 ครั้ ง ก่ อนอาหารเช้ำ กลางวั น และเย็น เป็ นเวลา 3 - 5 วั น เมื่อ ประจําเดื อนมาให้หยุดกิน 7.3 กรณีขับน้ําคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร กินครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน และเย็น ให้กินจนกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ไม่เกิน 15 วัน 7.4 กรณีแก้จุกเสียด กินครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน และเย็น 8. ข้อห้ามใช้ 8.1 ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงตั้งครรภ์ หญิงผ่าคลอด และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปกติหลังคลอด 8.2 ห้ามใช้ในหญิงที่มีประจําเดือนมากกว่าปกติ เพราะจะทําให้มีการขับประจําเดือนออกมามากขึ้น 9. คําเตือน 9.1 กรณีประจําเดือนมา ไม่สม่ําเสมอหรือมาน้อยกว่าปกติ ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 1 เดือน 9.2 กรณีขับน้ําคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 15 วัน 10. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับและไตเนื่องจาก อาจเกิดการสะสม ของการบูรและเกิดพิษได้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ

3 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 2. ยาจันทลีลา 1. ชื่อยา ยาจันทลีลา ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 99 กรัม 1 กระดอม ผล* 12 กรัม 2 โกฐเขมา เหง้า 12 กรัม 3 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 12 กรัม 4 โกฐสอ ราก 12 กรัม 5 จันทน์ขาว แก่น 12 กรัม 6 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น ( จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 12 กรัม 7 บอระเพ็ด เถา 12 กรัม 8 ปลาไหลเผือก ราก 12 กรัม 9 พิมเสน - 3 กรัม * ผลกระดอมไม่ใช้ผลสุก เนื่องจากผลสุกจะมีพิษ 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด (ยกเว้นพิมเสน) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่ วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งพิมเสน ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองที่กันความชื้นได้ ซองละ 500 มิลลิกรัม หรือ 1 กรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการ ไข้ตัวร้อน ไข้เปลี่ยนฤดู

4 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ขนาดบรรจุซองละ 1 กรัม ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 1 - 2 ซอง ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ 7.2 ขนาดบรรจุซองละ 500 มิลลิกรัม เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 1 - 2 ซอง ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก 10. ข้อควรระวัง หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึ กษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม แนะนําให้ใช้ยาจันทลีลาได้ในหญิงที่มีไข้ทับระดู หรือไข้ระหว่างมีประจําเดือน (สําหรับขายในสถานที่ที่มีใบอนุญาต) 3 . ยาจันทลีลา 1. ชื่อยา ยาจันทลีลา ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 99 กรัม 1 กระดอม ผล* 12 กรัม 2 โกฐเขมา เหง้า 12 กรัม 3 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 12 กรัม 4 โกฐสอ ราก 12 กรัม 5 จันทน์ขาว แก่น 12 กรัม 6 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น ( จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 12 กรัม 7 บอระเพ็ด เถา 12 กรัม 8 ปลาไหลเผือก ราก 12 กรัม 9 พิมเสน - 3 กรัม * ผลกระดอมไม่ใช้ผลสุก เนื่องจากผลสุกจะมีพิษ

5 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร (ยกเว้นพิมเสน) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งพิมเสน ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผง ยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน ไข้เปลี่ยนฤดู 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 2 - 4 แคปซูล ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ 7.2 เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 1 - 2 แคปซูล ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก 10. ข้อควรระวัง หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 1 2 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม แนะนําให้ใช้ยาจันทลีลาได้ในหญิงที่มีไข้ทับระดู หรือไข้ระหว่างมีประจําเดือน (สําหรับขายในสถานที่ที่มี ใบอนุญาต) 4. ยาประสะเปราะใหญ่ 1. ชื่อยา ยาประสะเปราะใหญ่ ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา

6 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 80 กรัม 1 เปราะหอม เหง้า 40 กรัม 2 กระวาน ผล 2 กรัม 3 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 2 กรัม 4 โกฐเขมา เหง้า 2 กรัม 5 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 2 กรัม 6 โกฐเชียง รากแขนง 2 กรัม 7 โกฐสอ ราก 2 กรัม 8 โกฐหัวบัว เหง้า 2 กรัม 9 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น ( จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 2 กรัม 10 จันทน์เทศ แก่น 2 กรัม 11 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 2 กรัม 12 เทียนขาว ผล 2 กรัม 13 เทียนข้าวเปลือก ผล 2 กรัม 14 เทียนดํา เมล็ด 2 กรัม 15 เทียนแดง เมล็ด 2 กรัม 16 เทียนตาตั๊กแตน ผล 2 กรัม 17 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 2 กรัม 18 บุนนาค ดอก 2 กรัม 19 พิกุล ดอก 2 กรัม 20 ลูกจันทน์ เมล็ด 2 กรัม 21 สารภี ดอก 2 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 2 พ.ศ. 2504 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้ นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน

7 6) บรรจุผงยาลงซองที่กันความชื้นได้ ซองละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ ถอนพิษตานซางสําหรับเด็ก ซึ่งมีอาการปวดท้อง ท้องอืดท้องเฟ้อ ถ่ายเหลวกะปริบกะปรอย เบื่ออาหาร 7. ขนาดและวิธีใช้ เด็ก อายุ 1 - 5 ขวบ กินครั้งละ 1 - 2 ซอง ละลายน้ํากระสายยา 3 เวลา ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น กระสายยาที่ใช้ น้ําดอกไม้เทศ ( rose water ) หรือน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในเด็กที่มีไข้สูง ที่มีไข้ 38.0 องศาเซลเซียส ขึ้นไป 9. คําเตือน ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับตัว ของเกล็ดเลือด ( antiplatelet ) 10.2 ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละ อองเกสรดอกไม้ 10.3 หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 5 . ยาประสะเปราะใหญ่ 1. ชื่อยา ยาประสะเปราะใหญ่ ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 80 กรัม 1 เปราะหอม เหง้า 40 กรัม 2 กระวาน ผล 2 กรัม 3 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 2 กรัม 4 โกฐเขมา เหง้า 2 กรัม 5 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 2 กรัม 6 โกฐเชียง รากแขนง 2 กรัม

8 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 80 กรัม 7 โกฐสอ ราก 2 กรัม 8 โกฐหัวบัว เหง้า 2 กรัม 9 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น ( จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 2 กรัม 10 จันทน์เทศ แก่น 2 กรัม 11 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 2 กรัม 12 เทียนขาว ผล 2 กรัม 13 เทียนข้าวเปลือก ผล 2 กรัม 14 เทียนดํา เมล็ด 2 กรัม 15 เทียนแดง เมล็ด 2 กรัม 16 เทียนตาตั๊กแตน ผล 2 กรัม 17 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 2 กรัม 18 บุนนาค ดอก 2 กรัม 19 พิกุล ดอก 2 กรัม 20 ลูกจันทน์ เมล็ด 2 กรัม 21 สารภี ดอก 2 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 2 พ.ศ. 2504 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ ถอนพิษตานซางสําหรับเด็ก ซึ่งมีอาการ ปวดท้อง ท้องอืดท้องเฟ้อ ถ่ายเหลว กะปริดกะปรอย เบื่ออาหาร 7. ขนาดและวิธีใช้ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 2 แคปซูล 3 เวลา ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในเด็กที่มีไข้สูง ที่มีไข้ 38.0 องศาเซลเซียส ขึ้นไป 9. คําเตือน

9 ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับตัว ของเกล็ดเลือด ( antiplatelet ) 10.2 ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละ อองเกสรดอกไม้ 10.3 หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 6. ยาหอมอินทจักร์ 1. ชื่อยา ยาหอมอินทจักร์ ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 98 กรัม 1 กระดอม ผล* 2 กรัม 2 กระดังงา ดอก 2 กรัม 3 กระลําพัก แก่นที่มีราลง 2 กรัม 4 กระวาน ผล 2 กรัม 5 กฤษณา แก่นที่มีราลง 2 กรัม 6 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 2 กรัม 7 กํายาน ยางจากต้น 2 กรัม 8 โกฐกระดูก ราก 2 กรัม 9 โกฐกักกรา ปุ่มหูด 2 กรัม 10 โกฐก้านพร้าว รากและเหง้า 2 กรัม 11 โกฐเขมา เหง้า 2 กรัม 12 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 2 กรัม 13 โกฐเชียง รากแขนง 2 กรัม 14 โกฐน้ําเต้า รากและเหง้า 2 กรัม 15 โกฐพุงปลา ปุ่มหูด 2 กรัม 16 โกฐสอ ราก 2 กรัม

10 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 98 กรัม 17 ขอนดอก แก่นที่มีราลง 2 กรัม 18 ขิง เหง้า 2 กรัม 19 คําไทย ดอก 2 กรัม 20 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น ( จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 2 กรัม 21 จันทน์เทศ แก่น 2 กรัม 22 จําปา ดอก 2 กรัม 23 เจตมูลเพลิงแดง ราก 2 กรัม 24 ช้าพลู ราก 2 กรัม 25 ชะลูด เปลือกเถา 2 กรัม 26 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 2 กรัม 27 ดีปลี ช่อผล 2 กรัม 28 เทียนขาว ผล 2 กรัม 29 เทียนข้าวเปลือก ผล 2 กรัม 30 เทียนดํา เมล็ด 2 กรัม 31 เทียนแดง เมล็ด 2 กรัม 32 เทียนเยาวพาณี ผล 2 กรัม 33 บอระเพ็ด เถา 2 กรัม 34 บุนนาค ดอก 2 กรัม 35 ฝางเสน แก่น 2 กรัม 36 พิกุล ดอก 2 กรัม 37 พิมเสน - 2 กรัม 38 มวกขาว เถา 2 กรัม 39 มวกแดง เถา 2 กรัม 40 มะลิ ดอก 2 กรัม 41 ย่านาง ราก 2 กรัม 42 ลําพันแดง เหง้า 2 กรัม 43 ลูกจันทน์ เมล็ด 2 กรัม 44 ลูกผักชีลา ผล 2 กรัม 45 ดีวัว ถุงน้ําดีของวัว 2 กรัม 46 สมุลแว้ง เปลือกต้น 2 กรัม 47 สะค้าน เถา 2 กรัม 48 สารภี ดอก 2 กรัม 49 อบเชย เปลือกต้น 2 กรัม * ผลกระดอมไม่ใช้ผลสุก เนื่องจากผลสุกจะมีพิษ

11 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด (ยกเว้น กํายานและพิมเสน) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งกํายานและพิมเสน ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกันจากนั้น บดใ ห้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองที่กันความชื้นได้ ซองละ 1 กรัม 6. สรรพคุณ แก้ลมบาดทะจิต แก้คลื่นเหียนอาเจียน แก้ลมจุกเสียด 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 1 - 2 ซอง ละลายน้ํากระสายยา ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง กระสายยาที่ใช้ - แก้ลมบาดทะจิต ใช้น้ําดอกมะลิ - แก้คลื่นเหียนอาเจียน ใช้น้ําลูกผักชีลา เทียนดําต้ม ถ้าไม่มีใช้น้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) - แก้ลมจุกเสียด ใช้น้ําขิงต้ม 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับตัว ของเกล็ดเลือด ( antiplatelet ) 10.2 ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง

12 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 7. ยาไฟประลัยกัลป์ 1. ชื่อยา ยาไฟประลัยกัลป์ ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 71 กรัม 1 การบูร - 6 กรัม 2 เจตมูลเพลิงแดง ราก 6 กรัม 3 มะกรูด ผิว* 6 กรัม 4 สารส้มสะตุ - 6 กรัม** 5 แสมทะเล แก่น 6 กรัม 6 กะทือ เหง้า 5 กรัม 7 ขมิ้นอ้อย เหง้า 5 กรัม 8 ข่า เหง้า 5 กรัม 9 ไพล เหง้า 5 กรัม 10 มะรุม เปลือกต้น 5 กรัม 11 กระเทียม หัว 4 กรัม 12 ขิง เหง้า 4 กรัม 13 ดีปลี ช่อผล 4 กรัม 14 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 4 กรัม * ผิวมะกรูดอาจมีส่วนของเปลือกผลชั้นกลาง ( Mesocarp ) ที่ไม่สามารถแยกออกได้ ติดมาบ้าง ** น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตําราอายุรเวทศึกษา (ขุนนิทเทสสุขกิจ) เล่ม 2 (ใกล้เคียงกับตํารับในตําราอายุรเวทศึกษา) 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุสารส้ม: นําสารส้มมาบดให้ละเอียด ใส่ในหม้อดินหรือกระทะเหล็ก ตั้งไฟจนสารส้มฟูและมีสี ขาว แล้วจึงยกลงจากไฟ ทิ้งให้แห้ง จึงนําไปใช้ปรุงยา 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร (ยกเว้น สารส้มสะตุและการบูร) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร (ยกเว้น สา รส้มสะตุและการบูร) ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมงหรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งสารส้มสะตุและการบูร ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด

13 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองที่กันความชื้นได้ ซองละ 1 กรัม 6. สรรพคุณ ขับน้ําคาวปลาในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 1 ซอง ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และ เย็น ให้กินจนกว่าน้ําคาวป ลาจะหมด แต่ไม่ควรเกิน 15 วัน 8. ข้อห้ามใช้ 8.1 ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงผ่าคลอด และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปกติหลังคลอด 8.2 ห้ามใช้ในหญิงที่ผ่าคลอด เนื่องจากทําให้แผลหายช้า 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับและไต เนื่องจากอาจเกิด การสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 8 . ยาไฟประลัยกัลป์ 1. ชื่อยา ยาไฟประลัยกัลป์ ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 71 กรัม 1 การบูร - 6 กรัม 2 เจตมูลเพลิงแดง ราก 6 กรัม 3 มะกรูด ผิว* 6 กรัม 4 สารส้มสะตุ - 6 กรัม** 5 แสมทะเล แก่น 6 กรัม 6 กะทือ เหง้า 5 กรัม

14 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 71 กรัม 7 ขมิ้นอ้อย เหง้า 5 กรัม 8 ข่า เหง้า 5 กรัม 9 ไพล เหง้า 5 กรัม 10 มะรุม เปลือกต้น 5 กรัม 11 กระเทียม หัว 4 กรัม 12 ขิง เหง้า 4 กรัม 13 ดีปลี ช่อผล 4 กรัม 14 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 4 กรัม * ผิวมะกรูดอาจมีส่วนของเปลือกผลชั้นกลาง ( Mesocarp ) ที่ไม่สามารถแยกออกได้ ติดมาบ้าง ** น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตําราอายุรเวทศึกษา (ขุนนิทเทสสุขกิจ) เล่ม 2 (ใกล้เคียงกับตํารับในตําราอายุรเวทศึกษา) 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุสารส้ม: นําสารส้มมาบดให้ละเอียด ใส่ในหม้อดินหรือกระทะเหล็ก ตั้งไฟจนสารส้มฟูและมีสี ขาว แล้วจึงยกลงจากไฟทิ้งให้แห้ง จึงนําไปใช้ปรุงยา 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร (ยกเว้น สารส้มสะตุและการบูร) มาทําความสะอาดตามควำมเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งสารส้มสะตุและการบูร ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ ขับน้ําคาวปลาในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ให้กินจนกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ไม่ควรเกิน 15 วัน 8. ข้อห้ามใช้ 8.1 ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงผ่าคลอด และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปกติหลังคลอด 8.2 ห้ามใช้ในหญิงที่ผ่าคลอด เนื่องจากทําให้แผลหายช้า 9. คําเตือน ไม่มี

15 10. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับและไต เนื่องจากอาจเกิด การสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 9. ยาเหลืองปิดสมุทร 1. ชื่อยา ยาเหลืองปิดสมุทร ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 90 กรัม 1 ขมิ้นชัน เหง้า 30 กรัม 2 กระเทียม หัว 5 กรัม 3 กล้วยตีบ ราก 5 กรัม 4 ขมิ้นอ้อย เหง้า 5 กรัม 5 ครั่ง สารคัดหลั่งจากครั่งตัวผู้ 5 กรัม 6 ชันย้อย ยางไม้ 5 กรัม 7 ดีปลี ช่อผล 5 กรัม 8 ทับทิม ใบ 5 กรัม 9 เทียนกิ่ง ใบ 5 กรัม 10 เพกา เปลือกต้น 5 กรัม 11 สีเสียดเทศ สิ่งสกัดด้วยน้ํา 5 กรัม 1 2 สีเสียดไทย สิ่งสกัดด้วยน้ํา 5 กรัม 13 แห้วหมู เหง้า 5 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี

16 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด (ยกเว้นสีเสียดเทศ สีเสียดไทย และครั่ง) มาทําความสะอาดตามควำม เหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมงหรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งสีเสียดเทศ สีเสียดไทย และครั่ง ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามา รวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองที่กันความชื้นได้ ซองละ 100 มิลลิกรัม หรือ 200 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ - บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ - บรรเทาอาการท้องเสียที่อุจจาระไม่เป็นมูกหรือมีเลือดปน - ท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้ 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ผู้ใหญ่ 1) ขนาดบรรจุซองละ 200 มิลลิกรัม กินครั้งละ 5 ซอง ละลายน้ํากระสายยา ทุก 3 - 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ 7.2 เด็ก 1) ขนาดบรรจุซองละ 100 มิลลิกรัม อายุ 3 - 5 เดือน กินครั้งละ 2 ซอง อายุ 6 - 12 เดือน กินครั้งละ 3 - 4 ซอง อายุ 1 - 5 ปี กินครั้งละ 5 - 7 ซอง 2) ขนาดบรรจุซองละ 200 มิลลิกรัม อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 4 - 5 ซอง ละลายน้ํากระสายยา กินทุก 3 - 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ กระสายยาที่ใช้ ใช้น้ําเปลือกผลทับทิมหรือเปลือกแคต้ม หรือกับน้ําปูนใสเป็นน้ํากระสายยา สําหรับเด็ กเล็ กให้บดผสมกั บน้ํากระสายยา ใช้ กิ นหรือกวาดก็ ได้ ถ้ำหาน้ํากระสายยาไม่ได้ ให้ใช้น้ําต้มสุกแทน (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ใช้ได้ไม่เกิน 1 วัน หากอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12. ขนาดบรรจุ

17 บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 10 . ยาเหลืองปิดสมุทร 1. ชื่อยา ยาเหลืองปิดสมุทร ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 90 กรัม 1 ขมิ้นชัน เหง้า 30 กรัม 2 กระเทียม หัว 5 กรัม 3 กล้วยตีบ ราก 5 กรัม 4 ขมิ้นอ้อย เหง้า 5 กรัม 5 ครั่ง สารคัดหลั่งจากครั่งตัวผู้ 5 กรัม 6 ชันย้อย ยางไม้ 5 กรัม 7 ดีปลี ช่อผล 5 กรัม 8 ทับทิม ใบ 5 กรัม 9 เทียนกิ่ง ใบ 5 กรัม 10 เพกา เปลือกต้น 5 กรัม 11 สีเสียดเทศ สิ่งสกัดด้วยน้ํา 5 กรัม 1 2 สีเสียดไทย สิ่งสกัดด้วยน้ํา 5 กรัม 13 แห้วหมู เหง้า 5 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร (ยกเว้นสีเสียดเทศ สีเสียดไทย และครั่ง) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งสีเสียดเทศ สีเสียดไทย และครั่ง ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามา รวมกัน จากนั้นบดให้ละ เอียด

18 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 400 มิลลิกรัม หรือ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ - บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ - บรรเทาอาการท้องเสียที่อุจจาระไม่เป็นมูกหรือมีเลือดปน - ท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้ 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ผู้ใหญ่ 1) ขนาดบรรจุแคปซูลละ 500 มิลลิกรัม กินครั้งละ 2 แคปซูล ทุก 3 - 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ 7.2 เด็ก อายุ 6 - 12 ขวบ 1) ขนาดบรรจุแคปซูลละ 400 มิลลิกรัม กินครั้งละ 2 แคปซูล ทุก 3 - 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ 2) ขนาดบรรจุแคปซูลละ 500 มิลลิกรัม กินครั้งละ 2 แคปซูล ทุก 3 - 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ใช้ได้ไม่เกิน 1 วัน หากอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 11. ยาปราบชมพูทวีป 1. ชื่อยา ยาปราบชมพูทวีป ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ

19 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 465 กรัม 1 กัญชาเทศ ใบ 120 กรัม 2 พริกไทยดํา ผลแก่ 120 กรัม 3 เหงือกปลาหมอ ทั้งต้น 120 กรัม 4 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 10 กรัม 5 หัสคุณเทศ ราก 10 กรัม* 6 ขิง เหง้า 8 กรัม 7 เจตมูลเพลิงแดง ราก 8 กรัม 8 บุกรอ หัว 8 กรัม 9 สมอเทศ เนื้อผล 8 กรัม 10 สมอไทย เนื้อผล 8 กรัม 11 เทียนแกลบ ผล 6 กรัม 12 เทียนแดง เมล็ด 6 กรัม 13 เทียนตาตั๊กแตน ผล 6 กรัม 14 โกฐเขมา เหง้า 4 กรัม 15 โกฐสอ ราก 4 กรัม 16 เทียนดํา เมล็ด 4 กรัม 17 พิลังกาสา ผลแก่ 4 กรัม 18 ลําพันหางหมู เหง้า 4 กรัม 19 การบูร - 2 กรัม 20 ดีปลี ช่อผล 2 กรัม 21 กระวาน ผล 1 กรัม 22 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 1 กรัม 23 ลูกจันทน์ เมล็ด 1 กรัม * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา เภสัชตํารับโรงพยาบาล โรงพยาบาลสูงเนิน การศึกษาวิจัยในโครงการศึกษาประสิทธิภาพยาไทยใน โรงพยาบาล พ.ศ. 2538 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การคั่วหัศคุณเทศ: เอารากหัศคุณเทศไปคั่ว จึงนําไปใช้ปรุงยาได้ หรือหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ คลุกเคล้าด้วย สุราให้ชุ่ม แล้วตั้งไฟคั่วให้แห้ง จึงนําไปใช้ปรุงยาได้ 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร (ยกเว้นการบูร) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง

20 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งกำรบูร ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 250 มิลลิกรัม หรือ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการหวัดในระยะแรก และอาการที่เกิดจากการแพ้อากาศ 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ขนาดบรรจุแคปซูลละ 250 มิลลิกรัม กินครั้งละ 3 แคปซูล วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น และก่อนนอน 7.2 ขนาดบรรจุแคปซูลละ 500 มิลลิกรัม กินครั้งละ 3 แคปซูล วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น และก่อนนอน 8. ข้อห้ามใช้ 8.1 ห้ามใช้เมื่อพบภาวะแทรกซ้อนจากการแพ้อากาศ เช่น ไซนัสอักเสบ การติดเชื้อแบคทีเรียที่มีอาการ เจ็บบริเวณไซนัส ไข้สูง น้ํามูก เสมหะเขียว 8.2 ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ เด็ก และหญิงตั้งครรภ์ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการบริโภคกับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคแผลเปื่อยเพปติก และโรคกรด ไหลย้อน เนื่องจากเป็นตํารับยารสร้อน 10.2 ควรระวังการใช้เกินขนาดในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไตหรือทางเดินปัสสาวะ เนื่องจากอาจ เกิดพิษจากการบูร 10.3 ควรระวั งการใช้ยานี้ร่วมกั บยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง 11. อาการไม่พึงประสงค์ แสบร้อนยอดอก 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 12. ยาประสะจันทน์แดง 1. ชื่อยา ยาประสะจันทน์แดง ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ

21 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 64 กรัม 1 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น (จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 32 กรัม 2 โกฐหัวบัว เหง้า 4 กรัม 3 จันทน์เทศ แก่น 4 กรัม 4 เปราะหอม เหง้า 4 กรัม 5 ฝางเสน แก่น 4 กรัม 6 มะนาว ราก 4 กรัม 7 มะปรางหวาน ราก 4 กรัม 8 เหมือดคน ราก 4 กรัม 9 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 1 กรัม 10 บุนนาค ดอก 1 กรัม 11 มะลิ ดอก 1 กรัม 12 สารภี ดอก 1 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองที่กันความชื้นได้ ซองละ 500 มิลลิกรัม หรือ 1 กรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน (ไข้พิษ) แก้ร้อนในกระหายน้ํา 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ขนาดบรรจุซองละ 1 กรัม ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 1 ซอง ละลายน้ํากระสายยา ทุก 3 - 4 ชั่วโมง 7.2 ขนาดบรรจุซองละ 500 มิลลิกรัม เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 1 ซอง ละลายน้ํากระสายยา ทุก 3 - 4 ชั่วโมง กระสายยาที่ใช้ ใช้น้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) หรือน้ําดอกมะลิ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี

22 9. คําเตือน ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ 10.2 กรณีบรรเทาอาการไข้ ร้อนในกระหายน้ํา หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 1 1. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 1 3 . ยาประสะจันทน์แดง 1. ชื่อยา ยาประสะจันทน์แดง ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 64 กรัม 1 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น (จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 32 กรัม 2 โกฐหัวบัว เหง้า 4 กรัม 3 จันทน์เทศ แก่น 4 กรัม 4 เปราะหอม เหง้า 4 กรัม 5 ฝางเสน แก่น 4 กรัม 6 มะนาว ราก 4 กรัม 7 มะปรางหวาน ราก 4 กรัม 8 เหมือดคน ราก 4 กรัม 9 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 1 กรัม 10 บุนนาค ดอก 1 กรัม 11 มะลิ ดอก 1 กรัม 12 สารภี ดอก 1 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา

23 ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน (ไข้พิษ) แก้ร้อนในกระหายน้ํา 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 2 แคปซูล ทุก 3 - 4 ชั่วโมง 7. 2 เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 1 แคปซูล ทุก 3 - 4 ชั่วโมง 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ 10.2 กรณีบรรเทาอาการไข้ ร้อนในกระหายน้ํา หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 14. ยาประสะมะแว้ง 1. ชื่อยา ยาประสะมะแว้ง ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ

24 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 96 กรัม 1 มะแว้งเครือ ผล 24 กรัม 2 มะแว้งต้น ผล 24 กรัม 3 กะเพรา ใบ 12 กรัม 4 ตานหม่อน ใบ 12 กรัม 5 สวาด ใบ 12 กรัม 6 ขมิ้นอ้อย เหง้า 9 กรัม 7 สารส้มสะตุ - 3 กรัม* * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตําราประมวลหลักเภสัช โรงเรียนแพทย์แผนโบราณ วัดเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรวิหาร 2528 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุสารส้ม: นําสารส้มมาบดให้ละเอียด ใส่ในหม้อดินหรือกระทะเหล็ก ตั้งไฟจนสารส้มฟูและมีสี ขาว แล้วจึงยกลงจากไฟ ทิ้งให้แห้ง จึงนําไปใช้ปรุงยา 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด (ยกเว้นสารส้มสะตุ) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งสารส้มสะตุ ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองที่กันความชื้นได้ ซองละ 200 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการไอ มีเสมหะ ทําให้ชุ่มคอ ช่วยขับเสมหะ 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 5 - 7 ซอง วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เมื่อมีอาการ 7.2 เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 1 - 2 ซอง วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เมื่อมี อาการ ละลายน้ํามะนาวแทรกเกลือเล็กน้อย กินเมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 15 วัน หากอาการไม่ดีขึ้นควรปรึกษาแพทย์

25 10.2 ไม่ควรใช้น้ํามะนาวแทรกเกลือ กับผู้ป่วยที่ต้องจํากัดการใช้เกลือ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 15. ยาปลูกไฟธา ตุ 1. ชื่อยา ยาปลูกไฟธาตุ ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 100 กรัม 1 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 50 กรัม 2 ขิงแห้ง เหง้า 5 กรัม 3 ช้าพลู ราก 5 กรัม 4 ดีปลี ช่อผล 5 กรัม 5 ผักแพวแดง ทั้งต้น 5 กรัม 6 พิลังกาสา ผลแก่ 5 กรัม 7 มะกรูด ผิว* 5 กรัม 8 ลูกผักชีล้อม ผล 5 กรัม 9 ว่านน้ํา เหง้า 5 กรัม 10 สะค้าน เถา 5 กรัม 11 แห้วหมู เหง้า 5 กรัม * ผิวมะกรูดอาจมีส่วนของเปลือกผลชั้นกลาง ( Mesocarp ) ที่ไม่สามารถแยกออกได้ ติดมาบ้าง 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 126 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม

26 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ ปลูกไฟธาตุให้โลหิตงาม ถ้าไม่มีประจําเดือนให้มีประจําเดือนมา ถ้าแม่ลูกอ่อนกินมีน้ํานมมาก 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 1 - 3 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงตั้งครรภ์ หญิงที่ผ่าคลอด และ หญิงที่มีเลือดออกมากผิดปกติหลังคลอด 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการ จับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets ) 10.2 ควรระวังการใช้ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophyll ine และ rifampicin เนื่องจาก ตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง 11. อาการไม่พึงประสงค์ แสบร้อนยอดอก 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม 1 4 .1 หากต้องการให้ยาออกฤทธิ์เร็ว ให้กินยาผง ละลายน้ําผึ้ง หรือน้ําส้มซ่า หรือน้ําร้อน หรือสุรา 1 4 .2 ปลูกไฟธาตุให้โลหิตงาม ถ้าไม่มีประจําเดือนให้มีประจําเดือนมา ถ้าแม่ลูกอ่อนกินมีน้ํานมมาก เป็นสรรพคุณดั้งเดิมของตํารับยาปลูกไฟธาตุจากคัมภีร์มหาโชตรัต 16. ยาหอมเทพจิตร 1. ชื่อยา ยาหอมเทพจิตร ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 366 กรัม 1 มะลิ ดอก 183 กรัม 2 ส้มซ่า ผิว* 28 กรัม

27 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 366 กรัม 3 โกฐกระดูก ราก 4 กรัม 4 โกฐเขมา เหง้า 4 กรัม 5 โกฐก้านพร้าว รากและเหง้า 4 กรัม 6 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 4 กรัม 7 โกฐชฎามังสี รากและเหง้า 4 กรัม 8 โกฐเชียง รากแขนง 4 กรัม 9 โกฐพุงปลา ปุ่มหูด 4 กรัม 10 โกฐสอ ราก 4 กรัม 11 โกฐหัวบัว เหง้า 4 กรัม 12 เทียนเกล็ดหอย เมล็ด 4 กรัม 13 เทียนขาว ผล 4 กรัม 14 เทียนข้าวเปลือก ผล 4 กรัม 15 เทียนดํา เมล็ด 4 กรัม 16 เทียนแดง เมล็ด 4 กรัม 17 เทียนตากบ ผล 4 กรัม 18 เทียนตาตั๊กแตน ผล 4 กรัม 19 เทียนเยาวพาณี ผล 4 กรัม 20 เทียนสัตตบุษย์ ผล 4 กรัม 21 บัวขม ดอก 4 กรัม 22 บัวเผื่อน ดอก 4 กรัม 23 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 4 กรัม 24 บุนนาค ดอก 4 กรัม 25 พิกุล ดอก 4 กรัม 26 พิมเสน - 4 กรัม 27 มะกรูด ผิว* 4 กรัม 28 มะงั่ว ผิว* 4 กรัม 29 มะนาว ผิว* 4 กรัม 30 ส้มเขียวหวาน ผิว* 4 กรัม 31 ส้มจีน ผิว* 4 กรัม 32 ส้มตรังกานู ผิว* 4 กรัม 33 ส้มโอ ผิว* 4 กรัม 34 สารภี ดอก 4 กรัม 35 กระลําพัก แก่นที่มีราลง 2 กรัม 36 กระวาน ผล 2 กรัม

28 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 366 กรัม 37 กฤษณา แก่นที่มีราลง 2 กรัม 38 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 2 กรัม 39 ขอนดอก แก่นที่มีราลง 2 กรัม 40 จันทน์ขาว แก่น 2 กรัม 41 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น (จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 2 กรัม 42 ชะลูด เปลือกเถา 2 กรัม 43 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 2 กรัม 44 เปราะหอม เหง้า 2 กรัม 45 แฝกหอม ราก 2 กรัม 46 ลูกจันทน์ เมล็ด 2 กรัม 47 อบเชย เปลือกต้น 2 กรัม 48 การบูร - 1 กรัม * อาจมีส่วนของเปลือกผลชั้นกลาง ( Mesocarp) ที่ไม่สามารถแยกออกได้ติดมาบ้าง 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด (ยกเว้นพิมเสน และการบูร) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งพิมเสนและการบูร ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้น บดให้ละเอียด 4 ) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองที่กันความชื้นได้ ซองละ 200 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ แก้ลมกองละเอียด ที่ทําให้มีอาการวิงเวียน สวิงสวาย ใจสั่น หน้ามืด ตาลาย 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 5 - 7 ซอง ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) เมื่อมีอาการทุก 3 - 4 ชั่วโมงไม่เกินวันละ 3 ครั้ง เช้า กลางวัน และเย็น 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี

29 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) ยาต้านการจับตัวของ เกล็ดเลือด ( antiplatel et ) 10.2 ควรระวังการใช้ยาต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับและไต เนื่องจาก อาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 10.3 ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 17. ยาเขียวหอม 1. ชื่อยา ยาเขียวหอม ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 90 กรัม 1 จันทน์ขาว แก่น 5 กรัม 2 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น (จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 5 กรัม 3 เนระพูสี เหง้า 5 กรัม 4 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 5 กรัม 5 บุนนาค ดอก 5 กรัม 6 เปราะหอม เหง้า 5 กรัม 7 ผักกระโฉม ใบ 5 กรัม 8 แฝกหอม ราก 5 กรัม 9 พิกุล ดอก 5 กรัม 10 พิมเสนต้น ใบ 5 กรัม 11 พิษนาศน์ ราก 5 กรัม 12 มหาสดํา เหง้า 5 กรัม

30 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 90 กรัม 13 ว่านกีบแรด เหง้าและโคนก้านใบ 5 กรัม 14 ว่านร่อนทอง เหง้า 5 กรัม 15 สันพร้าหอม ใบ 5 กรัม 16 สารภี ดอก 5 กรัม 17 หมากผู้ ใบ 5 กรัม 18 หมากเมีย ใบ 5 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตํารับยาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. 1 12 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองที่กันความชื้นได้ ซองละ 500 มิ ลลิกรัม หรือ 1 กรัม 6. สรรพคุณ แก้ตัวร้อน ร้อนใน กระหายน้ํา แก้ไข้หัด แก้ไข้อีสุกอีใส 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ขนาดบรรจุซองละ 1 กรัม ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 1 ซอง ละลายน้ํากระสายยา ทุก 4 - 6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ 7.2 ขนาดบรรจุซองละ 500 มิลลิกรัม เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 1 ซอง ละลายน้ํากระสายยา ทุก 4 - 6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ กระสายยาที่ใช้ - แก้ตัวร้อน ร้อนในกระหายน้ํา ใช้น้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) หรือน้ําดอกมะลิ - แก้ไข้หัด ไข้อีสุกอีใส ละลายน้ํารากผักชีต้ม ทั้งกิน และ/หรือ ชโลม (กรณีไข้สูง)* * การชโลมใช้ยาผงละลายน้ํา 1 ต่อ 3 แล้วชโลม (ประพรม) ทั่วตามตัวบริเวณที่ตุ่มใสยังไม่แตก 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้

31 10.2 หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ทางการแพทย์แผนไทย แนะนําให้ผู้ป่วยหัด อีสุกอีใส ห้ามกินอาหารทะเล ไข่ และน้ําเย็น เนื่องจากผิด สําแดง 18. ยาประสะกะเพรา 1. ชื่อยา ยาประสะกะเพรา ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 90กรัม 1 กะเพราแดง ใบ 4 5 กรัม 2 มะกรูด ผิว ** 20 กรัม 3 ชะเอมเทศ รากและเหง้า 8 กรัม 4 มหาหิงคุ์ ยางจากราก 8 กรัม*** 5 กระเทียม หัว 2 กรัม 6 ขิงแห้ง เหง้า 2 กรัม 7 ดีปลี ช่อผล 2 กรัม 8 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 2 กรัม 9 เกลือสินเธาว์* - 1 กรัม * เกลือสินเธาว์ที่ใช้เป็นเกลือภูเขาหรือเอือด เช่น เกลือสินเธาว์จากอําเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน, อําเภอนาแห้ว จังหวัดเลย และอําเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ** ผิวมะกรูดอาจมีส่วนของเปลือกผลชั้นกลาง ( Mesocarp ) ที่ไม่สามารถแยกออกได้ ติดมาบ้าง *** น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตําราอายุรเวทศึกษา (ขุนนิทเทสสุขกิจ) เล่ม 2 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุมหาหิงคุ์: เอามหาหิงคุ์ใส่ในภาชนะ ละลายด้วยน้ําต้มใบกะเพราแดง แล้วกรองให้สะอาด จึง นําไปใช้ปรุงยาได้

32 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด (ยกเว้นเกลือสินเธาว์ และมหำหิงคุ์) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งเกลือสินเธาว์ และมหาหิงคุ์ ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 1 00 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองที่กันความชื้นได้ ซองละ 100 มิลลิกรัม หรือ 200 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 เด็ก 1) ขนาดบรรจุซองละ 100 มิลลิกรัม อายุ 1 - 3 เดือน กินครั้งละ 1 - 2 ซอง อายุ 4 - 6 เดือน กินครั้งละ 2 - 3 ซอง 2) ขนาดบรรจุซองละ 200 มิลลิกรัม อายุ 7 - 12 เดือน กินครั้งละ 2 - 3 ซอง ละลายน้ํากระสายยา กินวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น เมื่อมีอาการ กระสายยาที่ใช้ - แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ใช้น้ําต้มสุกหรือน้ําใบกะเพราต้ม (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) - แก้จุกเสียด ใช้ไพลเผาไฟให้พอสุก ฝนกับน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ และหญิงตั้งครรภ์ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม

33 สูตรตํารับยาประสะกะเพราตามประกาศยาสามัญประจําบ้าน พ.ศ. 2537 มีตัวยา “น้ําประสานทอง สะตุ” เป็นส่วนประกอบ แต่ได้ตัดออกจากสูตรตํารับตามประกาศยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2542 แล้ว 1 9 . ยาประสะกะเพรา 1. ชื่อยา ยาประสะกะเพรา ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 90 กรัม 1 กะเพราแดง ใบ 4 5 กรัม 2 มะกรูด ผิว ** 20 กรัม 3 ชะเอมเทศ รากและเหง้า 8 กรัม 4 มหาหิงคุ์ ยางจากราก 8 กรัม*** 5 กระเทียม หัว 2 กรัม 6 ขิงแห้ง เหง้า 2 กรัม 7 ดีปลี ช่อผล 2 กรัม 8 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 2 กรัม 9 เกลือสินเธาว์* - 1 กรัม * เกลือสินเธาว์ที่ใช้เป็นเกลือภูเขาหรือเอือด เช่น เกลือสินเธาว์จากอําเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน , อําเภอนาแห้ว จังหวัดเลย และอําเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ** ผิวมะกรูดอาจมีส่วนของเปลือกผลชั้นกลาง ( Mesocarp ) ที่ไม่สามารถแยกออกได้ ติดมาบ้าง *** น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตําราอายุรเวทศึกษา (ขุนนิทเทสสุขกิจ) เล่ม 2 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุมหาหิงคุ์: เอามหาหิงคุ์ใส่ในภาชนะ ละลายด้วยน้ําต้มใบกะเพราแดง แล้วกรองให้สะอาด จึง นําไปใช้ปรุงยาได้ 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร (ยกเว้น เกลือสินเธาว์และมหาหิงคุ์) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบ แห้งแล้ว รวมทั้งเกลือสินเธาว์และมหาหิงคุ์ ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม

34 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด 7. ขนาดและวิธีใช้ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น เมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ และหญิงตั้งครรภ์ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม สูตรตํารับยาประสะกะเพราตามประกาศยาสามัญประจําบ้าน พ.ศ. 2 537 มีตัวยา “น้ําประสานทอง สะตุ” เป็นส่วนประกอบ แต่ได้ตัดออกจากสูตรตํารับตามประกาศยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2 542 แล้ว 20. ยาหอมแก้ลมวิงเวียน 1. ชื่อยา ยาหอมแก้ลมวิงเวียน ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 225 กรัม 1 ชะเอมเทศ ราก และเหง้า 32 กรัม 2 จันทน์เทศ แก่น 24 กรัม 3 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 12 กรัม 4 โกฐเชียง รากแขนง 12 กรัม 5 โกฐหัวบัว เหง้า 12 กรัม 6 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 12 กรัม 7 แฝกหอม ราก 12 กรัม 8 สมุลแว้ง เปลือกต้น 10 กรัม 9 กระลําพัก แก่นที่มีราลง 8 กรัม 10 กฤษณา แก่นที่มีราลง 8 กรัม

35 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 225 กรัม 11 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 8 กรัม 12 โกฐพุงปลา ปุ่มหูด 8 กรัม 13 ชะลูด เปลือกเถา 8 กรัม 14 อบเชยญวน เปลือกต้น 8 กรัม 15 อบเชยเทศ เปลือกต้น 8 กรัม 16 ขอนดอก แก่นที่มี ราลง 6 กรัม 17 บุนนาค ดอก 6 กรัม 18 พิกุล ดอก 6 กรัม 19 พิมเสน - 6 กรัม 20 สารภี ดอก 6 กรัม 21 มวกแดง เถา 5 กรัม 22 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น ( จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 4 กรัม 23 น้ําประสานทอง สะตุ - 4 กรัม* * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา เภสัชตํารับโรงพยาบาลวังน้ําเย็น จังหวัดสระแก้ว 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุน้ําประสานทอง: นําน้ําประสานทองมาบดให้ละเอียด แล้วโรยลงในกระทะตั้ งไฟจนน้ําประสาน ทองฟูเป็นแผ่นขาว ลักษณะคล้ายแผ่นข้าวเกรียบ จึงยกลงจากไฟ ทิ้งให้แห้ง 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด (ยกเว้นน้ําประสานทองและพิมเสน) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งน้ําประสานทองและพิมเสน ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามา รวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองที่กันความชื้นได้ ซองละ 200 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ แก้ลมวิงเวียน อ่ อนเพลีย นอนไม่หลับ 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 3 - 5 ซอง ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) เมื่อมีอาการทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกิน วันละ 3 ครั้ง

36 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และ ยาต้านการจับตัว ของเกล็ดเลือด ( antiplatelet ) 10.2 ควรระวังการใช้ร่วมกับผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้เกสรดอกไม้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 21. ยาแก้อยู่ไฟไม่ได้ 1. ชื่อยา ยาแก้อยู่ไฟไม่ได้ ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 70 กรัม 1 กระเทียม หัว 10 กรัม 2 เกลือ - 10 กรัม* 3 พริกไทย ผลแก่ 10 กรัม 4 ไพล เหง้า 10 กรัม 5 เมล็ดพรรณผักกาด เมล็ด 10 กรัม 6 ว่านน้ํา เหง้า 10 กรัม 7 หอมแดง หัว 10 กรัม * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตํารายาเกร็ด ที่ประกาศเป็นตํารับยาแผนไทยแห่งชาติ 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา

37 การเตรียมเกลือ : นําเกลือมาบดให้ละเอียด แล้วเทใส่หม้อดิน ปิดฝาไว้ เมื่อเกลือสุกและแห้งดีแล้ว ยกลงจากเตา ตั้งทิ้งไว้ให้เย็น 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด (ยกเว้น เกลือ) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งเกลือ ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงขวด 6. สรรพคุณ ขับน้ําคาวปลา ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 1 ช้อนชา ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงผ่าคลอด และ หญิงที่มีเลือดออกมากผิดปกติหลังคลอด 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12. ขนาดบรรจุ บรรจุ ในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 22. ยานนทเสน 1. ชื่อยา ยานนทเสน ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 105 กรัม 1 ฝาง แก่น 52.5 กรัม 2 จันทน์ขาว แก่น 7.5 กรัม 3 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น ( จันทน์แดง) หรือ 7.5 กรัม

38 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 105 กรัม แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 4 จันทนา แก่น 7.5 กรัม 5 ชะเอมเทศ ราก และเหง้า 7.5 กรัม 6 กฤษณา แก่นที่มีราลง 3.75 กรัม 7 คําไทย ดอก 3.75 กรัม 8 ชะลูด เปลือกเถา 3.75 กรัม 9 แฝกหอม ราก 3.75 กรัม 10 มะกรูด ราก 3.75 กรัม 11 มะตูม ราก 3.75 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตํารายาเกร็ด ที่ประกาศเป็นตํารับยาแผนไทยแห่งชาติ 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองที่กันความชื้นได้ ซองละ 1 กรัม 6. สรรพคุณ บํารุงโลหิต 7. ขนาดและวิธีใช้ ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) กิน ครั้งละ 1 ซอง วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงหลังคลอดบุตร เนื่องจากยามีฤทธิ์เย็น 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12. ขนาดบรรจุ

39 บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 23. ยากําลังราชสีห์ สูตร 2 1. ชื่อยา ยากําลังราชสีห์ สูตร 2 ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 825 กรัม 1 คําไทย ดอก 300 กรัม 2 กฤษณา แก่นที่มีราลง 15 กรัม 3 กระลําพัก แก่นที่มีราลง 15 กรัม 4 กระดังงา ดอก 15 กรัม 5 กําลังวัวเถลิง แก่น 15 กรัม 6 โกฐก้านพร้าว รากและเหง้า 15 กรัม 7 โกฐเชียง รากแขนง 15 กรัม 8 โกฐหัวบัว เหง้า 15 กรัม 9 โกฐพุงปลา ปุ่มหูด 15 กรัม 10 โกฐสอเทศ ราก 15 กรัม 11 ขอนดอก แก่นที่มี ราลง 15 กรัม 12 ขิง เหง้า 15 กรัม 13 จําปา ดอก 15 กรัม 14 ดีปลี ช่อผล 15 กรัม 15 เถาวัลย์เปรียง เถา 15 กรัม 16 เทียนขาว ผล 15 กรัม 17 เทียนข้าวเปลือก ผล 15 กรัม 18 เทียนดํา เมล็ด 15 กรัม 19 เทียนแดง เมล็ด 15 กรัม 20 เทียนเยาวพาณี ผล 15 กรัม 21 บัวขม ดอก 15 กรัม 22 บัวขาว ดอก 15 กรัม 23 บัวแดง ดอก 15 กรัม

40 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 825 กรัม 24 บัวเผื่อน ดอก 15 กรัม 25 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 15 กรัม 26 บุนนาค ดอก 15 กรัม 27 ฝางเสน แก่น 15 กรัม 28 พริกไทย ผลแก่ 15 กรัม 29 มวกขาว เถา 15 กรัม 30 มวกแดง เถา 15 กรัม 31 ย่านาง ราก 15 กรัม 32 สมุลแว้ง เปลือกต้น 15 กรัม 33 บัวสัตตบงกช ดอก 15 กรัม 34 อบเชย เปลือกต้น 15 กรัม 35 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 7 . 5 กรัม 36 การบูร - 7 . 5 กรัม 37 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 7 . 5 กรัม 38 ลูกจันทน์ เมล็ด 7.5 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 126 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด (ยกเว้นการบูร) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งการบูร ชั่งน้ําหนักตามสูตรยาแล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองที่กันความชื้นได้ ซองละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพ คุณ บํารุงโลหิต บํารุงร่างกาย 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 3 - 4 ซอง วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น กระสายยาที่ใช้ - ถ้าจะใช้เพื่อบํารุงร่างกาย น้ําตาลกรวด ผสมพิมเสน เล็กน้อย

41 - ถ้าจะใช้บํารุงโลหิต ละลายน้ําผึ้งผสมพิมเสน เล็กน้อย 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ และหญิงตั้งครรภ์ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม สูตรตํารับนี้เดิมมีตัวยา “เลือดแรด” ซึ่งเป็นสัตว์วัตถุ แต่ได้ตัดออกจากสูตรตํารับ เนื่องจากแรดเป็นสัตว์ ป่าสงวนใกล้สูญพันธุ์ และเป็นสัตว์ที่อยู่ใน “อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธุ์สัตว์ป่า ใกล้ สูญพันธุ์ ( CITES) 24. ยาแก้ตานซาง 1. ชื่อยา ยาแก้ตานซาง ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 140 กรัม 1 กระเทียม หัว 10 กรัม 2 กะทือ เหง้า 10 กรัม 3 ขมิ้นอ้อย เหง้า 10 กรัม 4 ขอบชะนางขาว ใบ 10 กรัม 5 ขอบชะนางแดง ใบ 10 กรัม 6 ขิงแห้ง เหง้า 10 กรัม 7 ขี้กาแดง ใบ 10 กรัม 8 ชุมเห็ด ใบ 10 กรัม 9 ตานหม่อน ใบ 10 กรัม 10 น้ําเต้า ใบ 10 กรัม 11 พริกไทย ผลแก่ 10 กรัม 12 ไพล เหง้า 10 กรัม 13 ระงับ ใบ 10 กรัม

42 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 140 กรัม 14 หอมแดง หัว 10 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตําราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกา ล ที่ 5 เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 1 00 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองที่กันความชื้นได้ ซองละ 100 มิลลิกรัม หรือ 200 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ แก้อาการท้องเสีย ถ่ายเป็นมูกเลือด อันเนื่องจากซางฝ้าย และตานซาง 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 เด็ก 1) ขนาดบรรจุซองละ 100 มิลลิกรัม แรกเกิด - 6 เดือน กินครั้งละ 1 ซอง อายุ 1 - 3 ปี กินครั้งละ 3 ซอง 2) ขนาดบรรจุซองละ 200 มิลลิกรัม อายุ 6 เดือน - 1 ปี กินครั้งละ 1 ซอง อายุ 3 - 6 ปี กินครั้งละ 2 ซอง วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ห้ามใช้ในเด็กที่มีไข้ 10.2 หากใช้ยาเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12. ขนาดบรรจุ

43 บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 2 5 . ยาสตรีหลังคลอด 1. ชื่อยา ยาสตรีหลังคลอด ชนิดยาต้ม 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 130 กรัม 1 กําแพงเจ็ดชั้น ลําต้น 10 กรัม 2 แกแล แก่น 10 กรัม 3 โกฐเชียง รากแขนง 10 กรัม 4 ขนุน แก่น 10 กรัม 5 เจตมูลเพลิงแดง ราก 10 กรัม 6 ดีปลี ช่อผล 10 กรัม 7 ฝางเสน แก่น 10 กรัม 8 ว่านชักมดลูก เหง้า 10 กรัม 9 สะค้าน เถา 10 กรัม 10 คําฝอย ดอก 5 กรัม 11 ช้าพลู ราก 5 กรัม 12 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 5 กรัม 13 บุนนาค ดอก 5 กรัม 14 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 5 กรัม 15 พิกุล ดอก 5 กรัม 16 มะลิ ดอก 5 กรัม 17 สารภี ดอก 5 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา เภสัชตํารับโรงพยาบาลกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี

44 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลง 3) อบสมุนไพรทุกชนิดที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4) ชั่งน้ําหนักสมุนไพรทุกชนิดตามสูตรยา 5) นําตัวยาทั้งหมดมาผสมรวมกัน และบดหยาบให้ชิ้นส่วนสมุนไพรมีขนาดสม่ําเสมอกัน 6) บรรจุสมุนไพรทั้งหมดที่บดแล้วในถุงผ้าขาวบาง จากนั้นนําไปบรรจุลง ในบรรจุภัณฑ์ 6. สรรพคุณ ขับน้ําคาวปลา ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วในหญิงหลังคลอด 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 วิธีการเตรียมยาต้ม 1) นําถุงผ้าขาวบางที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2) เติมน้ําพอท่วม ( โดยใช้มือกดบนยาเบา ๆ ให้ตัวยาจมอยู่ใต้น้ํา และให้น้ําท่วมหลังมือ ) นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือด แล้วหรี่ไฟลง ต้มต่ออีก 10 - 15 นาที แล้วยกลงจากเตา 7.2 วิธีกิน รินเอาน้ําดื่มครั้งละ 250 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น กินติดต่อกัน 1 สัปดาห์ หรือจนกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ไม่ควรเกิน 15 วั น โดยควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ ยา 1 ห่อ ใช้ติดต่อกันได้ 5 - 7 วัน โดยเติมน้ํา แล้วนํามาต้มกินทุกวัน 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงผ่าคลอด และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปกติหลังคลอด 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับตัว ของเกล็ดเลือด ( antiplatelet ) 10.2 ควร ระวังการใช้ยากับผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในซองพลาสติก หรือ ภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา ไม่มี 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม 1 4 .1 แพทย์แผนไทยดั้งเดิมใช้เป็นยาแทนการอยู่ไฟของหญิงหลังคลอด

45 26. ยาบํารุงเลือด สูตร 2 1. ชื่อยา ยาบํารุงเลือด สูตร 2 ชนิดยาต้ม 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 270 กรัม 1 ขนุน แก่น 30 กรัม 2 คําไทย ดอก 30 กรัม 3 เทียนต้น ทั้งต้น 30 กรัม 4 บัวหลวง ดอก 30 กรัม 5 บุนนาค ดอก 30 กรัม 6 ประดู่ แก่น 30 กรัม 7 ฝาง แก่น 30 กรัม 8 พิกุล ดอก 30 กรัม 9 มะลิ ดอก 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตํารายาเกร็ด ที่ประกาศเป็นตํารับยาแผนไทยแห่งชาติ 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลง 3) อบสมุนไพรทุกชนิดที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4) ชั่งน้ําหนักสมุนไพรทุกชนิดตามสูตรยา 5) นําตัวยาทั้งหมดมาผสมรวมกัน และบดหยาบให้ชิ้นส่วนสมุนไพรมีขนาดสม่ําเสมอกัน 6) บรรจุสมุนไพรทั้งหมดที่บดแล้วในถุงผ้าขาวบาง จากนั้นนําไปบรรจุลงในบรรจุภัณฑ์ 6. สรรพคุณ บํารุงโลหิต 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 วิธีการเตรียมยาต้ม 1) นําถุงผ้าขาวบางที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2) เติมน้ําพอท่วม ( โดยใช้มือกดบนยาเบา ๆ ให้ตัวยาจมอยู่ใต้น้ํา และให้น้ําท่วมหลังมือ ) นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือด แล้วหรี่ไฟลง ต้มต่ออีก 10 - 15 นาที แล้วยกลงจากเตา 7.2 วิธีกิน

46 รินเอาน้ําดื่มครั้งละ 100 - 200 มิลลิลิตร วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า และเย็น โดยควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ ยา 1 ห่อ ใช้ติดต่อกันได้ 5 - 7 วัน โดยเติมน้ํา แล้วนํามาต้มทุกวัน 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในซองพลาสติก หรือ ภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา ไม่มี 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 27. ยากําลังราชสีห์ สูตร 1 1. ชื่อยา ยากําลังราชสีห์ สูตร 1 ชนิดยาต้ม 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 468 กรัม 1 ฝางเสน แก่น 36 กรัม 2 กระดังงา ดอก 16 กรัม 3 กระลําพัก แก่นที่มีราลง 16 กรัม 4 กฤษณา แก่นที่มีราลง 16 กรัม 5 ขอนดอก แก่นที่มี ราลง 16 กรัม 6 ขิงแห้ง เหง้า 16 กรัม 7 คําไทย ดอก 16 กรัม 8 จันทน์ขาว แก่น 16 กรัม 9 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น (จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 16 กรัม 10 จําปา ดอก 16 กรัม 11 เจตมูลเพลิง ราก 16 กรัม 12 ช้าพลู ราก 16 กรัม 13 ชะลูด เปลือกเถา 16 กรัม 14 ชะเอมเทศ รากและเหง้า 16 กรัม

47 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 468 กรัม 15 ดีปลี ช่อผล 16 กรัม 16 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 16 กรัม 17 บุนนาค ดอก 16 กรัม 18 พิกุล ดอก 16 กรัม 19 มะลิ ดอก 16 กรัม 20 สะค้าน เถา 16 กรัม 21 สารภี ดอก 16 กรัม 22 อบเชยเทศ เปลือกต้น 16 กรัม 23 โกฐเขมา เหง้า 8 กรัม 24 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 8 กรัม 25 โกฐเชียง รากแขนง 8 กรัม 26 โกฐสอ ราก 8 กรัม 27 โกฐหัวบัว เหง้า 8 กรัม 28 เทียนขาว ผล 8 กรัม 29 เทียนข้าวเปลือก ผล 8 กรัม 30 เทียนดํา เมล็ด 8 กรัม 31 เทียนแดง เมล็ด 8 กรัม 32 เทียนตาตั๊กแตน ผล 8 กรัม 33 กระวาน ผล 4 กรัม 34 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 4 กรัม 35 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 4 กรัม 36 ลูกจันทน์ เมล็ด 4 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ศิลาจารึกตํารายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลง 3) อบสมุนไพรทุกชนิดที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4) ชั่งน้ําหนักสมุนไพรทุกชนิดตามสูตรยา 5) นําตัวยาทั้งหมดมาผสมรวมกัน และบดหยาบให้ชิ้นส่วน สมุนไพรมีขนาดสม่ําเสมอกัน 6) บรรจุสมุนไพรทั้งหมดที่บดแล้วในถุงผ้าขาวบาง จากนั้นนําไปบรรจุลงในบรรจุภัณฑ์

48 6. สรรพคุณ บํารุงโลหิต 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 วิธีการเตรียมยาต้ม 1) นําถุงผ้าขาวบางที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2) เติมน้ําพอท่วม ( โดยใช้มือกดบนยาเบา ๆ ให้ตัวยาจมอยู่ใต้น้ํา และให้น้ําท่วมหลังมือ ) นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือด แล้วหรี่ไฟลง ต้มต่ออีก 10 - 15 นาที แล้วยกลงจากเตา 7.2 วิธีกิน รินเอาน้ําดื่มครั้งละ 100 - 200 มิลลิลิตร วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น โดยควรดื่มขณะยายังอุ่น อยู่ ยา 1 ห่อ ใช้ติดต่อกันได้ประมาณ 7 วัน โดยเติมน้ํา แล้วนํามาต้มทุกวัน 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ และหญิงตั้งครรภ์ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้เกสรดอกไม้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในซองพลาสติก หรือ ภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา ไม่มี 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ในสูตรตํารับนี้เดิมมีตัวยา “เลือดแรด” ซึ่งเป็นสัตว์วัตถุ แต่ได้ตัดออกจากสูตรตํารับ เนื่องจากแรดเป็น สัตว์ป่าสงวนใกล้สูญพันธุ์ และเป็นสัตว์ที่อยู่ใน “อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธุ์สัตว์ป่า ใกล้สูญพันธุ์ ( CITES) ” 28. ยาธาตุบรรจบ 1. ชื่อยา ยาธาตุบรรจบ ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 104 กรัม 1 สมอไทย เนื้อผล 16 กรัม 2 โกฐก้านพร้าว รากและเหง้า 8 กรัม 3 กระวาน ผล 4 กรัม 4 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 4 กรัม

49 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 104 กรัม 5 การบูร - 4 กรัม 6 โกฐเขมา เหง้า 4 กรัม 7 โกฐเชียง รากแขนง 4 กรัม 8 โกฐพุงปลา ปุ่มหูด 4 กรัม 9 โกฐสอ ราก 4 กรัม 10 ขิง เหง้า 4 กรัม 11 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 4 กรัม 12 ดีปลี ช่อผล 4 กรัม 13 เทียนขาว ผล 4 กรัม 14 เทียนดํา เมล็ด 4 กรัม 15 เทียนแดง เมล็ด 4 กรัม 16 เทียนเยาวพาณี ผล 4 กรัม 17 เทียนสัตตบุษย์ ผล 4 กรัม 18 เปราะหอม เหง้า 4 กรัม 19 พิมเสนต้น ใบ 4 กรัม 20 ลูกจันทน์ เมล็ด 4 กรัม 21 ลูกผักชีลา ผล 4 กรัม 22 สมุลแว้ง เปลือกต้น 4 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบสมุนไพร ยกเว้นการบูร ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งการบูร ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองกันความชื้นได้ ซองละ 500 มิลลิกรัม หรือ 1 กรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ บรรเทาอาการอุจจาระธาตุพิการ ท้องเสียชนิดที่ไม่ เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูกหรือมีเลือดปน และท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้ 7. ขนาดและวิธีใช้

50 7.1 ขนาดบรรจุซองละ 1 กรัม ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 1 ซอง ละลายน้ํากระสายยาหรือ น้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) วันละ 3 ครั้ง ก่อน อาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอา การ 7.2 ขนาดบรรจุซองละ 500 มิลลิกรัม เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 1 ซอง ละลายน้ํากระสายยาหรือน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ กระสายยาที่ใช้ - กรณีแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ใช้กระเทียม 3 กลีบ ทุบชงน้ําร้อนหรือใช้ใบกะเพรา ต้มเป็นน้ํากระสายยา - กรณีบรรเทาอาการอุจจาระธาตุพิการ ท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูก หรือมีเลือดปน และท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้ ใช้เปลือกแคหรือเปลือกสะเดา หรือเ ปลือกลูกทับทิมต้ม แทรกกับ น้ําปูนใสเป็นน้ํากระสายยา 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับตัวของ เกล็ดเลือด ( antiplatelet ) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับและไต เนื่องจาก อาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ - ในกรณีท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ ใช้ไม่เกิน 1 วัน หากอาการไม่ดีขึ้ น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ตํารับยาที่มีชื่อยาว่า “ยาธาตุบรรจบ” พบปรากฏในหลายตําราแผนโบราณ แต่มีสูตรยาและสรรพคุณที่ ใช้แตกต่างกัน เช่น ตําราอายุรเวทศึกษาของขุนนิทเทสสุขกิจ ตําราของหมอทัพพ์ ตันสุภาพ ตําราแพทย์ ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ ตําราเวชศึกษาของพระยาพิศณุประสาทเวช 2 9 . ยาธาตุบรร จบ 1. ชื่อยา ยาธาตุบรรจบ ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ

51 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 104 กรัม 1 สมอไทย เนื้อผล 16 กรัม 2 โกฐก้านพร้าว รากและเหง้า 8 กรัม 3 กระวาน ผล 4 กรัม 4 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 4 กรัม 5 การบูร - 4 กรัม 6 โกฐเขมา เหง้า 4 กรัม 7 โกฐเชียง รากแขนง 4 กรัม 8 โกฐพุงปลา ปุ่มหูด 4 กรัม 9 โกฐสอ ราก 4 กรัม 10 ขิง เหง้า 4 กรัม 11 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 4 กรัม 12 ดีปลี ช่อผล 4 กรัม 13 เทียนขาว ผล 4 กรัม 14 เทียนดํา เมล็ด 4 กรัม 15 เทียนแดง เมล็ด 4 กรัม 16 เทียนเยาวพาณี ผล 4 กรัม 17 เทียนสัตตบุษย์ ผล 4 กรัม 18 เปราะหอม เหง้า 4 กรัม 19 พิมเสนต้น ใบ 4 กรัม 20 ลูกจันทน์ เมล็ด 4 กรัม 21 ลูกผักชีลา ผล 4 กรัม 22 สมุลแว้ง เปลือกต้น 4 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นการบูร ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งการบรู ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 250 มิลลิกรัม หรือ 500 มิลลิกรัม

52 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ บรรเทาอาการอุจจาระธาตุพิการ ท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูกหรือมีเลือดปน และท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้ 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ขนาดบรรจุแคปซูลละ 500 มิลลิกรัม ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 2 แคปซู ล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ 7.2 ขนาดบรรจุแคปซูลละ 250 มิลลิกรัม เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับตัวของ เกล็ดเลือด ( antiplatelet ) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับและไต เนื่องจาก อาจเกิดการสะสมของการบูร และเกิดพิษได้ - ในกรณีท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ ใช้ไม่เกิน 1 วัน หากอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ตํารับยาที่มีชื่อยาว่า “ยาธาตุบรรจบ” พบปรากฏในหลายตําราแผนโบราณ แต่มีสูตรยาและสรรพคุณที่ ใช้แตกต่างกัน เช่น ตําราอายุรเวทศึกษาของขุนนิทเทสสุขกิจ ตําราของหมอทัพพ์ ตันสุภาพ ตําราแพทย์ ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ ตําราเวชศึกษาของพระยาพิศณุประสาทเวช 30. ยาหอมนวโกฐ 1. ชื่อยา ยาหอมนวโกฐ ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 212 กรัม 1 กระดอม ผล* 4 กรัม 2 กระลําพัก แก่น ที่มีราลง 4 กรัม

53 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 212 กรัม 3 กระวาน ผล 4 กรัม 4 กฤษณา แก่น ที่มีราลง 4 กรัม 5 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 4 กรัม 6 โกฐกระดูก ราก 4 กรัม 7 โกฐก้านพร้าว รากและเหง้า 4 กรัม 8 โกฐเขมา เหง้า 4 กรัม 9 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 4 กรัม 10 โกฐชฎามังสี รากและเหง้า 4 กรัม 11 โกฐเชียง รากแขนง 4 กรัม 12 โกฐพุงปลา ปุ่มหูด 4 กรัม 13 โกฐสอ ราก 4 กรัม 14 โกฐหัวบัว เหง้า 4 กรัม 15 ขอนดอก แก่น ที่มีราลง 4 กรัม 16 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น ( จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 4 กรัม 17 จันทน์เทศ แก่น 4 กรัม 18 ชะลูด เปลือกเถา 4 กรัม 19 ชะเอมเทศ รากและเหง้า 4 กรัม 20 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 4 กรัม 21 เทียนเกล็ดหอย เมล็ด 4 กรัม 22 เทียนขาว ผล 4 กรัม 23 เทียนข้าวเปลือก ผล 4 กรัม 24 เทียนดํา เมล็ด 4 กรัม 25 เทียนแดง เมล็ด 4 กรัม 26 เทียนตากบ ผล 4 กรัม 27 เทียนตาตั๊กแตน ผล 4 กรัม 28 เทียนเยาวพาณี ผล 4 กรัม 29 เทียนสัตตบุษย์ ผล 4 กรัม 30 บอระเพ็ด เถา 4 กรัม 31 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 4 กรัม 32 บุนนาค ดอก 4 กรัม 33 เปราะหอม เหง้า 4 กรัม 34 แฝกหอม ราก 4 กรัม 35 พิกุล ดอก 4 กรัม 36 มะขามป้อม เนื้อผล 4 กรัม

54 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 212 กรัม 37 มะลิ ดอก 4 กรัม 38 ราชดัด ผล 4 กรัม 39 ลูกจันทน์ เมล็ด 4 กรัม 40 ลูกผักชีลา ผล 4 กรัม 41 สน แก่น 4 กรัม 42 สมอพิเภก เนื้อผล 4 กรัม 43 สมุลแว้ง เปลือกต้น 4 กรัม 44 สักขี แก่น 4 กรัม 45 สารพัดพิษ ผล 4 กรัม 46 สารภี ดอก 4 กรัม 47 หญ้าตีนนก ทั้งต้น 4 กรัม 48 แห้วหมู เหง้า 4 กรัม 49 อบเชยญวน เปลือกต้น 4 กรัม 50 ขิง เหง้า 3 กรัม 51 เจตมูลเพลิงแดง ราก 3 กรัม 52 ช้าพลู ราก 3 กรัม 53 ดีปลี ช่อผล 3 กรัม 54 สะค้าน เถา 3 กรัม 55 พิมเสน - 1 กรัม * ผลกระดอมไม่ใช้ผลสุก เนื่องจากผลสุกจะมีพิษ 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นพิมเสน ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งพิมเสน ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้ เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองกันความชื้นได้ ซองละ 1 กรัม 6. สรรพคุณ

55 แก้ลมวิงเวียน คลื่นเหียน อาเจียน (ลมจุกแน่นในอก) ในผู้สูงอายุ แก้ลมปลายไข้ (หลังจากฟื้นไข้แล้วยังมี อาการ เช่น คลื่นเหียน วิงเวียน เบื่ออาหาร ท้องอืด และอ่อนเพลีย) 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 1 - 2 ซอง ละลายน้ํากระสายยาหรือน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) เมื่อมีอาการ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง กระสายยาที่ใช้ - แก้ลมวิงเวียน คลื่นเหียน อาเจียน (ลมจุกแน่นในอก) ในผู้สูงอายุ ใช้น้ําลูกผักชี (15 กรัม) หรือเทียน ดํา (15 กรัม) ต้มเป็นน้ํากระสายยา - แก้ลมปลายไข้ ใช้ก้านสะเดา (33 ก้าน หรือ 15 กรัม) ลูกกระดอม (7 ลูก หรือ 15 กรัม) และเถา บอระเพ็ด (7 องคุลี หรือ 15 กรัม) ต้มเป็นน้ํากระสายยา 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับตัวของ เกล็ดเลือด ( antiplatelet ) - ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 31. ยาวิสัมพยาใหญ่ 1. ชื่อยา ยาวิสัมพยาใหญ่ ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 108 กรัม 1 ดีปลี ช่อผล 54 กรัม 2 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 8 กรัม 3 ลูกจันทน์ เมล็ด 8 กรัม 4 ลูกผักชีลา ผล 8 กรัม

56 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 108 กรัม 5 กระวาน ผล 2 กรัม 6 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 2 กรัม 7 โกฐเขมา เหง้า 2 กรัม 8 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 2 กรัม 9 โกฐเชียง รากแขนง 2 กรัม 10 โกฐสอ ราก 2 กรัม 11 โกฐหัวบัว เหง้า 2 กรัม 12 ขิงแห้ง เหง้า 2 กรัม 13 บอระเพ็ด เถา 2 กรัม 14 พญารากขาว ราก 2 กรัม 15 ว่านน้ํา เหง้า 2 กรัม 16 สมอเทศ เนื้อผล 2 กรัม 17 สมอไทย เนื้อผล 2 กรัม 18 สมุลแว้ง เปลือกต้น 2 กรัม 19 อบเชย เปลือกต้น 2 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา - ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 - ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองกันความชื้นได้ ซองละ 1 กรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 1 ซอง ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) หรือผสมน้ําผึ้ง ทุก 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้หญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ 9. คําเตือน

57 ไม่มี 10. ข้อควรระวัง - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับตัวของ เกล็ดเลือด ( antiplatelet ) - ควรระวังการใช้ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, the o phylline และ rifampicin เนื่องจาก ตํารับนี้มีช่อผลดีปลี (ดอกดีปลี) ในปริมาณสูง 11. อาการไม่ พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 3 2 . ยาวิสัมพยาใหญ่ 1. ชื่อยา ยาวิสัมพยาใหญ่ ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 108 กรัม 1 ดีปลี ช่อผล 54 กรัม 2 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 8 กรัม 3 ลูกจันทน์ เมล็ด 8 กรัม 4 ลูกผักชีลา ผล 8 กรัม 5 กระวาน ผล 2 กรัม 6 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 2 กรัม 7 โกฐเขมา เหง้า 2 กรัม 8 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 2 กรัม 9 โกฐเชียง รากแขนง 2 กรัม 10 โกฐสอ ราก 2 กรัม 11 โกฐหัวบัว เหง้า 2 กรัม 12 ขิงแห้ง เหง้า 2 กรัม 13 บอระเพ็ด เถา 2 กรัม 14 พญารากขาว ราก 2 กรัม 15 ว่านน้ํา เหง้า 2 กรัม 16 สมอเทศ เนื้อผล 2 กรัม

58 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 108 กรัม 17 สมอไทย เนื้อผล 2 กรัม 18 สมุลแว้ง เปลือกต้น 2 กรัม 19 อบเชย เปลือกต้น 2 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา - ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 - ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 250 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 4 แคปซูล ทุก 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้หญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ 9. คําเตือน ไม่มี 10.ข้อควรระวัง - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับตัวของ เกล็ดเลือด ( antiplatelet ) - ควรระวังการใช้ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, the o phylline และ rifampicin เนื่องจาก ตํารับนี้มีช่อผลดีปลี (ดอกดีปลี) ในปริมาณสูง 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา

59 เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 33. ยามันทธาตุ 1. ชื่อยา ยามันทธาตุ ชนิดผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 9 3 กรัม 1. ขิงแห้ง เหง้า 9 กรัม 2. เบญกานี ปุ่มหูด 9 กรัม 3. กระเทียม หัว 3 กรัม 4. กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 3 กรัม 5. การบูร - 3 กรัม 6. โกฐเขมา เหง้า 3 กรัม 7. โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 3 กรัม 8. โกฐเชียง รากแขนง 3 กรัม 9. โกฐสอ ราก 3 กรัม 10. โกฐหัวบัว เหง้า 3 กรัม 11. จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น (จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 3 กรัม 12. จันทน์เทศ แก่น 3 กรัม 13. เจตมูลเพลิงแดง ราก 3 กรัม 14. ช้าพลู ราก 3 กรัม 15. ดีปลี ช่อผล 3 กรัม 16. เทียนขาว ผล 3 กรัม 17. เทียนข้าวเปลือก ผล 3 กรัม 18. เทียนดํา เมล็ด 3 กรัม 19. เทียนแดง เมล็ด 3 กรัม 20. เทียนตาตั๊กแตน ผล 3 กรัม 21. พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 3 กรัม 22. โมกมัน เปลือกต้น 3 กรัม 23. ลูกจันทน์ เมล็ด 3 กรัม 24. ลูกผักชีล้อม ผล 3 กรัม 25. ลูกผักชีลา ผล 3 กรัม 26. สมุลแว้ง เปลือกต้น 3 กรัม 27. สะค้าน เถา 3 กรัม

60 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา - สูตรตํารับที่ใกล้เคียงตํารับนี้ พบในตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาท เวช ร.ศ. 127 - ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 - ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร ยกเว้นการบูร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นการบูร ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมงหรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งการบูร ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองกันความชื้นได้ ซองละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แก้ธาตุไม่ปกติ 7. ขนาดและวิธีใช้ ผู้ ใหญ่ กินครั้งละ 2 ซอง ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เด็ก 6 - 12 ปี กินครั้งละ 1 ซอง ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น 8. ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในเด็กอายุต่ํากว่า 1 ปี เนื่องจากเป็นยำรสร้อน ทําให้ลิ้น ปากแสบร้อนได้ - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับตัวของ เกล็ดเลือด ( antiplatelets ) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับและไต เนื่องจาก อาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ

61 1 3 . การเก็บรักษา ไม่มี 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 3 4 . ยามันทธาตุ 1. ชื่อยา ยามันทธาตุ ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับ 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 9 3 กรัม 1. ขิงแห้ง เหง้า 9 กรัม 2. เบญกานี ปุ่มหูด 9 กรัม 3. กระเทียม หัว 3 กรัม 4. กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 3 กรัม 5. การบูร - 3 กรัม 6. โกฐเขมา เหง้า 3 กรัม 7. โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 3 กรัม 8. โกฐเชียง รากแขนง 3 กรัม 9. โกฐสอ ราก 3 กรัม 10. โกฐหัวบัว เหง้า 3 กรัม 11. จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น (จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 3 กรัม 12. จันทน์เทศ แก่น 3 กรัม 13. เจตมูลเพลิงแดง ราก 3 กรัม 14. ช้าพลู ราก 3 กรัม 15. ดีปลี ช่อผล 3 กรัม 16. เทียนขาว ผล 3 กรัม 17. เทียนข้าวเปลือก ผล 3 กรัม 18. เทียนดํา เมล็ด 3 กรัม 19. เทียนแดง เมล็ด 3 กรัม 20. เทียนตาตั๊กแตน ผล 3 กรัม 21. พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 3 กรัม 22. โมกมัน เปลือกต้น 3 กรัม 23. ลูกจันทน์ เมล็ด 3 กรัม 24. ลูกผักชีล้อม ผล 3 กรัม 25. ลูกผักชีลา ผล 3 กรัม 26. สมุลแว้ง เปลือกต้น 3 กรัม

62 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 9 3 กรัม 27. สะค้าน เถา 3 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา - สูตรตํารับที่ใกล้เคียงตํารับนี้ พบในตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาท เวช ร.ศ. 127 - ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 - ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร ยกเว้นการบูร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นการบูร ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมงหรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งการบูร ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยา ให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 250 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แก้ธาตุไม่ปกติ 7. ขนาดและวิธีใช้ ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 4 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เด็ก 6 - 12 ปี กินครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น 8. ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในเด็กอายุต่ํากว่า 1 ปี เนื่องจากเป็นยารสร้อน ทําให้ลิ้น ปากแสบร้อนได้ - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกั นเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับตัวของ เกล็ดเลือด ( antiplatelets ) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับและไต เนื่องจาก อาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ

63 บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา ไม่มี 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 3 5 . ยาประสะเจตพังคี 1. ชื่อยา ยาประสะเจตพังคี ชนิดผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 66 กรัม 1. เจตพังคี ราก 33 กรัม 2. ข่า เหง้า 16 กรัม 3. บอระเพ็ด เถา 2 กรัม 4. พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 2 กรัม 5. ระย่อม ราก 2 กรัม 6. กระวาน ผล 1 กรัม 7. กรุงเขมา ราก 1 กรัม 8. กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 1 กรัม 9. การบูร - 1 กรัม 10. เกลือสินเธาว์ * - 1 กรัม 11. ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 1 กรัม 12. ใบกระวาน ใบ 1 กรัม 13. พญารากขาว ราก 1 กรัม 14. ลูกจันทน์ เมล็ด 1 กรัม 15. สมอทะเล ผล 1 กรัม 16. หว้า เปลือกต้น 1 กรัม * เกลือสินเธาว์ที่ใช้เป็นเกลือภูเขาหรือเอือด เช่น เกลือสินเธาว์จากอําเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน , อําเภอนาแห้ว จังหวัดเลย และอําเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา - สูตรตํารับที่ใกล้เคียงตํารับนี้ พบในตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาท เวช ร.ศ. 127 - ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 - ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564

64 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร ยกเว้นการบูรและเกลือสินเธาว์ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นการบูรและเกลือสินเธาว์ ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมงหรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งการบูรและเกลือสินเธาว์ ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6 ) บรรจุผงยาลงซองกันความชื้นได้ ซองละ 1 กรัม 6. สรรพคุณ แก้กษัยจุกเสียด ขับผายลม 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 1 ซอง ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับและไต เนื่องจาก อาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา ไม่มี 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 3 6 . ยาประสะเจตพังคี 1. ชื่อยา ยาประสะเจตพังคี ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับ 2.1 ตัวยาสําคัญ

65 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 66 กรัม 1. เจตพังคี ราก 33 กรัม 2. ข่า เหง้า 16 กรัม 3. บอระเพ็ด เถา 2 กรัม 4. พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 2 กรัม 5. ระย่อม ราก 2 กรัม 6. กระวาน ผล 1 กรัม 7. กรุงเขมา ราก 1 กรัม 8. กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 1 กรัม 9. การบูร - 1 กรัม 10. เกลือสินเธาว์ * - 1 กรัม 11. ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 1 กรัม 12. ใบกระวาน ใบ 1 กรัม 13. พญารากขาว ราก 1 กรัม 14. ลูกจันทน์ เมล็ด 1 กรัม 15. สมอทะเล ผล 1 กรัม 16. หว้า เปลือกต้น 1 กรัม * เกลือสินเธาว์ที่ใช้เป็นเกลือภูเขาหรือเอือด เช่น เกลือสินเธาว์จากอําเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน , อําเภอนาแห้ว จังหวัดเลย และอําเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา - สูตรตํารับที่ใกล้เคียงตํารับนี้ พบในตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาท เวช ร.ศ. 127 - ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 - ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร ยกเว้นการบูรและเกลือสินเธาว์ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นการบูรและเกลือสินเธาว์ ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมงหรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งการบูรและเกลือสินเธาว์ ชั่ งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อน ผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 250 มิลลิกรัม

66 6. สรรพคุณ แก้กษัยจุกเสียด ขับผายลม 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 2 - 4 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง ก่อน อาหาร เช้า เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับและไต เนื่องจาก อาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา ไม่มี 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 37. ยามหาจักรใหญ่ 1. ชื่อยา ยามหาจักรใหญ่ ชนิดผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 114 กรัม 1 กระพังโหม ใบ 60 กรัม 2 ยาดํา ยางจากใบ 8 กรัม* 3 กระเทียม หัว 2 กรัม 4 กระวาน ผล 2 กรัม 5 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 2 กรัม 6 โกฐกระดูก ราก 2 กรัม 7 โกฐก้านพร้าว รากและเหง้า 2 กรัม 8 โกฐเขมา เหง้า 2 กรัม 9 โกฐพุงปลา ปุ่มหูด 2 กรัม 10 โกฐสอ ราก 2 กรัม 11 ขมิ้นอ้อย เหง้า 2 กรัม

67 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 114 กรัม 12 ชะเอมเทศ รากและเหง้า 2 กรัม 13 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 2 กรัม 14 เทียนขาว ผล 2 กรัม 15 เทียนข้าวเปลือก ผล 2 กรัม 16 เทียนดํา เมล็ด 2 กรัม 17 เทียนแดง เมล็ด 2 กรัม 18 เทียนเยาวพาณี ผล 2 กรัม 19 มะขามป้อม เนื้อผล 2 กรัม 20 ลูกจันทน์ เมล็ด 2 กรัม 21 ลูกผักชีลา ผล 2 กรัม 22 สมอไทย เนื้อผล 2 กรัม 23 สมอพิเภก เนื้อผล 2 กรัม 24 สารส้ม - 2 กรัม* 25 โหระพา ใบ 2 กรัม * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา - สูตรตํารับที่ใกล้เคียงตํารับนี้ พบในตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาท เวช ร.ศ.127 - ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 - ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุยาดํา : นํายาดําใส่กระทะที่สะอาด คั่วจนกรอบ หรือ นํายาดําใส่หม้อดินที่สะอำด เติมน้ํา เล็กน้อย ยกขึ้นตั้งไฟ จนยาดํากรอบดีแล้ว การสะตุสารส้ม : นําสารส้ม มาบดให้ ละเอียด ใส่ในหม้อดินหรือกระทะเหล็ก ตั้งไฟจนสารส้มฟูและมี สี ขาว แล้วจึงยกลงจาก ไฟทิ้งให้แห้ง จึงนําไปใช้ปรุงยา 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร ยกเว้นยา ดําสะตุและสารส้มสะตุ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นยาดําสะตุและสารส้มสะตุ ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งยาดําสะตุและสารส้มสะตุ ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ล ะเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองกันความชื้นได้ ซองละ 500 มิลลิกรัม

68 6. สรรพคุณ แก้ลมทราง แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ 7. ขนาดและวิธีใช้ กรณีแก้ลมซาง เด็กอายุ 1 - 6 ปี กินครั้งละ 1 – 2 ซอง ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า เย็น กรณีแก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ เด็กอายุ 1 - 12 ปี กินครั้งละ 1 – 3 ซอง ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) วันละ 2 ครั้ง ก่อน อาหาร เช้า เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่ มี 10. ข้อควรระวัง - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับตัวของ เกล็ดเลือด ( antiplatelet ) - หากรับประทานแล้วมีอาการท้องเสีย ควรหยุดรับประทานยา 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา ไม่มี 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 38. ยามหาจักรใหญ่ 1. ชื่อยา ยามหาจักรใหญ่ ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับ 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 114 กรัม 1 กระพังโหม ใบ 60 กรัม 2 ยาดํา ยางจากใบ 8 กรัม* 3 กระเทียม หัว 2 กรัม 4 กระวาน ผล 2 กรัม 5 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 2 กรัม

69 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 114 กรัม 6 โกฐกระดูก ราก 2 กรัม 7 โกฐก้านพร้าว รากและเหง้า 2 กรัม 8 โกฐเขมา เหง้า 2 กรัม 9 โกฐพุงปลา ปุ่มหูด 2 กรัม 10 โกฐสอ ราก 2 กรัม 11 ขมิ้นอ้อย เหง้า 2 กรัม 12 ชะเอมเทศ รากและเหง้า 2 กรัม 13 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 2 กรัม 14 เทียนขาว ผล 2 กรัม 15 เทียนข้าวเปลือก ผล 2 กรัม 16 เทียนดํา เมล็ด 2 กรัม 17 เทียนแดง เมล็ด 2 กรัม 18 เทียนเยาวพาณี ผล 2 กรัม 19 มะขามป้อม เนื้อผล 2 กรัม 20 ลูกจันทน์ เมล็ด 2 กรัม 21 ลูกผักชีลา ผล 2 กรัม 22 สมอไทย เนื้อผล 2 กรัม 23 สมอพิเภก เนื้อผล 2 กรัม 24 สารส้ม - 2 กรัม* 25 โหระพา ใบ 2 กรัม * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา - สูตรตํารับที่ใกล้เคียงตํารับนี้ พบในตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาท เวช ร.ศ. 127 - ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 - ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุยาดํา : นํายาดําใส่กระทะที่สะอาด คั่วจนกรอบ หรือ นํายาดําใส่หม้อดินที่สะอำด เติมน้ํา เล็กน้อย ยกขึ้นตั้งไฟ จนยาดํากรอบดีแล้ว การสะตุสารส้ม : นําสารส้ม มาบดให้ละเอียด ใส่ในหม้อดินหรือกระทะเหล็ก ตั้งไฟจนสารส้มฟูและมีสี ขาว แล้วจึงยกลงจาก ไฟทิ้งให้แห้ง จึงนําไปใช้ปรุงยา 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร ยกเว้นยาดําส ะตุและสารส้มสะตุ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม

70 2) อบสมุนไพร ยกเว้นยาดําสะตุและสารส้มสะตุ ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งยาดําสะตุและสารส้มสะตุ ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอี ยด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 250 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ แก้ลมทราง แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ 7. ขนาดและวิธีใช้ เด็กอายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 2 - 6 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับตัวของ เกล็ดเลือด ( antiplatelet ) - หากรับประทานแล้วมีอาการท้องเสีย ควรหยุดรับประทานยา 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา ไม่มี 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 39. ยาธรณีสันฑะฆาต 1. ชื่อยา ยาธรณีสันฑะฆาต ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 160 กรัม 1 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 96 กรัม 2 ยาดํา ยางจากใบ 20 กรัม* 3 การบูร - 6 กรัม

71 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 160 กรัม 4 มหาหิงคุ์ ยางจากราก 6 กรัม* 5 สมอไทย เนื้อผล 6 กรัม 6 รงทอง ยางจากต้น 4 กรัม* 7 ผักแพวแดง ทั้งต้น 2 กรัม 8 มะขามป้อม เนื้อผล 2 กรัม 9 กระดาดขาว หัว 1 กรัม 10 กระดาดแดง หัว 1 กรัม 11 กลอย หัว 1 กรัม 12 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 1 กรัม 13 โกฐกระดูก ราก 1 กรัม 14 โกฐเขมา เหง้า 1 กรัม 15 โกฐน้ําเต้า รากและเหง้า 1 กรัม 16 ขิงแห้ง เหง้า 1 กรัม 17 เจตมูลเพลิงแดง ราก 1 กรัม 18 ชะเอมเทศ รากและเหง้า 1 กรัม 19 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 1 กรัม 20 ดองดึง ราก 1 กรัม 21 เทียนขาว ผล 1 กรัม 22 เทียนดํา เมล็ด 1 กรัม 23 บุก หัว 1 กรัม 24 เร่ว ผล 1 กรัม 25 กระวาน ผล 1 กรัม 26 ลูกจันทน์ เมล็ด 1 กรัม * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา - ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 - ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุยาดํา : นํายาดําใส่กระทะที่สะอาด คั ่ วจนกรอบ หรือ นํายาดําใส่หม้อดินที่สะอาด เติ มน้ํา เล็กน้อย ยกขึ้นตั้งไฟ จนยาดํากรอบดีแล้ว การสะตุมหาหิงคุ์ : นํามหาหิงคุ์ใส่หม้อดิน เอาใบกะเพราแดง ใส่น้ําต้มจนเดือด เทน้ําใบกะเพราแดง ขณะร้อนๆ ลงในหม้อดินละลายมหาหิงคุ์ แล้วกรองให้สะอาด แล้วผึ่งหรืออบจนมหาหิงคุ์แห้ง การประสะรงทอง : นํารงทองมาบดเป็นผง ห่อใบบัวหลวงหรือใบข่า 7 ชั้น อาจบีบน้ํามะกรูดใส่ลงจนปั้น ได้ แล้วห่อให้มิดชิด นําไปปิ้งไฟอ่อน ๆ จนรงทองละลาย ใบบัวหลวงหรือใบข่าสุกเกรียม

72 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตั วยาสมุนไพร ยกเว้ น การบู ร ยาด ําสะตุ มหาหิ งคุ ์ และรงทอง มาทําความสะอาดตาม ความเห มาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้น การบูร ยาด ําสะตุ มหาหิงคุ์ และรงทอง ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็น เวลา 4 - 6 ชั่วโมงหรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้ง การบูร ยาดําสะตุ มหาหิงคุ์ และรงทอง ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองกันความชื้นได้ ซองละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ แก้กษัยเส้น เถาดาน ท้องผูก 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 1 - 2 ซอง ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารเช้าหรือก่อนนอน 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็ก 9. คําเตือน ควรระวังการใช้ในผู้สูงอายุ 10. ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับ ตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets ) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับและไต เนื่องจาก อาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ - ควรระวั งการใช้ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่ องจาก ตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง 11. อาการ ไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม - โดยปกติกลอยและบุกตามท้องตลาดจําหน่ายผ่านกระบวนการคั่วด้วยไฟอ่อน ๆ พอสุกแล้ว - โดยปกติดองดึงและโกฐน้ําเต้าที่ใช้ตามตํารายาแผนไทยผ่านกระบวนการนึ่งแล้ว 40 . ยาธรณีสันฑะฆาต 1. ชื่อยา ยาธรณีสันฑะฆาต ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา

73 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 160 กรัม 1 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 96 กรัม 2 ยาดํา ยางจากใบ 20 กรัม* 3 การบูร - 6 กรัม 4 มหาหิงคุ์ ยางจากราก 6 กรัม* 5 สมอไทย เนื้อผล 6 กรัม 6 รงทอง ยางจากต้น 4 กรัม* 7 ผักแพวแดง ทั้งต้น 2 กรัม 8 มะขามป้อม เนื้อผล 2 กรัม 9 กระดาดขาว หัว 1 กรัม 10 กระดาดแดง หัว 1 กรัม 11 กลอย หัว 1 กรัม 12 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 1 กรัม 13 โกฐกระดูก ราก 1 กรัม 14 โกฐเขมา เหง้า 1 กรัม 15 โกฐน้ําเต้า รากและเหง้า 1 กรัม 16 ขิง เหง้า 1 กรัม 17 เจตมูลเพลิงแดง ราก 1 กรัม 18 ชะเอมเทศ รากและเหง้า 1 กรัม 19 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 1 กรัม 20 ดองดึง ราก 1 กรัม 21 เทียนขาว ผล 1 กรัม 22 เทียนดํา เมล็ด 1 กรัม 23 บุก หัว 1 กรัม 24 เร่ว ผล 1 กรัม 25 กระวาน ผล 1 กรัม 26 ลูกจันทน์ เมล็ด 1 กรัม * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา - ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 - ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุยาดํา : นํายาดําใส่กระทะที่สะอาด คั ่ วจนกรอบ หรือ นํายาดําใส่หม้อดินที่สะอาด เติ มน้ํา เล็กน้อย ยกขึ้นตั้งไฟ จนยาดํากรอบดีแล้ว

74 การสะตุมหาหิงคุ์: นํามหาหิงคุ์ใส่หม้อดิน เอาใบกะเพราแดง ใส่น้ําต้มจนเดือด เทน้ําใบกะเพราแดง ขณะร้อนๆ ลงในหม้อดินละลายมหาหิงคุ์ แล้วกรองให้สะอาด แล้วผึ่งหรืออบจนมหาหิงคุ์แห้ง การประสะรงทอง: นํารงทองมาบดเป็นผง ห่อใบบัวหลวงหรือใบข่า 7 ชั้น อาจบี บน้ํามะกรูดใส่ลงจนปั้น ได้ แล้วห่อให้มิดชิด นําไปปิ้งไฟอ่อน ๆ จนรงทองละลาย ใบบัวหลวงหรือใบข่าสุกเกรียม 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร ยกเว้นการบูร ยาดําสะตุ มหาหิงคุ์ และรงทอง มาทําความสะอาดตำมควำม เหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นการบูร ยาดําสะตุ มหาหิงคุ์ และรงทอง ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็น เวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งการบูร ยาดําสะตุ มหาหิงคุ์ และรงทอง ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่ำนแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 250 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ แก้กษัยเส้น เถาดาน ท้องผูก 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 2 - 4 แคปซูล วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารเช้าหรือก่อนนอน 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็ก 9. คําเตือน ควรระวังการใช้ในผู้สูงอายุ 10. ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับ ตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets ) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับและไต เนื่องจาก อาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ - ควรระวั งการใช้ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่ องจาก ตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง 11. อาการ ไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม - โดยปกติกลอยและบุกตามท้องตลาดจําหน่ายผ่านกระบวนการคั่วด้วยไฟอ่อน ๆ พอสุกเรียบร้อยแล้ว

75 - โดยปกติดองดึงและโกฐน้ําเต้าที่ใช้ตามตํารายาแผนไทยผ่านกระบวนการนึ่งเรียบร้อยแล้ว 41. ยามหานิลแท่งทอง 1. ชื่อยา ยามหานิลแท่งทอง ชนิดผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 103 กรัม 1 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น ( จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 10 กรัม 2 จันทน์เทศ แก่น 10 กรัม 3 พิมเสนต้น ใบ 10 กรัม 4 มะกอก เมล็ด 10 กรัม* 5 มะคําดีควาย ผล 10 กรัม* 6 ย่านาง ใบ 10 กรัม 7 สะบ้ามอญ เนื้อในเมล็ด 10 กรัม* 8 สัก แก่น 10 กรัม* 9 หมึกหอม - 10 กรัม 10 หวายตะค้า เถา 10 กรัม* 11 เบี้ยจั่น - 3 กรัม* * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา - ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 - ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การเผาเบี้ยจั่น: นําตัวยาไปเผาจนสุก แล้วนําไปบดจนกลายเป็นผงสีขาว การสุ มมะกอก มะคําดีควาย สะบ้ามอญ สัก หวายตะค้า : เอาตัวยาไปสุมไฟก่อนนํามาใช้เป็นยา 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบสมุนไพร ยกเว้น เบี้ยจั่น มะกอก มะคําดีควาย สะบ้ามอญ สัก และหวายตะค้า ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) ชั่งน้ําหนักตัวยาทั้งหมด รวมทั้งเบี้ยจั่น มะกอก มะคําดีควาย สะบ้ามอญ สัก และหวายตะค้า ตาม สูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบด ให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองกันความชื้นได้ ซองละ 500 มิลลิกรัม

76 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการไข้จากไข้กาฬ หัด และอีสุกอีใส แก้ร้อนในกระหายน้ํา 7. ขนาดและวิธีใช้ ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 3 - 4 ซอง ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า เย็น เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 1 - 2 ซอง ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) วันละ 2 ครั้ง ก่อน อาหารเช้า เย็น กรณีแก้หัด และอีสุกอีใส ให้ละลายน้ํารากผักชีต้ม เป็นกระสาย 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก 10. ข้อควรระวัง หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 4 2 . ยามหานิลแท่งทอง 1. ชื่อยา ยามหานิลแท่งทอง ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับ 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 103 กรัม 1 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น (จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 10 กรัม 2 จันทน์เทศ แก่น 10 กรัม 3 พิมเสนต้น ใบ 10 กรัม 4 มะกอก เมล็ด 10 กรัม 5 มะคําดีควาย ผล 10 กรัม* 6 ย่านาง ใบ 10 กรัม 7 สะบ้ามอญ เนื้อในเมล็ด 10 กรัม* 8 สัก แก่น 10 กรัม*

77 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 103 กรัม 9 หมึกหอม - 10 กรัม 10 หวายตะค้า เถา 10 กรัม* 11 เบี้ยจั่น - 3 กรัม* * น้ําหนักยาที่ผ่านการสุมหรือเตรียมตัวยาก่อนนํามาใช้เรียบร้อยแล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา เบี้ยจั่น : นําตัวยาไปเผาจนสุก แล้วนําไปบดจนกลายเป็นผงสีขาว 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นมะกอก มะคําดีควาย สะบ้ามอญ สัก และหวายตะค้า ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศา เซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นํามะกอก มะคําดีควา ย สะบ้ามอญ สัก และหวายตะค้า ไปสุมกับไฟจนเป็นถ่าน 4) นําสมุนไพรที่อบแห้งและสุมไฟแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 5) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 6) ผสมผงยาให้เข้ากัน 7) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 250 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการไข้จากไข้กาฬ หัด และอีสุกอีใส แก้ร้อนในกระหายน้ํา 7. ขนาดและวิธีใช้ ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 6 - 8 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า เย็น เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 2 - 4 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก 10. ข้อควรระวัง หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อากา รไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา

78 เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 43. ยาอํามฤควาที 1. ชื่อยา ยาอํามฤควาที ชนิดผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 70 กรัม 1 ชะเอมเทศ รากและเหง้า 35 กรัม 2 โกฐพุงปลา ปุ่มหูด 7 กรัม 3 เทียนขาว ผล 7 กรัม 4 มะขามป้อม เนื้อผล 7 กรัม 5 ลูกผักชีลา ผล 7 กรัม 6 สมอพิเภก เนื้อผล 7 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองกันความชื้นได้ ซองละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ แก้ไอ ขับเสมหะ 7. ขนาดและวิธีใช้ ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 2 ซอง ละลายน้ํากระสายยา (ควรดื่มขณะที่ยังอุ่นอยู่) เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 1 ซอง ละลายน้ํากระสายยา (ควรดื่มขณะที่ยังอุ่นอยู่) เมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน

79 ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้น้ํามะนาวแทรกเกลือกับผู้ป่วยที่ต้องจํากัดการใช้เกลือ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 4 4 . ยาถ่ายดีเกลือฝรั่ ง 1. ชื่อยา ยาถ่ายดีเกลือฝรั่ง ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับ 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 117 กรัม 1 ดีเกลือฝรั่ง - 60 กรัม 2 ยาดํา ยางจากใบ 12 กรัม * 3 ขี้เหล็ก ทั้ง 5 3 กรัม 4 มะกา ใบ 3 กรัม 5 มะขาม ใบ 3 กรัม 6 ส้มป่อย ใบ 3 กรัม 7 หญ้าไทร ทั้งต้น 3 กรัม 8 ไผ่ป่า ใบ 3 กรัม 9 คูน เนื้อในฝัก 3 กรัม 10 ขี้กาแดง ราก 3 กรัม 11 ขี้กาขาว ราก 3 กรัม 12 ตองแตก ราก 3 กรัม 13 เถาวัลย์เปรียง เถา 3 กรัม 14 หอม หัว 3 กรัม 15 ส้มป่อย ฝัก 3 กรัม 16 สมอไทย เนื้อผล 3 กรัม 17 สมอดีงู เนื้อผล 3 กรัม * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ

80 ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา - ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 - ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุยาดํา : นํายาดําใส่กระทะที่สะอาด คั่วจนกรอบ หรือ นํายาดําใส่หม้อดินที่สะอำด เติมน้ํา เล็กน้อย ยกขึ้นตั้งไฟ จนยาดํากรอบดีแล้ว การคั่วตองแตก: นําตัวยาไปคั่ว จึงนําไปใช้ปรุงยา 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร ยกเว้นยาดําสะตุและดีเกลือฝรั่ง มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นยาดําสะตุและดีเกลือฝรั่ง ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งยาดําสะตุและดีเกลือฝรั่ง ชั่งน้ําหนักตามสูตรยาแล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผ สมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ แก้ท้องผูก 7. ขนาดและวิธีใช้ ครั้งแรก กิน 2 แคปซูล วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน ถ้าไม่ถ่าย วันต่อไป กินเพิ่มเป็น 3 แคปซูล แต่ไม่เกิน 5 แคปซูล ต่อวัน (ตามกําลังธาตุหนักเบา) 8. ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และเด็ก - ห้ามใช้นภาวะทางเดินอาหารอุดตัน ( gastrointestinal obstruction / ileus ) - ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะผิดปกติเฉียบพลันที่ทางเดินอาหาร ( acute gastro - intestinal conditions ) เช่น คลื่นไส้ อาเจียน 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง - เนื่องจากเป็น ยาถ่าย อย่างแรง ไม่ควรใช้ยานี้ในผู้ป่วยอ่อนเพลียมากหรือมีภาวะขาดน้ํา - เมื่อถ่ายแล้วให้เว้น อย่างน้อย 2 วันแล้วจึงใช้ยานี้อีกครั้ง - ควรระวั งการใช้ ยาในผู ้ สู งอายุ และผู ้ ป่ วยที ่ มีความผิ ดปกติ ของไตหรือตั บ ( renal / hepatic impairment ) เนื่องจากยามีส่วนประกอบของแมกนีเซียม 11. อาการไม่พึงประสงค์ ปวดเสียดท้อง 12 . ขนาดบรรจุ

81 บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 45. ยาหอมทิพโอสถ 1. ชื่อยา ยาหอมทิพโอสถ ชนิดผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 142 กรัม 1 กระจับ เมล็ด 4 กรัม 2 กระชาย เหง้า 4 กรัม 3 กระดังงา ดอก 4 กรัม 4 กฤษณา แก่น ที่มีราลง 4 กรัม 5 ข่าต้น แก่น 4 กรัม 6 คําไทย ดอก 4 กรัม 7 จันทน์ขาว แก่น 4 กรัม 8 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น ( จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 4 กรัม 9 จันทน์เทศ แก่น 4 กรัม 10 จําปา ดอก 4 กรัม 11 ชะลูด เปลือกเถา 4 กรัม 12 ชะเอมเทศ รากและเหง้า 4 กรัม 13 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 4 กรัม 14 บัวจงกลนี ดอก 4 กรัม 15 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 4 กรัม 16 บุนนาค ดอก 4 กรัม 17 เปราะหอม เหง้า 4 กรัม 18 ฝาง แก่น 4 กรัม 19 พิกุล ดอก 4 กรัม 20 มะลิ ดอก 4 กรัม 21 ลูกจันทน์ เมล็ด 4 กรัม 22 ว่านน้ํา เหง้า 4 กรัม 23 สนเทศ แก่น 4 กรัม 24 สมุลแว้ง เปลือกต้น 4 กรัม

82 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 142 กรัม 25 สารภี ดอก 4 กรัม 26 สุรามฤต เถา 4 กรัม 27 แห้วไทย ราก 4 กรัม 28 อบเชย เปลือกต้น 4 กรัม 29 โกฐกระดูก ราก 2 กรัม 30 โกฐก้านพร้าว เหง้าและราก 2 กรัม 31 โกฐเขมา เหง้า 2 กรัม 32 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 2 กรัม 33 โกฐชฎามังสี รากและเหง้า 2 กรัม 34 โกฐเชียง รากแขนง 2 กรัม 35 โกฐพุงปลา ปุ่มหูด 2 กรัม 36 โกฐสอ ราก 2 กรัม 37 โกฐหัวบัว เหง้า 2 กรัม 38 การบูร - 1 กรัม 39 เทียนเกล็ดหอย เมล็ด 1 กรัม 40 เทียนขาว ผล 1 กรัม 41 เทียนข้าวเปลือก ผล 1 กรัม 42 เทียนดํา เมล็ด 1 กรัม 43 เทียนแดง เมล็ด 1 กรัม 44 เทียนตากบ ผล 1 กรัม 45 เทียนตาตั๊กแตน ผล 1 กรัม 46 เทียนเยาวพาณี ผล 1 กรัม 47 เทียนสัตตบุษย์ ผล 1 กรัม 48 พิมเสน - 1 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา - ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 - ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100

83 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองกันความชื้นได้ ซองละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ แก้ลมวิง เวียน 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 2 - 3 ซอง ละลายน้ํากระสายยา เมื่อมีอาการ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่เกินวันละ 3 ครั้ง กระสายยาที่ใช้ น้ําดอกไม้หรือน้ําต้มสุก 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับตัวของ เกล็ดเลือด ( antiplatelet ) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจ เกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ - ควรระวังกา รใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 46. ยาประสะกานพลู 1. ชื่อยา ยาประสะกานพลู ชนิดผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 250 กรัม 1. กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 125 กรัม 2. ซิก เปลือกต้น 10 กรัม 3. ขมิ้นชัน เหง้า 8 กรัม 4. ข้าวสาร ราก 8 กรัม 5. กฤษณา เนื้อไม้ แก่น ที่มีราลง 8 กรัม

84 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 250 กรัม 6. ลูกจันทน์ เมล็ด 8 กรัม 7. กระชาย เหง้า 4 กรัม 8. กระวาน ผล 4 กรัม 9. กรุงเขมา ราก 4 กรัม 10. การบูร - 4 กรัม 11. กํามะถันเหลือง - 4 กรัม 12. โกฐกระดูก ราก 4 กรัม 13. โกฐสอ ราก 4 กรัม 14. ขี้อ้าย เปลือกต้น 4 กรัม 15. แจง ราก 4 กรัม 16. เทียนขาว ผล 4 กรัม 17. เทียนดํา เมล็ด 4 กรัม 18. ใบกระวาน ใบ 4 กรัม 19. เปราะหอม เหง้า 4 กรัม 20. แฝกหอม ราก 4 กรัม 21. เพกา เปลือกต้น 4 กรัม 22. ลูกผักชีลา ผล 4 กรัม 23. ว่านน้ํา เหง้า 4 กรัม 24. ขิง เหง้า 3 กรัม 25. ดีปลี ช่อผล 3 กรัม 26. เจตมูลเพลิงแดง ราก 2 กรัม 27. ช้าพลู ราก 2 กรัม 28. ไพล เหง้า 2 กรัม 29. สะค้าน เถา 2 กรัม 30. พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 1 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา - สูตรตํารับที่ใกล้เคียงตํารับนี้ พบในตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาท เวช ร.ศ. 127 - ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 - ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร (ยกเว้นการบูร) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม

85 2) อบสมุนไพร (ยกเว้นการบูร) ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมงหรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งการบูร ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองกันความชื้นได้ ซองละ 1 กรั ม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดท้อง จุกเสียด แน่นเฟ้อจากอาหารไม่ย่อย เนื่องจากธาตุไม่ปกติ 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 1 ซอง วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เมื่อมีอาการ กระสายยาที่ใช้ - ใช้ไพลเผาไฟให้พอสุก ฝนกับน้ําปูนใสเป็นน้ํากระสาย - หากหาน้ํากระสายไม่ได้ ให้ใช้น้ําต้มสุกแทน 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจ เกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 4 7 . ยาประสะกานพลู 1. ชื่อยา ยาประสะกานพลู ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับ 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 250 กรัม 1. กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 125 กรัม 2. ซิก เปลือกต้น 10 กรัม

86 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 250 กรัม 3. ขมิ้นชัน เหง้า 8 กรัม 4. ข้าวสาร ราก 8 กรัม 5. กฤษณา เนื้อไม้ แก่น ที่มีราลง 8 กรัม 6. ลูกจันทน์ เมล็ด 8 กรัม 7. กระชาย เหง้า 4 กรัม 8. กระวาน ผล 4 กรัม 9. กรุงเขมา ราก 4 กรัม 10. การบูร - 4 กรัม 11. กํามะถันเหลือง - 4 กรัม 12. โกฐกระดูก ราก 4 กรัม 13. โกฐสอ ราก 4 กรัม 14. ขี้อ้าย เปลือกต้น 4 กรัม 15. แจง ราก 4 กรัม 16. เทียนขาว ผล 4 กรัม 17. เทียนดํา เมล็ด 4 กรัม 18. ใบกระวาน ใบ 4 กรัม 19. เปราะหอม เหง้า 4 กรัม 20. แฝกหอม ราก 4 กรัม 21. เพกา เปลือกต้น 4 กรัม 22. ลูกผักชีลา ผล 4 กรัม 23. ว่านน้ํา เหง้า 4 กรัม 24. ขิง เหง้า 3 กรัม 25. ดีปลี ช่อผล 3 กรัม 26. เจตมูลเพลิงแดง ราก 2 กรัม 27. ช้าพลู ราก 2 กรัม 28. ไพล เหง้า 2 กรัม 29. สะค้าน เถา 2 กรัม 30. พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 1 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา - สูตรตํารับที่ใกล้เคียงตํารับนี้ พบในตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาท เวช ร.ศ. 127 - ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 - ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา

87 ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร (ยกเว้นการบูร) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร (ยกเว้นการบูร) ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมงหรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้ง การบูร ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดท้อง จุกเสียด แน่นเฟ้อจากอาหารไม่ย่อย เนื่องจากธาตุไม่ปกติ 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เมื่อมีอาการ กระสายยาที่ใช้ - ใช้ไพลเผาไฟให้พอสุก ฝนกับน้ําปูนใสเป็นน้ํากระสาย - หากหาน้ํากระสายไม่ได้ให้ใช้น้ําต้มสุกแทน 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่ มีไข้ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจ เกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 48. ยาตรีหอม 1. ชื่อยา ยาตรีหอม ชนิดผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ตัวยาสําคัญ

88 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 63 กรัม 1 โกฐน้ําเต้า รากและเหง้า 22 กรัม 2 สมอไทย เนื้อผล 22 กรัม 3 มะขามป้อม เนื้อผล 4 กรัม 4 ลูกผักชีลา ผล 4 กรัม 5 สมอเทศ เนื้อผล 4 กรัม 6 สมอพิเภก เนื้อผล 4 กรัม 7 โกฐสอ ราก 1 กรัม 8 ชะเอมเทศ รากและเหง้า 1 กรัม 9 ลูกซัด เมล็ด 1 กรัม* * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา สูตรตํารับนี้ใกล้เคียงกับ ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การคั่วลูกซัด: นําตัวยาไปคั่ว จึงนําไปใช้ปรุงยา 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองกันความชื้นได้ ซองละ 5 00 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ แก้เด็กท้องผูก ระบายพิษไข้ 7. ขนาดและวิธีใช้ เด็กอายุ 6 - 12 เดือน กินครั้งละ 1 - 2 ซอง ละลายน้ําสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) ก่อนอาหารเช้า 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี

89 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม โดยปกติโกฐน้ําเต้าที่ใช้ตามตํารายาแผนไทยผ่านกระบวนการนึ่งแล้ว 49. ยาแสงหมึก 1. ชื่อยา ยาแสงหมึก ชนิดผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 45 กรัม 1 กระวาน ผล 4 กรัม 2 กะเพรา ใบ 4 กรัม 3 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 4 กรัม 4 จันทน์ชะมด แก่น 4 กรัม 5 จันทน์เทศ แก่น 4 กรัม 6 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 4 กรัม 7 พิมเสนต้น ใบ 4 กรัม 8 ลูกจันทน์ เมล็ด 4 กรัม 9 สันพร้าหอม ใบ 4 กรัม 10 หมึกหอม - 4 กรัม* 11 หอม หัว 4 กรัม 12 พิมเสน - 1 กรัม * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา - สูตรตํารับนี้ใกล้เคียงกับที่พบในคัมภีร์แพทย์แผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 2 - ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นหมึกหอม ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง

90 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งหมึกหอม ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองกันความชื้นได้ ซองละ 200 มิลลิกรัม 6. สรรพคุ ณ แก้ตัวร้อน แก้ท้องขึ้น ปวดท้อง แก้ไอ ขับเสมหะ แก้แผลในปาก แก้ละออง 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 กรณีแก้ตัวร้อน ใช้กวาดคอ วันละ 1 ครั้ง หลังจากนั้นรับประทานทุก 3 ชั่วโมง เด็กอายุ 1 - 6 เดือน กินครั้งละ 2 ซอง ละลายน้ําดอกไม้เทศ เด็กอายุ 7 - 12 เดือน กินครั้งละ 3 ซอง ละลายน้ําดอกไม้เทศ 7.2 กรณีแก้ท้องขึ้น ปวดท้อง ใช้กวาดคอ วันละ 1 ครั้ง หลังจากนั้นรับประทานทุก 3 ชั่วโมง เด็กอายุ 1 - 6 เดือน กินครั้งละ 2 ซอง ละลายน้ําใบกะเพราต้ม เด็กอายุ 7 - 12 เดือน กินครั้งละ 3 ซอง ละลายน้ําใบกะเพราต้ม 7.3 กรณีแก้ไอ ขับเสมหะ ใช้กวาดคอ วันละ 1 ครั้ง หลังจากนั้นรับประทานทุก 3 ชั่วโมง เด็กอายุ 1 - 6 เดือน กินครั้งละ 2 ซอง ละลายน้ําลูกมะแว้งเครือหรือลูกมะแว้งต้น เด็กอายุ 7 - 12 เดือน กินครั้งละ 3 ซอง ละลายน้ําลูกมะแว้งเครือหรือลูกมะแว้งต้น 7.4 กรณีแก้แผลในปาก แก้ละออ ง ละลายน้ําลูกเบญกานีฝนทาในปาก วันละ 1 ครั้ง 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม

91 ในกระบวนการปรุงยาจะมีขั้นตอนการเตรียมเครื่องยาหมึกหอมให้นิ่มก่อนที่จะนําไปใช้ เช่น บีบน้ํา มะนาวใส่หมึกหอม ทิ้งไว้จนหมึกหอมนิ่ม หรือ นําหมึกหอมไปแช่น้ําพอเปียก แล้วนําไปย่างไฟพอแห้ง แล้ว จึงค่อยนําตัวยาหมึกหอมดังกล่าวไปปรุงยาต่อไป 50 . ยาธาตุอบเชย 1 . ชื่อยา ยาธาตุอบเชย ชนิดยาต้ม 2 . สูตรตํารับยา 2 . 1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 4,100 มิลลิกรัม 1 กระวาน ผล 800 มิลลิกรัม 2 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 800 มิลลิกรัม 3 ชะเอมเทศ รากและเหง้า 800 มิลลิกรัม 4 สมุลแว้ง เปลือกต้น 800 มิลลิกรัม 5 อบเชยเทศ เปลือกต้น 800 มิลลิกรัม 6 การบูร - 50 มิลลิกรัม 7 เกล็ดสะระแหน่ - 50 มิลลิกรัม 2 . 2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3 . ที่มาของตํารับยา เภสัชตํารับโรงพยาบาลอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี โดยปรับสูตรตํารับจากยาธาตุน้ําเปลือกอบเชย ของ หมอจันดี เข็มเฉลิม แพทย์ประจําตําบลเกาะขนุน อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา 4 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้มีขนาดเล็กลง 3 ) อบสมุนไพร ยกเว้นการบูรและเกล็ดสะระแหน่ ที่ อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4 ) นําสมุนไพรที่อบจนแห้งแล้ว มาบดหยาบให้ชิ้นส่วนสมุนไพรมีขนาดสม่ําเสมอกัน 5 ) ชั่งน้ําหนักสมุนไพรตามสูตรยา และบรรจุสมุนไพรทั้งหมดที่บดแล้วในถุงผ้าขาวบาง 6 ) ชั่งน้ําหนักตัวยาการบูรและเกล็ดสะระแหน่ตามสูต ร แล้วแยกบรรจุใส่ในถุงพลาสติกปิดให้สนิท 7 ) จากนั้นนําถุงผ้าขาวบางและถุงพลาสติกไปบรรจุลงบรรจุภัณฑ์ 6 . สรรพคุณ ขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ 7 . ขนาดและวิธีใช้ 7 . 1 วิธีการเตรียมยาต้ม 1 ) นําสมุนไพรในถุงผ้าขาวบาง ใส่ในหม้อต้ม

92 2 ) เติมน้ําพอท่วม ( โดยใช้มือกดบนยาเบา ๆ ให้ตัวยาจมอยู่ใต้น้ํา และให้น้ําท่วมหลังมือ ) นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือดด้วยไฟแรงแล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ไฟอ่อน ๆ ใช้เวลาในการต้มประมาณ 10 - 15 นาที ยกลง จากเตา 3 ) นําถุ งผ้ำขาวบางออก แล้ ว เติม การบูรและเกล็ดสะระแหน่ คนให้ เข้ากั น ป รับปริมาตรด้วย น้ําต้มสุก จนได้ 100 มิลลิลิตร 7 . 2 วิธีกิน กินครั้งละ 1 - 2 ช้อนโต๊ะ (15 - 30 มิลลิลิตร) วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . คําเตือน ไม่มี 10 . ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับและไต เนื่องจาก อาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 11 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในซองพลาสติก หรือ ภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 30 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 51 . ยาผายโลหิต 1 . ชื่อยา ยาผายโลหิต ชนิดยาต้ม 2 . สูตรตํารับยา 2 . 1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 120 กรัม 1 ขี้กาแดง ราก 15 กรัม 2 ขี้เหล็ก ทั้ง 5 15 กรัม 3 คัดเค้า ผล 15 กรัม 4 มะกา ใบ 15 กรัม 5 มะขาม ใบ 15 กรัม 6 ส้มป่อย ใบ 15 กรัม 7 หญ้าไทร ทั้งต้น 15 กรัม 8 ดีเกลือ - 7.5 กรัม 9 ยาดํา ยางจากใบ 7.5 กรัม* * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว

93 2 . 2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3 . ที่มาของตํารับยา แพทยศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 126 4 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุยาดํา: นํายาดําใส่กระทะที่สะอาด คั่วจนกรอบ หรือ นํายาดําใส่หม้อดินที่สะอำด เติมน้ํา เล็กน้อย ยกขึ้นตั้งไฟ จนยาดํากรอบดีแล้ว 5 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําตัวยาสมุนไพร มา ทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลง 3 ) อบสมุนไพร ยกเว้น ดีเกลือและยาดําสะตุ ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4 ) นําสมุนไพรที่อบจนแห้งแล้ว ยกเว้น ดีเกลือและยาดําสะตุ มาบดหยาบให้ชิ้นส่วนสมุนไพรมีขนาด สม่ําเสมอกัน 5 ) ชั่งน้ําหนักสมุนไพรตามสูตรยา และบรรจุสมุนไพรทั้งหมดที่บดแล้วในถุงผ้าขาวบาง 6 ) ชั่งน้ําหนักตัวยาดีเกลือและยาดําสะตุตามสูตร แล้วแยกบรรจุใส่ในถุงพลาสติกปิดให้สนิท 7 ) จากนั้นนําถุงผ้าขาวบางและถุงพลาสติกไปบรรจุลงบรรจุ ภัณฑ์ 6 . สรรพคุณ ประจุโลหิต แก้ประจําเดือนมาไม่ปรกติ 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 วิธีการเตรียมยาต้ม 1) นําถุงผ้าขาวบางที่บรรจุสมุนไพรและตัวยาในถุงยาพลาสติกใส่ในหม้อต้ม 2) เติมน้ําประมาณ 3 ลิตร นําไปต้มเคี่ยวไฟกลาง ต้มให้เหลือน้ําประมาณ 1 ลิตร ยกลงจาก เตา 7.2 วิธีกิน กินครั้งละ 2 - 4 ช้อนโต๊ะ (30 - 60 มิลลิลิตร) ตามกําลังธาตุหนักเบา วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า เย็น โดยควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ ยา 1 ห่อ ใช้ติดต่อกันได้ 5 - 7 วัน โดยเติมน้ําแล้วนํามาอุ่นกินทุกวัน 8. ข้อห้ามใช้ 8.1 ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์ 8.2 ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของหัวใจ และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตต่ํา 8.3 ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะทางเดินอาหารอุดตัน ( gastrointestinal obstruction / ileus ) 8.4 ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคริดสีดวงทวารหนัก ที่มีอาการถ่ายเป็นเลือด 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ไม่ควรกินยานี้ติดต่อกันเกิน 7 วัน 10.2 ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของไตหรือตับ ( renal / hepatic impairment ) 11. อาการไม่พึงประสงค์

94 ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในซองพลาสติก หรือ ภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 52 . ยาไฟห้ากอง 1. ชื่อยา ยาไฟห้ากอง ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 100 กรัม 1 ขิง เหง้า 20 กรัม 2 เจตมูลเพลิงแดง ราก 20 กรัม 3 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 20 กรัม 4 ส้มป่อย ฝัก 20 กรัม 5 สารส้มสะตุ - 20 กรัม* * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุสารส้ม: นําสารส้มมาบดให้ละเอียด ใส่ในหม้อดินหรือกระทะเหล็ก ตั้งไฟจนสารส้มฟูและมีสี ขาว แล้วจึงยกลงจากไฟ ทิ้งให้แห้ง จึงนําไปใช้ปรุงยา 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นสารส้มสะตุ ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งสารส้มสะตุ ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลง ซองกันความชื้น ซองละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ ขับน้ําคาวปลาในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ 7. ขนาดและวิธีใช้

95 กินครั้งละ 2 - 3 ซอง ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ให้กิน จนกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ไม่ควรเกิน 15 วัน 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงตั้งครรภ์ หญิงผ่าคลอด และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปรกติหลังคลอด 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 53 . ยาไฟห้ากอง 1. ชื่อยา ยาไฟห้ากอง ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 100 กรัม 1 ขิง เหง้า 20 กรัม 2 เจตมูลเพลิงแดง ราก 20 กรัม 3 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 20 กรัม 4 ส้มป่อย ฝัก 20 กรัม 5 สารส้มสะตุ - 20 กรัม* * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุสารส้ม: นําสารส้มมาบดให้ละเอียด ใส่ในหม้อดินหรือกระทะเหล็ก ตั้งไฟจนสารส้มฟูและมีสี ขาว แล้วจึงยกลงจากไฟ ทิ้งให้แห้ง จึงนําไปใช้ปรุงยา 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม

96 2) อบสมุนไพร ยกเว้นสารส้มสะตุ ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งสารส้มสะตุ ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5 ) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ ขับน้ําคาวปลาในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 2 - 3 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ให้กินจนกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ไม่ควรเกิน 15 วัน 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงตั้งครรภ์ หญิงผ่าคลอด และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปรกติหลังคลอด 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 54 . ยาไฟห้ากอง 1. ชื่อยา ยาไฟห้ากอง ชนิดเม็ด 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 100 กรัม 1 ขิง เหง้า 20 กรัม 2 เจตมูลเพลิงแดง ราก 20 กรัม 3 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 20 กรัม 4 ส้มป่อย ฝัก 20 กรัม 5 สารส้มสะตุ - 20 กรัม* * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้ อ 4 แล้ว

97 2.2 ส่วนประกอบ - Microcrystalline cellulose - Talcum - Magnesium stearate - Croscarmellose sodium หรือ Crospovidone หรือ Sodium starch glycolate - Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) 3. ที่มาของตํารับยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุ ดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุสารส้ม: นําสารส้มมาบดให้ละเอียด ใส่ในหม้อดินหรือกระทะเหล็ก ตั้งไฟจนสารส้มฟูและมีสี ขาว แล้วจึงยกลงจากไฟ ทิ้งให้แห้ง จึงนําไปใช้ปรุงยา 5. กรรมวิธีการผลิต สูตรแม่บท ยาไฟห้ากอง ชนิดเม็ด ความแรง 250 มิลลิกรัมต่อเม็ด สูตรตํารับ ปริมาณ ผงยาไฟห้ากอง 250 มิลลิกรัม Microcrystalline cellulose 200 มิลลิกรัม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) 1 - 3 % w / w Croscarmellose sodium หรือ Crospovidone หรือ Sodium starch glycolate 0 - 5 % w / w Talcum 1 % w / w Magnesium stearate 1 % w / w 5.1 การเตรียมสารละลาย Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) ความเข้มข้นร้อยละ 10 โดย น้ําหนัก 1) ชั่งน้ําหนักของ Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) และ น้ํา ตามสัดส่วนของความเข้มข้นร้อย ละ 10 โดยน้ําหนัก 2) นํา Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) มาโปรยในน้ํา คนจนละลาย จะได้ สารละลาย Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) ความเข้มข้นร้อยละ 10 โดยน้ําหนัก 5.2 การเตรียมยาเม็ด 1) นําตัวยาสมุนไพรมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร (ยกเว้นสารส้มสะตุ) ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือ จนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแ ห้งแล้ว รวมทั้งสารส้มสะตุ และส่วนประกอบ ชั่งน้ําหนักตามป ริมาณที่ ต้องการผลิต ซึ่งสอดคล้องกับสูตรแม่บท 4) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งสารส้มสะตุ มารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด และร่อนผ่านแร่ง เบอร์ 80 ผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) นํา Croscarmellose sodium (ถ้ำมี ) หรือ Crospovidone (ถ้ำมี) หรือ Sodium starch glycolate (ถ้ามี) และ Microcrystalline cellulose , Talcum และ Magnesium stearate ร่อนผ่าน แร่งเบอร์ 80

98 6) ชั่งผงยา และ Microcrystalline cellulose ผสมกันจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําสารละลาย Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) ที่เตรียมไว้ (ตามข้อ 5.1) ปริมาณ ร้อยละ 1 - 3 โดยน้ําหนัก (น้ําหนักของผงแห้ง) ผสมกับผงยาในข้อ 6 ทีละน้อยจนได้ลักษณะผงยาที่มีความเปียก พอเหมาะ ( damp mass ) 8) นําส่วนผสมข้อ 7 มาผ่านแร่งเบอร์ 16 จนได้แกรนูล นําไปอบที่อุณหภูมิ 50 องศาเ ซลเซียส จนแห้ง 9) นําแกรนูลที่ได้อบแล้ว มาผสมกับ Croscarmellose sodium (ถ้ามี) หรือ Crospovidone (ถ้า มี) หรือ Sodium starch glycolate (ถ้ำมี) ปริมาณร้อยละ 0.1 - 5 โดยน้ําหนัก ผสมจนได้ผงยาที่ สม่ําเสมอ เป็นเวลานานประมาณ 2 นาที 10) เติม Talcum ปริมาณร้อยละ 1 โดย น้ําหนัก และ Magnesium stearate ปริมาณร้อยละ 1 โดยน้ําหนัก ผสมให้เข้ากันเป็นเวลานาน 1 - 5 นาที จนได้ส่วนผสมที่สม่ําเสมอ 11) นําตัวยาไปตอกด้วยเครื่องตอกยาเม็ด 6. สรรพคุณ ขับน้ําคาวปลาในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 4 - 6 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ให้กินจนกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ไม่ควรเกิน 15 วัน 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงตั้งครรภ์ หญิงผ่าคลอด และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปรกติหลังคลอด 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 55 . ยาขับน้ําคาวปลาหลังคลอด 1. ชื่อยา ยาขับน้ําคาวปลาหลังคลอด ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 60 กรัม

99 1 ขิง เหง้า 15 กรัม 2 ดีปลี ช่อผล 15 กรัม 3 พริกไทย ผลแก่ 15 กรัม 4 คนทีสอ ใบ 3.75 กรัม 5 จําปา ใบ 3.75 กรัม 6 ทองหลางใบมน ใบ 3.75 กรัม 7 ไผ่ป่า ใบ 3.75 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตํารายาเกร็ด ตํารับยากินเมื่อคลอดลูก 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยา ลงซองกันความชื้น ซองละ 1 กรัม 6. สรรพคุณ ขับน้ําคาวปลาช่วยให้มดลูกเข้าอู่ 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 1 - 2 ซอง ละลายน้ําผึ้ง หรือน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น กินติดต่อกันไม่เกิน 1 เดือน หลังคลอด 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงตั้งครรภ์ หญิงผ่าคลอด และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปรกติหลังคลอด 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา ไม่มี

100 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 56 . ยาริดสีดวงมหากาฬ 1. ชื่อยา ยาริดสีดวงมหากาฬ ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 110 กรัม 1 โกฐกักกรา ปุ่มหูด 5 กรัม 2 โกฐก้านพร้าว รากและเหง้า 5 กรัม 3 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 5 กรัม 4 โกฐพุงปลา ปุ่มหูด 5 กรัม 5 โกฐสอ ราก 5 กรัม 6 ขอบชะนางขาว ทั้งต้น 5 กรัม 7 ขอบชะนางแดง ทั้งต้น 5 กรัม 8 ขิง เหง้า 5 กรัม 9 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 5 กรัม 10 ดีปลี ช่อผล 5 กรัม 11 เทียนขาว ผล 5 กรัม 12 เทียนข้าวเปลือก ผล 5 กรัม 13 เทียนดํา เมล็ด 5 กรัม 14 เทียนแดง เมล็ด 5 กรัม 15 เทียนตาตั๊กแตน ผล 5 กรัม 16 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 5 กรัม 17 มดยอบคั่ว ยางไม้ 5 กรัม 18 ลูกจันทน์ เมล็ด 5 กรัม 19 สนเทศ แก่น 5 กรัม 20 สมุลแว้ง เปลือกต้น 5 กรัม 21 สะค้าน เถา 5 กรัม 22 อบเชยเทศ เปลือกต้น 5 กรัม 2 .2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต

101 1) นําตัวยาสมุนไพรมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นมดยอบคั่ว ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมงหรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งมดยอบคั่ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 400 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการริดสีดวงทวารหนัก 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 2 - 3 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และ เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และ ยาต้านการจับตัว กันของเกล็ดเลือด ( antiplatelet ) 10.2 ควรระวังการใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม โดยทั่วไปมดยอบตามท้องตลาดจําหน่ายแบบคั่วแล้ว 57 . ยาเลือดงาม 1. ชื่อยา ยาเลือดงาม ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 102 กรัม 1 กระชาย เหง้า 5 กรัม 2 กระทือ เหง้า 5 กรัม 3 กระเทียม หัว 5 กรัม 4 กะเพรา ใบ 5 กรัม

102 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 102 กรัม 5 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 5 กรัม 6 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 5 กรัม 7 ขิง เหง้า 5 กรัม 8 เจตมูลเพลิงแดง ราก 5 กรัม 9 ช้าพลู ทั้งต้น 5 กรัม 10 ชะเอมเทศ รากและเหง้า 5 กรัม 11 ดีปลี ช่อผล 5 กรัม 12 ตะไคร้ ลําต้น 5 กรัม 13 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 5 กรัม 14 เพกา เปลือกต้น 5 กรัม 15 ไพล เหง้า 5 กรัม 16 มะกรูด ผิว* 5 กรัม 17 มะนาว ใบ 5 กรัม 18 เร่วหอม เมล็ด 5 กรัม 19 ลูกจันทน์ เมล็ด 5 กรัม 20 สะระแหน่ ทั้งต้น 5 กรัม 21 การบูร - 1 กรัม 22 พิมเสน - 1 กรัม * ผิวมะกรูดอาจมีส่วนของเปลือกผลชั้นกลาง ( Mesocarp ) ที่ไม่สามารถแยกออกได้ ติดมาบ้าง 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา 3.1 เภสัชตํารับโรงพยาบาล โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร 3.2 ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรมาทําความสะอาดตามควา มเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นการบูรและพิมเสน ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือ จนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งการบูรและพิมเสน มาชั่งน้ําหนักตามสูตรตํารับ และบดละเอียดรวมกัน 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยา ลงซองกันความชื้น ซองละ 1 กรัม 6. สรรพคุณ

103 บรรเทาอาการปวดประจําเดือน ช่วยให้ประจําเดือนมาปรกติ แก้มุตกิด 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 1 - 2 ซอง ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงตั้งครรภ์ และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปรกติหลังคลอด 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับและไต เนื่องจาก อาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา ไม่มี 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 58 . ยาเลือดงาม 1. ชื่อยา ยาเลือดงาม ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 102 กรัม 1 กระชาย เหง้า 5 กรัม 2 กระทือ เหง้า 5 กรัม 3 กระเทียม หัว 5 กรัม 4 กะเพรา ใบ 5 กรัม 5 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 5 กรัม 6 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 5 กรัม 7 ขิง เหง้า 5 กรัม 8 เจตมูลเพลิงแดง ราก 5 กรัม 9 ช้าพลู ทั้งต้น 5 กรัม 10 ชะเอมเทศ รากและเหง้า 5 กรัม 11 ดีปลี ช่อผล 5 กรัม 12 ตะไคร้ ลําต้น 5 กรัม

104 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 102 กรัม 13 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 5 กรัม 14 เพกา เปลือกต้น 5 กรัม 15 ไพล เหง้า 5 กรัม 16 มะกรูด ผิว* 5 กรัม 17 มะนาว ใบ 5 กรัม 18 เร่วหอม เมล็ด 5 กรัม 19 ลูกจันทน์ เมล็ด 5 กรัม 20 สะระแหน่ ทั้งต้น 5 กรัม 21 การบูร - 1 กรัม 22 พิมเสน - 1 กรัม * ผิวมะกรูดอาจมีส่วนของเปลือกผลชั้นกลาง ( Mesocarp ) ที่ไม่สามารถแยกออกได้ ติดมาบ้าง 2 .2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา 3.1 เภสัชตํารับโรงพยาบาล โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร 3.2 ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นการบูรและพิมเสน ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือ จนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งการบูรและพิมเสน ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้น บดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดประจําเดือน ช่วยให้ประจําเดือนมาปรกติ แก้มุตกิด 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 2 - 4 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงตั้งครรภ์ และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปรกติหลังคลอด 9. คําเตือน ไม่มี

105 10. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับและไต เนื่องจาก อาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 11. อาการไม่พึง ประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา ไม่มี 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 59 . ยาห้าราก 1. ชื่อ ยา ยาห้าราก ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 100 กรัม 1 คนทา ราก 20 กรัม 2 ชิงชี่ ราก 20 กรัม 3 มะเดื่ออุทุมพร ราก 20 กรัม 4 ไม้เท้ายายม่อม ราก 20 กรัม 5 ย่านาง ราก 20 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา 3.1 ตําราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 1 3.2 ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณ หภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองกันความชื้น ซองละ 500 มิลลิกรัม

106 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการไข้ กระทุ้งพิษไข้ 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 2 - 3 ซอง ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เมื่อมีอาการ 7.2 เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 1 - 2 ซอง ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ไม่ควรใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก 10.2 ไม่แนะนําให้ใช้ในหญิงที่มีไข้ทับระดูหรือไข้ระหว่างมีประจําเดือน 10.3 หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 60 . ยาห้าราก 1. ชื่อ ยา ยาห้าราก ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 100 กรัม 1 คนทา ราก 20 กรัม 2 ชิงชี่ ราก 20 กรัม 3 มะเดื่ออุทุมพร ราก 20 กรัม 4 ไม้เท้ายายม่อม ราก 20 กรัม 5 ย่านาง ราก 20 กรัม 2 . 2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3 . ที่มาของตํารับยา

107 3 . 1 ตําราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 1 3 . 2 ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 250 หรือ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการไข้ กระทุ้งพิษไข้ 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ผู้ใหญ่ 1) ขนาดบรรจุแคปซูลละ 250 มิลลิกรัม กินครั้งละ 4 - 6 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เมื่อมีอาการ 2) ขนาดบรรจุแคปซูลละ 500 มิลลิกรัม กินครั้งละ 2 - 3 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เมื่อมีอาการ 7.2 เด็ก อายุ 6 - 12 ปี 1) ขนาดบรรจุแคปซูลละ 250 มิลลิกรัม กินครั้งละ 2 - 4 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ไม่ควรใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก 10.2 ไม่แนะนําให้ใช้ในหญิงที่มีไข้ทับระดูหรือไข้ระหว่างมีประจําเดือน 10.3 หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง

108 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 61 . ยาสหัศธารา 1. ชื่อยา ยาสหัศธารา ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 1000 กรัม 1 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 240 กรัม 2 เจตมูลเพลิงแดง ราก 224 กรัม 3 สมอไทย เนื้อผล 104 กรัม 4 ดีปลี ช่อผล 96 กรัม 5 ว่านน้ํา เหง้า 88 กรัม 6 ทนดี ราก 80 กรัม 7 หัสคุณเทศ เนื้อไม้ 48 กรัม* 8 การบูร - 14 กรัม 9 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 13 กรัม 10 ลูกจันทน์ เมล็ด 12 กรัม 11 เทียนแดง เมล็ด 11 กรัม 12 เทียนตาตั๊กแตน ผล 10 กรัม 13 มหาหิงคุ์ ยางจากราก 10 กรัม* 14 เทียนสัตตบุษย์ ผล 9 กรัม 15 จิงจ้อ ราก 8 กรัม 16 เทียนขาว ผล 8 กรัม 17 เทียนดํา เมล็ด 7 กรัม 18 โกฐกักกรา ปุ่มหูด 6 กรัม 19 โกฐเขมา เหง้า 5 กรัม 20 โกฐก้านพร้าว รากและเหง้า 4 กรัม 21 โกฐพุงปลา ปุ่มหูด 3 กรัม * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา 3.1 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 2 ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ 3.2 ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา

109 4.1 การคั่ว หัสคุณเทศ : เอาเนื้อไม้ หัสคุณเทศ ไปคั่วหรือเผา จึงนําไปใช้ปรุงยาได้ 4.2 การสะตุมหาหิงคุ์: นํามหาหิงคุ์ใส่หม้อดิน เอาใบกะเพราแดง ใส่น้ําต้มจนเดือด เทน้ําใบกะเพราแดง ขณะร้อน ๆ ลงในหม้อดินละลายมหาหิงคุ์ แล้วกรองให้สะอาด แล้วผึ่งหรืออบจนมหาหิงค์แห้ง 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร ยกเว้นการบูรและมหาหิงคุ์ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งการบูรและมหาหิงคุ์ ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ ขับลมในเส้น แก้โรคลมกองหยาบ 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 2 – 3 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคแผลเปื่อยเพปติก และโรคกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็นยารสร้อน 10.2 ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับและไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูร และเกิด พิษได้ 10.3 ควรระวังการใช้ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจาก ตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง 11. อาการไม่พึงประสงค์ ร้อนท้อง แสบท้อง คลื่นไส้ คอแห้ง ผื่นคัน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม สูตรตํารับยาสหัศธาราตาม ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ ด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 ใช้ตัวยา “ตองแตก” เป็นส่วนประกอบ 62 . ยาไฟประลัยกัลป์ 1. ชื่อยา ยาไฟประลัยกัลป์ ชนิดเม็ด

110 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 71 กรัม 1 การบูร - 6 กรัม 2 เจตมูลเพลิงแดง ราก 6 กรัม 3 มะกรูด ผิว* 6 กรัม 4 สารส้มสะตุ - 6 กรัม** 5 แสมทะเล แก่น 6 กรัม 6 กะทือ เหง้า 5 กรัม 7 ขมิ้นอ้อย เหง้า 5 กรัม 8 ข่า เหง้า 5 กรัม 9 ไพล เหง้า 5 กรัม 10 มะรุม เปลือกต้น 5 กรัม 11 กระเทียม หัว 4 กรัม 12 ขิง เหง้า 4 กรัม 13 ดีปลี ช่อผล 4 กรัม 14 พริกไทยล่อน เมล็ดจาก ผลสุก 4 กรัม * ผิวมะกรูดอาจมีส่วนของเปลือกผลชั้นกลาง ( Mesocarp ) ที่ไม่สามารถแยกออกได้ ติดมาบ้าง ** น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ - Microcrystalline cellulose - Magnesium stearate - Silicon dioxide - Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) 3. ที่มาของตํารับยา ตําราอายุรเวทศึกษา (ขุนนิทเทสสุขกิจ) เล่ม 2 (ใกล้เคียงกับตํารับในตํารา อายุรเวทศึกษา ) 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุสารส้ม: นําสารส้มมาบดให้ละเอียด ใส่ในหม้อดินหรือกระทะเหล็ก ตั้งไฟจนสารส้มฟูและมีสี ขาว แล้วจึงยกลงจากไฟ ทิ้งให้แห้ง จึงนําไปใช้ปรุงยา 5. กรรมวิธีการผลิต สูตรแม่บท ยาไฟประลัยกัลป์ ชนิดเม็ด ความแรง 250 มิลลิกรัม สูตรตํารับ ปริมาณ ผงยาไฟประลัยกัลป์ 250 มิลลิกรัม Microcrystalline cellulose 31 - 47 % w / w Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) 0 - 16 % w / w Magnesium stearate 0 . 25 - 2 % w / w Silicon dioxide 0 . 25 - 1 % w / w

111 1) นําตัวยาสมุนไพร (ยกเว้น สารส้มสะตุและการบูร) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร (ยกเว้น สารส้มสะตุและการบูร) ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมงหรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งสารส้มสะตุและการบูร และส่วนประกอบ ชั่งน้ําหนัก ตาม ปริมาณที่ต้องการผลิต ซึ่งสอดคล้องกับสูตรแม่บท 4) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ ว รวมทั้งสารส้มสะตุและการบูร นํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด และร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 ผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) นํา Microcrystalline cellulose, Silicon dioxide, Magnesium stearate แ ล ะ/ห รือ Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) (ถ้ามี) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 6) ชั่งผงยา ผสม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) (ถ้ามี) ปริมาณร้อยละ 0.1 - 16 โดยน้ําหนัก และ Microcrystalline cellulose ปริมาณร้อยละ 31 - 47 โดยน้ําหนัก จนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําผงยาในข้อ 6 ไปตอกอัด ( slug ) โดยกําหนดความแข็ง 30 - 40 นิวตัน ( N ) แล้วบดผ่านแร่ง เบอร์ 16 จะได้แกรนูล 8) นําแกรนูลจากข้อ 7 ผสมกั บ Silicon dioxide ปริมาณร้อยละ 0.25 - 1 โดยน้ําหนัก และ Magnesium stearate ปริมาณร้อยละ 0.25 - 2 โดยน้ําหนัก ผสมให้เข้ากันเป็นเวลานาน 1 - 5 นาที จน ได้ส่วนผสมที่สม่ําเสมอ 9) นําตัวยาไปตอกด้วยเครื่องตอกยาเม็ ด 6. สรรพคุณ ขับน้ําคาวปลาในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 4 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ให้กินจนกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ ไม่ควรเกิน 15 วัน 8. ข้อห้ามใช้ 8.1 ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงผ่าคลอด และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปรกติหลังคลอด 8.2 ห้ามใช้ในหญิงที่ผ่าคลอด เนื่องจากทําให้แผลหายช้า 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับและไต เนื่องจากอาจ เกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม

112 ไม่มี 63 . ยาประสะจันทน์แดง 1. ชื่อยา ยาประสะจันทน์แดง ชนิดเม็ด 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 64 กรัม 1 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น (จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 32 กรัม 2 โกฐหัวบัว เหง้า 4 กรัม 3 จันทน์เทศ แก่น 4 กรัม 4 เปราะหอม เหง้า 4 กรัม 5 ฝางเสน แก่น 4 กรัม 6 มะนาว ราก 4 กรัม 7 มะปรางหวาน ราก 4 กรัม 8 เหมือดคน ราก 4 กรัม 9 บัวหลวง เกสร เพศผู้ 1 กรัม 10 บุนนาค ดอก 1 กรัม 11 มะลิ ดอก 1 กรัม 12 สารภี ดอก 1 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ - Microcrystalline cellulose - Magnesium stearate - Silicon dioxide - Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) 3. ที่มาของตํารับยา ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต สูตรแม่บท ยาประสะจันทน์แดง ชนิดเม็ด ความแรง 250 มิลลิกรัมต่อเม็ด สูตรตํารับ ปริมาณ ผงยาประสะจันทน์แดง 250 มิลลิกรัม Microcrystalline cellulose 31 - 47 % w / w Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) 0 - 16 % w / w Magnesium stearate 0 . 25 - 2 % w / w

113 สูตรตํารับ ปริมาณ Silicon dioxide 0 . 25 - 1 % w / w 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว และส่วนประกอบ ชั่งน้ําหนักตามปริมาณที่ต้องการผลิต ซึ่งสอดคล้อง กับสูตรแม่บท 4) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว มารวม กัน จากนั้นบดให้ละเอียด และร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 ผสมจน ได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) นํา Microcrystalline cellulose, Magnesium stearate, Silicon dioxide, แ ล ะ/ห รือ Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) (ถ้ามี) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 6) ชั่งผงยา ผสม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) (ถ้ามี) ปริมาณร้อยละ 0.1 - 16 โดยน้ําหนัก และ Microcrystalline cellulose ปริมาณร้อยละ 31 - 47 โดยน้ําหนัก จนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําผงยาในข้อ 6 ไปตอกอัด ( slug ) กําหนดความแข็ง 30 - 40 นิวตัน ( N ) แล้วผ่านแร่งเบอร์ 16 8) นําแกรนูลจากข้อ 7 ผสมกั บ Silicon dioxide ปริมาณร้อยละ 0.25 - 1 โดยน้ําหนัก และ Magnesium stearate ปริมาณร้อยละ 0.25 - 2 โดยน้ําหนัก ผสมให้เข้ากันเป็นเวลานาน 1 - 5 นาที จน ได้ส่วนผสมที่สม่ําเสมอ 9) นําตัวยาไปตอกด้วยเครื่องตอกยาเม็ด 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน (ไข้พิษ) แก้ร้อนในกระหายน้ํา 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 4 เม็ด ทุก 3 - 4 ชั่วโมง 7.2 เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 2 เม็ด ทุก 3 - 4 ชั่วโมง 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ 10.2 กรณี บรรเทา อาการไข้ ร้อนในกระหายน้ํา หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควร ปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม

114 ไม่มี 64 . ยาหอมอินทจักร์ 1. ชื่อยา ยาหอมอินทจักร์ ชนิดเม็ด 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 98 กรัม 1 กระดอม ผล* 2 กรัม 2 กระดังงา ดอก 2 กรัม 3 กระลําพัก แก่น ที่มีราลง 2 กรัม 4 กระวาน ผล 2 กรัม 5 กฤษณา แก่น ที่มีราลง 2 กรัม 6 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 2 กรัม 7 กํายาน ยางจากต้น 2 กรัม 8 โกฐกระดูก ราก 2 กรัม 9 โกฐกักกรา ปุ่มหูด 2 กรัม 10 โกฐก้านพร้าว รากและเหง้า 2 กรัม 11 โกฐเขมา เหง้า 2 กรัม 12 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 2 กรัม 13 โกฐเชียง รากแขนง 2 กรัม 14 โกฐน้ําเต้า รากและเหง้า 2 กรัม 15 โกฐพุงปลา ปุ่มหูด 2 กรัม 16 โกฐสอ ราก 2 กรัม 17 ขอนดอก แก่นที่มีราลง 2 กรัม 18 ขิง เหง้า 2 กรัม 19 คําไทย ดอก 2 กรัม 20 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น ( จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 2 กรัม 21 จันทน์เทศ แก่น 2 กรัม 22 จําปา ดอก 2 กรัม 23 เจตมูลเพลิงแดง ราก 2 กรัม 24 ช้าพลู ราก 2 กรัม 25 ชะลูด เปลือกเถา 2 กรัม 26 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 2 กรัม 27 ดีปลี ช่อผล 2 กรัม 28 เทียนขาว ผล 2 กรัม 29 เทียนข้าวเปลือก ผล 2 กรัม

115 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 98 กรัม 30 เทียนดํา เมล็ด 2 กรัม 31 เทียนแดง เมล็ด 2 กรัม 32 เทียนเยาวพาณี ผล 2 กรัม 33 บอระเพ็ด เถา 2 กรัม 34 บุนนาค ดอก 2 กรัม 35 ฝางเสน แก่น 2 กรัม 36 พิกุล ดอก 2 กรัม 37 พิมเสน - 2 กรัม 38 มวกขาว เถา 2 กรัม 39 มวกแดง เถา 2 กรัม 40 มะลิ ดอก 2 กรัม 41 ย่านาง ราก 2 กรัม 42 ลําพันแดง เหง้า 2 กรัม 43 ลูกจันทน์ เมล็ด 2 กรัม 44 ลูกผักชีลา ผล 2 กรัม 45 ดีวัว ถุงน้ําดี 2 กรัม 46 สมุลแว้ง เปลือกต้น 2 กรัม 47 สะค้าน เถา 2 กรัม 48 สารภี ดอก 2 กรัม 49 อบเชย เปลือกต้น 2 กรัม * ผลกระดอมไม่ใช้ผลสุก เนื่องจากผลสุกจะมีพิษ 2.2 ส่วนประกอบ - Microcrystalline cellulose - Dicalcium phosphate - Silicon dioxide - Talcum - Magnesium stearate - Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) 3. ที่มาของตํารับยา ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต สูตรแม่บท ยาหอมอินทจักร์ ชนิดเม็ด ความแรง 200 มิลลิกรัม สูตรตํารับ ปริมาณ ผงยาหอมอินทจักร์ 200 มิลลิกรัม

116 สูตรตํารับ ปริมาณ Microcrystalline cellulose 300 มิลลิกรัม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) 7 - 15 % w / w Silicon dioxide 2 % w / w Talcum 3 % w / w Magnesium stearate 1 % w / w 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด (ยกเว้น กํายานและพิมเสน) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งกํายานและพิมเสน และส่วนประกอบ ชั่งน้ําหนักตามปริมาณที่ ต้องการผลิต ซึ่งสอดคล้องกับสูตรแม่บท 4) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งกํายานและพิมเสนนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด ร่อน ผ่านแร่งเบอร์ 80 ผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) นํา Microcrystalline cellulose, Silicon dioxide, Magnesium stearate, Talcum แ ละ Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 6) ชั่งผงยา ผสม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) ปริมาณร้อยละ 3.5 - 7.5 โดยน้ําหนัก และ Microcrystalline cellulose และ Silico n dioxide ปริมาณร้อยละ 2 โดยน้ําหนัก จนได้ ผงยาที่ สม่ําเสมอ 7) นําผงยาในข้อ 6 นําผงยาไปตอกอัด ( slug ) โดยกําหนดความแข็ง 30 - 40 นิวตัน ( N ) แล้วบด ผ่านแร่งเบอร์ 20 8) นําแกรนูลจากข้อ 7 ผสมกับ Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) ปริมาณร้อยละ 3.5 - 7.5 โดยน้ําหนัก , Talcum ปริมำณร้อยละ 3 โดยน้ําหนัก และ Magnesium stearate ปริมาณร้อยละ 1 โดยน้ําหนัก ผสมให้เข้ากันเป็นเวลานาน 1 - 5 นาที จนได้ส่วนผสมที่สม่ําเสมอ 9) นําตัวยาไปตอกด้วยเครื่องตอกยาเม็ด 6. สรรพคุณ แก้ลมบาดทะจิต แก้คลื่นเหียนอาเจียน แก้ลมจุกเสียด 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 5 - 10 เม็ด ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับตัว ของเกล็ดเลือด ( antiplatelet ) 10.2 ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ

117 บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 65 . ยาประสะเปราะใหญ่ 1. ชื่อยา ยาประสะเปราะใหญ่ ชนิดเม็ด 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 80 กรัม 1 เปราะหอม เหง้า 40 กรัม 2 กระวาน ผล 2 กรัม 3 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 2 กรัม 4 โกฐเขมา เหง้า 2 กรัม 5 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 2 กรัม 6 โกฐเชียง รากแขนง 2 กรัม 7 โกฐสอ ราก 2 กรัม 8 โกฐหัวบัว เหง้า 2 กรัม 9 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น ( จันทน์แดง) หรือ แก่น ที่มีราลง (ลักจั่น) 2 กรัม 10 จันทน์เทศ แก่น 2 กรัม 11 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 2 กรัม 12 เทียนขาว ผล 2 กรัม 13 เทียนข้าวเปลือก ผล 2 กรัม 14 เทียนดํา เมล็ด 2 กรัม 15 เทียนแดง เมล็ด 2 กรัม 16 เทียนตาตั๊กแตน ผล 2 กรัม 17 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 2 กรัม 18 บุนนาค ดอก 2 กรัม 19 พิกุล ดอก 2 กรัม 20 ลูกจันทน์ เมล็ด 2 กรัม 21 สารภี ดอก 2 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ - Lactose

118 - Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) - 95 % Ethanol - Talcum - Magnesium stearate 3. ที่มาของตํารับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 2 พ.ศ. 2504 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต สูตรแม่บท ยาประสะเปราะใหญ่ ชนิดเม็ด ความแรง 250 มิลลิกรัม สูตรตํารับ ปริมาณ ผงยาประสะเปราะใหญ่ 250 มิลลิกรัม Lactose 250 - 500 มิลลิกรัม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) in 95 % ethanol 3 - 5 % w / w Talcum 3 % w / w Magnesium stearate 1 % w / w 5.1 การเตรี ยม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) solution ความเข้มข้นร้ อยละ 15 ใน เอธานอล โดยน้ําหนัก 1) ชั ่ งน้ําหนักของ Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) และ 95% Ethanol ตามสัดส่วนของ ความเข้มข้นร้อยละ 15 โดยน้ําหนัก 2) นํา Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) มาละลายใน 95% Ethanol คนจนละลาย จะได้ สารละลาย Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) ความเข้มข้นร้อยละ 15 โดยน้ําหนัก 5.2 การเตรียมยาเม็ด 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด มาทําความสะอาดตามควำมเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งน้ําประสานทองและพิมเสน และส่วนประกอบ ชั่งน้ําหนักตาม ปริมาณที่ต้องการผลิต ซึ่งสอดคล้องกับสูตรแม่บท 4) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งน้ําประสานทองและพิมเสนมารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 ผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) นํา Lactose, Talcum และ Magnesium stearate ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 นําผงยาร่อนผ่าน แร่งเบอร์ 80 - 100 6) ชั่งผงยา ผสมกับ Lactose จนได้ ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําสารละลาย Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) ที่เตรียมไว้ (ตามข้อ 5.1) ปริมาณร้อยละ 3 - 5 โดยน้ําหนัก มาผสมกับผงยาในข้อ 6 ทีละน้อยจนได้ลักษณะผงยาที่มีความเปียกพอเหมาะ ( damp mass ) 8) นําส่วนผสมในข้อ 7 มาผ่านแร่งเบอร์ 14 จนได้แกรนูล แล้วนําไปทําใ ห้แห้งที่อุณหภูมิห้อง หรืออบที่อุณหภูมิ 40 - 50 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 12 ชั่วโมง จนแห้งแล้ว ผ่านแร่งเบอร์ 18

119 9) นําแกรนูลในข้ อ 8 ผสมกั บ Talcum ปริมาณร้อยละ 3 โดยน้ําหนัก และ Magnesium stearate ปริมาณร้อยละ 1 โดยน้ําหนัก ผสมให้เข้ากันเป็นเวลานาน 1 - 5 นาที จนได้ ส่ วนผสมที่ สม่ําเสมอ 10) นําตัวยาไปตอกด้วยเครื่องตอกยาเม็ด 6. สรรพคุณ ถอนพิษตานซางสําหรับเด็ก ซึ่งมีอาการ ปวดท้อง ท้องอืดท้องเฟ้อ ถ่ายเหลวกะปริบกะปรอย เบื่อ อาหาร เป็นต้น 7. ขนาดและวิธีใช้ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 4 เม็ด ทุก 3 - 4 ชั่วโมง 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในเด็กที่มีไข้ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับตัว ของเกล็ดเลือด ( antiplatelet ) 10.2 ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่ แพ้ละอองเกสรดอกไม้ 10.3 หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 66 . ยาเหลืองปิดสมุทร 1. ชื่อยา ยาเหลืองปิดสมุทร ชนิด เม็ด 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 90 กรัม 1 ขมิ้นชัน เหง้า 30 กรัม 2 กระเทียม หัว 5 กรัม 3 กล้วยตีบ ราก 5 กรัม 4 ขมิ้นอ้อย เหง้า 5 กรัม 5 ครั่ง สารคัดหลั่งจากครั่งตัวผู้ 5 กรัม

120 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 90 กรัม 6 ชันย้อย ยางไม้ 5 กรัม 7 ดีปลี ช่อผล 5 กรัม 8 ทับทิม ใบ 5 กรัม 9 เทียนกิ่ง ใบ 5 กรัม 10 เพกา เปลือกต้น 5 กรัม 11 สีเสียดเทศ สิ่งสกัดจากใบและกิ่ง 5 กรัม 1 2 สีเสียดไทย สิ่งสกัดจากแก่น 5 กรัม 13 แห้วหมู เหง้า 5 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ - Dibasic calcium phosphate dihydrate - Lactose monohydrate - Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) - Corn starch - Magnesium stearate 3. ที่มาของตํารับยา ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต สูตรแม่บท ยาเหลืองปิดสมุทร ชนิดเม็ด ความแรง 200 มิลลิกรัมต่อเม็ด สูตรตํารับ ปริมาณ ผงยาเหลืองปิดสมุทร 200 มิลลิกรัม Dibasic calcium phosphate dihydrate 44 - 144 มิลลิกรัม Lactose monohydrate 40 - 132 มิลลิกรัม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) 5 - 6 % w / w Corn starch 2 . 8 - 4 . 8 % w / w Magnesium stearate 0 . 7 % w / w 5.1 การเตรียม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) solution ความเข้มข้นร้อยละ 10 โดย น้ําหนัก 1) ชั่งน้ําหนักของ Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) และน้ํา ตามสัดส่วนของความเข้มข้นร้อย ละ 10 โดยน้ําหนัก 2) นํา Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) มาโปรยในน้ํา คนจนละลาย จะได้ สารละลาย Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) ความเข้มข้นร้อยละ 10 โดยน้ําหนัก 5.2 การเตรียมยาเม็ด 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด (ยกเว้นสีเสียดเทศ สีเสียดไทย และครั่ง) มาทําความสะอาด ตาม ความเหมาะสม

121 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมงหรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งสี เสียดเทศ สีเสียดไทย และครั่ง และส่วนประกอบ ชั่งน้ําหนัก ตามปริมาณที่ต้องการผลิต ซึ่งสอดคล้องกับสูตรแม่บท 4) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งสีเสียดเทศ สีเสียดไทย และครั่งมารวมกัน จากนั้นบดให้ ละเอียด และร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 จนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) นํา Dibasic calcium phosphate dihydrate, Lactose monohydrate, Corn starch และ Magnesium stearate ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 6) ชั่งผงยา ผสมกับ Dibasic calcium phosphate dihydrate, Lactose monohydrate, Corn starch ปริมาณร้อยละ 2.8 - 4.8 โดยน้ ําหนัก เป็นเวลานานประมาณ 5 นาที จนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําสารละลาย Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) ที่เตรียมไว้ (ตามข้อ 5.1) ปริมาณร้อยละ 5 - 6 โดยน้ําหนัก (น้ําหนักของผงแห้ง) มาผสมกับผงยาในข้อ 6 จนได้ลักษณะผงยาที่มีความเปียก พอเหมาะ ( damp mass ) 8) นําส่วนผสมข้อ 7 มาผ่านแร่งเบอร์ 16 จนได้แกรนูล นําไปอบที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็นเวลานาน 3 ชั่วโมง จนแห้ง 9) นําแกรนูลที่ได้อบแล้วผ่านแร่งเบอร์ 18 ผสมกับ Corn starch ปริมาณร้อยละ 2.8 - 4.8 โดย น้ําหนัก จนเข้ากันเป็นเวลานานประมาณ 5 นาที 10) เติม Magnesium stearate ปริมาณ ร้อยละ 0.7 โดยน้ําหนัก ผสมให้เข้ากันเป็นเวลา นาน 1 - 5 นาที 11) นําตัวยาไปตอกด้วยเครื่องตอกยาเม็ด 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูกหรือมีเลือดปน ท้องเสียชนิด ที่ไม่มีไข้ เป็นต้น 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 5 เม็ด ทุก 3 - 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ 7.2 เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 4 - 5 เม็ด ทุก 3 - 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ใช้ได้ไม่เกิน 1 วัน หากอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม

122 ไม่มี 67 . ยาธาตุบรรจบ 1. ชื่อยา ยาธาตุบรรจบ ชนิ ด ลูกกลอน 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 104 กรัม 1 สมอไทย เนื้อผล 16 กรัม 2 โกฐก้านพร้าว รากและเหง้า 8 กรัม 3 กระวาน ผล 4 กรัม 4 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 4 กรัม 5 การบูร - 4 กรัม 6 โกฐเขมา เหง้า 4 กรัม 7 โกฐเชียง รากแขนง 4 กรัม 8 โกฐพุงปลา ปุ่มหูด 4 กรัม 9 โกฐสอ ราก 4 กรัม 10 ขิง เหง้า 4 กรัม 11 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 4 กรัม 12 ดีปลี ช่อผล 4 กรัม 13 เทียนขาว ผล 4 กรัม 14 เทียนดํา เมล็ด 4 กรัม 15 เทียนแดง เมล็ด 4 กรัม 16 เทียนเยาวพาณี ผล 4 กรัม 17 เทียนสัตตบุษย์ ผล 4 กรัม 18 เปราะหอม เหง้า 4 กรัม 19 พิมเสนต้น ใบ 4 กรัม 20 ลูกจันทน์ เมล็ด 4 กรัม 21 ลูกผักชีลา ผล 4 กรัม 22 สมุลแว้ง เปลือกต้น 4 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ - น้ําผึ้ง - Liquid glucose - Croscarmellose sodium - Microcrystalline cellulose - Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) - Sodium benzoate 3. ที่มาของตํารับยา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556

123 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต สูตรแม่บท ยาธาตุบรรจบ ชนิดลูกกลอน ความแรง 250 มิลลิกรัมต่อเม็ด สูตรตํารับ ปริมาณ ผงยาธาตุบรรจบ 250 มิลลิกรัม Liquid glucose หรือน้ําผึ้ง 50 % w / w Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) 0 - 4 % w / w Microcrystalline cellulose 0 - 5 % w / w Croscarmellose sodium 0 - 5 % w / w 5.1 การเตรียม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) solution ความเข้มข้นร้อยละ 10 โดย น้ําหนัก 1) ชั่งน้ําหนักของ Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) และ น้ํา ตามสัดส่วนของความเข้มข้นร้อย ละ 10 โดยน้ําหนัก 2) นํา Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) มาโปรยในน้ํา คนจนละลาย จะได้ สารละลาย Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) ความเข้มข้นร้อยละ 10 โดยน้ําหนัก 5.2 การเตรียมยาลูกกลอน 1) นําตัวยาสมุนไพรมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ ว และสารประกอบ ชั่งน้ําหนักตามปริมาณที่ต้องการผลิต ซึ่งสอดคล้อง กับสูตรแม่บท 4 ) นําสมุนไพรมารวมกัน บดให้ละเอียด และร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 ผสมในเครื่องผสม จนได้ผงยา ที่สม่ําเสมอ 5 ) นํา Croscarmellose sodium (ถ้ามี) และ/หรือ Microcrystalline cellulose (ถ้ามี) และ/ หรื อ Sodium benzoate (ถ้ามี) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 6 ) ชั่งผงยา ผสมกับ Croscarmellose sodium (ถ้ามี) ปริมาณร้อยละ 0 . 1 - 5 โดยน้ําหนัก และ/ หรือ Microcrystalline cellulose (ถ้ำมี) ปริมาณร้อยละ 0 . 1 - 5 โดยน้ําหนัก และ/หรือ Sodium benzoate (ถ้ามี) ร้อยละ 0 . 02 - 0 . 1 โดยน้ําหนัก จนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7 ) นําสารละลาย Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) ที่เตรียมไว้ (ตามข้อ 5 . 1 ) (ถ้ามี) ปริมาณ ร้อยละ 0 . 1 - 4 โดยน้ําหนัก (น้ําหนักของผงแห้ง) มาผสมกับผงยาในข้อ 6 ทีละน้อยจนได้ลักษณะผงยา ที่มีความเปียกพอเหมาะ ( damp mass ) 8 ) นํา Liquid glucose หรือ น้ําผึ้ง ปริมาณร้อยละ 50 โดยน้ําหนัก มาผสมกับส่วนผสมข้อ 7 นวดจนได้ตัวยาที่สม่ําเสมอ 9 ) นําตัวยาที่ได้ปั้นเป็นเม็ดลูกกลอน 10 ) นํายาลูกกลอนที่ได้ไปอบที่อุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนแห้ง 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ บรรเทาอาการอุจจาระธาตุพิการ ท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูกหรือมีเลือดปน และท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้

124 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 4 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอา การ 7.2 เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 2 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการจับตัว ของเกล็ดเลือด ( antiplatelets ) 10.2 ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับและไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 10.3 ในกรณีท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ ใช้ไม่เกิน 1 วัน หากอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ตํารับยาที่มีชื่อยาว่า “ยาธาตุบรรจบ” พบปรากฏในหลายตําราแผนโบราณ แต่มีสูตรยาและสรรพคุณที่ ใช้แตกต่างกัน เช่น ตําราอายุรเวทศึกษาของขุนนิทเทสสุขกิจ ตําราของหมอทัพพ์ ตันสุภาพ ตําราแพทย์ ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ ตําราเวชศึกษาของพระยาพิศณุประสาทเวช 68 . ยาประสะกะเพรา 1. ชื่อยา ยาประสะกะเพรา ชนิดเม็ด 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 90 กรัม 1 กะเพราแดง ใบ 45 กรัม 2 มะกรูด ผิว** 20 กรัม 3 ชะเอมเทศ รากและเหง้า 8 กรัม 4 มหาหิงคุ์ ยางจากราก 8 กรัม*** 5 กระเทียม หัว 2 กรัม 6 ขิงแห้ง เหง้า 2 กรัม

125 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 90 กรัม 7 ดีปลี ช่อผล 2 กรัม 8 พริกไทยล่อน เมล็ดจาก ผลสุก 2 กรัม 9 เกลือสินเธาว์* - 1 กรัม * เกลือสินเธาว์ที่ใช้เป็นเกลือภูเขาหรือเอือด เช่น เกลือสินเธาว์จากอําเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน , อําเภอนาแห้ว จังหวัด เลย และอําเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ** ผิวมะกรูดอาจมีส่วนของเปลือกผลชั้นกลาง ( Mesocarp ) ที่ไม่สามารถแยกออกได้ ติดมาบ้าง *** น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ - Dibasic calcium phosphate dihydrate - Lactose monohydrate - Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) - Corn starch - Magnesium stearate 3. ที่มาของตํารับยา ตําราอายุรเวทศึกษา (ขุนนิทเทสสุขกิจ) เล่ม 2 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุมหาหิงคุ์ : เอามหาหิงคุ์ใส่ในภาชนะ ละลายด้วยน้ําต้มใบกะเพราแดง แล้วกรองให้สะอาด จึง นําไปใช้ปรุงยาได้ 5. กรรมวิธีการผลิต สูตรแม่บท ยาประสะกะเพรา ชนิดเม็ด ความแรง 200 มิลลิ กรัม สูตรตํารับ ปริมาณ ผงยาประสะกะเพรา 200 มิลลิกรัม Dibasic calcium phosphate dihydrate 44 - 144 มิลลิกรัม Lactose monohydrate 44 - 132 มิลลิกรัม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) 5 - 6 % w / w Corn starch 2 . 8 - 4 . 8 % w / w Magnesium stearate 0 . 7 % w / w 5.1 การเตรียม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) solution ความเข้มข้นร้อยละ 10 โดย น้ําหนัก 1) ชั่งน้ําหนักของ Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) และ น้ํา ตามสัดส่วนของความเข้มข้นร้อย ละ 10 โดยน้ําหนัก 2) นํา Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) มาโปรยในน้ํา คนจนละลาย จะได้ สารละลาย Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) ความเข้มข้นร้อยละ 10 โดยน้ําหนัก 5.2 การเตรียมยาเม็ด 1 ) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด (ยกเว้น เกลือสินเธาว์ และมหาหิงคุ์) มาทําความสะอาดตามความ เหมาะสม

126 2 ) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งเกลือสินเธาว์และมหาหิงคุ์ และส่วนประกอบ ชั่งน้ําหนักตาม ปริมาณที่ต้องการผลิต ซึ่งสอดคล้องกับสูตรแม่บท 4 ) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งเกลือสินเธาว์และมหาหิงคุ์มารวมกัน จากนั้นบด ให้ละเอียด และร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 ผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 5 ) นํา Dibasic calcium phosphate dihydrate, Lactose monohydrate, Corn starch และ Magnesium stearate ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 6 ) ชั ่ งผงยาผสมกับ Dibasic calcium phosphate dihydrate และ Lactose monohydrate และ Corn starch ปริมาณร้อยละ 2 . 8 - 4 . 8 โดยน้ําหนัก เป็นเวลานานประมาณ 5 นาที จนได้ผงยาที่ สม่ําเสมอ 7 ) นําสารละลาย Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) ที่เตรียมไว้ (ตามข้อ 5 . 1 ) ปริมาณร้อยละ 5 - 6 โดยน้ําหนัก (น้ําหนักของผงแห้ง) มาผสมกับผงยาในข้อ 6 จนได้ลักษณะผงยาที่มีควำมเปียก พอเหมาะ ( damp mass ) 8 ) นําส่วนผสมข้อ 7 มาผ่านแร่งเบอร์ 16 จนได้แกรนูล นําไปอบที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็นเวลานาน 3 ชั่วโมง จนแห้ง 9 ) นําแกรนูลที่ได้อบแล้วผ่านแร่งเบอร์ 18 ผสมกั บ Corn starch ปริมาณร้อยละ 2 . 8 - 4 . 8 โดย น้ําหนัก จนเข้ากันเป็นเวลานานประมาณ 5 นาที 10 ) เติม Magnesium stearate ปริมาณร้อยละ 1 โดยน้ําหนัก ผสมให้เข้ากันเป็นเวลานาน 1 - 5 นาที จนได้ส่วนผสมที่สม่ําเสมอ 11 ) นําตัวยาไปตอกด้วยเครื่องตอกยาเม็ด 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด 7. ขนาดและวิธีใช้ เด็กอายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 5 เม็ด กินวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น เมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ และหญิงตั้งครรภ์ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม

127 สูตรตํารับยาประสะกะเพราตามประกาศยาสามัญประจําบ้าน พ.ศ. 2537 มีตัวยา “น้ําประสานทอง สะตุ” เป็นส่วนประกอบ แต่ได้ตัดออกจากสูตรตํารับตามประกาศยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2542 แล้ว 69 . ยาหอมแก้ลมวิงเวียน 1. ชื่อยา ยาหอมแก้ลมวิงเวียน ชนิดเม็ด 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 225 กรัม 1 ชะเอมเทศ ราก และเหง้า 32 กรัม 2 จันทน์เทศ แก่น 24 กรัม 3 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 12 กรัม 4 โกฐเชียง รากแขนง 12 กรัม 5 โกฐหัวบัว เหง้า 12 กรัม 6 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 12 กรัม 7 แฝกหอม ราก 12 กรัม 8 สมุลแว้ง เปลือกต้น 10 กรัม 9 กระลําพัก แก่น ที่มีราลง 8 กรัม 10 กฤษณา แก่น ที่มีราลง 8 กรัม 11 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 8 กรัม 12 โกฐพุงปลา ปุ่มหูด 8 กรัม 13 ชะลูด เปลือกเถา 8 กรัม 14 อบเชยญวน เปลือกต้น 8 กรัม 15 อบเชยเทศ เปลือกต้น 8 กรัม 16 ขอนดอก แก่นที่มีราลง 6 กรัม 17 บุนนาค ดอก 6 กรัม 18 พิกุล ดอก 6 กรัม 19 พิมเสน - 6 กรัม 20 สารภี ดอก 6 กรัม 21 มวกแดง เถา 5 กรัม 22 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น ( จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 4 กรัม 23 น้ําประสานทอง - 4 กรัม* * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้ อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ - Microcrystalline cellulose - Dicalcium phosphate

128 - Talcum - Magnesium stearate - Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30) 3. ที่มาของตํารับยา เภสัชตํารับโรงพยาบาลวังน้ําเย็น จังหวัดสระแก้ว 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุน้ําประสานทอง : นําน้ําประสานทองมาบดให้ละเอียด แล้วโรยลงในกระทะตั้งไฟจนน้ําประสาน ทองฟูเป็นแผ่นขาว ลักษณะคล้ายแผ่นข้าวเกรียบ จึงยกลงจากไฟ ทิ้งให้แห้ง 5. กรรมวิธีการผลิต สู ตรแม่บท ยาหอมแก้ลมวิงเวียน ชนิดเม็ด ความแรง 200 มิลลิกรัม สูตรตํารับ ปริมาณ ผงยาหอมแก้ลมวิงเวียน 200 มิลลิกรัม Microcrystalline cellulose 280 - 300 มิลลิกรัม Dicalcium phosphate 0 - 10 มิลลิกรัม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) 5 - 10 % w / w Talcum 1 % w / w Magnesium stearate 2 % w / w 1 ) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด (ยกเว้นน้ําประสานทองและพิมเสน) มาทําความสะอาด ตามความ เหมาะสม 2 ) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งน้ําประสานทองและพิมเสน และส่วนประกอบ ชั่งน้ําหนัก ตาม ปริมาณที่ต้องการผลิต ซึ่งสอดคล้องกับสูตรแม่บท 4 ) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งน้ําประสานทองและพิมเสนมารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 ผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสม อ 5 ) น ํา Microcrystalline cellulose, Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) , Talcum, Magnesium stearate, และ/หรือ Dicalcium phosphate (ถ้ามี) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 6 ) ชั่งผงยา ผสมกับ Microcrystalline cellulose และ/หรือ Dicalcium phosphate (ถ้ามี) และ Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) ปริมาณร้อยละ 5 - 10 โดยน้ําหนัก ในเครื่องผสมจนเข้ากัน 7 ) นําผงยาในข้อ 5 นําผงยาไปตอกอัด ( slug ) กําหนดความแข็ง 30 - 40 นิวตัน ( N ) แล้วผ่านแร่ง เบอร์ 12 - 16 8 ) นําแกรนูลจากข้อ 7 ผสมกั บ Talcum ปริมาณร้อยละ 1 โดยน้ําหนัก และ Magnesium stear ate ปริมาณร้อยละ 2 โดยน้ําหนัก ผสมให้เข้ากันเป็นเวลานาน 1 - 5 นาที จนได้ ส่ วนผสมที่ สม่ําเสมอ 9 ) นําตัวยาไปตอกด้วยเครื่องตอกยาเม็ด 6. สรรพคุณ แก้ลมวิงเวียน อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ 7. ขนาดและวิธีใช้ กินครั้งละ 3 - 5 เม็ด เมื่อมีอาการทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง

129 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และ ยาต้านการจับตัว ของเกล็ดเลือด ( antiplatelet ) 10.2 ควรระวังการใช้ร่วมกับผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้เกสรดอกไม้ 1 1. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 70 . ยาประสะมะแว้ง 1. ชื่อยา ยาประสะมะแว้ง ชนิดลูกกลอน 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 96 กรัม 1 มะแว้งเครือ ผล 24 กรัม 2 มะแว้งต้น ผล 24 กรัม 3 กะเพรา ใบ 12 กรัม 4 ตานหม่อน ใบ 12 กรัม 5 สวาด ใบ 12 กรัม 6 ขมิ้นอ้อย เหง้า 9 กรัม 7 สารส้มสะตุ - 3 กรัม* * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ - Liquid glucose หรือ น้ําผึ้ง - Citric acid - Sodium chloride - Sodium benzoate - น้ํากลั่นหรือน้ําต้มสุกที่เย็นแล้ว 3. ที่มาของตํารับยา

130 ตําราประมวลหลักเภสัช โรงเรียนแพทย์แผนโบราณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรวิหาร 2528 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุสารส้ม : นําสารส้มมาบดให้ละเอียด ใส่ในหม้อดินหรือกระทะเหล็ก ตั้งไฟจนสารส้มฟูและมีสี ขาว แล้วจึงยกลงจากไฟ ทิ้งให้แห้ง จึงนําไปใช้ปรุงยา 5. กรรมวิธีการผลิต สูตรแม่บท ยาประสะมะแว้ง ชนิดลูกกลอน ความแรง 500 มิลลิกรัมต่อเม็ด สูตรตํารับ ปริมาณ ผงยาประสะมะแว้ง 500 มิลลิกรัม Liquid glucose หรือ น้ําผึ้ง 250 - 450 มิลลิกรัม Citric acid 0 - 2 % w / w Sodium chloride 0 - 2 % w / w Sodium benzoate 0.02 - 0. 1 % w / w * * อาจใส่หรือไม่ใส่ Sodium benzoate ก็ได้ แต่ถ้าใส่ต้องใส่ปริมาณ 0. 02 - 0.1% w / w 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด (ยกเว้นสารส้มสะตุ) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งสารส้มสะตุ และส่วนประกอบ ชั่งน้ําหนักตามป ริมาณที่ ต้องการผลิต ซึ่งสอดคล้องกับสูตรแม่บท 4) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งสารส้มสะตุมารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด และร่อนผ่านแร่ง เบอร์ 80 ผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) นํา C itric acid (ถ้ามี) และ/หรือ Sodium chloride (ถ้ามี) และ/หรือ Sodium benzoate (ถ้า มี) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 6) ชั่งผงยา ผสมกับ Citric acid (ถ้ามี) ปริมาณร้อยละ 0.1 - 2 โดยน้ําหนัก และ/หรือ Sodium chloride (ถ้ามี) ปริมาณร้อยละ 0.1 - 2 โดยน้ําหนัก และ/หรือ Sodium be nzoate (ถ้ามี) ปริมาณร้อย ละ 0.02 - 0.1 โดยน้ําหนัก จนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําผงยาในข้อ 6 มาผสมกับ Liquid glucose หรือน้ําผึ้ง ให้เข้ากันแล้ว เติมน้ํากลั่นหรือน้ําต้ม สุกที่เย็นแล้วปริมาณตามความเหมาะสม นวดผสมจนได้ตัวยาที่สม่ําเสมอ 8) นําตัวยาที่ได้ปั้นเป็นเม็ดลูกกลอ น 9) นํายาลูกกลอนที่ได้ไปอบที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการไอ มีเสมหะ ทําให้ชุ่มคอ ช่วยขับเสมหะ 7. วิธีใช้ ผู้ใหญ่ อมครั้งละ 5 - 7 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี อมครั้งละ 1 - 2 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง

131 ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 15 วัน หากอาการไม่ดีขึ้นควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 71 . ยาประสะมะแว้ง 1. ชื่อยา ยาประสะมะแว้ง ชนิดเม็ด 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 96 กรัม 1 มะแว้งเครือ ผล 24 กรัม 2 มะแว้งต้น ผล 24 กรัม 3 กะเพรา ใบ 12 กรัม 4 ตานหม่อน ใบ 12 กรัม 5 สวาด ใบ 12 กรัม 6 ขมิ้นอ้อย เหง้า 9 กรัม 7 สารส้มสะตุ - 3 กรัม* * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ - Lactose - Sucrose - Citric acid - Sodium chloride - Corn starch หรือ เจลาติน ( Gelatin ) หรือ Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) - Silicon dioxide - Magnesium stearate - Sodium benzoate - น้ํากลั่นหรือน้ําต้มสุกที่เย็นแล้ว 3. ที่มาของตํารับยา ตําราประมวลหลักเภสัช โรงเรียนแพทย์แผนโบราณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรวิหาร 2528 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา

132 การสะตุสารส้ม : นําสารส้มมาบดให้ละเอียด ใส่ในหม้อดินหรือกระทะเหล็ก ตั้งไฟจนสารส้มฟูและมีสี ขาว แล้วจึงยกลงจากไฟ ทิ้งให้แห้ง จึงนําไปใช้ปรุงยา 5. กรรมวิธีการผลิต สูตรแม่บท ยาประสะมะแว้ง ชนิดเม็ด ความแรง 200 มิลลิกรัมต่อเม็ด สูตรตํารับ ปริมาณ ผงยาประสะมะแว้ง 200 มิลลิกรัม Lactose 100 - 200 มิลลิกรัม Sucrose 0 - 200 มิลลิกรัม Citric acid 0 - 2 % w / w Sodium chloride 0 - 2 % w / w Corn Starch หรือเจลาติน หรือ Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) 1 - 3 % w / w Silicon dioxide 2 % w / w Magnesium stearate 0 . 5 % w / w Sodium benzoate 0.02 - 0.1 %w/w * * อาจใส่หรือไม่ใส่ Sodium benzoate ก็ได้ แต่ถ้าใส่ต้องใส่ปริมาณ 0. 02 - 0.1% w / w 5.1 การเตรียม Corn starch paste ความเข้มข้นร้อยละ 10 โดยน้ําหนัก 1) ชั่งน้ําหนักของ Corn starch ตามสัดส่วนของความเข้มข้นร้อยละ 10 โดยน้ําหนัก 2) นํา Corn starch ไปกระจายตัวในน้ําต้มสุกที่เย็นแล้วปริมาณเล็กน้อยพอให้แป้งกระจายตัวได้ 3) ปรับน้ําหนักให้ได้ตามต้องการด้วยน้ําร้อน คนจนกระทั่งแป้งพองตัวเป็น Corn starch paste 4) หากน้ําหนักของ Corn starch paste ที่เตรียมได้ลดลงเนื่องจากการระเหยของน้ํา ปรับน้ําหนัก ด้วยน้ําร้อนให้ได้ตามต้องการ 5.2 สารละลายเจลาติน ( Gelatin ) ความเข้มข้นร้อยละ 15 โดยน้ําหนัก 1) ชั่งน้ําหนักของเจลาตินและน้ําร้อนตามสัดส่วนของความเข้มข้นร้อยละ 15 โดยน้ําหนัก 2) นําเจลาตินไปโปรยลงในน้ําร้อน คนจนกระทั่งเจลาตินละลายหมด 3) ปรับน้ําหนักให้ได้ตามต้องการด้วยน้ําร้อน 5.3 การเตรี ยม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) solution ความเข้มข้นร้ อยละ 15 โดยน้ําหนัก 1) ชั่งน้ําหนักของ Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) และน้ําต้มสุกที่เย็นแล้ว ตามสัดส่วนของ ความเข้มข้นร้อยละ 15 โดยน้ําหนัก 2) นํา Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) มาโปรยในน้ํา คนจนละลาย จะได้ สารละลาย Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) ความเข้มข้นร้อยละ 15 โดยน้ําหนัก 5.4 การเตรียมยาเม็ด 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด (ยกเว้นสารส้มสะตุ) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งสารส้มสะตุ และส่วนประกอบ ชั่งน้ําหนักตามป ริมาณที่ ต้องการผลิต ซึ่งสอดคล้องกับสูตรแม่บท

133 4) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งสารส้มสะตุมารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด และร่อนผ่านแร่ง เบอร์ 80 ผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) นํา Lactose และ/หรื อ Sucrose (ถ้ำมี) และ/หรือ Citric acid (ถ้ำมี) และ/หรือ Sodium chloride (ถ้ามี) และ/หรือ Sodium benzoate (ถ้ามี) มาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 8 0 6) ชั่งผงยา ผสมกับ Lactose และ/หรือ Sucrose (ถ้ามี) และ/หรือ Citric acid (ถ้ามี) ปริมาณ ร้อยละ 0.1 - 2 โดยน้ําหนัก และ/หรือ Sodium chloride (ถ้ามี) ปริมาณร้อยละ 0. 1 - 2 โดยน้ําหนัก และ/หรือ Sodium benzoate (ถ้ามี) ปริมาณร้อยละ 0 . 02 - 0 . 1 โดยน้ําหนัก จนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นํา Corn starch paste ที่เตรียมไว้ (ตามข้อ 5.1) หรือ สารละลายเจลา ติน ที่เตรียมไว้ (ตาม ข้อ 5.2) หรือ สารละลาย Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) ที่เตรียมไว้ (ตามข้อ 5.3) ปริมาณร้อย ละ 1 - 3 โดยน้ําหนัก มาผสมกับผงยาในข้อ 6 ทีละน้อยจนได้ลักษณะผงยาที่มีความเปียกพอ เหมาะ ( damp mass ) 8) นําส่วนผสมในข้อ 7 มาผ่านแร่งเบอร์ 14 จนได้แกรนู ล แล้วนําไปอบที่อุณหภูมิ 60 องศา เซลเซียส หรือจนแห้งแล้ว ผ่านแร่งเบอร์ 18 9) นําแกรนูลในข้อ 8 ผสมกับ Silicon dioxide ปริมาณร้อยละ 2 โดยน้ําหนัก และ Magnesium stearate ปริมาณร้อยละ 0.5 โดยน้ําหนัก ผสมให้เข้ากันเป็นเวลานาน 1 - 5 นาที จนได้ส่วนผสมที่ สม่ําเสมอ 10) นําตัวยาไปตอกด้วยเครื่องตอกยาเม็ด 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการไอ มีเสมหะ ทําให้ชุ่มคอ ช่วยขับเสมหะ 7. วิธีใช้ ผู้ใหญ่ อมครั้งละ 5 - 7 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี อมครั้งละ 1 - 2 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 15 วัน หากอาการไม่ดีขึ้นควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี

134 72 . ยาประสะไพล 1. ชื่อยา ยาประสะไพล ชนิดลูกกลอน 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 162 กรัม 1 ไพล เหง้า 81 กรัม 2 กระเทียม หัว 8 กรัม 3 เกลือสินเธาว์* - 8 กรัม 4 ขมิ้นอ้อย เหง้า 8 กรัม 5 ขิง เหง้า 8 กรัม 6 ดีปลี ช่อผล 8 กรัม 7 เทียนดํา เมล็ด 8 กรัม 8 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 8 กรัม 9 มะกรูด ผิว** 8 กรัม 10 ว่านน้ํา เหง้า 8 กรัม 11 หอม หัว 8 กรัม 12 การบูร - 1 กรัม * เกลือสินเธาว์ที่ใช้เป็นเกลือภูเขาหรือเอือด เช่น เกลือสินเธาว์จากอําเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน , อําเภอนาแห้ว จังหวัดเลย อําเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ** ผิวมะกรูดอาจมีส่วนของเปลือกผลชั้นกลาง ( Mesocarp ) ที่ไม่สามารถแยกออกได้ ติดมาบ้าง 2.2 ส่วนประกอบ - Liquid glucose หรือน้ําผึ้ง - Croscarmellose sodium - Citric acid - Sodium chloride - Sodium benzoate - น้ํากลั่นหรือน้ําต้มสุกที่เย็นแล้ว 3. ที่มาของตํารับยา - ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร . ศ . 127 - ตําราอายุรเวทศึกษา ขุนนิทเทสสุขกิจ เล่ม 2 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต สูตรแม่บท ยาประสะไพล ชนิดลูกกลอน ความแรง 200 มิลลิกรัม สูตรตํารับ ปริมาณ ผงยาประสะไพล 200 มิลลิกรัม Liquid glucose หรือ 20 - 40 % w / w

135 น้ําผึ้ง 38 - 43 % w / w น้ํากลั่นหรือน้ําต้มสุกที่เย็นแล้ว 4 - 20 % w / w Croscarmellose sodium 0 - 5 % w / w Citric acid 0 - 0 . 2 % w / w Sodium chloride 0 - 0 . 2 % w / w Sodium benzoate 0.02 - 0.1 %w/w * * อาจใส่หรือไม่ใส่ Sodium benzoate ก็ได้ แต่ถ้าใส่ต้องใส่ปริมาณ 0. 02 - 0.1% w / w 1) นําตัวยาสมุนไพร (ยกเว้นเกลือสินเธาว์และการบูร) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร (ยกเว้นเกลือสินเธาว์และการบูร) ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งเกลือสินเธาว์และการบูร และส่วนประกอบ ชั่งน้ําหนักตาม ปริมาณที่ต้องการผลิต ซึ่งสอดคล้องกับสู ตรแม่บท 4) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งเกลือสินเธาว์และการบูร มารวมกันจากนั้นบดให้ล ะเอียด ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 ผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) นํา Croscarmellose sodium (ถ้ำมี) และ/หรือ Citric acid (ถ้ำมี) และ/หรือ Sodium chloride (ถ้ามี) และ/หรือ Sodium be nzoate (ถ้ามี) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 6) ชั่งผงยา ผสมกับ Citric acid (ถ้ามี) ปริมาณร้อยละ 0.1 - 0.2 โดยน้ําหนัก และ/หรือ Sodium chloride (ถ้ามี) ปริมาณร้อยละ 0.1 - 0.2 โดยน้ําหนัก และ/หรือ Croscarmellose sodium (ถ้ามี) ปริมาณร้อยละ 0.1 - 5 โดยน้ําหนัก และ/หรือ Sodium benzoate (ถ้ามี) ปริมาณร้อยละ 0.02 - 0.1 โดยน้ําหนัก จนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําผงยาในข้อ 6 มาผสมกับ Liquid glucose ปริมาณร้อยละ 20 - 40 โดยน้ําหนัก หรือ น้ําผึ้ง ปริมาณร้อยละ 38 - 43 โดยน้ําหนัก ให้เข้ากันแล้ว เติมน้ํากลั่นหรือน้ําต้มสุกที่เย็นแล้วปริมาณร้อยละ 4 - 20 โดยน้ําหนัก นวดผสมจนได้ตัวยาที่สม่ําเสมอ 8) นําตัวยาที่ได้ปั้นเป็นเม็ดลูกกลอน 9) นํายาลูกกลอนที่ได้ไปอบที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 6. สรรพคุณ แก้ระดูมาไม่สม่ําเสมอหรือมาน้อยกว่าปร กติ บรรเทาอาการปวดประจําเดือน ขับน้ําคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร 7. วิธีใช้ กรณีระดูมาไม่สม่ําเสมอหรือมาน้อยกว่าปรกติ กินครั้งละ 5 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เป็นเวลา 3 - 5 วัน เมื่อระดูมา ให้หยุดกิน กรณีปวดประจําเดือน กินครั้งละ 5 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน และเย็น ในกรณีที่มีอาการปวดประจําเดือนเป็นประจํา ให้กินยาก่อนมีประจําเดือน 2 - 3 วันไปจนถึงวัน แรก และ วันที่สองที่มีประจําเดือน กรณีขับน้ําคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร

136 กินครั้งละ 5 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ให้กินจนกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ไม่เ กิน 15 วัน 8. ข้อห้ามใช้ 8.1 ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงตั้งครรภ์ หญิงผ่าคลอด และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปรกติหลังคลอด 8.2 ห้ามใช้ในหญิงที่มีระดูมากกว่าปรกติ เพราะจะทําให้มีการขับระดูออกมามากขึ้น 9. คําเตือน 9.1 กรณีระดูมาไม่สม่ําเสมอหรือมาน้อยกว่าปรกติ ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 1 เดือน 9.2 กรณีขับน้ําคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร ไม่ควรใช้ติดต่ อกันนานเกิน 15 วัน 10. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยา อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับและไตเนื่องจาก อาจเกิดการสะสม ของการบูรและเกิดพิษได้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 73 . ยาประสะไพล 1. ชื่อยา ยาประสะไพล ชนิดเม็ด 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 162 กรัม 1 ไพล เหง้า 81 กรัม 2 กระเทียม หัว 8 กรัม 3 เกลือสินเธาว์* - 8 กรัม 4 ขมิ้นอ้อย เหง้า 8 กรัม 5 ขิง เหง้า 8 กรัม 6 ดีปลี ช่อผล 8 กรัม 7 เทียนดํา เมล็ด 8 กรัม 8 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 8 กรัม 9 มะกรูด ผิว** 8 กรัม 10 ว่านน้ํา เหง้า 8 กรัม 11 หอม หัว 8 กรัม 12 การบูร - 1 กรัม

137 * เกลือสินเธาว์ที่ใช้เป็นเกลือภูเขาหรือเอือด เช่น เกลือสินเธาว์จากอําเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน , อําเภอนาแห้ว จังหวัดเลย อําเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ** ผิวมะกรูดอาจมีส่วนของเปลือกผลชั้นกลาง ( Mesocarp ) ที่ไม่สามารถแยกออกได้ ติดมาบ้าง 2.2 ส่วนประกอบ - Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) - Dicalcium phosphate - Talcum - Magnesium stearate - Microcrystalline cellulose 3. ที่มาของตํารับยา - ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 - ตําราอายุรเวทศึกษา ขุนนิทเทสสุขกิจ เล่ม 2 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต สูตรแม่บท ยาประสะไพล ชนิดเม็ด ความแรง 200 มิลลิกรัมต่อเม็ด สูตรตํารับ ปริมาณ ผงยาประสะไพล 200 มิลลิกรัม Microcrystalline cellulose 280 - 300 มิลลิกรัม Dicalcium phosphate 0 - 10 มิลลิกรัม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) 5 - 5.7 % w / w Talcum 1 % w / w Magnesium stearate 2 % w / w 1) นําตัวยาสมุนไพร (ยกเว้นเกลือสินเธาว์และการบูร) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร (ยกเว้นเกลือสินเธาว์และการบูร) ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งเกลือสินเธาว์และการบูร และส่วนประกอบ ชั่งน้ําหนักตาม ปริมาณที่ต้องการผลิต ซึ่งสอดคล้องกับสูตรแม่บท 4) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้ งเกลือสินเธาว์และการบูรมารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด ร่อน ผ่านแร่งเบอร์ 80 จนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) นํา Microcrystalline cellulose, Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) , Talcum, Magnesium stearate , Dicalcium phosphate (ถ้ามี) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 6) ชั ่ งผงยา ผสมกั บ Microcrystalline cellulose และ Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) ปริมาณร้อยละ 5 - 5.7 โดยน้ําหนัก และ/หรือ Dicalcium phosphate (ถ้ามี) จนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ เป็นเวลานานประมาณ 5 นาที 7) นําผงยาในข้อ 6 นําผงยาไปตอกอัด ( slug ) กําหนดความแข็ง 30 - 40 นิวตัน ( N ) แล้วผ่านแร่ง เบอร์ 12 - 16

138 8) นําแกรนูลจากข้อ 7 ผสมกั บ Talcum ปริมาณร้อยละ 1 โดยน้ําหนัก และ Magnesium stearate ปริมาณร้อยละ 2 โดยน้ําหนัก ผสมให้เข้ากันเป็นเวลานาน 1 - 5 นาที จนได้ ส่ วนผสมที่ สม่ําเสมอ 9) นําตัวยาไปตอกด้วยเครื่องตอกยาเม็ด 6. สรรพคุณ - แก้ระดูมาไม่สม่ําเสมอหรือมาน้อยกว่าปรกติ บรรเทาอาการปวดประจําเดือน - ขับน้ําคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร 7. วิธีใช้ กรณีระดูมาไม่สม่ําเสมอหรือมาน้อยกว่าปรกติ กินครั้งละ 5 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เป็นเวลา 3 - 5 วัน เมื่อระดูมา ให้หยุดกิน กรณีปวดประจําเดือน กินครั้งละ 5 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวั น และเย็น ในกรณีที่มีอาการปวดประจําเดือนเป็นประจํา ให้กินยาก่อนมีประจําเดือน 2 - 3 วันไปจนถึงวันแรก และ วันที่สองที่มีประจําเดือน กรณีขับน้ําคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร กินครั้งละ 5 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ให้กินจนกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ไ ม่เ กิน 15 วัน 8. ข้อห้ามใช้ 8.1 ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ 1 หญิงตั้งครรภ์ หญิงผ่าคลอด และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปรกติหลังคลอด 8.2 ห้ามใช้ในหญิงที่มีระดูมากกว่าปรกติ เพราะจะทําให้มีการขับระดูออกมามากขึ้น 9. คําเตือน 9.1 กรณีระดูมาไม่สม่ําเสมอหรือมาน้อยกว่าปรกติ ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 1 เดือน 9.2 กรณีขับน้ําคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 15 วัน 10. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับและไตเนื่องจาก อาจ เกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 74 . ยาปราบชมพูทวีป 1. ชื่อยา ยาปราบชมพูทวีป ชนิดลูกกลอน

139 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 465 กรัม 1 กัญชาเทศ ใบ 120 กรัม 2 พริกไทยดํา ผลแก่ 120 กรัม 3 เหงือกปลาหมอ ทั้งต้น 120 กรัม 4 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 10 กรัม 5 หัสคุณเทศ ราก 10 กรัม* 6 ขิง เหง้า 8 กรัม 7 เจตมูลเพลิงแดง ราก 8 กรัม 8 บุกรอ หัว 8 กรัม 9 สมอเทศ เนื้อผล 8 กรัม 10 สมอไทย เนื้อผล 8 กรัม 11 เทียนแกลบ ผล 6 กรัม 12 เทียนแดง เมล็ด 6 กรัม 13 เทียนตาตั๊กแตน ผล 6 กรัม 14 โกฐเขมา เหง้า 4 กรัม 15 โกฐสอ ราก 4 กรัม 16 เทียนดํา เมล็ด 4 กรัม 17 พิลังกาสา ผลแก่ 4 กรัม 18 ลําพันหางหมู เหง้า 4 กรัม 19 การบูร - 2 กรัม 20 ดีปลี ช่อผล 2 กรัม 21 กระวาน ผล 1 กรัม 22 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 1 กรัม 23 ลูกจันทน์ เมล็ด 1 กรัม * น้ําหนักของตั ว ยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ - น้ําผึ้ง - Citric acid - Sodium chloride - Sodium benzoate - Sodium starch glycolate 3. ที่มาของตํารับยา เภสัชตํารับโรงพยาบาล โรงพยาบาลสูงเนิน การศึกษาวิจัยในโครงการศึกษาประสิทธิภาพยาไทยใน โรงพยาบาล พ.ศ. 2538 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา

140 การคั่วหัสคุณเทศ : เอารากหัสคุณเทศไปคั่ว จึงนําไปใช้ปรุงยาได้ หรือหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ คลุกเคล้าด้วย สุราให้ชุ่ม แล้วตั้งไฟคั่วให้แห้ง จึงนําไปใช้ปรุงยาได้ 5. กรรมวิธีการผลิต สูตรแม่บท ยาปราบชมพูทวีป ชนิดลูกกลอน ความแรง 250 มิลลิกรัม สูตรตํารับ ปริมาณ ผงยาปราบชมพูทวีป 250 มิลลิกรัม น้ําผึ้ง 250 มิลลิกรัม Citric acid 0 - 0.1 % w / w Sodium chloride 0 - 0.1 % w / w Sodium benzoate 0. 02 - 0.1 % w / w * Sodium starch glycolate 0 - 1 % w / w * อาจใส่หรือไม่ใส่ Sodium benzoate ก็ได้ แต่ถ้าใส่ต้องใส่ปริมาณ 0. 02 - 0.1% w / w 1) นําตัวยาสมุนไพร (ยกเว้นการบูร) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งการบูร และส่วนประกอบ ชั่งน้ําหนักตามปริมาณที่ต้องการ ผลิต ซึ่งสอดคล้องกับสูตรแม่บท 4) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งการบูรมารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 ผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) นํา Sodium starch glycolate ( ถ้ำมี) และ/หรือ Citric acid (ถ้ำมี) และ/หรือ Sodium chloride (ถ้ามี) และ/หรือ Sodium benzoate (ถ้ามี) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 6) ชั่งผงยา ผสมกับ Sodium starch glycolate (ถ้ามี) ปริมาณร้อยละ 0.1 - 1 โดยน้ําหนัก และ/ หรือ Citric acid (ถ้ามี) ปริมาณร้อยละ 0.01 - 0.1 โดยน้ําหนัก และ/หรือ Sodium chloride (ถ้ามี) ปริมาณร้อยละ 0.01 - 0.1 โดยน้ําหนัก และ/หรือ Sodium benzoate (ถ้ามี) ปริมาณร้อยละ 0.0 2 – 0.1 โดยน้ําหนัก จนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําผงยาในข้อ 6 มาผสมกับ น้ําผึ้ง นวดผสมจนได้ตัวยาที่สม่ําเส มอ 8) นําตัวยาที่ได้ปั้นเป็นเม็ดลูกกลอน 9) นํายาลูกกลอนที่ได้ไปอบที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 48 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการหวัดในระยะแรก และอาการที่เกิดจากการแพ้อากาศ 7. วิธีใช้ กินครั้งละ 3 - 6 เม็ด วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น และก่อนนอน 8. ข้อห้ามใช้ 8.1 ห้ามใช้เมื่อพบภาวะแทรกซ้อนจากการแพ้อากาศ เช่น ไซนัสอักเสบ การติดเชื้อแบคทีเรียที่มี อาการเจ็บบริเวณไซนัส ไข้สูง น้ํามูก เสมหะเขียว 8.2 ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ เด็ก และหญิงตั้งครรภ์ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง

141 10.1 ควรระวังการบริโภคกับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคแผลเปื่อยเพปติก และโรคกรดไหล ย้อน เนื่องจากเป็นตํารับยารสร้อน 10.2 ควรระวังการใช้เกินขนาดในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไตหรือทางเดินปัสสาวะ เนื่องจากอาจ เกิดพิษจากการบูร 10.3 ค วรระวั งการใช้ยานี้ร่วมกั บยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจาก ตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง 11. อาการไม่พึงประสงค์ แสบร้อนยอดอก 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 75 . ยาเขียวหอม 1. ชื่อยา ยาเขียวหอม ชนิดเม็ด 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 90 กรัม 1 จันทน์ขาว แก่น 5 กรัม 2 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น (จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 5 กรัม 3 เนระพูสี เหง้า 5 กรัม 4 บัวหลวง เกสร เพศผู้ 5 กรัม 5 บุนนาค ดอก 5 กรัม 6 เปราะหอม เหง้า 5 กรัม 7 ผักกระโฉม ใบ 5 กรัม 8 แฝกหอม ราก 5 กรัม 9 พิกุล ดอก 5 กรัม 10 พิมเสนต้น ใบ 5 กรัม 11 พิษนาศน์ ราก 5 กรัม 12 มหาสดํา เหง้า 5 กรัม 13 ว่านกีบแรด เหง้าและ โคนก้านใบ 5 กรัม 14 ว่านร่อนทอง เหง้า 5 กรัม 15 สันพร้าหอม ใบ 5 กรัม

142 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 90 กรัม 16 สารภี ดอก 5 กรัม 17 หมากผู้ ใบ 5 กรัม 18 หมากเมีย ใบ 5 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ - Corn starch - Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) - Croscarmellose sodium - Magnesium stearate - Silicon dioxide - น้ํากลั่นหรือน้ําต้มสุกที่เย็นแล้ว 3. ที่มาของตํารับยา ตํารับยาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. 1 12 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต สูตรแม่บท ยาเขียวหอม ชนิดเม็ด ความแรง 500 มิลลิกรัม สูตรตํารับ ป ริมาณ ผงยาเขียวหอม 500 มิลลิกรัม Corn starch 7.29 % w / w Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) 2 . 50 % w / w Croscarmellose sodium 2 . 50 % w / w Magnesium stearate 0 . 50 % w / w Silicon dioxide 0 . 25 % w / w 5.1 การเตรียม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) solution ความเข้มข้นร้อยละ 10 โดย น้ําหนัก 1) ชั่งน้ําหนักของ Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) และน้ําต้มสุกที่เย็นแล้ว ตามสัดส่วนของ ความเข้มข้นร้อยละ 10 โดยน้ําหนัก 2) นํา Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) มาโปรยในน้ํา คนจนละลาย จะได้ สารละลาย Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) ความเข้มข้นร้อยละ 10 โดยน้ําหนัก 5.2 การเตรียมยาเม็ด 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที ่ อบแห้ งแล้ ว และส่ วนประกอบ ชั ่ งน้ําหนักตามปริมาณที ่ ต้ องการผลิต ซึ่งสอดคล้องกับสูตรแม่บท 4) นําสมุนไพรที ่ อบแห้งแล้วมารวมกัน จากนั้ นบดให้ละเอียด ร่อนผ่ำนแร่งเบอร์ 8 0 ผสม จนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ

143 5) นํา Croscarmellose sodium , Corn starch, Magnesium ste a rate และ Silicon dioxide ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 6) ชั่งผงยา ผสมกับ Corn starch ผสมจนได้ตัวยาที่สม่ําเสมอ 7) นําสารละลาย Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) ที่เตรียมไว้ (ตามข้อ 5 . 1 ) ปริมาณร้อยละ 2 . 5 โ ด ย น ้ ํา ห น ั ก ( น ้ ํา ห น ั ก ข อ ง ผ ง แ ห ้ ง ) มำ ผ ส ม ก ั บ ผ ง ยำ ใ น ข ้ อ 6 ท ี ล ะ น ้ อ ย จนได้ลักษณะผงยาที่มีความเปียกพอเหมาะ ( damp mass ) 8) นําส่ วนผสมข้ อ 7 มาผ่ำนแร่งเบอ ร์ 10 จนได้ แกรนูล นําไปอบที ่ อุ ณหภู มิ 50 องศาเซลเซียส หรือจนแห้ง 9) นําแกรนูลที ่ ได้ อบแล้ วผ่ำนแร่งเบ อร์ 14 ผสมกั บ Croscarmellose sodium ปริมาณ ร้อยละ 2.5 โดยน้ําหนัก Magnesium ste a rate ปริมาณร้อยละ 0.50 โดยน้ําหนัก และ Silicon dioxide ปริมาณร้อยละ 0.25 โดยน้ําหนัก ผสมให้เข้ากันเป็นเวลานาน 1 - 5 นาที จนได้ส่วนผสมที่ สม่ําเสมอ 10) นําตัวยาไปตอกด้วยเครื่องตอกยาเม็ด 5. สรรพคุณ แก้ตัวร้อน ร้อนใน กระหายน้ํา แก้พิษหัด พิษอีสุกอีใส 6. วิธีใช้ ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 2 เม็ด ทุก 4 - 6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 1 เม็ด ทุก 4 - 6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ 7. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8. คําเตือน ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก 9. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ 10.2 หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 10. อากำรไม่พึงประสงค์ ไม่มี 1 1 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 12. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 13. ข้อมูลเพิ่มเติม 1 3 .1 ทางการแพทย์แผนไทย แนะนําให้ผู้ป่วยหัด อีสุกอีใส ห้ามกินอาหารทะเล ไข่ และน้ําเย็น เนื่องจากผิดสําแดง 1 3 .2 ในสูตรตํารับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และจําหน่ายใน ท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia มีรายงานพบว่าก่อให้เกิดความเป็น

144 พิษต่ อไต ( Nephrotoxicity ) และเมื่ อ พ.ศ. 2545 องค์ การอนามัยโลกได้ ประกาศให้ พื ชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ 76 . ยาจันทลีลา 1. ชื่อยา ยาจันทลีลา ชนิดเม็ด 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 99 กรัม 1 กระดอม ผล* 12 กรัม 2 โกฐเขมา เหง้า 12 กรัม 3 โกฐจุฬาลัมพา ส่วนเหนือดิน 12 กรัม 4 โกฐสอ ราก 12 กรัม 5 จันทน์ขาว แก่น 12 กรัม 6 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น (จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 12 กรัม 7 บอระเพ็ด เถา 12 กรัม 8 ปลาไหลเผือก ราก 12 กรัม 9 พิมเสน - 3 กรัม * ผลกระดอมไม่ใช้ผลสุก เนื่องจากผลสุกจะมีพิษ 2.2 ส่วนประกอบ - Corn starch - Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) - Croscarmellose sodium - Magnesium stearate - Silicon sioxide - น้ํากลั่นหรือน้ําต้มสุกที่เย็นแล้ว 3. ที่มาของตํารับยา ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต สูตรแม่บท ยาจันทลีลา ชนิดเม็ด ความแรง 500 มิลลิกรัมต่อเม็ด สูตรตํารับ ปริมาณ ผงยาจันทลีลา 500 มิลลิกรัม Corn starch 20 - 65 มิลลิกรัม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) 2 . 50 % w / w Croscarmellose sodium 2 . 50 % w / w

145 สูตรตํารับ ปริมาณ Magnesium stearate 0 . 50 % w / w Silicon dioxide 0 . 25 % w / w 5.1 การเตรี ยม Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) solution ความเข้มข้นร้ อยละ 10 โดยน้ําหนัก 1) ชั่งน้ําหนักของ Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) และน้ําต้มสุกที่เย็นแล้ว ตามสัดส่วนของ ความเข้มข้นร้อยละ 10 โดยน้ําหนัก 2) นํา Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) มาโปรยในน้ํา คนจนละลาย จะได้ สารละลาย Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) ความเข้มข้นร้อยละ 10 โดยน้ําหนัก 5.2 การเตรียมยาเม็ด 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิด (ยกเว้นพิมเสน) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งพิมเสน และส่วนประกอบ ชั่งน้ําหนักตามปริมาณที่ต้องการ ผลิต ซึ่งสอดคล้องกับสูตรแม่บท 4) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งพิมเสนมารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 8 0 ผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) นํา Cro scarmellose sodium , Corn starch, Magnesium ste a rate และ Silicon dioxide ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 6) ชั่งผงยา ผสมกับ Corn starch จนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําสารละลาย Polyvinylpyrrolidone ( PVP K - 30 ) ที่เตรียมไว้ (ตามข้อ 5 . 1 ) ปริมาณร้อยละ 2.5 โดยน้ําหนัก มาผสมกับผงยาในข้อ 6 ทีละน้อยจนได้ลักษณะผงยาที่มีความเปียกพอเหมาะ ( damp mass ) 8) นําส่วนผสมข้อ 7 มาผ่านแร่งเบอร์ 10 จนได้แกรนูล นําไปอบที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส หรือจนแห้ง 9) นําแกรนูลที่ได้อบแล้วผ่านแร่งเบอร์ 14 ผสมกับ Croscarm ellose sodium ปริมาณร้อยละ 2.5 โดยน้ําหนัก Magnesium ste a rate ปริมาณร้อยละ 0.50 โดยน้ําหนัก และ Silicon dioxide ปริมาณร้อยละ 0.25 โดยน้ําหนัก ผสมให้เข้ากันเป็นเวลานาน 1 - 5 นาที จนได้ส่วนผสมที่สม่ําเสมอ 10) นําตัวยาไปตอกด้วยเครื่องตอกยาเม็ด 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน ไข้เปลี่ยนฤดู 7. วิธีใช้ ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 2 - 4 เม็ด ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี กินครั้งละ 1 - 2 เม็ด ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง

146 10.1 ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก 10.2 หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม แนะนําให้ใช้ยาจันทลีลาได้ในหญิงที่มีไข้ทับระดู หรือไข้ระหว่างมีประจําเดือน 77 . ยาปลูกไฟธาตุ 1. ชื่อยา ยาปลูกไฟธาตุ ชนิดลูกกลอน 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 100 กรัม 1 พริกไทยล่อน เมล็ดจาก ผลสุก 50 กรัม 2 ขิงแห้ง เหง้า 5 กรัม 3 ช้าพลู ราก 5 กรัม 4 ดีปลี ช่อผล 5 กรัม 5 ผักแพวแดง ทั้งต้น 5 กรัม 6 พิลังกาสา ผลแก่ 5 กรัม 7 มะกรูด ผิว* 5 กรัม 8 ลูกผักชีล้อม ผล 5 กรัม 9 ว่านน้ํา เหง้า 5 กรัม 10 สะค้าน เถา 5 กรัม 11 แห้วหมู เหง้า 5 กรัม * ผิวมะกรูดอาจมีส่วนของเปลือกผลชั้นกลาง ( Mesocarp ) ที่ไม่สามารถแยกออกได้ ติดมาบ้าง 2.2 ส่วนประกอบ - น้ําผึ้ง - Sodium benzoate 3. ที่มาของตํารับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 126 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต สูตรแม่บท ยาปลูกไฟธาตุ ชนิดลูกกลอน ความแรง 500 มิลลิกรัมต่อเม็ด

147 สูตรตํารับ ปริมาณ ผงยาปลูกไฟธาตุ 500 มิลลิกรัม น้ําผึ้ง 4 00 มิลลิกรัม Sodium benzoate 0.02 - 0.1 %w/w * * อาจใส่หรือไม่ใส่ Sodium benzoate ก็ได้ แต่ถ้าใส่ต้องใส่ปริมาณ 0. 02 - 0.1% w / w 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว และส่วนประกอบ ชั่งน้ําหนักตามปริมำณที่ต้องการผลิต ซึ่งสอดคล้อง กับสูตรแม่บท 4) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้วมารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 ผสม จนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) นํา Sodium benzoate (ถ้ามี) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 6) ชั่งผงยา ผสมกับน้ําผึ้ง และ/หรือ Sodium benzoate (ถ้ามี ) ปริมาณร้อยละ 0.02 - 0.1 โดย น้ําหนัก ผสมจนได้ตัวยาที่สม่ําเสมอ 7) นําตัวยาที่ได้ปั้นเป็นเม็ดลูกกลอน 8) นํายาลูกกลอนที่ได้ไปอบที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 3 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 6. สรรพคุณ ปลูกไฟธาตุให้โลหิตงาม ถ้าไม่มีระดูให้มีระดูมา ถ้าแม่ลูกอ่อนกินมีน้ํานมมาก 7. วิธีใช้ กินครั้งละ 1 – 3 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงตั้งครรภ์ หญิงที่ผ่าคลอด และ หญิงที่มีเลือดออกมากผิดปรกติหลังคลอด 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ควรระวั งการใช้ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampici n เนื่ องจาก ตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง 11. อาการไม่พึงประสงค์ แสบร้อนยอดอก 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม ปลูกไฟธาตุให้โลหิตงาม ถ้าไม่มีระดูให้มีระดูมา ถ้าแม่ลูกอ่อนกินมีน้ํานมมาก เป็นสรรพคุณดั้งเดิมขอ ง ตํารับยาปลูกไฟธาตุจากคัมภีร์มหาโชตรัต

148 78 . ยาผสมเพชรสังฆาต 1. ชื่อ ยา ยาผสมเพชรสังฆาต ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 85 กรัม 1 เพชรสังฆาต เ ถา 50 กรัม 2 กะเม็ง ส่วนเหนือดิน 15 กรัม 3 กระชาย รากและเหง้า 10 กรัม 4 โกศน้ําเต้า รากและเหง้า 10 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 เภสัชตํารับโรงพยาบาลพล จังหวัดขอนแก่น 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการริดสีดวงทวารหนัก 7. วิธีใช้ กินครั้งละ 1 - 2 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที เช้า กลางวัน และเย็น 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควร ระวัง การใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์ และ หญิงให้นมบุตร 10.2 ควรระวังในผู้ป่วยที่มีภาวะไตบกพร่อง 10.3 ไม่ควรรับประทานติดต่อกันเป็นเวลานาน เนื่องจากอาจเกิดพิษต่อไตจาก oxalate ในเถา เพชรสังฆาต 11. อาการไม่พึงประสงค์

149 ยานี้อาจทําให้เกิดอาการท้องเสีย มวนท้อง 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม โดยปกติโกฐน้ําเต้าที่ใช้ตามตํารายาแผนไทยผ่านกระบวนการนึ่งแล้ว 79 . ยาแก้กษัยดาน 1. ชื่อยา ยาแก้กษัยดาน ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 210 กรัม 1 โกฐน้ําเต้า รากและเหง้า 60 กรัม 2 เทียนดํา เมล็ด 40 กรัม 3 สมอเทศ เนื้อผล 30 กรัม 4 สมอไทย เนื้อผล 30 กรัม 5 ขิงแห้ง เหง้า 10 กรัม 6 เจตพังคี ราก 10 กรัม 7 ดีปลี ช่อผล 1 0 กรัม 8 พริกไทย ผลแก่ 10 กรัม 9 มหาหิงคุ์สะตุ ยางจากราก 10 กรัม * * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 126 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุมหาหิงคุ์: นํามหาหิงคุ์ใส่หม้อดิน เอาใบกะเพราแดง ใส่น้ําต้มจ นเดือด เทน้ําใบกะเพราแดง ขณะร้อน ๆ ลงในหม้อดินละลายมหาหิงคุ์ แล้วกรองให้สะอาด แล้วผึ่งหรืออบจนมหาหิงคุ์แห้ง 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นมหาหิงค์สะตุ ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจน แห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งมหาหิงค์สะตุ ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบด ให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100

150 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองกันความชื้น ซองละ 1 กรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องผูก ช่วยขับลม สําหรับผู้ป่วยที่มีอาการท้องผูกเรื้อรัง ท้องแข็งเป็นดาน จุกเสียด แน่น 7. วิธีใช้ กินครั้งละ 1 - 2 ซอง ละลายน้ํามะขามเปียก หรือน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) วันละ 1 ครั้ง ก่อน นอน อาจเพิ่มหรือลดขนาดยาตามธาตุหนักเบา 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์ สตรีให้นมบุตร เด็กอายุต่ํากว่า 10 ปี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยโรคลําไส้อุดตัน คอดตีบ ขาดความตึงตัว หรือลําไส้อักเสบ หรือผู้ป่วยที่มี อาการปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ที่ไม่ทราบสาเหตุ 10.2 ไม่ควรใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานานเกิน 1 - 2 สัปดาห์ เพราะการใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานานจะทําให้ ลําไส้เกิดความเคยชินต่อยา ต้องใช้ขนาดมากขึ้นจึงจะได้ผล และทําให้ถ่ายลําบากเมื่อหยุดใช้ยา 11. อาการไม่พึงประสง ค์ อาจทําให้เกิดอาการปวดมวน ไม่สบายท้อง ท้องเสียในผู้ป่วยบางราย หากมีอาการควรลดขนาดยาลง 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม โดยปกติโกฐน้ําเต้าที่ใช้ตามตํารายาแผนไทยผ่านกระบวนการนึ่งแล้ว 80 . ยาแก้กษัยดาน 1. ชื่อยา ยาแก้กษัยดาน ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 210 กรัม 1 โกฐน้ําเต้า รากและเหง้า 60 กรัม 2 เทียนดํา เมล็ด 40 กรัม 3 สมอเทศ เนื้อผล 30 กรัม 4 สมอไทย เนื้อผล 30 กรัม 5 ขิงแห้ง เหง้า 10 กรัม 6 เจตพังคี ราก 10 กรัม

151 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 210 กรัม 7 ดีปลี ช่อผล 10 กรัม 8 พริกไทย ผลแก่ 10 กรัม 9 ม หาหิงคุ์สะตุ ยางจากราก 10 กรัม * * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 126 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุมหาหิงคุ์: นํามหาหิงคุ์ใส่หม้อดิน เอาใบกะเพราแดง ใส่น้ําต้มจนเดือด เทน้ําใบกะเพราแดง ขณะร้อน ๆ ลงในหม้อดินละลายมหาหิงคุ์ แล้วกรองให้สะอาด แล้วผึ่งหรืออบจนมหาหิงคุ์แห้ง 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นมหาหิงค์สะตุ ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งมหาหิงค์สะตุ ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบด ให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องผูก ช่วยขับลม สําหรับผู้ป่วยที่มีอาการท้องผูกเรื้อรัง ท้องแข็งเป็นดาน จุกเสียด แน่น 7. วิธีใช้ กินครั้งละ 2 - 4 แคปซูล วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน อาจเพิ่มหรือลดขนาดยาตามธาตุหนักเบา 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์ สตรีให้นมบุตร เด็กอายุต่ํากว่า 10 ปี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยโรคลําไส้อุดตัน คอดตีบ ขาดความตึงตัว หรือลําไส้อักเสบ หรือผู้ป่วยที่มี อาการปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ที่ไม่ทราบสาเหตุ 10.2 ไม่ควรใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานานเกิน 1 - 2 สัปดาห์ เพราะการใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานานจะทําให้ ลําไส้เกิดความเคยชินต่อยา ต้องใช้ขนาดมากขึ้นจึงจะได้ผล และทําให้ถ่ายลําบากเมื่อหยุดใช้ยา 11. อาการไม่พึงประสงค์ อาจทําให้เกิดอาการปวดมวน ไม่สบายท้อง ท้องเสียในผู้ป่วยบางราย หากมีอำการควรลดขนาดยาลง 12 . ขนาดบรรจุ

152 บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม โดยปกติโกฐน้ําเต้าที่ใช้ตามตํารายาแผนไทยผ่านกระบวนการนึ่งแล้ว 81 . ยาฝนแสนห่าสิงคาทิจร 1. ชื่อยา ยาฝนแสนห่าสิงคาทิจร ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส ่ วนที่ใช้ น้ําหนักยา 50 กรัม 1 กระทือ เหง้า 10 กรัม 2 ข่า เหง้า 10 กรัม 3 ขิง ราก 10 กรัม 4 เมล็ดพรรณผักกาด เมล็ด 10 กรัม 5 ลูกผักชี ผล 10 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 126 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บร รจุผงยาลงซองกันความชื้น ซองละ 1 กรัม 6. สรรพคุณ ลดน้ํามูกในผู้ป่วยที่เป็นหวัด ซึ่งไม่มีอาการไข้ 7. วิธีใช้ กินครั้งละ 1 - 2 ซอง ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ ร้อนใน เจ็บคอ 9. คําเตือน

153 ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 82 . ยาฝนแสนห่าสิงคาทิจร 1. ชื่อยา ยาฝนแสนห่าสิงคาทิจร ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 50 กรัม 1 กระทือ เหง้า 10 กรัม 2 ข่า เหง้า 10 กรัม 3 ขิง ราก 10 กรัม 4 เมล็ดพรรณผักกาด เมล็ด 10 กรัม 5 ลูกผักชี ผล 10 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 126 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิ กรัม 6. สรรพคุณ ลดน้ํามูกในผู้ป่วยที่เป็นหวัด ซึ่งไม่มีอาการไข้

154 7. วิ ธีใช้ กินครั้งละ 2 - 4 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ ร้อนใน เจ็บคอ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 8 3 . ยาแก้ไอ ขับเสมหะ สูตร 2 1. ชื่อยา ยาแก้ไอ ขับเสมหะ สูตร 2 ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาส ํา คัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 280 กรัม 1 ส้มป่อยสะตุ ฝัก 140 กรัม* 2 กระเทียม หัว 10 กรัม 3 กระวาน ผล 10 กรัม 4 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 10 กรัม 5 ชะเอมเทศ รากและเหง้า 10 กรัม 6 ดอกจันทน์ เยื่อหุ้มเมล็ด 10 กรัม 7 ดีปลี ช่อผล 10 กรัม 8 พริกไทย ผลแก่ 10 กรัม 9 มะกล่ําเครือ ราก 10 กรัม 10 มะกล่ําต้น เปลือกต้น 10 กรัม 11 มะเขือขื่น ราก 10 กรัม 12 มะแว้งเครือ ราก 10 กรัม 13 ลูกจันทน์ เมล็ด 10 กรัม 14 ส้มกุ้งน้อย ราก 10 กรัม

155 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 280 กรัม 15 หอม หัว 10 กรัม * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยำตำมข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 3 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การสะตุฝักส้มป่อย : นําฝักส้มป่อยนํามาปิ้งไฟหรือคั่ว ก่อนนําไปใช้ปรุงยา 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพร ยกเว้นส้มป่อยสะตุ ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว รวมทั้งส้มป่อยสะตุ ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบด ให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองกันความชื้น ซองละ 1 กรัม 6. สรรพคุณ แก้ไอ ขับเสมหะ 7. วิธีใช้ กินครั้งละ 1 - 3 ซอง ละลายน้ํามะนาวหรือน้ํามะขามเปียกแทรกเกลือ หรือละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ ขณะยังอุ่นอยู่) หรือกวาดคอ วันละ 1 - 3 ครั้ง เมื่อมีอาการ 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในเด็ก 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี

156 8 4 . ยาแก้ไข้ทับระดูและระดูทับไข้ สูตร 3 1. ชื่อยา ยาแก้ไข้ทับระดูและระดูทับไข้ สูตร 3 ชนิด ยา ต้ม 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 240 กรัม 1 ข้าวเย็นใต้ หัว 60 กรัม 2 ข้าวเย็นเหนือ หัว 60 กรัม 3 ชะเอมเทศ รากและเหง้า 60 กรัม 4 หญ้าใต้ใบ (ชนิดเขียว) ทั้งต้น 60 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิดมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลงและมีขนาดสม่ําเสมอกัน 3) อบสมุนไพรทุกชนิดที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4) ชั่งน้ําหนักสมุนไพรทุกชนิดตามสูตรยา 5) นําตัวยาทั้งหมดมาผสมรวมกัน และบดหยาบให้ชิ้นส่วนสมุนไพรมีขนาดสม่ําเสมอกัน 6) บรรจุสมุนไพรทั้งหมดที่บดแล้วในถุงผ้าขาวบาง จากนั้นนําไปบรรจุลงในบรรจุภัณฑ์ 6. สรรพคุณ แก้ไข้ทับระดูและระดูทับไข้ 7. วิธีใช้ 7.1 วิธีการเตรียมยาต้ม 1) นําถุงผ้าขาวบางที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2) เติมน้ําพอท่วม (โดยใช้มือกดบนยาเบา ๆ ให้ตัวยาจมอยู่ใต้น้ํา และให้น้ําท่วมหลังมือ) นําไป ตั้งบนเตา ต้มจนเดือด แล้วหรี่ไฟลง ต้มต่ออีก 10 - 15 นาที แล้วยกลงจากเตา 7.2 วิธีกิน รินเอาน้ําดื่มครั้งละ 1 5 0 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น โดยควร ดื่มขณะยังอุ่นอยู่ ยา 1 ห่อ ใช้ติดต่อกันได้ 3 วัน โดยเติมน้ํา แล้วนํามาต้มกินทุกวัน 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี

157 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในซองพลาสติก หรือ ภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 8 5 . ยาบํารุงธาตุหลังฟื้นไข้ 1. ชื่อยา ยาบํารุงธาตุหลังฟื้นไข้ ชนิด ยา ต้ม 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 180 กรัม 1 กระดอม ผล* 15 กรัม 2 ขมิ้นอ้อย เหง้า 15 กรัม 3 ขิง เหง้า 15 กรัม 4 เจตมูลเพลิงแดง ราก 15 กรัม 5 ช้าพลู ราก 15 กรัม 6 ดีปลี ช่อผล 15 กรัม 7 บอระเพ็ด เถา 15 กรัม 8 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 15 กรัม 9 พิกุล ดอก 15 กรัม 10 มะตูม ผลอ่อน 15 กรัม 11 สะค้าน เถา 15 กรัม 12 แห้วหมู เ หง้า 15 กรัม * ผลกระดอมไม่ใช้ผลสุก เนื่องจากผลสุกจะมีพิษ 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา คัมภีร์แพทย์แผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิดมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลงและมีขนาดสม่ําเสมอกัน

158 3) อบสมุนไพรทุกชนิดที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4) ชั่งน้ําหนักสมุนไพรทุกชนิดตามสูตรยา 5) นําตัวยาทั้งหมดมาผสมรวมกัน และบดหยำบให้ชิ้นส่วนสมุนไพรมีขนาดสม่ําเสมอกัน 6) บรรจุสมุนไพรทั้งหมดที่บดแล้วในถุงผ้าขาวบาง จากนั้นนําไปบรรจุลงในบรรจุภัณฑ์ 6. สรรพคุณ บํารุงธาตุหลังฟื้นจากไข้ บํารุงไฟธาตุ เจริญอาหาร 7. วิธีใช้ 7.1 วิธีการเตรียมยาต้ม 1) นําถุงผ้าขาวบางที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2) เติมน้ําพอท่วม (โดยใช้มือกดบนยาเบา ๆ ให้ตัวยาจมอยู่ใต้น้ํา และให้น้ําท่วมหลังมือ) นําไป ตั้งบนเตา ต้มจนเดือด แล้วหรี่ไฟลง ต้มต่ออีก 10 - 15 นาที แล้วยกลงจากเตา 7.2 วิธีกิน รินเอาน้ําดื่มครั้งละ 1 5 0 มิลลิลิตร วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น โดยควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ ยา 1 ห่อ ใช้ติดต่อกัน 5 วัน โดยให้อุ่นน้ําสมุนไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีไข้ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในซองพลาสติก หรือ ภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม - ยาขนานนี้ใช้บํารุงไฟธาตุสําหรับย่อยอาหาร ในผู้ป่วยหลังฟื้นจากไข้ ทําให้ผู้ป่วยรู้สึกอยากอาหาร และกินอาหารได้มากขึ้น - ยาขนานนี้ใช้ในกรณีเมื่อไข้หายแล้ว 8 6 . ยาบํารุงธาตุหลังฟื้นไข้ 1. ชื่อยา ยาบํารุงธาตุหลังฟื้นไข้ ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 180 กรัม 1 กระดอม ผล* 15 กรัม 2 ขมิ้นอ้อย เหง้า 15 กรัม

159 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 180 กรัม 3 ขิง เหง้า 15 กรัม 4 เจตมูลเพลิงแดง ราก 15 กรัม 5 ช้าพลู ราก 15 กรัม 6 ดีปลี ช่อผล 15 กรัม 7 บอระเพ็ด เถา 15 กรัม 8 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 15 กรัม 9 พิกุล ดอก 15 กรัม 10 มะตูม ผลอ่อน 15 กรัม 11 สะค้าน เถา 15 กรัม 12 แห้วหมู เหง้า 15 กรัม * ผลกระดอมไม่ใช้ผ ล สุก เนื่องจากผลสุกจะมีพิ ษ 2.2 ส่ว น ประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา คัมภีร์แพทย์แผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองกัน ความชื้น ซองละ 1 กรัม 6. สรรพคุณ บํารุงธาตุหลังฟื้นจากไข้ บํารุงไฟธาตุ เจริญอาหาร 7. วิธีใช้ กินครั้งละ 1 - 2 ซอง ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีไข้ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี

160 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม - ยาขนานนี้ใช้บํารุงไฟธาตุสําหรับย่อยอาหาร ในผู้ป่วยหลังฟื้นจากไข้ ทําให้ผู้ป่วยรู้สึกอยากอาหา ร และกินอาหารได้มากขึ้น - ยาขนานนี้ใช้ในกรณีเมื่อไข้หายแล้ว 87 . ยาบํารุงธาตุหลังฟื้นไข้ 1. ชื่อยา ยาบํารุงธาตุหลังฟื้นไข้ ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 180 กรัม 1 กระดอม ผล* 15 กรัม 2 ขมิ้นอ้อย เหง้า 15 กรัม 3 ขิง เหง้า 15 กรัม 4 เจตมูลเพลิงแดง ราก 15 กรัม 5 ช้าพลู ราก 15 กรัม 6 ดีปลี ช่อผล 15 กรัม 7 บอระเพ็ด เถา 15 กรัม 8 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 15 กรัม 9 พิกุล ดอก 15 กรัม 10 มะตูม ผลอ่อน 15 กรัม 11 สะค้าน เถา 15 กรัม 12 แห้วหมู เหง้า 15 กรัม * ผลกระดอมไม่ใช้ผลสุก เนื่องจากผลสุกจะมีพิษ 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา คัมภีร์แพทย์แผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง

161 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยา ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บํารุงธาตุหลังฟื้นจากไข้ บํารุงไฟธาตุ เจริญอาหาร 7. วิธีใช้ กินครั้งละ 2 - 4 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีไข้ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม - ยาขนานนี้ใช้บํารุงไฟธาตุสําหรับย่อยอาหาร ในผู้ป่วยหลังฟื้นจากไข้ ทําให้ผู้ป่วยรู้สึกอยากอาหาร และกินอาหารได้มากขึ้น - ยาขนานนี้ใช้ในกรณีเมื่อไข้หายแล้ว 88 . ยาผสมโคคลาน 1. ชื่ อ ยา ยาผสมโคคลาน ชนิด ยา ต้ม 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 105 กรัม 1 โคคลาน เถา 50 กรัม 2 ทองพันชั่ง ส่วนเหนือดิน 25 กรัม 3 โด่ไม่รู้ล้ม ทั้งต้น 15 กรัม 4 มะตูม ผลอ่อน 15 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา

162 ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 เภสัชตํารับโรงพยาบาลกุดชุ ม จังหวัดยโสธร 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพรทุกชนิดมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลงและมีขนาดสม่ําเสมอกัน 3) อบสมุนไพรทุกชนิดที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4) ชั่งน้ําหนักสมุนไพรทุกชนิดตามสูตรยา 5) นําตัวยาทั้งหมดมาผสมรวมกัน และบดหยำบให้ชิ้นส่วนสมุนไพรมีขนาดสม่ําเสมอกัน 6) บรรจุสมุนไพรทั้งหมดที่บดแล้วในถุงผ้าขาวบาง จากนั้นนําไปบรรจุลงในบรรจุภัณฑ์ 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 7. วิธีใช้ 7 . 1 . วิธีการเตรียมยาต้ม 1) นําถุงผ้าขาวบางที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2) เติมน้ําประมาณ 3 ลิตร นําไปเคี่ยวไฟกลาง ต้มให้เหลือน้ําประมาณ 1 ลิตร ยกลงจากเตา 7 . 2 . วิธีกิน รินเอาน้ําดื่มครั้งละ 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น โดยควร ดื่มขณะยังอุ่นอยู่ ยา 1 ห่อ ใช้ติดต่อกันได้ 5 - 7 วัน โดยเติมน้ํา แล้วนํามาต้มกินทุกวัน 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในซองพลาสติก หรือ ภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม ตัวยาโพคานที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mallotus repandus (Willd.) Müll. Arg. วงศ์ Euphorbiacea e คือ “ โคคลาน ” ตามสูตรตํารับใน ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลัก แห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564

163 89 . ยาผสมโคคลาน 1. ชื่อ ยา ยาผสมโคคลาน ชนิดผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 105 กรัม 1 โคคลาน เถา 50 กรัม 2 ทองพันชั่ง ส่วนเหนือดิน 25 กรัม 3 โด่ไม่รู้ล้ม ทั้งต้น 15 กรัม 4 มะตูม ผลอ่อน 15 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 เภสัชตํารับโรงพยาบาลกุดชุ ม จังหวัดยโสธร 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละ เอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงซองกันความชื้น ซองละ 1 กรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 7. วิธีใช้ กินครั้งละ 1 ซอง ละลายน้ําต้มสุก (ควรใช้ขณะยังอุ่นอยู่) วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12. ขนาดบรรจุ

164 บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม ตัวยาโพคานที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mallotus repandus (Willd.) Müll. Arg. วงศ์ Euphorbiaceae คือ “ โคคลาน ” ตามสูตรตํารับใน ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลัก แห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 9 0 . ยาผสมโคคลาน 1. ชื่อ ยา ยาผสมโคคลาน ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา105 กรัม 1 โคคลาน เถา 50 กรัม 2 ทองพันชั่ง ส่วนเหนือดิน 25 กรัม 3 โด่ไม่รู้ล้ม ทั้งต้น 15 กรัม 4 มะตูม ผลอ่อน 15 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 เภสัชตํารับโรงพยาบาลกุดชุ ม จังหวัดยโสธร 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบสมุนไพรที่อุณหภูมิ 50 - 5 5 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่อบแห้งแล้ว ชั่งน้ําหนักตามสูตรยา แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุผงยาลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 7. วิธีใช้ กินครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน

165 ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ไม่มี 11. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 13. การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 14. ข้อมูลเพิ่มเติม ตัวยาโพคานที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mallotus repandus (Willd.) Müll. Arg. วงศ์ Euphorbiaceae คือ “ โคคลาน ” ตามสูตรตํารับใน ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลัก แห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 9 1 . ยาศุขไสยาศน์ 1. ชื่อ ยา ยาศุขไสยาศน์ ชนิด แคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 78 กรัม 1 กัญชา ใบ 12 กรัม 2 ดีปลี ช่อผล 11 กรัม 3 ขิงแห้ง เหง้า 10 กรัม 4 พริกไทย ผลแก่ 9 กรัม 5 บุนนาค ดอก 8 กรัม 6 ลูกจันทน์ เมล็ด 7 กรัม 7 โกฐกระดูก ราก 6 กรัม 8 เทียนดํา เมล็ด 5 กรัม 9 สมุลแว้ง เปลือกต้น 4 กรัม 10 หัสคุณเทศ ลําต้น หรือ ราก 3 กรัม 11 สะเดา ใบ 2 กรัม 12 การบูร - 1 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา

166 4.1 การเตรียมใบกัญชา (การสะตุใบกัญชา) 1. นําใบกัญชาไปล้างด้วยน้ําสะอาด 3 น้ํา แล้วผึ่งบนตะแกรงให้สะเด็ดน้ํา 2. นําใบกัญชาไปคั่วไฟอ่อนเป็นเวลาประมาณ 3 - 5 นาที หรือจนกว่าใบกัญชาจะแห้งกรอบ 3. นําใบกัญชาที่ผ่านการสะตุไปเทใส่ถาด รอจนกว่าจะเย็น ก่อนนําบรรจุในภาชนะปิดสนิท 4.2 การเตรียมหัสคุณเทศ นํา หัสคุณเทศไปคั่วหรือเผา ไฟ จึงนําไปใช้ปรุงยาได้ 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร (ยกเว้น การบูร) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบตัวยาสมุนไพร (ยกเว้น การบูร กัญชาส ะ ตุ หัสคุณเทศที่คั่วหรือเผา ไฟ แล้ว ) ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่เตรียมไว้แล้วทั้งหมดมาชั่งน้ําหนักตามสูตร 4) นําไปบดให้ละเอียด นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5 ) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุยา ผงใน แคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม แล้วนําไปบรรจุในภาชนะบรรจุ 6. สรรพคุณ ช่วยให้นอนหลับ เจริญอาหาร 7. ขนาดและวิธีใช้ - ช่วยให้นอนหลับ รับประทานครั้งละ 1 - 4 แคปซูล (0.5 - 2 กรัม) วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน - เจริญอาหาร รับประทานครั้งละ 1 - 4 แคปซูล (0.5 - 2 กรัม) วันละ 1 - 2 ครั้ง ก่อนอาหาร 8. ข้อห้ามใช้ 1) ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และผู้ที่มีอายุต่ํากว่า 18 ปี 2 ) ห้ำมใช้ร่วมกับยาที่มีฤทธิ์ กดระบบประสาทส่วนกลาง เช่ น ยานอนหลับ ยาต้ำนการชัก รวมทั้ง แอลกอฮอล์หรือสิ่งที่มีแอลกอฮอล์ผส มอยู่ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 1) ควรระวังการใช้ในผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคแผลเปื่อยเพปติก โรคกระเพาะอาหาร และกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็นตํารับยารสร้อน 2) ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการ แข็งตัวของเลือด ( antiplatelet ) 3) ควรระวั งการใช้ร่วมกับยา เฟนีโทอิน ( phenytoin ) , โพรพราโนลอล ( propranolol ) , ที ออฟีลีน ( theophylline ) และ ไรแฟมพิซิน ( rifampicin ) เนื่องจากมีพ ริกไทยผสมในตํารับ 4) ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจาก อาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 5) ควรหลีกเลี่ยงการขับขี่ยานพาหนะ หรือทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล เนื่องจาก ยานี้อาจทําให้ง่วงซึม ได้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ อาจทําให้เกิดอาการปากแห้ง คอแห้ง หน้าแดง

167 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม 1) ควรจ่ายยาให้ผู้ป่วยโดยเริ่มจากขนาดยาน้อย ๆ แล้วจึงค่อย ๆ ปรับเพิ่มขนาดยา 2) หากมีอาการแสบร้อนท้องให้รับประทานกล้วยน้ําว้าสุก ก่อนการรับประทานยา 9 2 . ยาศุขไสยาศน์ 1. ชื่อ ยา ยาศุขไสยาศน์ ชนิด ผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 78 กรัม 1 กัญชา ใบ 12 กรัม 2 ดีปลี ช่อผล 11 กรัม 3 ขิงแห้ง เหง้า 10 กรัม 4 พริกไทย ผลแก่ 9 กรัม 5 บุนนาค ดอก 8 กรัม 6 ลูกจันทน์ เมล็ด 7 กรัม 7 โกฐกระดูก ราก 6 กรัม 8 เทียนดํา เมล็ด 5 กรัม 9 สมุลแว้ง เปลือกต้น 4 กรัม 10 หัสคุณเทศ ลําต้น หรือ ราก 3 กรัม 11 สะเดา ใบ 2 กรัม 12 การบูร - 1 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา 4.1 การเตรียมใบกัญชา (การสะตุใบกัญชา) 1. นําใบกัญชาไปล้างด้วยน้ําสะอาด 3 น้ํา แล้วผึ่งบนตะแกรงให้สะเด็ดน้ํา 2. นําใบกัญชาไปคั่วไฟอ่อนเป็นเวลาประมาณ 3 - 5 นาที หรือจนกว่าใบกัญชาจะแห้งกรอบ 3. นําใบกัญชาที่ผ่านการสะตุไปเทใส่ถาด รอจนกว่าจะเย็น ก่อนนําบรรจุในภาชนะปิดสนิท 4.2 การเตรียมหัสคุณเทศ

168 นํา หัสคุณเทศไปคั่วหรือเผา ไฟ จึงนําไปใช้ปรุงยาได้ 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร (ยกเว้น การบูร) มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบตัวยาสมุนไพร (ยกเว้น การบูร กัญชาส ะ ตุ หัสคุณเทศที่คั่วหรือเผา ไฟ แล้ว ) ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่เตรียมไว้แล้วทั้งหมดมาชั่งน้ําหนักตามสูตร 4) นําไปบดให้ละเอียด นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5 ) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6 ) บรรจุยาผง ในภาชนะบรรจุ 6. สรรพคุณ ช่วยให้นอนหลับ เจริญอาหาร 7. ขนาดและวิธีใช้ - ช่วยให้นอนหลับ รับประทานครั้งละ 0.5 - 2 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน - เจริญอาหาร รับประทานครั้งละ 0.5 - 2 กรัม วันละ 1 - 2 ครั้ง ก่อนอาหาร น้ํากระสายยาที่ใช้ น้ําผึ้งรวง 1 ช้อนชา (5 ซีซี) หากหาน้ํากระสายยาไม่ได้ หรือผู้ป่วยเบาหวาน ให้ใช้ น้ําสุกครึ่ง แก้ว ( 125 ซีซี ) แทน 8. ข้อห้ามใช้ 1) ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และผู้ที่มีอายุต่ํากว่า 20 ปี 2 ) ห้ำมใช้ร่วมกับยาที่มีฤทธิ์ กดระบบประสาทส่วนกลาง เช่ น ยานอนหลับ ยาต้ำนการชัก รวมทั้ง แอลกอฮอล์หรือสิ่งที่มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 1) ควรระวังการใช้ในผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคแผลเปื่อยเพปติก โรคกระเพาะอาหาร และกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็นตํารับยารสร้อน 2) ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการ แข็งตัวของเลือด ( antiplatelet ) 3) ควรระวั งการใช้ร่วมกับยา เฟนีโทอิน ( phenytoin ) , โพรพราโนลอล ( propranolol ) , ที อ อฟีลีน ( theophylline ) และ ไรแฟมพิซิน ( rifampicin ) เนื่องจากมีพริกไทยผสมในตํารับ 4) ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจาก อาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 5) ควรหลีกเลี่ยงการขับขี่ยานพาหนะ หรือทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล เนื่องจาก ยานี้อาจทําให้ง่วงซึม ได้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ อาจทําให้เกิดอาการปากแห้ง คอแห้ง หน้าแดง 1 2 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ

169 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม 1) ควรจ่ายยาให้ผู้ป่วยโดยเริ่มจากขนาดยาน้อย ๆ แล้วจึงค่อย ๆ ปรับเพิ่มขนาดยำ 2) กำร ใช้น้ําผึ้งรวง เป็นน้ํากระสายยา หรือ รับประทานกล้วยน้ําว้าสุกก่อนการรับประทานยา จะช่วยลด อาการแสบร้อนท้อง จากการใช้ยา 9 3 . ยาแก้ลมแก้เส้น 1. ชื่อ ยา ยาแก้ลมแก้เส้น ชนิด แคปซู ล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 150 กรัม 1 พริกไทย เมล็ด 80 กรัม 2 กัญชา ใบ 40 กรัม 3 เจตมูลเพลิงแดง ราก 10 กรัม 4 ขิง เหง้า 8 กรัม 5 เทียนข้าวเปลือก ผล 6 กรัม 6 เทียนดํา เมล็ด 4 กรัม 7 เทียนขาว ผล 2 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา เวชศาตร์วัณ์ณณา ตําราแพทย์แบบเก่า เล่ม 5 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การเตรียมใบกัญชา (การสะตุใบกัญชา) 1. นําใบกัญชาไปล้างด้วยน้ําสะอาด 3 น้ํา แล้วผึ่งบนตะแกรงให้สะเด็ดน้ํา 2. นําใบกัญชาไปคั่วไฟอ่อนเป็นเวลาประมาณ 3 - 5 นาที หรือจนกว่าใบกัญชาจะแห้งกรอบ 3. นําใบกัญชาที่ผ่านการสะตุไปเทใส่ถาด รอจนกว่าจะเย็น ก่อนนําบรรจุในภาชนะปิดสนิท 5. กรรมวิธีการผลิ ต 1 ) นําตัวยาสมุนไพรมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบตัวยาสมุนไพร (ยกเว้น กัญชาส ะ ตุ) ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจน แห้ง 3) นําสมุนไพรที่เตรียมไว้แล้วทั้งหมดมาชั่งน้ําหนักตามสูตร 4 ) นําไปบดให้ละเอียด นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุยาผง ใน แคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม แล้วนําไปบรรจุในภาชนะบรรจุ 6. สรรพคุณ

170 แก้ลมในเส้น บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อที่มีอาการมือเท้าชา 7. ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 2 - 8 แคปซูล (1 - 4 กรัม) วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และ ผู้ที่มีอายุต่ํากว่า 20 ปี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 1) ควรระวังการใช้ในผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคแผลเปื่อยเพปติก โรคกระเพาะอาหาร และกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็นตํารับยารสร้อน 2) ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการ แข็งตัวของเลือด ( antiplatelet ) 3) ควรระวั งการใช้ร่วมกับยา เฟนีโทอิน ( phenytoin ) , โพรพราโนลอล ( propranolol ) , ที ออฟีลีน ( theophylline ) และ ไรแฟมพิซิน ( rifampicin ) เนื่องจากมีพริกไทยผสมในตํารับ 4) ควรระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่วยสูงอายุ 11. อาการไม่พึงประสงค์ อาจทําให้เกิดอาการเวียนศีรษะ มึน งง คอแห้ง แสบร้อนกลางอกได้ 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม 1) ลมในเส้น เป็นลมที่พัดประจําอยู่ตามเส้นต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น ลมจันทกระลา พัดอยู่ในเส้นอิทา ลมสูญทกลา พัดอยู่ในเส้นปิงคลา เมื่อลมเหล่านี้ผิดปกติจะทําให้ ผู้ป่วยมีอาการปวดหรือชาตามแนวเส้นที่ลมนั้นพัด ประจําหรือบริเวณใกล้เคียง เป็นต้น 2) ควรจ่ายยาให้ผู้ป่วยโดยเริ่ มจากขนาดยาน้อย ๆ แล้วจึงค่อย ๆ ปรับเพิ่มขนาดยำ 9 4 . ยาแก้ลมแก้เส้น 1. ชื่อ ยา ยาแก้ลมแก้เส้น ชนิด ผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 150 กรัม 1 พริกไทย เมล็ด 80 กรัม 2 กัญชา ใบ 40 กรัม 3 เจตมูลเพลิงแดง ราก 10 กรัม 4 ขิง เหง้า 8 กรัม

171 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 150 กรัม 5 เทียนข้าวเปลือก ผล 6 กรัม 6 เทียนดํา เมล็ด 4 กรัม 7 เทียนขาว ผล 2 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา เวชศาตร์วัณ์ณณา ตําราแพทย์แบบเก่า เล่ม 5 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การเตรียมใบกัญชา (การสะตุใบกัญชา) 1. นําใบกัญชาไปล้างด้วยน้ําสะอาด 3 น้ํา แล้วผึ่งบนตะแกรงให้สะเด็ดน้ํา 2. นําใบกัญชาไปคั่วไฟอ่อนเป็นเวลาประมาณ 3 - 5 นาที หรือจนกว่าใบกัญชาจะแห้งกรอบ 3. นําใบกัญชาที่ผ่านการสะตุไปเทใส่ถาด รอจนกว่าจะเย็น ก่อนนําบรรจุในภาชนะปิดสนิท 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบตัวยาสมุนไพร (ยกเว้น กัญชาส ะ ตุ) ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือ จนแห้ง 3) นําสมุนไพรที่เตรียมไว้แล้วทั้งหมดมาชั่งน้ําหนักตามสูตร 4) นําไปบดให้ละเอียด นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุยาผง ในภาชนะบรรจุ 6. สรรพคุณ แก้ลมในเส้น บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อที่มีอาการมือเท้าชา 7. ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 - 4 กรัม วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น น้ํากระสายยาที่ใช้ น้ําผึ้งรวงหรือน้ําส้มซ่า 1 ช้อนชา (5 ซีซี) หากหาน้ํากระสายยาไม่ได้ หรือผู้ป่วย เบาหวาน ให้ใช้น้ําสุ กครึ่ง แก้ว ( 125 ซีซี ) แทน 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และ ผู้ที่มีอายุต่ํากว่า 20 ปี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 1) ควรระวังการใช้ในผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคแผลเปื่อยเพปติก โรคกระเพาะอาหาร และกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็นตํารับยารสร้อน 2) ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการ แข็งตัวของเลือด ( antiplatelet )

172 3) ควรระวังการใช้ร่วมกับยา เฟนีโทอิน ( phenytoin ) , โพรพราโนลอล ( propranolol ) , ทีออฟีลีน ( theophylline ) และ ไรแฟมพิซิน ( rifampicin ) เนื่องจากมีพริกไทยผสมในตํารับ 4) ควรระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่วยสูงอายุ 11. อาการไม่พึงประสงค์ อาจทําให้เกิดอาการเวียนศีรษะ มึน งง คอแห้ง แสบร้อนกลางอกได้ 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม 1) ลมในเส้น เป็นลมที่พัดประจําอยู่ตามเส้นต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น ลมจันทกระลา พัดอยู่ในเส้นอิทา ลมสูญทกลา พัดอยู่ในเส้นปิงคลา เมื่อลมเหล่านี้ผิดปกติจะทําให้ ผู้ป่วยมีอาการปวดหรือชาตามแนวเส้นที่ลมนั้นพัด ประจําหรือบริเวณใกล้เคียง เป็นต้น 2) ควรจ่ายยาให้ผู้ป่วยโดยเริ่ มจากขนาดยาน้อย ๆ แล้วจึงค่อย ๆ ปรับเพิ่มขนาดยำ 3) กำร ใช้น้ําผึ้งรวงหรือน้ําส้มซ่าเป็นน้ํากระสายยา จะช่วยลดการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา 9 5 . ยาแก้นอนไม่หลับ 1. ชื่อ ยา ยาแก้นอนไม่หลับ ชนิด แคปซูล 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา16 กรัม 1 กัญชา ใบ 8 กรัม 2 พริกไทยล่อน เมล็ด จากผลสุก 2 กรัม 3 ขิงแห้ง เหง้า 1 กรัม 4 คนทีเขมา ใบ 1 กรัม 5 จันทน์ขาว แก่น 1 กรัม 6 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น (จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 1 กรัม 7 ดีปลี ช่อผล 1 กรัม 8 สะเดา ใบ 1 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 128 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา

173 การเตรียมใบกัญชา (การสะตุใบกัญชา) 1. นําใบกัญชาไปล้างด้วยน้ําสะอาด 3 น้ํา แล้วผึ่งบนตะแกรงให้สะเด็ดน้ํา 2. นําใบกัญชาไปคั่วไฟอ่อนเป็นเวลาประมาณ 3 - 5 นาที หรือจนกว่าใบกัญชาจะแห้งกรอบ 3. นําใบกัญชาที่ผ่านการสะตุไปเทใส่ถาด รอจนกว่าจะเย็น ก่อนนําบรรจุในภาชนะปิดสนิท 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบตัวยาสมุนไพร ( ยกเว้น ใบกัญชา สะตุ ) ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจน แห้ง 3) นําสมุนไพรที่เตรียมไว้แล้วทั้งหมดมาชั่งน้ําหนักตามสูตร 4) นําไปบดให้ละเอียด นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุยาผง ใน แคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม แล้วนําไปบรรจุในภาชนะบรรจุ 6. สรรพคุณ - แก้นอนไม่หลับ 7. ขนาดและวิธีใช้ - แก้นอนไม่หลับ รับประทานครั้งละ 2 - 4 แคปซูล (1 - 2 กรัม) วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน 8. ข้อห้ามใช้ 1) ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และ ผู้ที่มีอายุต่ํากว่า 20 ปี 2) ห้าม การ ใช้ร่วมกับยาที่มีฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง เช่น ยานอนหลับ ยาต้านการชัก รวมทั้ง แอลกอฮอล์หรือสิ่งที่มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 1) ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการ แข็งตัวของเลือด ( antiplatelet ) 2) ควรระวังการใช้ร่วมกับยา เฟนีโทอิน ( phenytoin ) , โพรพราโนลอล ( propranolol ) , ทีออฟีลีน ( theophylline ) และ ไรแฟมพิซิน ( rifampicin ) เนื่องจากมีพริกไทยผสมในตํารับ 3) ควรระวังการใช้ในผู้ที่ประกอบอาชีพทางน้ํา หรือผู้ที่ร่ำงกายจะต้องสัมผัสกับความเย็นเป็นเวลานาน เพราะอาจจะทําให้เป็นตะคริวตรงบริเวณท้องได้ 4) ควรหลีกเลี่ยงการขับขี่ยานพาหนะ หรือทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล เนื่องจาก ยานี้อาจทําให้ง่วง ซึมได้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ อาจทําให้เกิดอาการประสาทหลอนทางหู อาการอยู่ไม่นิ่ง 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง

174 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม 1 ) ควรจ่ายยาให้ผู้ป่วยโดยเริ่มจากขนาดยาน้อย ๆ แล้วจึงค่อย ๆ ปรับเพิ่มขนาดยำ 96 . ยาแก้นอนไม่หลับ 1. ชื่อ ยา ยาแก้นอนไม่หลับ ชนิด ผง 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 16 กรัม 1 กัญชา ใบ 8 กรัม 2 พริกไทยล่อน เมล็ด จากผลสุก 2 กรัม 3 ขิงแห้ง เหง้า 1 กรัม 4 คนทีเขมา ใบ 1 กรัม 5 จันทน์ขาว แก่น 1 กรัม 6 จันทน์แดง หรือ ลักจั่น แก่น (จันทน์แดง) หรือ แก่นที่มีราลง (ลักจั่น) 1 กรัม 7 ดีปลี ช่อผล 1 กรัม 8 สะเดา ใบ 1 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 128 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา การเตรียมใบกัญชา (การสะตุใบกัญชา) 1. นําใบกัญชาไปล้างด้วยน้ําสะอาด 3 น้ํา แล้วผึ่งบนตะแกรงให้สะเด็ดน้ํา 2. นําใบกัญชาไปคั่วไฟอ่อนเป็นเวลา ประมาณ 3 - 5 นาที หรือจนกว่าใบกัญชาจะแห้งกรอบ 3. นําใบกัญชาที่ผ่านการสะตุไปเทใส่ถาด รอจนกว่าจะเย็น ก่อนนําบรรจุในภาชนะปิดสนิท 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําตัวยาสมุนไพร มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบตัวยาสมุนไพร ( ยกเว้น ใบกัญชา สะตุ ) ที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจน แห้ง 3) นําสมุนไพรที่เตรียมไว้แล้วทั้งหมดมาชั่งน้ําหนักตามสูตร 4) นําไปบดให้ละเอียด นําผงยาร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) ผสมผงยาให้เข้ากัน 6) บรรจุยาผง ในภาชนะบรรจุ 6. สรรพคุณ

175 - แก้นอนไม่หลับ 7. ขนาดและวิธีใช้ - แก้นอนไม่หลับ รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน น้ํากระสายยาที่ใช้ เตรียมจาก น้ํามะพร้าว น้ําผึ้งรวง น้ําส้มซ่า น้ําตาลทราย กระทือสด น้ําเบญจทับทิม เสมอภาค ต้มรวมกันเป็นน้ํากระสาย หรือ ถ้าหาน้ํากระสา ยยาไม่ได้ ให้ใช้น้ําสุกครึ่งแก้ว ( 125 ซีซี) แทน 8. ข้อห้ามใช้ 1) ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และผู้ที่มีอายุต่ํากว่า 18 ปี 2) ห้ามใช้ร่วมกับยาที่มีฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง เช่น ยานอนหลับ ยาต้านการชัก รวมทั้ง แอลกอฮอล์หรือสิ่งที่มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่ 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 1) ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulant ) และยาต้านการ แข็งตัวของเลือด ( antiplatelet ) 2) ควรระวั งการใช้ร่วมกับยา เฟนีโทอิน ( phenytoin ) , โพรพ ราโนลอล ( propranolol ) , ที ออฟีลีน ( theophylline ) และ ไรแฟมพิซิน ( rifampicin ) เนื่องจากมีพริกไทยผสมในตํารับ 3) ควรระวังการใช้ในผู้ที่ประกอบอาชีพทางน้ํา หรือผู้ที่ร่างกายจะต้องสัมผัสกับความเย็นเป็นเวลานาน เพราะอาจจะทําให้เป็นตะคริวตรงบริเวณท้องได้ 4) ควรหลีกเลี่ยงการขับขี่ยานพาหนะ หรือทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล เนื่องจาก ยานี้อาจทําให้ง่วงซึม ได้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ อาจทําให้เกิดอาการประสาทหลอนทางหู อาการอยู่ไม่นิ่ง 12. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม 1 ) ควรจ่ายยาให้ผู้ป่วยโดยเริ่มจากขนาดยาน้อย ๆ แล้วจึงค่อย ๆ ปรับเพิ่มขนาดยำ 2 ) วิธีการต้มน้ํากระสายยา โดยการต้มเดือดทุกสิ่งเสมอภาคต้มรวมกัน เริ่มจากต้มน้ําเบญจทับทิม (ส่วนลําต้น ดอก ใบ ลูกและราก) ต้มจนเดือดเติมกะทือสด (หั่นเป็นชิ้นเล็กๆ) เมื่อเดือดแล้วเติมน้ํามะ พร้าว น้ําผึ้งรวง น้ําส้มซ่า และน้ําตาลทราย 97 . ยาทาริดสีดวงทวารหนักและแก้โรคผิวหนังผื่นคัน 1. ชื่อ ยา ยาทาริดสีดวงทวารหนักและแก้โรคผิวหนังผื่นคัน 2. สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ

176 ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 60 กรัม 1 กัญชา ใบ 15 กรัม 2 ขมิ้นชัน เหง้า 15 กรัม 3 ฝ้าย น้ํามันในเมล็ด 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของตํารับยา ตําราอายุรเวทศึกษา (ขุนนิทเทสสุขกิจ) เล่ม 2 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา 4.1 การเตรียมใบกัญชา (การสะตุใบกัญชา) 1. นําใบกัญชาไปล้างด้วยน้ําสะอาด 3 น้ํา แล้วผึ่งบนตะแกรงให้สะเด็ดน้ํา 2. นําใบกัญชาไปคั่วไฟอ่อนเป็นเวลาประมาณ 3 - 5 นาที หรือจนกว่าใบกัญชาจะแห้งกรอบ 3. นําใบกัญชาที่ผ่านการสะตุไปเทใส่ถาด รอจนกว่าจะเย็น ก่อนนําบรรจุในภาชนะปิดสนิท 4 . 2 การเตรียมน้ํามันเมล็ดฝ้าย นําเมล็ดฝ้ายไปหีบด้วยเครื่องหีบน้ํามัน 5. กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําตัวยาสมุนไพรมาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) นําเหง้าขมิ้นชัน มาหั่น แล้วนําไปอบให้แห้ง 3 ) นําใบกัญชาส ะ ตุ เหง้าขมิ้นชัน ที่อบแห้งแล้ว และน้ํามันเมล็ดฝ้าย มาชั่งน้ําหนักตามสูตร 4 ) บดใบกัญชาส ะ ตุและเหง้าขมิ้นขัน โดยบดแยกแต่ละชนิดให้ แล้วร่อนผ่านแร่ง เบอร์ 80 5) ผสมผงยาให้เข้ากันดี แล้วนําไปผสมกับน้ํามันเมล็ดฝ้าย 6) นํา มาใส่ ในภาชนะบรรจุ 6. สรรพคุณ - แก้ริดสีดวงทวารหนั ก - แก้โรคผิวหนังผื่นคัน 7. ขนาดและวิธีใช้ ก่อนการใช้ยาให้ทําความสะอาดบริเวณที่มีอาการ - แก้ริดสีดวงทวารหนัก ทาวันละ 2 ครั้ง ตอนเช้าและก่อนนอน - แก้โรคผิวหนังผื่นคัน ทาวันละ 1 - 2 ครั้ง 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้กับผู้ที่แพ้ส่วนประกอบของตํารับ 11. อาการไม่พึงประสงค์ อาจ ทําให้มีอาการระคายเคืองผิวหนัง ผื่นคัน แดงร้อน ได้ 12. ขนาดบรรจุ

177 บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 98 . ยาประคบ 1 . ชื่อยา ยาประคบ ชนิดสมุนไพรแห้ง 2 . สูตรตํารับยา 2.1 ตัวยาสําคัญ ลําดับ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา 1 ไพล เหง้า 50 กรัม 2 มะขาม ใบ 30 กรัม 3 มะกรูด ผิว * 20 กรัม 4 ขมิ้นชัน เหง้า 10 กรัม 5 ตะไคร้ เหง้าและกาบใบ 10 กรัม 6 ส้มป่อย ใบ 10 กรัม 7 เกลือเม็ด - 1 ช้อนโต๊ะ 8 การบูร - 2 ช้อนโต๊ะ * ผิวมะกรูดอาจมีส่วนของเปลือกผลชั้นกลาง ( mesocarpium) ที่ไม่สามารถแยกออกได้ ติดมาบ้าง 2.2 ส่วนประกอบ ไม่มี 3. ที่มาของสูตรยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งลมให้แห้ง 2) นํามา อบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง (ยกเว้นเกลือเม็ดและ การบูร) นําแต่ละชนิด มาบดเป็นผงหยาบ 3) ชั่งน้ําหนักสมุนไพรตามสูตรยา 4 ) นําสมุนไพรทั้งหมดผสมกับเกลื อและการบูร ผสมให้เข้ากัน 5 ) นําตัวยาใส่ผ้าดิบ ห่อเป็นลูกประคบน้ําหนักลูกละ 200 กรัม รัดด้วยเชือกให้แน่น 6) บรรจุในซองพลาสติกสุญญากาศ ซองละ 1 ลูก 6. สรรพคุณ ประคบเพื่อลดอาการปวด ช่วยคลายกล้ามเนื้อ เอ็น และข้อ 7. วิธีใช้ นํายาประคบไปนึ่ง แล้วใช้ประคบ ขณะยังอุ่น วันละ 1 - 2 ครั้ง ลูกประคบ 1 ลูกสามารถใช้ได้ 3 - 4 ครั้ง โดยหลังจากใช้แล้วผึ่งให้แห้ง ก่อนนําไปแช่ในตู้เย็น

178 8. ข้อห้ามใช้ 8.1 ห้ามประคบบริเวณที่มีบาดแผล 8.2 ห้ามประคบเมื่อเกิดการอักเสบเฉียบพลัน เช่น ข้อเท้าแพลง หรือมีอาการอักเสบ บวม แดง ร้อน ในช่วง 24 ชั่วโมงแรก เนื่องจากจะทําให้มีอาการอักเสบบวมมากขึ้น และอาจมีเลือดออกมากตามมาได้ โดย ควรประคบหลังเกิดอาการดังกล่าว 24 ชั่วโมง 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ไม่ควรใช้ลูกประคบที่ร้อนเกินไป โดยเฉพาะบริเวณผิวหนังที่เคยเป็นแผลมาก่อนหรือบริเวณที่มี กระดูกยื่น และต้องระวังเป็นพิเศษในผู้ป่วยโรคเบาหวาน อัมพาต เด็ก และผู้สูงอายุ เพราะมักมีความรู้สึก ในการรับรู้และตอบสนองช้า อาจทําให้ผิวหนังไหม้พองได้ง่าย 10.2 หลังจากประค บสมุนไพรเสร็จใหม่ ๆ ไม่ควรอาบน้ําทันที เพราะเป็นการล้างตัวยาออกจากผิวหนัง และร่างกายยังไม่สามารถปรับตัวได้ทัน (จากร้อนเป็นเย็นทันทีทันใด) ซึ่งอาจทําให้เป็นไข้ได้ 10.3 ควรระวังการใช้กับผู้ที่แพ้ส่วนประกอบของยาประคบ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12. ขนาดบรรจุ บรรจุในซองพลาสติกสุญญากาศ ซองละ 1 ลูก แล้วบรรจุลงในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง ใส่ในภาชนะบรรจุปิดสนิท 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ยาประคบสมุนไพรแห้ง ผลิตจากสมุนไพรแห้ง (เก็บได้ประมาณ 2 ปี) น้ําหนักไม่น้อยกว่าลูกละ 200 กรัม 99 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 1 1. ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 1 2. สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันไพลทอด * เหง้า 30 กรัม 2 เกล็ดสะระแหน่ - 5 กรัม 3 พิมเสน - 5 กรัม 4 การบูร - 5 กรัม 5 น้ํามันมะพร้าว - 55 กรัม * น้ํามันไพลทอด มีส่วนผสมของผงดอกกานพลู ที่มีหน้าที่ป้องกันการหืน 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา น้ํามันไพลทอด 1 ) นําเหง้าไพลสด ล้างทําความสะอาด ผึ่งลมจนสะเด็ดน้ํา 2 ) หั่นไพล เป็นชิ้นเล็กๆ และชั่งน้ําหนัก 2 กิโลกรัม

179 3 ) นําน้ํามันมะพร้าว 1 กิโลกรัม ตั้งไฟร้อนปานกลาง ประมาณไม่เกิน 160 องศาเซลเซียส 4 ) เมื่อน้ํามันเริ่มร้อน ใส่ไพลที่หั่นเป็นชิ้น 1 กิโลกรัม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ใช้ ตะแกรง ตักเฉพาะเนื้อไพลออก เติมไพลที่เหลืออีก 1 กิโลกรัม ลงไปในน้ํามันเดิม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ปิดไฟ ใช้ตะแกรงตักเฉพาะเนื้อไพลออก (อัตราส่วนไพลต่อน้ํามันมะพร้าว เท่ากับ 2 ต่อ 1) 5 ) ยกลงจากเตา และเติมผงดอกกานพลู 5 กรัม ทิ้งไว้พออุ่น กรอง และ ชั่งน้ําหนักน้ํามันที่ได้และบันทึก โดยมีปริมาณน้ํามันที่เหลือไม่น้อยกว่า 600 กรัม เก็บน้ํามันในภาชนะปิดสนิท แล้วนําไปเก็บในที่มืด เย็น เพื่อใช้เตรียมตํารับ 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนเริ่มละลาย 3 ) เติมน้ํามันไพลทอด และน้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนละลายเข้ากันหมด 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5. สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 10 0 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 2 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 2 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันไพลทอด * เหง้า 25 กรัม 2 น้ํามันเขียว - 10 กรัม

180 ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 3 น้ํามันสะระแหน่ - 10 กรัม 4 น้ํามันมะพร้าว - 55 กรัม * น้ํามันไพลทอด มีส่วนผสมของผงดอกกานพลู ที่มีหน้าที่ป้องกันการหืน 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา น้ํามันไพลทอด 1 ) นําเหง้าไพลสด ล้างทําความสะอาด ผึ่งลมจนสะเด็ดน้ํา 2 ) หั่นไพล เป็นชิ้นเล็กๆ และชั่งน้ําหนัก 2 กิโลกรัม 3 ) นําน้ํามันมะพร้าว 1 กิโลกรัม ตั้งไฟร้อนปานกลาง ประมาณไม่เกิน 160 องศาเซลเซียส 4 ) เมื่อน้ํามันเริ่มร้อน ใส่ไพลที่หั่นเป็นชิ้น 1 กิโลกรัม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ใช้ตะแกรง ตักเฉพาะเนื้อไพลออก เติมไพลที่เหลืออีก 1 กิโลกรัม ลงไปในน้ํามันเดิม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสี น้ําตาล ปิดไฟ ใช้ตะแกรงตักเฉพาะเนื้อไพลออก (อัตราส่วนไพลต่อน้ํามันมะพร้าว เท่ากับ 2 ต่อ 1) 5 ) ยกลงจากเตา และเติมผงดอกกานพลู 5 กรัม ทิ้งไว้พออุ่น กรอง และชั่งน้ําหนักน้ํามันที่ได้และบันทึก โดยมีปริมาณน้ํามันที่เหลือไม่น้อยกว่า 600 กรัม เก็บน้ํามันในภาชนะปิดสนิท แล้วนําไปเก็บในที่มืด เย็น เพื่อ ใช้เตรียมตํารับ 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมน้ํามันไพลทอด น้ํามันเขียว น้ํามันสะระแหน่ และ น้ํามันมะพร้าว ตามสูตร คนจนละลายเข้ากันหมด 3 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส

181 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 10 1 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 3 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 3 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันไพลทอด * เหง้า 25 กรัม 2 เกล็ดสะระแหน่ - 10 กรัม 3 พิมเสน - 5 กรัม 4 การบูร - 5 กรัม 5 น้ํามันเขียว - 10 กรัม 6 น้ํามันมะพร้าว - 45 กรัม * น้ํามันไพลทอด มีส่วนผสมของผงดอกกานพลู ที่มีหน้าที่ป้องกันการหืน 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา น้ํามันไพลทอด 1 ) นําเหง้าไพลสด ล้างทําความสะอาด ผึ่งลมจนสะเด็ดน้ํา 2 ) หั่นไพล เป็นชิ้นเล็กๆ และชั่งน้ําหนัก 2 กิโลกรัม 3 ) นําน้ํามันมะพร้าว 1 กิโลกรัม ตั้งไฟร้อนปานกลาง ประมาณไม่เกิน 160 องศาเซลเซียส 4 ) เมื่อน้ํามันเริ่มร้อน ใส่ไพลที่หั่นเป็นชิ้น 1 กิโลกรัม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ใช้ตะแกรง ตักเฉพาะเนื้อไพลออก เติมไพลที่เหลืออีก 1 กิโลกรัม ลงไปในน้ํามันเดิม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสี น้ําตาล ปิดไฟ ใช้ตะแกรงตักเฉพาะเนื้อไพลออก (อัตราส่วนไพลต่อน้ํามันมะพร้าว เท่ากับ 2 ต่อ 1) 5 ) ยกลงจากเตา และเติมผงดอกกำนพลู 5 กรัม ทิ้งไว้พออุ่น กรอง และชั่งน้ําหนักน้ํามันที่ได้และบันทึก โดยมีปริมาณน้ํามันที่เหลือไม่น้อยกว่า 600 กรัม เก็บน้ํามันในภาชนะปิดสนิท แล้วนําไปเก็บในที่มืด เย็น เพื่อใช้เตรียมตํารับ 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนเริ่มละลาย 3 ) เติมน้ํามันไพลทอด น้ํามันเขียว และ น้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนละลายเข้ากันหมด 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน

182 ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 10 2 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 4 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 4 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันไพลทอด * เหง้า 30 กรัม 2 เกล็ดสะระแหน่ - 5 กรัม 3 น้ํามันยูคาลิปตัส - 10 กรัม 4 น้ํามันเขียว - 5 กรัม 5 น้ํามันมะพร้าว - 50 กรัม * น้ํามันไพลทอด มีส่วนผสมของผงดอกกานพลู ที่มีหน้าที่ป้องกันการหืน 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา น้ํามันไพลทอด 1 ) นําเหง้าไพลสด ล้างทําความสะอาด ผึ่งลมจนสะเด็ดน้ํา 2 ) หั่นไพล เป็นชิ้นเล็กๆ และชั่งน้ําหนัก 2 กิโลกรัม 3 ) นําน้ํามันมะพร้าว 1 กิโลกรัม ตั้งไฟร้อนปานกลาง ประมาณไม่เกิน 160 องศาเซลเซียส 4 ) เมื่อน้ํามันเริ่มร้อน ใส่ไพลที่หั่นเป็นชิ้น 1 กิโลกรัม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ใช้ตะแกรง ตักเฉพาะเนื้อไพลออก เติมไพลที่เหลืออีก 1 กิโลกรัม ลงไปในน้ํามันเดิม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสี น้ําตาล ปิดไฟ ใช้ตะแกรงตักเฉพาะเนื้อไพลออก (อัตราส่วนไพลต่อน้ํามันมะพร้าว เท่ากับ 2 ต่อ 1) 5 ) ยกลงจากเตา และเติมผงดอกกานพลู 5 กรัม ทิ้งไว้พออุ่น กรอง แล ะชั่งน้ําหนักน้ํามันที่ได้และบันทึก โดยมีปริมาณน้ํามันที่เหลือไม่น้อยกว่า 600 กรัม เก็บน้ํามันในภาชนะปิดสนิท แล้วนําไปเก็บในที่มืด เย็น เพื่อใช้เตรียมตํารับ 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ กับน้ํามันยูคาลิปตัส และน้ํามันเขียว คนจนละลายเข้ากันหมด 3 ) เติมน้ํามันไพลทอด และน้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนเข้ากัน

183 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 10 3 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 5 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 5 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันไพลทอด * เหง้า 25 กรัม 2 น้ํามันระกํา - 10 กรัม 3 น้ํามันยูคาลิปตัส - 10 กรัม 4 น้ํามันมะพร้าว - 55 กรัม * น้ํามันไพลทอด มีส่วนผสมของผงดอกกานพลู ที่มีหน้าที่ป้องกันการหืน 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา น้ํามันไพลทอด 1 ) นําเหง้าไพลสด ล้างทําความสะอาด ผึ่งลมจนสะเด็ดน้ํา 2 ) หั่นไพล เป็นชิ้นเล็กๆ และชั่งน้ําหนัก 2 กิโลกรัม 3 ) นําน้ํามันมะพร้าว 1 กิโลกรัม ตั้งไฟร้อนปานกลาง ประมาณไม่เกิน 160 องศาเซลเซียส 4 ) เมื่อน้ํามันเริ่มร้อน ใส่ไพลที่หั่นเป็นชิ้น 1 กิโลกรัม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ใช้ตะแกรง ตักเฉพาะเนื้อไพลออก เติมไพลที่เหลืออีก 1 กิโลกรัม ลงไปในน้ํามันเดิม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสี น้ําตาล ปิดไฟ ใช้ตะแกรงตักเฉพาะเนื้อไพลออก (อัตราส่วนไพลต่อน้ํามันมะพร้าว เท่ากับ 2 ต่อ 1)

184 5 ) ยกลงจากเตา และเติมผงดอกกานพลู 5 กรัม ทิ้งไว้พออุ่น กรอง และชั่ งน้ําหนักน้ํามันที่ได้และบันทึก โดยมีปริมาณน้ํามันที่เหลือไม่น้อยกว่า 600 กรัม เก็บน้ํามันในภาชนะปิดสนิท แล้วนําไปเก็บในที่มืด เย็น เพื่อ ใช้เตรียมตํารับ 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมน้ํามันไพลทอด น้ํามันระกํา น้ํามันยูคาลิปตัส และน้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนเข้ากัน 3 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 10 4 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 6 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 6 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันไพลทอด * เหง้า 25 กรัม 2 น้ํามันระกํา - 10 กรัม 3 เกล็ดสะระแหน่ - 5 กรัม 4 พิมเสน - 5 กรัม 5 การบูร - 5 กรัม 6 น้ํามันมะพร้าว - 50 กรัม * น้ํามันไพลทอด มีส่วนผสมของผงดอกกานพลู ที่มีหน้าที่ป้องกันการหืน

185 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา น้ํามันไพลทอด 1 ) นําเหง้าไพลสด ล้างทําความสะอาด ผึ่งลมจนสะเด็ดน้ํา 2 ) หั่นไพล เป็นชิ้นเล็กๆ และชั่งน้ําหนัก 2 กิโลกรัม 3 ) นําน้ํามันมะพร้าว 1 กิโลกรัม ตั้งไฟร้อนปานกลาง ประมาณไม่เกิน 160 องศาเซลเซียส 4 ) เมื่อน้ํามันเริ่มร้อน ใส่ไพลที่หั่นเป็นชิ้น 1 กิโลกรัม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ใช้ตะแกรงตัก เฉพาะ เนื้อไพลออก เติมไ พลที่เหลืออีก 1 กิโลกรัม ลงไปในน้ํามันเดิม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสี น้ําตาล ปิดไฟ ใช้ตะแกรงตักเฉพาะเนื้อไพลออก (อัตราส่วนไพลต่อน้ํามันมะพร้าว เท่ากับ 2 ต่อ 1) 5 ) ยกลงจากเตา และเติมผงดอกกานพลู 5 กรัม ทิ้งไว้พออุ่น กรอง และชั่งน้ําหนักน้ํามันที่ได้และบันทึก โดยมีปริมาณน้ํามันที่เหลือไม่น้อยกว่า 600 กรัม เก็บน้ํามันในภาชนะปิดสนิท แล้วนําไปเก็บในที่มืด เย็น เพื่อ ใช้เตรียมตํารับ 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนเริ่มละลาย เติมน้ํามันระกํา คนจนละลายหมด 3 ) เติมน้ํามันไพลทอด และน้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนเข้ากัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 10 5 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 7 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 7 2 . สูตรตํารับยา

186 ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันไพลทอด * เหง้า 25 กรัม 2 น้ํามันระกํา - 10 กรัม 3 เกล็ดสะระแหน่ - 6 กรัม 4 พิมเสน - 3 กรัม 5 การบูร - 3 กรัม 6 น้ํามันยูคาลิปตัส - 5 กรัม 7 น้ํามันมะพร้าว - 48 กรัม * น้ํามันไพลทอด มีส่วนผสมของผงดอกกานพลู ที่มีหน้าที่ป้องกันการหืน 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา น้ํามันไพลทอด 1 ) นําเหง้าไพลสด ล้างทําความสะอาด ผึ่งลมจนสะเด็ดน้ํา 2 ) หั่นไพล เป็นชิ้นเล็กๆ และชั่งน้ําหนัก 2 กิโลกรัม 3 ) นําน้ํามันมะพร้าว 1 กิโลกรัม ตั้งไฟร้อนปานกลาง ประมาณไม่เกิน 160 องศาเซลเซียส 4 ) เมื่อน้ํามันเริ่มร้อน ใส่ไพลที่หั่นเป็นชิ้น 1 กิโลกรัม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ใช้ตะแกรง ตักเฉพาะเนื้อไพลออก เติมไพลที่เหลืออีก 1 กิโลกรัม ลงไปในน้ํามันเดิม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสี น้ําตาล ปิดไฟ ใช้ตะแกรงตักเฉพาะเนื้อไพลออก (อัตราส่วนไพลต่อน้ํามันมะพร้าว เท่ากับ 2 ต่อ 1) 5 ) ยกลงจากเตา และเติมผงดอกกานพลู 5 กรัม ทิ้งไว้พออุ่น กรอง และชั่งน้ําหนักน้ํามันที่ได้และบันทึก โดยมีปริมาณน้ํามันที่เหลือไม่น้อยกว่า 600 กรัม เก็บน้ํามันในภาชนะปิดสนิท แล้วนําไปเก็บในที่มืด เย็น เพื่อใช้เตรียมตํารับ 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนเริ่มละลาย เติมน้ํามันระกํา และน้ํามันยูคาลิปตัส คนจนละลายหมด 3 ) เติมน้ํามันไพลทอด และน้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนเข้ากัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์

187 ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไ ม่มี 1 06 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 8 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 8 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันไพลทอด * เหง้า 30 กรัม 2 น้ํามันระกํา - 10 กรัม 3 น้ํามันมะพร้าว - 60 กรัม * น้ํามันไพลทอด มีส่วนผสมของผงดอกกานพลู ที่มีหน้าที่ป้องกันการหืน 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา น้ํามันไพลทอด 1 ) นําเหง้าไพลสด ล้างทําความสะอาด ผึ่งลมจนสะเด็ดน้ํา 2 ) หั่นไพล เป็นชิ้นเล็กๆ และชั่งน้ําหนัก 2 กิโลกรัม 3 ) นําน้ํามันมะพร้าว 1 กิโลกรัม ตั้งไฟร้อนปานกลาง ประมาณไม่เกิน 160 องศาเซลเซียส 4 ) เมื่อน้ํามันเริ่มร้อน ใส่ไพลที่หั่นเป็นชิ้น 1 กิโลกรัม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ใช้ตะแกรง ตักเฉพาะเนื้อไพลออก เติมไ พลที่เหลืออีก 1 กิโลกรัม ลงไปในน้ํามันเดิม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสี น้ําตาล ปิดไฟ ใช้ตะแกรงตักเฉพาะเนื้อไพลออก (อัตราส่วนไพลต่อน้ํามันมะพร้าว เท่ากับ 2 ต่อ 1) 5 ) ยกลงจากเตา และเติมผงดอกกานพลู 5 กรัม ทิ้งไว้พออุ่น กรอง และชั่งน้ําหนักน้ํามันที่ได้และบันทึก โดยมีปริมาณน้ํามันที่เหลือไม่น้อยกว่า 600 กรัม เก็บน้ํามันในภาชนะปิดสนิท แล้วนําไปเก็บในที่มืด เย็น เพื่อ ใช้เตรียมตํารับ 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมน้ํามันไพลทอด และน้ํามันระกํา คนจนเข้ากัน 3 ) เติม น้ํามันมะพร้าว ตามสูตร คนจนเข้ากัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้

188 ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 1 07 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 9 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 9 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันหอมระเหยไพล เหง้า 7 กรัม 2 เกล็ดสะระแหน่ - 5 กรัม 3 พิมเสน - 3 กรัม 4 การบูร - 2 กรัม 5 น้ํามันยูคาลิปตัส - 10 กรัม 6 น้ํามันเขียว - 3 กรัม 7 น้ํามันสะระแหน่ - 10 กรัม 8 น้ํามันมะพร้าว - 60 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา น้ํามันหอมระเหยไพล ที่เตรียมจากเหง้าไพล และผ่านกรรมวิธีการกลั่นด้วยน้ําหรือไอน้ํา 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนละลายหมด 3 ) เติมน้ํามันหอมระเหยไพล น้ํามันยูคาลิปตัส น้ํามันเขียว น้ํามันสะระแหน่ และน้ํามันมะพร้าว ตาม สูตร คนจนเข้ากัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย

189 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 1 08 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 10 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 10 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันหอมระเหยไพล เหง้า 14 กรัม 2 เกล็ดสะระแหน่ - 5 กรัม 3 พิมเสน - 3 กรัม 4 การบูร - 2 กรัม 5 น้ํามันยูคาลิปตัส - 5 กรัม 6 น้ํามันเขียว - 5 กรัม 7 น้ํามันสะระแหน่ - 6 กรัม 8 น้ํามันมะพร้าว - 60 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา น้ํามันหอมระเหยไพล ที่เตรียมจากเหง้าไพล และผ่านกรรมวิธีการกลั่นด้วยน้ําหรือไอน้ํา 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนละลายหมด 3 ) เติมน้ํามันหอมระเหยไพล น้ํามันยูคาลิปตัส น้ํามันเขียว น้ํามันสะระแหน่ และน้ํามันมะพร้าว ตาม สูตร คนจนเข้ากัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม

190 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 1 09 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 11 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 11 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันหอมระเหยไพล เหง้า 7 กรัม 2 น้ํามันระกํา - 1 5 กรัม 3 เกล็ดสะระแหน่ - 5 กรัม 4 พิมเสน - 3 กรัม 5 การบูร - 2 กรัม 6 น้ํามันยูคาลิปตัส - 5 กรัม 7 น้ํามันเขียว - 3 กรัม 8 น้ํามันมะพร้าว - 60 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา น้ํามันหอมระเหยไพล ที่เตรียมจากเหง้าไพล และผ่านกรรมวิธีการกลั่นด้วยน้ําหรือไอน้ํา 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนเริ่มละลาย เติมน้ํามันระกํา คนจนละลายหมด 3 ) เติมน้ํามันหอมระเหยไพล น้ํามันยูคาลิปตัส น้ํามันเขียว และน้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนเข้ากัน

191 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 11 0 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 12 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 12 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันหอมระเหยไพล เหง้า 14 กรัม 2 น้ํามันระกํา - 10 กรัม 3 เกล็ดสะระแหน่ - 5 กรัม 4 พิมเสน - 3 กรัม 5 การบูร - 2 กรัม 6 น้ํามันสะระแหน่ - 6 กรัม 7 น้ํามันมะพร้าว - 60 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา น้ํามันหอมระเหยไพล ที่เตรียมจากเหง้าไพล และผ่านกรรมวิธีการกลั่นด้วยน้ําหรือไอน้ํา 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนเริ่มละลาย เติมน้ํามันระกํา คนจนละลายหมด 3 ) เติมน้ํามันหอมระเหยไพล น้ํามันสะระแหน่ และน้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนเข้ากัน

192 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 11 1 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 13 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 1 3 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันหอมระเหยไพล เหง้า 14 กรัม 2 น้ํามันระกํา - 10 กรัม 3 น้ํามันมะพร้าว - 76 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา น้ํามันหอมระเหยไพล ที่เตรียมจากเหง้าไพล และผ่านกรรมวิธีการกลั่นด้วยน้ําหรือไอน้ํา 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมน้ํามันหอมระเหยไพล และน้ํามันระกํา จากนั้นเติม น้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนเข้ากัน 3 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้

193 ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 11 2 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 14 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 14 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันไพลทอด * เหง้า 5 กรัม 2 น้ํามันหอมระเหยไพล เหง้า 7 กรัม 3 น้ํามันว่านเอ็นเหลืองทอด * เหง้า 5 กรัม 4 น้ํามันขมิ้นชันทอด * เหง้า 3 กรัม 5 น้ํามันระกํา - 10 กรัม 6 เกล็ดสะระแหน่ - 10 กรัม 7 พิมเสน - 5 กรัม 8 การบูร - 5 กรัม 9 น้ํามันมะพร้าว - 50 กรัม * น้ํามันไพลทอด น้ํามันว่านเอ็นเหลืองทอด และน้ํามันขมิ้นชันทอด มีส่วนผสมของผงดอกกานพลู ที่มี หน้าที่ป้องกันการหืน 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา 3.1 น้ํามันไพลทอด 1 ) นําเหง้าไพลสด ล้างทําความสะอาด ผึ่งลมจนสะเด็ดน้ํา 2 ) หั่นไพล เป็นชิ้นเล็กๆ และชั่งน้ําหนัก 2 กิโลกรัม 3 ) นําน้ํามันมะพร้าว 1 กิโลกรัม ตั้งไฟร้อนปานกลาง ประมาณไม่เกิน 160 องศาเซลเซียส 4 ) เมื่อน้ํามันเริ่มร้อน ใส่ไพลที่หั่นเป็นชิ้น 1 กิโลกรัม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ใช้ตะแกรง ตักเฉพาะเนื้อไพลออก เติมไพลที่เหลืออีก 1 กิโลกรัม ลงไปในน้ํามันเดิม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสี น้ําตาล ปิดไฟใช้ตะแกรงตักเฉพาะเนื้อไพลออก (อัตราส่วนไพลต่อน้ํามั นมะพร้าว เท่ากับ 2 ต่อ 1)

194 5 ) ยกลงจากเตา และเติมผงดอกกานพลู 5 กรัม ทิ้งไว้พออุ่น กรอง และชั่งน้ําหนักน้ํามันที่ได้และบันทึก โดยมีปริมาณน้ํามันที่เหลือไม่น้อยกว่า 600 กรัม เก็บน้ํามันในภาชนะปิดสนิท แล้วนําไปเก็บในที่มืด เย็น เพื่อ ใช้เตรียมตํารับ 3.2 น้ํามันขมิ้นชันทอด 1 ) นําเหง้าขมิ้นชันสด ล้างทําความสะอาด ผึ่งลมจนสะเด็ดน้ํา 2 ) หั่นขมิ้นชัน เป็นชิ้นเล็กๆ และชั่งน้ําหนัก 2 กิโลกรัม 3 ) นําน้ํามันมะพร้าว 1 กิโลกรัม ตั้งไฟร้อนปานกลาง ประมาณไม่เกิน 160 องศาเซลเซียส 4 ) เมื่อน้ํามันเริ่มร้อน ใส่ขมิ้นชันที่หั่นเป็นชิ้น 1 กิโลกรัม ทอดจนเนื้อขมิ้นชันแห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ใช้ ตะแกรงตักเฉพาะเนื้อขมิ้นชันออก เติมขมิ้นชันที่เหลืออีก 1 กิโลกรัม ลงไปในน้ํามันเดิม ทอดจนเนื้อขมิ้นชัน แห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ปิดไฟ ใช้ตะแกรงตักเฉพาะเนื้อ ขมิ้นชันออก (อัตราส่วนขมิ้นชันต่อน้ํามันมะพร้าว เท่ากับ 2 ต่อ 1 ) 5 ) ยกลงจากเตา และเติมผงดอกกานพลู 5 กรัม ทิ้งไว้พออุ่น กรอง และชั่งน้ําหนักน้ํามันที่ได้ และบันทึก เก็บไว้ โดยมีปริมาณน้ํามันที่เหลือไม่น้อยกว่า 600 กรัม 3.3 น้ํามันว่านเอ็นเหลืองทอด 1 ) นําเหง้าว่านเอ็นเหลืองสด ล้างทําความสะอาด ผึ่งลมจนสะเด็ดน้ํา 2 ) หั่นว่านเอ็นเหลือง เป็นชิ้นเล็กๆ และชั่งน้ําหนัก 2 กิโลกรัม 3 ) นําน้ํามันมะพร้าว 1 กิโลกรัม ตั้งไฟร้อนปานกลาง ประมาณไม่เกิน 160 องศาเซลเซียส 4 ) เมื่อน้ํามันเริ่มร้อน ใส่ว่านเอ็นเหลืองที่หั่นเป็นชิ้น 1 กิโลกรัม ทอดจนเนื้อว่านเอ็นเหลืองแห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ใช้ตะแกรงตักเฉพาะเนื้อว่านเอ็นเหลืองออก เติมว่านเอ็นเหลืองที่เหลืออีก 1 กิโลกรัม ลงไปใน น้ํามันเดิม ทอดจนเนื้อว่านเอ็นเหลืองแห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตำล ปิดไฟ ใช้ตะแกรงตักเฉพาะเนื้อว่านเอ็น เหลืองออก (อัตราส่วน ว่านเอ็นเหลือง ต่อน้ํามันมะพร้าว เท่ากับ 2 ต่อ 1 ) 5 ) ยกลงจากเตา และเติมผงดอกกานพลู 5 กรัม ทิ้งไว้พออุ่น กรอง และชั่งน้ําหนักน้ํามันที่ได้ และบันทึก เก็บไว้ โดยมีปริมาณน้ํามันที่เหลือไม่น้อยกว่า 600 กรัม 3.4 น้ํามันหอมระเหยไพล ที่เตรียมจากเหง้าไพล และผ่านกรรมวิธีการกลั่นด้วยน้ําหรือไอน้ํา 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนเริ่มละลาย แล้วเติมน้ํามันระกํา คนจนละลายหมด 3 ) เติมน้ํามันไพลทอด น้ํามันหอมระเหยไพล น้ํามันว่านเอ็นเหลืองทอด น้ํามันขมิ้นชันทอด และน้ํามัน มะพร้าวตามสูตร คนจนเข้ากัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน

195 ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 11 3 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 15 1 . รูปแบบยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 15 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันไพลทอด * เหง้า 15 กรัม 2 น้ํามันขมิ้นชันทอด * เหง้า 5 กรัม 3 น้ํามันระกํา - 10 กรัม 4 เกล็ดสะระแหน่ - 5 กรัม 5 พิมเสน - 3 กรัม 6 การบูร - 2 กรัม 7 น้ํามันมะพร้าว - 60 กรัม * น้ํามันไพลทอด และน้ํามันขมิ้นชันทอด มีส่วนผสมของผงดอกกานพลู ที่มีหน้าที่ป้องกันการหืน 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา 3.1 น้ํามันไพลทอด 1 ) นําเหง้าไพลสด ล้างทําความสะอาด ผึ่งลมจนสะเด็ดน้ํา 2 ) หั่นไพล เป็นชิ้นเล็กๆ และชั่งน้ําหนัก 2 กิโลกรัม 3 ) นําน้ํามันมะพร้าว 1 กิโลกรัม ตั้งไฟร้อนปานกลาง ประมาณไม่เกิน 160 องศาเซลเซียส 4 ) เมื่อน้ํามันเริ่มร้อน ใส่ไพลที่หั่นเป็นชิ้น 1 กิโลกรัม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ใช้ตะแกรง ตักเฉพาะเนื้อไพลออก เติมไพลที่เหลืออีก 1 กิโลกรัม ลงไปในน้ํามันเดิม ทอดจนเนื้อไพลแห้ง กรอบ เป็นสี น้ําตาล ปิดไฟใช้ตะแกรงตักเฉพาะเนื้อไพลออก (อัตราส่วนไพลต่อน้ํามันมะพร้าว เท่ากับ 2 ต่อ 1) 5 ) ยกลงจากเตา และเติมผงดอกกานพลู 5 กรัม ทิ้งไว้พออุ่น กรอง และชั่งน้ําหนักน้ํามันที่ได้และบันทึก โดยมีปริมาณน้ํามันที่เหลือไม่น้อยกว่า 600 กรัม เก็บน้ํามันในภาชนะปิดสนิท แล้วนําไปเก็ บในที่มืด เย็น เพื่อ ใช้เตรียมตํารับ 3.2 น้ํามันขมิ้นชันทอด 1 ) นําเหง้าขมิ้นชันสด ล้างทําความสะอาด ผึ่งลมจนสะเด็ดน้ํา 2 ) หั่นขมิ้นชัน เป็นชิ้นเล็กๆ และชั่งน้ําหนัก 2 กิโลกรัม

196 3 ) นําน้ํามันมะพร้าว 1 กิโลกรัม ตั้งไฟร้อนปานกลาง ประมาณไม่เกิน 160 องศาเซลเซียส 4 ) เมื่อน้ํามันเริ่มร้อน ใส่ขมิ้นชันที่หั่นเป็นชิ้น 1 กิโลกรัม ทอดจนเนื้อขมิ้นชันแห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ใช้ ตะแกรงตักเฉพาะเนื้อขมิ้นชันออก เติมขมิ้นชันที่เหลืออีก 1 กิโลกรัม ลงไปในน้ํามันเดิม ทอดจนเนื้อขมิ้นชัน แห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ปิดไฟ ใช้ตะแกรงตักเฉพาะเนื้อขมิ้นชันออก (อัตราส่วนขมิ้นชันต่อน้ํามันมะพร้าว เท่ากับ 2 ต่อ 1 ) 5 ) ยกลงจากเตา และเติมผงดอกกานพลู 5 กรัม ทิ้งไว้พออุ่น กรอง และชั่งน้ําหนักน้ํามันที่ได้ และบันทึก เก็บไว้ โดยมีปริมาณน้ํามันที่เหลือไม่น้อยกว่า 600 กรัม 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนเริ่มละลาย เติมน้ํามันระกํา คนจนละลายหมด 3 ) เติมน้ํามันไพลทอด น้ํามันขมิ้นชัน และน้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนเข้ากัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 11 4 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 16 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 16 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันระกํา - 1 5 กรัม 2 เกล็ดสะระแหน่ - 5 กรัม 3 พิมเสน - 3 กรัม

197 ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 4 การบูร - 2 กรัม 5 น้ํามันยูคาลิปตัส - 10 กรัม 6 น้ํามันสะระแหน่ - 10 กรัม 7 น้ํามันมะพร้าว - 55 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนเริ่มละลาย เติมน้ํามันระกํา คนจนละลายหมด 3 ) เติมน้ํามันยูคาลิปตัส น้ํามันสะระแหน่ และน้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนเข้ากัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 11 5 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 17 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 17 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 เกล็ดสะระแหน่ - 20 กรัม 2 พิมเสน - 5 กรัม

198 ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 3 การบูร - 10 กรัม 4 น้ํามันยูคาลิปตัส - 5 กรัม 5 น้ํามันระกํา - 5 กรัม 6 น้ํามันสะระแหน่ - 5 กรัม 7 น้ํามันหอมระเหยจากผิวผลมะกรูด - 5 กรัม 8 น้ํามันมะพร้าว - 45 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา น้ํามันหอมระเหยจากผิวผลมะกรูด ได้จากการกลั่นด้วยน้ําหรือไอน้ํา 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสม เกล็ดสะระแหน่ พิมเสน และการบูร คนจนละลายบางส่วน แล้วเติมน้ํามันระกํา คน จนละลาย 3 ) เติมน้ํามันสะระแหน่ น้ํามันยูคาลิปตัส น้ํามันหอมระเหยจากผิวผลมะกรูด และน้ํามันมะพร้าวตาม สูตร คนจนละลายและเป็นเนื้อเดียวกัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวดบริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 1 16 . ยาหม่อง บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 1 1 . ชื่อยา ยาหม่อง บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 1 2 . สูตรตํารับยา

199 ลําดับที่ ตัวยา น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันสะระแหน่ 2.5 กรัม 2 น้ํามันระกํา 1 5 กรัม 3 น้ํามันอบเชย 2 . 5 กรัม 4 น้ํามันเขียว 2 . 5 กรัม 5 น้ํามันกานพลู 2 . 5 กรัม 6 น้ํามันยูคาลิปตัส 10 กรัม 7 เกล็ดสะระแหน่ 5 กรัม 8 พาราฟิน 20 กรัม 9 ปิโตรลาทัม 40 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) นําพาราฟินใส่ภาชนะ อุ่นให้ร้อนที่อุณหภูมิ 70 - 80 องศาเซลเซียส 3 ) เติมปิโตรลาทัม อุ่นต่อจนละลายเป็นเนื้อเดียวกัน 4 ) ผสม เกล็ดสะระแหน่ คนจนละลายบางส่วน 5 ) เติมน้ํามันสะระแหน่ น้ํามันระกํา น้ํามันอบเชย น้ํามันเขียว น้ํามันกานพลู และน้ํามันยูคาลิปตัส ตาม สูตร คนจนละลายและเป็นเนื้อเดียวกัน 6 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 กรัม 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี

200 1 17 . ยาหม่อง บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 2 1 . ชื่อยา ยาหม่อง บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 2 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันระกํา 15 กรัม 2 น้ํามันยูคาลิปตัส 10 กรัม 3 การบูร 5 กรัม 4 เกล็ดสะระแหน่ 5 กรัม 5 ขี้ผึ้ง 1 5 กรัม 6 ปิโตรลาทัม 50 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) นําขี้ผึ้งใส่ภาชนะ อุ่นให้ร้อนที่อุณหภูมิ 70 - 80 องศาเซลเซียส 3 ) เติมปิโตรลาทัม อุ่นต่อจนละลายเป็นเนื้อเดียวกัน 4 ) ผสมการบูร เกล็ดสะระแหน่ คนจนละลายบางส่วน 5 ) เติม น้ํามันระกํา และน้ํามันยูคาลิปตัส ตามสูตร คนจนละลายและเป็นเนื้อเดียวกัน 6 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 กรัม 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 1 18 . ยาหม่อง บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 3

201 1 . ชื่อยา ยาหม่อง บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 3 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันสะระแหน่ 2. 5 กรัม 2 น้ํามันระกํา 10 กรัม 3 น้ํามันเขียว 5 กรัม 4 น้ํามันกานพลู 2.5 กรัม 5 น้ํามันยูคาลิปตัส 10 กรัม 6 การบูร 5 กรัม 7 เกล็ดสะระแหน่ 5 กรัม 8 ขี้ผึ้ง 20 กรัม 9 ปิโตรลาทัม 40 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) นําขี้ผึ้งใส่ภาชนะ อุ่นให้ร้อนที่อุณหภูมิ 70 - 80 องศาเซลเซียส 3 ) เติมปิโตรลาทัม อุ่นต่อจนละลายเป็นเนื้อเดียวกัน 4 ) ผสมการบูร เกล็ดสะระแหน่ คนจนละลายบางส่วน 5 ) เติมน้ํามันสะระแหน่ น้ํามันระกํา น้ํามันเขียว น้ํามันกานพลู และน้ํามันยูคาลิปตัส ตามสูตร คนจน ละลายและเป็นเนื้อเดียวกัน 6 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 กรัม

202 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 1 19 . ยาหม่อง บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 4 1 . ชื่อยา ยาหม่อง บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สูตร 4 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันสะระแหน่ 5 กรัม 2 น้ํามันระกํา 15 กรัม 3 น้ํามันยูคาลิปตัส 10 กรัม 4 น้ํามันมะพร้าว 20 กรัม 5 การบูร 5 กรัม 6 พิมเสน 5 กรัม 7 เกล็ดสะระแหน่ 10 กรัม 8 พาราฟิน 10 กรัม 9 ปิโตรลาทัม 20 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) นําพาราฟินใส่ภาชนะ อุ่นให้ร้อนที่อุณหภูมิ 70 - 80 องศาเซลเซียส 3 ) เติมปิโตรลาทัม อุ่นต่อจนละลายเป็นเนื้อเดียวกัน 4 ) ผสมการบูร พิมเสน เกล็ดสะระแหน่ คนจนละลายบางส่วน 5 ) เติมน้ํามันสะระแหน่ น้ํามันระกํา น้ํามันยูคาลิปตัส และน้ํามันมะพร้าว ตามสูตร คนจนละลายและ เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน 6 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 6 . วิธีใช้ ทา นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี

203 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 กรัม 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 12 0 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย สูตร 1 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย สูตร 1 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 เกล็ดสะระแหน่ - 20 กรัม 2 พิมเสน - 10 กรัม 3 การบูร - 10 กรัม 4 น้ํามันมะพร้าว - 60 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนเริ่มละลาย 3 ) เติมน้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนละลายและเป็นเนื้อเดียวกัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการแมลงกัดต่อย 6 . วิธีใช้ ทาบริเวณที่แมลงกัดต่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร

204 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 12 1 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย สูตร 2 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย สูตร 2 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 เกล็ดสะระแหน่ - 10 กรัม 2 พิมเสน - 5 กรัม 3 การบูร - 5 กรัม 4 น้ํามันเขียว - 10 กรัม 5 น้ํามันมะพร้าว - 70 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนเริ่มละลาย 3 ) เติมน้ํามันเขียว และ น้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนละลายและเป็นเนื้อเดียวกัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการแมลงกัดต่อย 6 . วิธีใช้ ทาบริเวณที่แมลงกัดต่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม

205 ไม่มี 12 2 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย สูตร 3 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย สูตร 3 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันสะระแหน่ - 10 กรัม 2 เกล็ดสะระแหน่ - 10 กรัม 3 พิมเสน - 5 กรัม 4 การบูร - 5 กรัม 5 น้ํามันมะพร้าว - 7 0 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนเริ่มละลาย เติมน้ํามันสะระแหน่ คนจนละลายหมด 3 ) เติม น้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนเข้ากัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการแมลงกัดต่อย 6 . วิธีใช้ ทาบริเวณที่แมลงกัดต่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 12 3 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย สูตร 4

206 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย สูตร 4 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 เกล็ดสะระแหน่ - 5 กรัม 2 พิมเสน - 3 กรัม 3 การบูร - 2 กรัม 4 น้ํามันยูคาลิปตัส - 10 กรัม 5 น้ํามันเขียว - 5 กรัม 6 น้ํามันสะระแหน่ - 10 กรัม 7 น้ํามันมะพร้าว - 6 5 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนละลายหมด 3 ) เติมน้ํามันยูคาลิปตัส น้ํามันเขียว น้ํามันสะระแหน่ และน้ํามันมะพร้าว ตามสูตร คนจนเข้ากัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการแมลงกัดต่อย 6 . วิธีใช้ ทาบริเวณที่แมลงกัดต่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 12 4 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย สูตร 5 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย สูตร 5

207 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 เกล็ดสะระแหน่ - 10 กรัม 2 พิมเสน - 5 กรัม 3 การบูร - 5 กรัม 4 น้ํามันยูคาลิปตัส - 10 กรัม 5 น้ํามันเขียว - 5 กรัม 6 น้ํามันมะพร้าว - 6 5 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนเริ่มละลาย เติมน้ํามันยูคาลิปตัส และน้ํามันเขียว คนจน ละลายหมด 3 ) เติม น้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนเข้ากัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการแมลงกัดต่อย 6 . วิธีใช้ ทาบริเวณที่แมลงกัดต่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 1 1 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 12 5 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย สูตร 6 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย สูตร 6

208 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 น้ํามันขมิ้นชันทอด * เหง้า 5 กรัม 2 เกล็ดสะระแหน่ - 10 กรัม 3 พิมเสน - 5 กรัม 4 การบูร - 5 กรัม 5 น้ํามันกานพลู - 5 กรัม 6 น้ํามันเขียว - 10 กรัม 7 น้ํามันมะพร้าว - 6 0 กรัม * น้ํามันขมิ้นชันทอด มีส่วนผสมของผงดอกกานพลู ที่มีหน้าที่ป้องกันการหืน 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา น้ํามันขมิ้นชันทอด 1 ) นําเหง้าขมิ้นชันสด ล้างทําความสะอาด ผึ่งลมจนสะเด็ดน้ํา 2 ) หั่นขมิ้นชัน เป็นชิ้นเล็กๆ และชั่งน้ําหนัก 2 กิโลกรัม 3 ) นําน้ํามันมะพร้าว 1 กิโลกรัม ตั้งไฟร้อนปานกลาง ประมาณไม่เกิน 160 องศาเซลเซียส 4 ) เมื่อน้ํามันเริ่มร้อน ใส่ขมิ้นชันที่หั่นเป็นชิ้น 1 กิโลกรัม ทอดจนเนื้อขมิ้นชันแห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ใช้ตะแกรงตักเฉพาะเนื้ อขมิ้นชันออก เติมขมิ้นชันที่เหลืออีก 1 กิโลกรัม ลงไปในน้ํามันเดิม ทอดจนเนื้อ ขมิ้นชันแห้ง กรอบ เป็นสีน้ําตาล ปิดไฟ ใช้ตะแกรงตักเฉพาะเนื้อขมิ้นชันออก (อัตราส่วนขมิ้นชันต่อน้ํามัน มะพร้าว เท่ากับ 2 ต่อ 1 ) 5 ) ยกลงจากเตา และเติมผงดอกกานพลู 5 กรัม ทิ้งไว้พออุ่น กรอง และชั่งน้ําหนักน้ํามันที่ได้ และบันทึก เก็บไว้ โดยมีปริมาณน้ํามันที่เหลือไม่น้อยกว่า 600 กรัม 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนเริ่มละลาย เติมน้ํามันระกํา คนจนละลายหมด 3 ) เติมน้ํามันขมิ้นชันทอด และน้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนเข้ากัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการแมลงกัดต่อย 6 . วิธีใช้ ทาบริเวณที่แมลงกัดต่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง

209 ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 1 26 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย สูตร 7 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย สูตร 7 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 เกล็ดสะระแหน่ - 6 กรัม 2 น้ํามันสะระแหน่ - 5 กรัม 3 พิมเสน - 3 กรัม 4 การบูร - 3 กรัม 5 น้ํามันยูคาลิปตัส - 2 กรัม 6 น้ํามันระกํา - 2 กรัม 7 น้ํามันอบเชย - 1 กรัม 8 น้ํามันมะพร้าว - 78 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสมเกล็ดสะระแหน่ การบูร และพิมเสน คนจนเริ่มละลาย 3 ) เติมน้ํามันสะระแหน่ น้ํามันยูคาลิปตัส น้ํามันระกํา น้ํามันอบเชย และน้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจน ละลายและเป็นเนื้อเดียวกัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการแมลงกัดต่อย 6 . วิธีใช้ ทาบริเวณที่แมลงกัดต่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน

210 ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา ปิดฝาให้สนิท และป้องกันไม่ให้ถูกแสงแดด 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 1 27 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย สูตร 8 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย สูตร 8 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 เกล็ดสะระแหน่ - 30 กรัม 2 พิมเสน - 20 กรัม 3 การบูร - 10 กรัม 4 น้ํามันยูคาลิปตัส - 15 กรัม 5 น้ํามันมะพร้าว - 25 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสม เกล็ดสะระแหน่ พิมเสน และการบูร คนจนละลายบางส่วน 3 ) เติม น้ํามันยูคาลิปตัส และน้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนละลายและเป็นเนื้อเดียวกัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการแมลงกัดต่อย 6 . วิธีใช้ ทาบริเวณที่แมลงกัดต่อย 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี

211 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 150 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา ปิดฝาให้สนิท และป้องกันไม่ให้ถูกแสงแดด 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 12 8 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการคัดจมูกเนื่องจากหวัด สูตร 1 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการคัดจมูกเนื่องจากหวัด สูตร 1 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 เกล็ดสะระแหน่ - 30 2 พิมเสน - 20 3 การบูร - 10 4 น้ํามันยูคาลิปตัส - 15 5 น้ํามันสะระแหน่ - 10 6 น้ํามันมะพร้าว - 15 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสม เกล็ดสะระแหน่ พิมเสน และการบูร คนจนละลายบางส่วน 3 ) เติม น้ํามันยูคาลิปตัส น้ํามันสะระแหน่ ตามสูตร คนจนละลายและเป็นเนื้อเดียวกัน 4 ) เติมน้ํามันมะพร้าว คนจนเป็นเนื้อเดียวกัน บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการคัดจมูกเนื่องจากหวัด 6 . วิธีใช้ สูดดม หรือทาบางๆ ตามคอและหน้าอก 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ

212 บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 50 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา ปิดฝาให้สนิท และป้องกันไม่ให้ถูกแสงแดด 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 1 29 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการคัดจมูกเนื่องจากหวัด สูตร 2 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการคัดจมูกเนื่องจากหวัด สูตร 2 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 เกล็ดสะระแหน่ - 30 กรัม 2 พิมเสน - 20 กรัม 3 การบูร - 10 กรัม 4 น้ํามันยูคาลิปตัส - 15 กรัม 5 น้ํามันมะพร้าว - 25 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสม เกล็ดสะระแหน่ พิมเสน และการบูร คนจนละลายบางส่วน 3 ) เติม น้ํามันยูคาลิปตัส และน้ํามันมะพร้าวตามสูตร คนจนละลายและเป็นเนื้อเดียวกัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการคัดจมูกเนื่องจากหวัด 6 . วิธีใช้ สูดดม หรือทาบางๆ ตามคอและหน้าอก 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 50 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา ปิดฝาให้สนิท และป้องกันไม่ให้ถูกแสงแดด

213 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 13 0 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการคัดจมูกเนื่องจากหวัด สูตร 3 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการคัดจมูกเนื่องจากหวัด สูตร 3 2 . สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา (กรัม) 1 เกล็ดสะระแหน่ - 8 2 พิมเสน - 2 3 การบูร - 4 4 น้ํามันยูคาลิปตัส - 16 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา ไม่มี 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสม เกล็ดสะระแหน่ พิมเสน และการบูร คนจนละลายบางส่วน 3 ) เติมน้ํามันยูคาลิปตัสตามสูตร คนจนละลายและเป็นเนื้อเดียวกัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอาการคัดจมูกเนื่องจากหวัด 6 . วิธีใช้ สูดดม หรือทาบางๆ ตามคอและหน้าอก 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 50 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา ปิดฝาให้สนิท และป้องกันไม่ให้ถูกแสงแดด 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 13 1 . ยาน้ํามันบรรเทาอาการคัดจมูกเนื่องจากหวัด สูตร 4 1 . ชื่อยา ยาน้ํามันบรรเทาอาการคัดจมูกเนื่องจากหวัด สูตร 4

214 2 สูตรตํารับยา ลําดับที่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ น้ําหนักยา ต่อ 100 กรัม 1 เกล็ดสะระแหน่ - 20 กรัม 2 พิมเสน - 5 กรัม 3 การบูร - 10 กรัม 4 น้ํามันยูคาลิปตัส - 5 กรัม 5 น้ํามันระกํา - 5 กรัม 6 น้ํามันสะระแหน่ - 5 กรัม 7 น้ํามันหอมระเหยจากผิวผลมะกรูด - 5 กรัม 8 น้ํามันมะพร้าว - 45 กรัม 3 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยา น้ํามันหอมระเหยจากผิวผลมะกรูด ได้จากการกลั่นด้วยน้ําหรือไอน้ํา 4 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) ชั่งส่วนผสมทุกชนิด น้ําหนักตามสูตร 2 ) ผสม เกล็ดสะระแหน่ พิมเสน และการบูร คนจนละลายบางส่วน 3 ) เติมน้ํามันสะระแหน่ น้ํามันยูคาลิปตัส น้ํามันระกํา น้ํามันหอมระเหยจากผิวผลมะกรูด และน้ํามัน มะพร้าว ตามสูตร คนจนละลายและเป็นเนื้อเดียวกัน 4 ) บรรจุลงภาชนะบรรจุที่เหมาะสม 5 . สรรพคุณ บรรเทาอากำรคัดจมูกเนื่องจากหวัด 6 . วิธีใช้ สูดดม หรือทาบางๆ ตามคอและหน้าอก 7 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 8 . คําเตือน ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ไม่มี 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดละ ไม่เกิน 50 มิลลิลิตร 1 2 . การเก็บรักษา ปิดฝาให้สนิท และป้องกันไม่ให้ถูกแสงแดด 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี

215 บัญชี 2 ท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อ ประเภท ชนิดหรือลักษณะของผลิตภัณฑ์สมุนไพรซึ่ง การผลิตหรือนําเข้าเพื่อขาย ต้องได้รับใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับ ใบรับแจ้งรายละเอียดหรือใบรับจด แจ้ง และชื่อ ปริมาณ และเงื่อนไขของวัตถุที่อาจใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์สมุนไพร สําหรับผลิตภัณฑ์ สมุนไพรที่ขอจด แจ้ง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2565 ยาจากสมุนไพร ประเภทตํารับยาพัฒนาจากสมุนไพร 1. ยากล้วย 1. ชื่อยา ยากล้วย 2. รูปแบบยา ยาผง 3. ตัวยาสําคัญ ผงกล้วยน้ําว้าหรือผงกล้วยหักมุก 3.1 ชื่อวิทยาศาสตร์ Musa sp. (ABB group ) “ kluai namwa ” หรือ Musa sp. (ABB group ) “ kluai hakmuk ” 3.2 ส่วนที่ใช้ ผลกล้วยน้ําว้าดิบชนิดแก่จัด หรือผลกล้วยหักมุกดิบชนิดแก่จัด 4 . ที่มาของสูตรยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 5. กรรมวิธีการผลิต ยาผง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ปอกเปลือก ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 100 4) บรรจุผงยาลงซองที่กันความชื้นได้ ซองละ 5, 10 กรัม 6. ข้อบ่งใช้ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่ เป็นมูก หรือมีเลือดปน 7 . ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ขนาดบรรจุซองละ 5 กรัม รับประทาน ครั้งละ 2 ซอง ชงในน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน และเย็น 7.2 ขนาดบรรจุซองละ 10 กรัม รับประทาน ครั้งละ 1 ซอง ชงในน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน และเย็น 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง 9.1 ไม่ควรใช้กับผู้ที่ท้องผูก หรือผู้ที่มีภาวะลําไส้อุดตัน 9.2 การรับประทานยานี้ติดต่อกันนาน ๆ อาจทําให้ท้องอืดได้

216 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ท้องอืด 11. ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 2 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง ใส่ในภาชนะบรรจุปิดสนิท ป้องกันแสง 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 2. ยาขิง 1. ชื่อยา ยาขิง 2. รูปแบบยา ยาแคปซูลชนิดแข็ง ยาชง 3 . ตัวยาสําคัญ ผงจากเหง้าขิง ที่มีน้ํามันหอมระเหย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2.0 โดยปริมาตรต่อน้ําหนัก ( v/w) 3 .1 ชื่อวิทยาศาสตร์ Zingiber officinale Rosc. 3.2 ส่วนที่ใช้ เหง้าแก่ 4 . ที่มาของสูตรยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 5. กรรมวิธีการผลิต 5.1 ยาแคปซูลชนิดแข็ง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 100 4) ชั่งผงยาขิง ปริมาณ 250 มิลลิกรัมต่อ แคปซูล และ lactose ( ถ้ามี) ผสมในเครื่องผสม จนได้ผงยาที่ สม่ําเสมอ 5) ชั่ง magnesium stearate ( ถ้ามี) โดยมีปริมาณ 0.5 - 1 % โดยน้ําหนักของผงยา 6) นําไปผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําผงยาขิงที่ผสมแล้วบรรจุลงในแคปซูล โดยใช้เครื่องบรรจุแคปซูล 5.2 ยาชง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 80 4) บรรจุผงยาลงซองเยื่อกระดาษ ซองละ 1 กรัม แล้วบรรจุในภาชนะบรรจุที่กันความชื้น ซองละ 1 ซองเยื่อกระดาษ 6. ข้อบ่งใช้ 6.1 บรรเทาอาการท้องอืด ขับลม แน่นจุกเสียด 6.2 ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน ที่มีสาเหตุจากการเมารถ เมาเรือ 6.3 ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน หลังการผ่าตัด 7 . ขนาดและวิธีใช้

217 7.1 บรรเทาอาการท้องอืด ขับลม แน่นจุกเสียด ยาแคปซูลชนิดแข็ง รับประทานวันละ 2 - 4 กรัม โดยแบ่งรับประทานวันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ยาชง รับประทานวันละ 2 - 4 กรัม แช่ในน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที วันละ 3 ครั้ง หลัง อาหาร เช้า กลางวัน และเย็น 7.2 ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน ที่มีสาเหตุ จากการเมารถ เมาเรือ ยาแคปซูลชนิดแข็ง รับประทานวันละ 1 – 2 กรัม ก่อนเดินทาง 30 นาที - 1 ชั่วโมง หรือเมื่อมีอาการ ยาชง รับประทานวันละ 1 – 2 กรัม แช่ในน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที รับประทาน ก่อนเดินทาง 30 นาที - 1 ชั่วโมง หรือเมื่อมีอาการ 7.3 ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน หลังการผ่าตัด ยาแคปซูลชนิดแข็ง รับประทานครั้งละ 1 กรัม ก่อนการผ่าตัด 1 ชั่วโมง ยาชง รับประทานครั้งละ 1 กรัม แช่ในน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที ก่อนการผ่าตัด 1 ชั่วโมง 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง 9 .1 ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants) และยาต้านการจับตัวของเกล็ด เลือด ( antiplatelets) 9 .2 ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ําดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ 9 .3 ไม่แนะนําให้รับประทานในเด็กอายุต่ํากว่า 6 ขวบ 10 . อาการไม่พึงประสงค์ อาการแสบร้อนบริเวณทางเดินอาหาร อาการระคายเคืองบริเวณปากและคอ 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 2 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง ใส่ในภาชนะบรรจุปิดสนิท ป้องกันแสง 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 3. ยา ขมิ้นชัน 1. ชื่อยา ยาขมิ้นชัน 2. รูปแบบยา ยาแคปซูลชนิดแข็ง 3 . ตัวยาสําคัญ ผง จาก เหง้าขมิ้นชัน ที่มีสารสําคัญ curcuminoids ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5.0 โดยน้ําหนัก ( w/w) และน้ํามันระเหยง่ายไม่น้อยกว่าร้อยละ 6.0 โดยปริมาตรต่อน้ําหนัก ( v/w) 3.1 ชื่อวิทยาศาสตร์ Curcuma longa L. 3.2 ส่วนที่ใช้ เหง้า 4. ที่มาของสูตรยา

218 ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 5 . กรรมวิธีการผลิต ยาแคปซูลชนิดแข็ง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 100 4) ชั่งผงยาขมิ้นชันปริมาณ 250 มิลลิกรัมต่อ แคปซูล และ lactose ( ถ้ามี) ผสมในเครื่องผสม จนได้ผง ยาที่สม่ําเสมอ 5) ชั่ง magnesium stearate ( ถ้ามี) โดยมีปริมาณ 0.5 - 1 % โดยน้ําหนักของผงยา 6) นําไปผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําผงยาขมิ้นชันที่ผสมแล้วบรรจุลงในแคปซูล โดยใช้เครื่องบรรจุแคปซูล 6 . ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการแน่นจุกเสียด ท้องอืด ท้องเฟ้อ 7 . ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 2 - 4 แคปซูล วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารเช้า กลางวัน เย็น และก่อนนอน 8 . ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับผู้ที่ท่อน้ําดีอุดตัน หรือผู้ที่ไวต่อยานี้ 9 . ข้อควรระวัง 9 .1 ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ําดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ 9 .2 ควรระวังการใช้กับหญิงตั้งครรภ์ ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ 9 .3 ควรระวังการใช้กับเด็ก เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลด้านประสิทธิผลและความปลอดภัย 9 .4 ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants) และยาต้านการจับตัวของเกล็ด เลือด ( antiplatelets) 9 .5 ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาที่กระบวนการเมแทบอลิซึม ผ่านเอนไซม์ Cytochrome P450 (CYP 450) เนื่องจากสาร curcumin ยับยั้ง CYP 3A4, CYP 1A2 แต่กระตุ้น เอนไซม์ CYP 2A6 9 .6 ควรระวั งการใช้ ร่วมกับยารักษาโรคมะเร็งบางชนิด เช่ น doxorubicin, chlormethine, cyclophosphamide และ camptothecin เนื่องจาก curcumin อาจมีผลต้านฤทธิ์ยา ดังกล่าว 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ผิวหนังอักเสบจากการแพ้ 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 2 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง ใส่ในภาชนะบรรจุปิดสนิท ป้องกันแสง 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 4. ยาชุมเห็ดเทศ 1. ชื่อยา ยาชุมเห็ดเทศ

219 2. รูปแบบยา ยาแคปซูลชนิดแข็ง ยาชง 3 . ตัวยาสําคัญ ผงใบชุมเห็ดเทศ ที่มีสารสําคัญ hydroxyanthracene derivatives โดยคํานวณเป็น rhein - 8 - glucoside ไม่น้อยกว่าร้อยละ 1.0 โดยน้ําหนัก ( w/w) 3.1 ชื่อวิทยาศาสตร์ Senna alata (L.) Roxb . (ชื่อพ้อง Cassia alata L. ) 3.2 ส่วนที่ใช้ ใบ 4 . ที่มาของสูตรยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 5. กรรมวิธีการผลิต 5.1 ยาแคปซูลชนิดแข็ง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 100 4) ชั่งผงยาชุมเห็ดเทศปริมาณ 250 มิลลิกรัมต่อ แคปซูล และ lactose ( ถ้ามี) ผสมในเครื่องผสม จนได้ ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) ชั่ง magn esium stearate ( ถ้ามี) โดยมีปริมาณ 0.5 - 1 % โดยน้ําหนักของผงยา 6) นําไปผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําผงยาชุมเห็ดเทศที่ผสมแล้วบรรจุลงในแคปซูล โดยใช้เครื่องบรรจุแคปซูล 5.2 ยาชง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 80 4) บรรจุผงยาลงซองเยื่อกระดาษ ซองละ 3 กรัม แล้วบรรจุในภาชนะบรรจุที่กันความชื้น ซองละ 1 ซองเยื่อกระดาษ 6. ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องผูก 7 . ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ยาแคปซูลชนิดแข็ง รับประทานครั้งละ 12 – 24 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน 7.2 ยาชง รับประทานครั้งละ 1 – 2 ซอง แช่ในน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน 8 . ข้อห้ามใช้ ผู้ป่วยที่มีภาวะทางเดินอาหารอุดตัน ( gastrointestinal obstruction) หรือปวดท้องโดยไม่ทราบสาเหตุ 9 . ข้อควรระวัง 9 .1 ควรระวังการใช้ในเด็กอายุต่ํากว่า 12 ปี หรือผู้ป่วย inflammatory bowel disease 9.2 การรับประทานยานี้ในขนาดสูงอาจทําให้เกิดไตอักเสบ ( nephritis) 9.3 ไม่ควรใช้ยานี้ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน เพราะจะทําให้ท้องเสีย ซึ่งส่งผลให้มีการสูญเสียน้ําและ เกลือแร่มากเกินไปโดยเฉพาะโพแทสเซียม และทําให้ลําไส้ใหญ่ชินต่อยา ถ้าไม่ใช้ยาจะไม่ถ่าย 9.4 ควรระวังการใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร 10 . อาการไม่พึงประสงค์

220 อาจทําให้เกิดอาการปวดมวนท้อง เนื่องจากการบีบตัวของลําไส้ใหญ่ 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 2 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง ใส่ในภาชนะบรรจุปิดสนิท ป้องกันแสง 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 5. ยาบัวบก 1. ชื่อยา ยาบัวบก 2. รูปแบบยา ยาแคปซูลชนิดแข็ง ยาชง 3 . ตัวยาสําคัญ ผงจากส่วนเหนือดินบัวบก 3.1 ชื่อวิทยาศาสตร์ Centella asiatica (L.) Urb. 3.2 ส่วนที่ใช้ ส่วนเหนือดิน 4 . ที่มาของสูตรยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 5. กรรมวิธีการผลิต 5.1 ยาแคปซูลชนิดแข็ง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 100 4) ชั่งผงยาบัวบกปริมาณ 400 มิลลิกรัมต่อ แคปซูล และ lactose ( ถ้ามี) ผสมในเครื่องผสม จนได้ผงยา ที่สม่ําเสมอ 5) ชั่ง magnesium stearate ( ถ้ามี) โดยมีปริมาณ 0.5 - 1 % โดยน้ําหนักของผงยา 6) นําไปผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําผงยาบัวบกที่ผสมแล้วบรรจุลงในแคปซูล โดยใช้เครื่องบรรจุแคปซูล 5.2 ยาชง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็ กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 80 4) บรรจุผงยาลงซองเยื่อกระดาษ ซองละ 1 กรัม แล้วบรรจุในภาชนะบรรจุที่กันความชื้น ซองละ 1 ซองเยื่อกระดาษ 6. ข้อบ่งใช้ แก้ไข้ แก้ร้อนใน ช้ําใน 7 . ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ยาแคปซูลชนิดแข็ง รับประทานครั้งละ 1 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารเช้า กลางวัน และเย็น

221 7.2 ยาชง รับประทานครั้งละ 2 - 4 ซอง แช่ในน้ําร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที รับประทานวันละ 3 ครั้ง หลังอาหารเช้า กลางวัน และเย็น 8 . ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับผู้ป่วยที่แพ้สมุนไพรวงศ์ Apiaceae (Umbelliferae) 9 . ข้อควรระวัง 9 .1 ไม่แนะนําให้ใช้กับผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออกเนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก 9.2 หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้นควรปรึกษาแพทย์ 9.3 หลีกเลี่ยงการใช้ยานี้ติดต่อกันเป็นเวลานาน เพราะอาจทําให้เกิดพิษต่อตับได้ในผู้ป่วยบางราย 9.4 ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาที่มีผลต่อตับ ยาขับปัสสาวะ และยาที่มีผลข้างเคียงทําให้ง่วงนอน เพราะอาจเสริมฤทธิ์กันได้ 9.5 บัวบกอาจเพิ่มระดับน้ําตาลและคอเลสเตอรอลในเลือด และทําให้ประสิทธิผลของยาลดน้ําตาลและ ยาลดคอเลสเตอรอลลดลง 9.6 ควรระวั งการใช้ร่วมกับยาที่มีกระบวนการเมแทบอลิซึมผ่าน Cytochrome P450 (CYP 450) เนื่องจากบัวบกมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ CYP 2C9 และ CYP 2C19 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ง่วงนอน คลื่นไส้ อาเจียน แสบท้อง มวนท้อง ท้องอืด และปัสสาวะบ่อย 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 2 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง ใส่ในภาชนะบรรจุปิดสนิท ป้องกันแสง 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 6. ยาฟ้าทะลายโจร 1. ชื่อยา ยาฟ้าทะลายโจร 2. รูปแบบยา ยาแคปซูลชนิดแข็ง 3 . ตัวยาสําคัญ ผงจากส่วนเหนือดินของฟ้าทะลายโจร ที่มีสารสําคัญ total lactone โดยคํานวณเป็น andrographolide ไม่น้อยกว่าร้อยละ 6.0 โดยน้ําหนัก ( w/w) และปริมาณ andrographolide ไม่น้อย กว่าร้อยละ 1.0 โดยน้ําหนัก ( w/w) 3.1 ชื่อวิทยาศาสตร์ Andrographis paniculata (Burm. f.) Wall. ex Nees 3.2 ส่วนที่ใช้ ส่วนเหนือดิน 4 . ที่มาของสูตรยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 5. กรรมวิธีการผลิต ยาแคปซูลชนิดแข็ง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง

222 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 100 4) ชั่งผงยาฟ้าทะลายโจรปริมาณ 250 มิลลิกรัมต่อ แคปซูล และ lactose ( ถ้ามี) ผสมในเครื่องผสม จน ได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) ชั่ง ma gnesium stearate ( ถ้ามี) โดยมีปริมาณ 0.5 - 1 % โดยน้ําหนักของผงยา 6) นําไปผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําผงยาฟ้าทะลายโจรที่ผสมแล้วบรรจุลงในแคปซูล โดยใช้เครื่องบรรจุแคปซูล 6. ข้อบ่งใช้ 6 .1 บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูก หรือมีเลือดปน 6.2 บรรเทาอาการเจ็บคอ 6.3 บรรเทาอาการของโรคหวัด ( common cold) เช่น เจ็บคอ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ 7 . ขนาดและวิธีใช้ 7.1 บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ รับประ ทานครั้งละ 2 - 8 แคปซูล วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารเช้า กลางวัน เย็น และก่อนนอน 7.2 บรรเทาอาการหวัด เจ็บคอ รับประทานครั้งละ 6 - 12 แคปซูล วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารเช้า กลางวัน เย็น และก่อนนอน 8 . คําเตือน 8.1 ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์ และสตรีให้นมบุตร 8.2 ห้ามใช้ในผู้ที่เคยแพ้ฟ้าทะลายโจร เช่น มีผื่น ปากบวม ตาบวม หน้าบวม 8.3 หากใช้ยานี้แล้วมีผื่น ปากบวม ตาบวม หน้าบวม ให้หยุดยาทันที และพบแพทย์ 8.4 หากใช้ติดต่อกันเกิน 3 วัน แล้วไม่ดีขึ้น หรืออาการรุนแรงขึ้นระหว่างการใช้ยา ควรหยุดใช้และพบ แพทย์ 8.5 หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทําให้แขนขามีอาการอ่อนแรง 9. ข้อห้ามใช้ 9.1 ห้ามใช้ในผู้ที่มีอาการแพ้ฟ้าทะลายโจร 9.2 ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร เนื่องจากอาจทําให้เกิดทารกวิรูปได้ 9.3 ห้ามใช้ฟ้าทะลายโจรสําหรับแก้เจ็บคอในกรณีต่าง ๆ ต่อไปนี้ - ผู้ป่วย ที่มีอาการเจ็บคอ เนื่องจากติดเชื้อ Streptococcus group A - ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคไตอักเสบ เนื่องจากเคยติดเชื้อ Streptococcus group A - ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคหัวใจรูห์มาติค - ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บคอเนื่องจากมีการติดเชื้อแบคทีเรีย และมีอาการรุนแรง เ ช่น มีตุ่มหนองในคอ มีไข้สูง และหนาวสั่น 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการใช้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants) และยาต้านการจับตัวของเกล็ด เลือด ( antiplatelets) 10.2 ควรระวังการใช้ร่วมกับยาลดความดันเลือดเพราะอาจเสริมฤทธิ์กันได้ 10.3 ควรระวังการใช้ร่วมกับยาที่กระบวนการเมแทบอลิซึม ผ่านเอนไซม์ Cytochrome P 450 ( CYP 450) เนื่องจากฟ้าทะลายโจรมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ CYP 1 A 2 , CYP 2 C 9 และ CYP 3 A 4

223 11. อาการไม่พึงประสงค์ อาจทําให้เกิดอาการผิดปกติของทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง ท้องเดิน คลื่นไส้ เบื่ออาหาร วิงเวียน ศีรษะ ใจสั่น และอาจเกิดลมพิษได้ 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง ใส่ในภาชนะบรรจุปิดสนิท ป้องกันแสง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 7. ยามะขามแขก 1. ชื่อยา ยามะขามแขก 2. รูปแบบยา ยาแคปซูลชนิดแข็ง ยาชง 3 . ตัวยาสําคัญ ผงใบ หรือผงใบและฝักมะขามแขก โดยมีสารสําคัญ hydroxyanthracene glycoside ไม่น้อย กว่าร้อยละ 2.5 คํานวณเป็น sennoside B 3.1 ชื่อวิทยาศาสตร์ Senna alexandrina Mill. 3.2 ส่วนที่ใช้ ใบ ใบและฝัก 4 . ที่มาของสูตรยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 5. กรรมวิธีการผลิต 5.1 ยาแคปซูลชนิดแข็ง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 100 4) ชั่งผงยามะขามแขกปริมาณ 400 มิลลิกรัมต่อ แคปซูล และ lactose ( ถ้ามี) ผสมในเครื่องผสม จนได้ ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) ชั่ง magnesium stearate ( ถ้ามี) โดยมีปริมาณ 0.5 - 1 % โดยน้ําหนักของผงยา 6) นําไปผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําผงยามะขามแขกที่ผสมแล้วบรรจุลงในแคปซูล โดยใช้เครื่องบรรจุแคปซูล 5.2 ยาชง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 80 4) บรรจุผงยาลงซองเยื่อกระดาษ ซองละ 1 กรัม แล้ว บรรจุในภาชนะบรรจุที่กันความชื้น ซองละ 1 ซองเยื่อกระดาษ 6. ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องผูก 7 . ขนาดและวิธีใช้

224 7.1 ยาแคปซูลชนิดแข็ง รับประทานครั้งละ 2 - 3 แคปซูล วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน 7.2 ยาชง รับประทานครั้งละ 2 ซอง แช่ในน้ําร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที รับประทานวันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน 8 . ข้อห้ามใช้ ผู ้ ป่ วยที่มีภาวะทางเดินอาหารอุดตัน ( gastrointestinal obstruction) หรือปวดท้องโดยไม่ทราบ สาเหตุ 9 . ข้อควรระวัง 9 .1 ควรระวังการใช้ยานี้ในเด็กอายุต่ํากว่า 12 ปี หรือในผู้ป่วย inflammatory bowel disease 9 .2 การรับประทานยานี้ในขนาดสูง อาจทําให้เกิดไตอักเสบ ( nephritis) 9 .3 ไม่ควรใช้ยานี้ติดต่อกันเป็นเวลานาน เพราะจะทําให้ท้องเสีย ซึ่งส่งผลให้มีการสูญเสีย น้ําและเกลือ แร่ มากเกินไปโดยเฉพาะโพแทสเซียม และการใช้ติดต่อกันเป็นระยะเวลานานจะทําให้ลําไส้ใหญ่ชินต่อยา ถ้า ไม่ใช้ยาจะไม่ถ่าย 9 .4 ควรระวังการใช้ยานี้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ปวดมวนท้อง ผื่นคัน 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 2 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง ใส่ในภาชนะบรรจุปิดสนิท ป้องกันแสง 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 8. ยามะระขี้นก 1. ชื่อยา ยามะระขี้นก 2. รูปแบบยา ยาแคปซูลชนิดแข็ง ยาชง 3 . ตัวยาสําคัญ ผงจากเนื้อผลแก่ที่ยังไม่สุกของมะระขี้นก 3.1 ชื่อวิทยาศาสตร์ Momordica charantia L. 3.2 ส่วนที่ใช้ เนื้อผลแก่ที่ยังไม่สุก 4 . ที่มาของสูตรยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 5. กรรมวิธีการผลิต 5.1 ยาแคปซูลชนิดแข็ง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 100 4) ชั่งผงยามะระขี้นกปริมาณ 250 มิลลิกรัมต่อ แคปซูล และ lactose ( ถ้ามี) ผสมในเครื่องผสม จนได้ ผงยาที่สม่ําเสมอ

225 5) ชั่ง magnesium stearate ( ถ้ามี) โดยมีปริมาณ 0.5 - 1 % โดยน้ําหนักของผงยา 6) นําไปผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําผงยามะระขี้นกที่ผสมแล้วบรรจุลงในแคปซูล โดยใช้เครื่องบรรจุแคปซูล 5.2 ยาชง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนา ดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 80 4) บรรจุผงยาลงซองเยื่อกระดาษ ซองละ 1 กรัม แล้วบรรจุในภาชนะบรรจุที่กันความชื้น ซองละ 1 ซองเยื่อกระดาษ 6. ข้อบ่งใช้ แก้ไข้ แก้ร้อนใน เจริญอาหาร 7 . ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ยาแคปซูลชนิดแข็ง รับประทานครั้งละ 2 - 4 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน และ เย็น 7.2 ยาชง รับประทานครั้งละ 1 - 2 ซอง แช่ในน้ําร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที รับประทานวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน และเย็น 8 . ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในเด็กหรือหญิงให้นมบุตร เนื่องจากมีรายงานว่าทําให้ระดับน้ําตาลในเลือดลดลงอย่างมากจนเกิด อาการชักได้ 9 . ข้อควรระวัง 9.1 ไม่แนะนําให้ใช้กับผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก 9.2 หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 9.3 ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาลดน้ําตาลในเลือดชนิดรับประทาน ( oral hypoglycemic agents) อื่น ๆ หรือร่วมกับการฉีดอินซูลิน เพราะอาจทําให้เกิดการเสริมฤทธิ์กันได้ 9.4 ควรระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่วยโรคตับ เพราะเคยมีรายงานว่าทําให้การเกิดตับอักเสบได้ 10 . อาการไม่พึงประสงค์ คลื่นไส้ วิงเวียน ชาปลายมือปลายเท้า hypoglycemic coma อาการชักในเด็ก ท้องเดิน ท้องอืด ปวด ศีรษะ และอาจเพิ่มระดับเอนไซม์ gamma - glutamyl transferase และ alkaline phosphatase ในเลือดได้ 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 2 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง ใส่ในภาชนะบรรจุปิดสนิท ป้องกันแสง 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 9. ยารางจืด 1. ชื่อยา ยารางจืด

226 2. รูปแบบยา ยาชง 3 . ตัวยาสําคัญ ผงใบรางจืดโตเต็มที่ 3 .1 ชื่อวิทยาศาสตร์ Thunbergia laurifolia Lindl. 3.2 ส่วนที่ใช้ ใบโตเต็มที่ 4 . ที่มาของสูตรยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 5. กรรมวิธีการผลิต ยาชง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 80 4) บรรจุผงยาลงซองเยื่อกระดาษ ซองละ 1 กรัม แล้วบรรจุในภาชนะบรรจุที่กันความชื้น ซองละ 1 ซองเยื่อกระดาษ 6. ข้อบ่งใช้ บรรเทาพิษยาฆ่าแมลงหรือโลหะหนัก 7 . ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 2 - 3 ซอง แช่ในน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที วันละ 3 ครั้ง ก่อน อาหารเช้า กลางวัน และเย็น หรือเมื่อมีอาการ 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง 9 .1 ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก 9 .2 หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วันแล้ว อาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 9 . 3 ควรระวังการใช้ยานี้กับผู้ป่วยเบาหวาน เพราะอาจเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา 9. 4 ควรระวังการใช้ยานี้กับผู้ป่วยที่ต้องใช้ยารักษาโรคอย่างต่อเนื่อง เพราะยารางจืดอาจเร่งการขับยา เหล่านั้นออกจากร่างกาย ทําให้ประสิทธิผลของยาลดลง 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 11. ขนาดบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 2 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง ใส่ในภาชนะบรรจุปิดสนิท ป้องกันแสง 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ในทางการแพทย์แผนไทย จะใช้ใบหรือราก ตําและคั้นน้ําซาวข้าว รับประทานแก้พิษผิดสําแดง 10. ยาหญ้าดอกขาว 1. ชื่อยา ยาหญ้าดอกขาว 2. รูปแบบยา ยาชง 3 . ตัวยาสําคัญ ผงหญ้าดอกขาว

227 3.1 ชื่อวิทยาศาสตร์ Vernonia cinerea (L.) Less. 3.2 ส่วนที่ใช้ ส่วนเหนือดิน 4 . ที่มาของสูตรยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 5. กรรมวิธีการผลิต ยาชง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 80 4) บรรจุผงยาลงซองเยื่อกระดาษ ซองละ 1 กรัม แล้วบรรจุในภาชนะบรรจุที่กันความชื้น ซองละ 1 ซองเยื่อกระดาษ 6. ข้อบ่งใช้ ลดความอยากบุหรี่ 7 . ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 2 ซอง แช่ในน้ําร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที รับประทานวัน ละ 3 - 4 ครั้ง หลังอาหารเช้า กลางวัน และเย็น 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคไต เนื่องจากยาหญ้าดอกขาวมีโพแทสเซียมสูง 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ปากแห้ง คอแห้ง 11. ขนาดบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 2 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง ใส่ในภาชนะบรรจุปิดสนิท ป้องกันแสง 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 11. ยาหญ้าปักกิ่ง 1. ชื่อยา ยาหญ้าปักกิ่ง 2. รูปแบบยา ยาแคปซูลชนิดแข็ง ยาชง 3 . ตัวยาสําคัญ ผงหญ้าปักกิ่ง 3.1 ชื่อวิทยาศาสตร์ Murdannia loriformis (Hassk.) R.S. Rao & Kammathy 3.2 ส่วนที่ใช้ ส่วนเหนือดิน 4 . ที่มาของสูตรยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 5. กรรมวิธีการผลิต 5.1 ยาแคปซูลชนิดแข็ง

228 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 100 4) ชั่งผงยาหญ้าปักกิ่งปริมาณ 250 มิลลิกรัมต่อ แคปซูล หรือ 4 0 0 มิลลิกรัมต่อ แคปซูล และ lactose ( ถ้ามี) ผสมในเครื่องผสม จนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) ชั่ง magnesium stearate ( ถ้ามี) โดยมีปริมาณ 0.5 - 1 % โดยน้ําหนักของผงยา 6) นําไปผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําผงยาหญ้าปักกิ่งที่ผสมแล้วบรรจุลงในแคปซูล โดยใช้เครื่องบรรจุแคปซูล 5.2 ยาชง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอา ด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 80 4) บรรจุผงยาลงซองเยื่อกระดาษ ซองละ 1 กรัม แล้วบรรจุในภาชนะบรรจุที่กันความชื้ น ซองละ 1 ซอง เยื่อกระดาษ 6. ข้อบ่งใช้ แก้ไข้ แก้ร้อนใน แก้น้ําเหลืองเสีย 7 . ขนาดและวิธีใช้ 7.1 ยาแคปซูลชนิดแข็ง ขนาด 250 มิลลิกรัมต่อ แคปซูล รับประทานครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน และเย็น 7.2 ยาแคปซูลชนิดแข็ง ขนาด 400 มิลลิกรัมต่อ แคปซูล รับประทานครั้งละ 1 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน และเย็น 7. 3 ยาชง รับประทานครั้งละ 2 - 3 ซอง แช่ในน้ําร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที รับประทานวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน และเย็น 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง 9 .1 ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออกเนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก 9.2 หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้นควรปรึกษาแพทย์ 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 2 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง ใส่ในภาชนะบรรจุปิดสนิท ป้องกันแสง 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ตามภูมิปัญญาเดิมใช้ทั้งต้น คั้นน้ําแล้วตั้งทิ้งไว้เพื่อให้ตกตะกอน แล้วนําส่วนใสไป รับประทาน

229 12. ยาหญ้าหนวดแมว 1. ชื่อยา ยาหญ้าหนวดแมว 2. รูปแบบยา ยาชง 3 . ตัวยาสําคัญ ผงจากใบและส่วนยอดของหญ้าหนวดแมว 3.1 ชื่อวิทยาศาสตร์ Orthosiphon aristatus (Blume) Miq. 3.2 ส่วนที่ใช้ ใบและส่วนยอด 4 . ที่มาของสูตรยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 5. กรรมวิธีการผลิต ยาชง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 80 4) บรรจุผงยาลงซองเยื่อกระดาษ ซองละ 1 กรัม แล้วบรรจุในภาชนะบรรจุที่กันความชื้น ซองละ 1 ซองเยื่อกระดาษ 6. ข้อบ่งใช้ ขับปัสสาวะ แก้ขัดเบา ขับนิ่วขนาดเล็ก 7 . ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 2 - 3 ซอง แช่ในน้ําร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที ดื่มวันละ 2 - 3 ครั้ง 8 . ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับผู้ป่วยที่มีการทํางานของหัวใจและ / หรือไตบกพร่อง 9 . ข้อควรระวัง 9 .1 ควรระวังการใช้ยานี้กับผู้ป่วยที่ต้องจํากัดปริมาณโพแทสเซียม เช่น ผู้ที่เป็นโรคหัวใจ เนื่องจากยา หญ้าหนวดแมวมีปริมาณโพแทสเซียมสูง 9.2 ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาลดน้ําตาลในเลือดชนิดรับประทาน ( oral hypoglycemic agents) หรือร่วมกับการฉีดอินซูลิน เพราะอาจเสริมฤทธิ์ กันได้ 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 11. ขนาดบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 2 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง ใส่ในภาชนะบรรจุปิดสนิท ป้องกันแสง 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 13. ยาฟ้าทะลายโจร 1. ชื่อยา ยาฟ้าทะลายโจร 2 . รูปแบบยา ยาแคปซูลชนิดแข็ง

230 3 . ตัวยาสําคัญ ผงจากส่วนเหนือดินของฟ้าทะลายโจร ที่มีสารสําคัญ total lactone โดยคํานวณเป็น andrographolide ไม่น้อยกว่าร้อยละ 6.0 โดยน้ําหนัก ( w/w) และปริมาณ andrographolide ไม่น้อยกว่า ร้อย ละ 1.0 โดยน้ําหนัก ( w/w) 3 .1 ชื่อวิทยาศาสตร์ Andrographis paniculata (Burm. f.) Wall. ex Nees 3 .2 ส่วนที่ใช้ ส่วนเหนือดิน 4 . ที่มาของสูตรยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 5 . กรรมวิธีการผลิต ยาแคปซูลชนิดแข็ง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2 ) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 100 4) ชั่งผงยาฟ้าทะลายโจร (ปริมาณ 500 มิลลิกรัมต่อแคปซูล) และ lactose (ถ้ามี) ผสมในเครื่องผสม จนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 5) ชั่ง ma gnesium stearate (ถ้ามี) โดยมีปริมาณ 0.5 % - 1 % โดยน้ําหนักของผงยา 6) นําไปผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําผงยาฟ้าทะลายโจรที่ผสมแล้วบรรจุลงในแคปซูล โดยใช้เครื่องบรรจุแคปซูล 6 . ข้อบ่งใช้ 6 .1 บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูกหรือมีเลือดปน 6 .2 บรรเทาอาการเจ็บคอ 6 .3 บรรเทาอาการของโรคหวัด ( common cold) เช่น เจ็บคอ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ 7 . ขนาดและวิธีใช้ 7 .1 บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ รับประทานครั้งละ 1 – 4 แคปซูล วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารเช้า กลางวัน เย็นและก่อนนอน 7 .2 บรรเทาอาการหวัด เจ็บคอ รับประทานครั้งละ 3 – 6 แคปซูลวันละ 4 ครั้ ง หลั งอาหารเช้า กลางวัน เย็น และก่อนนอน 8 . คําเตือน 8.1 ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์ และสตรีให้นมบุตร 8.2 ห้ามใช้ในผู้ที่เคยแพ้ฟ้าทะลายโจร เช่น มีผื่น ปากบวม ตาบวม หน้าบวม 8.3 หากใช้ยานี้แล้วมีผื่น ปากบวม ตาบวม หน้าบวม ให้หยุดยาทันที และพบแพทย์ 8.4 หากใช้ติดต่อกันเกิน 3 วัน แล้วไม่ดีขึ้น หรืออาการรุนแรงขึ้นระหว่างการใช้ยา ควรหยุดใช้และพบ แพทย์ 8.5 หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทําให้แขนขามีอาการอ่อนแรง 9. ข้อห้ามใช้ 9.1 ห้ามใช้ในผู้ที่มีอาการแพ้ฟ้าทะลายโจร 9.2 ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร เนื่องจากอาจทําให้เกิดทารกวิรูปได้ 9.3 ห้ามใช้ฟ้าทะลายโจรสําหรับแก้เจ็บคอในกรณีต่าง ๆ ต่อไปนี้ - ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บคอ เนื่องจากติดเชื้อ Streptococcus group A

231 - ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคไตอักเสบ เนื่องจากเคยติดเชื้อ Streptococcus group A - ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคหัวใจรูห์มาติค - ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บคอเนื่องจากมีการติดเชื้อแบคทีเรีย และมีอาการรุนแรง เช่น มีตุ่มหนองในคอ มีไข้สูง และหนาวสั่น 10. ข้อควรระวัง 1 0.1 ควรระวังการใช้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants) และยาต้านการจับตัวของเกล็ด เลือด ( antiplatelets) 10.2 ควรระวังการใช้ร่วมกับยาลดความดันเลือดเพราะอาจเสริมฤทธิ์กันได้ 10.3 ควรระวังการใช้ร่วมกับยาที่กระบวนการเมแทบอลิซึม ผ่านเอนไซม์ Cytochrome P 450 ( CYP 450) เนื่องจากฟ้าทะลายโจรมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ CYP 1 A 2 , CYP 2 C 9 และ CYP 3 A 4 11. อาการไม่พึงประสงค์ อาจทําให้เกิดอาการผิดปกติของทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง ท้องเดิน คลื่นไส้ เบื่ออาหาร วิงเวียน ศีรษะ ใจสั่น และอาจเกิดลมพิษได้ 1 2 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง ใส่ในภาชนะบรรจุปิดสนิท ป้องกันแสง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 14. ยารางจืด 1. ชื่อยา ยารางจืด 2 . รูปแบบยา ยาแคปซูลชนิดแข็ง ยาชง 3 . ตัวยาสําคัญ ผงใบรางจืดโตเต็มที่ 3 .1 ชื่อวิทยาศาสตร์ Thunbergia laurifolia Lindl. 3 .2 ส่วนที่ใช้ ใบโตเต็มที่ 4 . ที่มาของสูตรยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 5 . กรรมวิธีการผลิต 5 .1 ยาแคปซูลชนิดแข็ง 1) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2 ) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 100 4) ชั่งผงยารางจืด (ปริมาณ 250 มิลลิกรัมต่อแคปซูล หรือ 500 มิลลิกรัมต่อแคปซูล) และ lactose (ถ้ามี) ผสมในเครื่องผสม จนได้ผงยำที่สม่ําเสมอ 5) ชั่ง magnesium stearate (ถ้ามี) โดยมีปริมาณ 0.5 % - 1 % โดยน้ําหนักของผงยา 6) นําไปผสมจนได้ผงยาที่สม่ําเสมอ 7) นําผงยารางจืดที่ผสมแล้วบรรจุลงในแคปซูล โดยใช้เครื่องบรรจุแคปซูล

232 5 .2 ยาชง 1 ) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2 ) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3 ) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 80 4 ) บรรจุผงยาลงซองเยื่อกระดาษ ซองละ 1 กรัม แล้วบ รรจุในภาชนะบรรจุที่กันความชื้น ซองละ 1 ซอง เยื่อกระดาษ 6 . ข้อบ่งใช้ ถอนพิษไข้ แก้ร้อนใน 7 . ขนาดและวิธีใช้ 7 .1 ยาแคปซูลชนิดแข็ง ขนาด 250 มิลลิกรัมต่อแคปซูล รับประทานครั้งละ 2 – 4 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน เย็น 7 .2 ยาแคปซูลชนิดแข็ง ขนาด 500 มิลลิกรัมต่อแคปซูล รับประทานครั้งละ 1 – 2 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน เย็น 7 .3 ยาชง รับประทานครั้งละ 2 – 3 ซอง ( 2 - 3 กรัม) แช่ในน้ําร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน เย็น 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . ข้อควรระวัง 9 .1 ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก 9 .2 หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วันแล้ว อาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 9 .3 ควรระวังการใช้ยานี้กับผู้ป่วยเบาหวาน เพราะอาจเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา 9 .4 ควรระวังการใช้ยานี้กับผู้ป่วยที่ต้องใช้ยารักษาโรคอย่างต่อเนื่อง เพราะยารางจืดอาจเร่งการขับยา เหล่านั้นออกจากร่างกาย ทําให้ประสิทธิผลของยาลดลง 10 . อาการไม่พึงประสงค์ ไม่มี 11. ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 2 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง ใส่ในภาชนะบรรจุปิดสนิท ป้องกันแสง 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 15. ยากระเจี๊ยบแดง 1. ชื่อยา ยากระเจี๊ยบแดง 2 . รูปแบบยา ยาชง 3 . ตัวยาสําคัญ ผงจากกลีบเลี้ยงและริ้วประดับของกระเจี๊ยบแดง 3 .1 ชื่อวิทยาศาสตร์ Hibiscus sabdariffa L.

233 3 .2 ส่วนที่ใช้ กลีบเลี้ยง และริ้วประดับ 4 . ที่มาของสูตรยา ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 5 . กรรมวิธีการผลิต ยาชง 1 ) นําตัวยาสมุนไพรมาล้างทําความสะอาด ทําให้เป็นชิ้นขนาดเล็กลง แล้วผึ่งให้แห้ง 2 ) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3 ) นําสมุนไพรที่แห้งแล้วมาบดให้ละเอียด แล้วนําผงยามาผ่านแร่งเบอร์ 60 - 80 4 ) บรรจุผงยาลงซองเยื่อกระดาษ ซองละ 1 กรัม แล้วบรรจุในภาชนะบรรจุที่กันความชื้น ซองละ 1 ซองเยื่อกระดาษ 6 . ข้อบ่งใช้ ขับปัสสาวะ แก้ขัดเบา 7 . ขนาดและวิธีใช้ รับประทาน ครั้งละ 2 – 3 ซอง แช่ใน น้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที วันละ 3 ครั้ง หลัง อาหาร เช้า กลางวันและเย็น 8 . ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับผู้ป่วยที่มีการทํางานของไตบกพร่อง 9 . ข้อควรระวัง กระเจี๊ยบแดงอาจทําให้เกิดอาการท้องเสียได้ 10 . อาการไม่พึงประสงค์ อาจมีอาการปวดมวนท้องได้ 11. ขนาดบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 2 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง ใส่ในภาชนะบรรจุปิดสนิท ป้องกันแสง 1 3 . ข้อมูลเพิ่มเติม 1 2 .1 ควรหลีกเลี่ยงการกินกระเจี๊ยบแดงติดต่อกันเป็นเวลานาน เนื่องจากผลการศึกษา ในสัตว์ทดลอง พบว่า ทําให้เกิดพิษต่อเซลล์ของอัณฑะและตัวอสุจิได้ 1 2 .2 ควรหลีกเลี่ยงการกินกระเจี๊ยบแดงติดต่อกันเป็นเวลานานในหญิงมีครรภ์และหญิงให้นมบุตร เนื่องจากผลการศึกษาในหนู ขาว ( rat) พบว่าอาจทําให้ลูกหนูเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ช้าลง

234 บัญชี 3 ท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อ ประเภท ชนิดหรือลักษณะของผลิตภัณฑ์สมุนไพรซึ่ง การผลิตหรือนําเข้าเพื่อขาย ต้องได้รับใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับ ใบรับแจ้งรายละเอียดหรือใบรับจด แจ้ง และชื่อ ปริมาณ และเงื่อนไขของวัตถุที่อาจใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์สมุนไพร สําหรับผลิตภัณฑ์ สมุนไพรที่ขอจดแจ้ง (ฉบับที่ 3) พ. ศ. 2565 ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพ 1. กระเทียม 1. ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร กระเทียม ชนิดเม็ด หรือ กระเทียม ชนิดแคปซูล หรือ กระเทียม ชนิดแคปซูล นิ่ม 1.1 ชื่อสามัญไทย กระเทียมหรือกระเทียมโทน 1.2 ชื่อสามัญอังกฤษ Garlic 1.3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Allium sativum L. 1. 4 ส่วนที่ใช้ หัวกระเทียม ( Bulb ) 2. กรรมวิธีการผลิต - บดเป็นผง - บีบหรือกลั่นด้วยไอน้ําเพื่อให้ได้น้ํามัน - สกัดด้วยน้ํา กรณีมีสารสําคัญต้องระบุเป็น อัลลิอิน ( alliin ) หรือ อัลลิซิน ( allicin ) 3. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ 3.1 กรรมวิธีการผลิตบีบหรือกลั่นด้วยไอน้ําเพื่อให้ได้น้ํามัน - มีส่วนช่วยในการขับลมและลดอาการท้องอืด 3.2 กรรมวิธีการผลิตบดเป็นผง บีบหรือกลั่นด้วยไอน้ําเพื่อให้ได้น้ํามัน หรือสกัดด้วยน้ํา - มีส่วนช่วยคงสภาวะปกติของระดับไขมันหลอดเลือดในผู้ใหญ่ 4. ขนาดและ วิธีใช้ รับประทาน พร้อมอาหาร วันละ 2 - 5 กรัม ( คํานวณเป็นน้ําหนักหัวกระเทียมสด ) โดยหากระบุ สารสําคัญ ต้องมีปริมาณอัลลิอิน ( alliin ) วันละ 4 - 12 มิลลิกรัม หรืออัลลิซิน ( allicin ) วันละ 2 - 5 มิลลิกรัม 5 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 6. คําเตือน 6. 1 เด็กและสตรีมีครรภ์ไม่ควรรับประทาน 6.2 ผู้ที่รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือดหรือยายับยั้งเอนไซม์โปรตีเอส ( Protease inhibitors) ยาลดความดันโลหิตสูง ยาลดน้ําตาลในเลือด ยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่อาจส่งผลต่อการแข็งตัวของเลือด เช่น แปะก๊วย ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรก่อนรับประทาน 7. ข้อควรระวัง 7.1 หยุดรับประทานหากมีอาการแพ้ 7.2 ผู้ที่จะเข้ารับการผ่าตัดให้หยุดรับประทาน และปรึกษาแพทย์ก่อนเข้ารับการผ่าตัด

235 8. อาการไม่พึงประสงค์ ระคายเคืองทางเดินอาหาร อาจทําให้เกิดอาการแพ้ 9 . ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 1 0 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล หรือไม่เกิน 120 เม็ด ต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 2. บุก 1. ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร บุก ชนิดแคปซูล หรือ บุก ชนิดผง 1.1 ชื่อสามัญไทย - 1.2 ชื่อสามัญอังกฤษ Konjac 1. 3 ชื่อวิทยาศาสตร์ที่เป็นแหล่งวัตถุดิบ Amorphophallus brevispathus Gagnep. Amorphophallus konjac K.Koh ชื่อพ้อง Amorphophallus rivieri Amorphophallus muelleri Blume ชื่อพ้อง Amorphophallus oncophyllus Prain ex Hook.f. 1.4 ส่วนที่ใช้ หัวบุก ( Tuber ) 2. กรรมวิธีการผลิต - บดเป็นผง - สกัดด้วยน้ํา 3. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ 3. 1 มีส่วนช่วยในการลดน้ําหนักในผู้ที่จํากัดการบริโภคอาหารพลังงานต่ํา 3.2 การรับประทาน อย่างสม่ําเสมอ มีส่วนช่วยคงค่าปกติของระดับไขมันใ ข นเลือด ในผู้ใหญ่สุขภาพดี 4. ขนาดและ วิธีใช้ คํานวณขนาดและวิธีใช้เป็นปริมาณสารสําคัญกลูโคแมนแนน ดังนี้ 4 . 1 ขนาดการใช้สําหรับการมีส่วนช่วยในการลดน้ําหนักในผู้ที่จํากัดการบริโภคอาหารพลังงานต่ํา ชนิดแคปซูล รับประทานกลูโคแมนแนนครั้งละ 1 กรัม ร่วมกับน้ําเปล่าอย่างน้อย 240 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร 30 นาที - 1 ชั่วโมง ชนิดผง รับประทานกลูโคแมนแนนครั้งละ 1 กรัม ผสมน้ําอย่างน้อย 240 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อน อาหาร 30 นาที - 1 ชั่วโมง

236 4.2 ขนาดสําหรับ มีส่วนช่วยคงค่าปกติของระดับไขมันในเลือด ในผู้ใหญ่สุขภาพดี ชนิดแคปซูล รับประทานกลูโคแมนแนนอย่างน้อยวันละ 4 กรัม ร่วมกับน้ําเปล่าอย่างน้อย 240 มิลลิลิตร โดย แบ่งรับประทาน วันละ 1 - 3 ครั้ง ก่อนอาหาร 30 นาที - 1 ชั่วโมง ชนิดผง รับประทานกลูโคแมนแนนอย่างน้อยวันละ 4 กรัม ผสมน้ําอย่างน้อย 240 มิลลิลิตร โดยแบ่ง รับประทาน วันละ 1 - 3 ครั้ง ก่อนอาหาร 30 นาที - 1 ชั่วโมง 5 . ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ใน ผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับการกลืน 6. คําเตือน 6.1 ควรรับประทานห่างจากยา อย่างน้อย 2 ชั่วโมง และไม่ควรรับประทานก่อนนอน 6. 2 หญิงให้นมบุตร ผู้ป่วยเบาหวานควรปรึกษา แพทย์หรือเภสัชกรก่อนรับประทาน 6. 3 เด็กและสตรีมีครรภ์ไม่ควรรับประทาน 7. ข้อควรระวัง 7.1 หากต้องการรับประทานติดต่อกันนานกว่า 8 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร 7.2 ควรปรึกษาแพทย์ทันที หากมีอาการเจ็บหน้าอก อาเจียน กลืนหรือหายใจลําบากหลังรับประทาน ผลิตภัณฑ์ 8. อาการไม่พึงประสงค์ ถ่ายเหลว ท้องอืด ท้องเสีย ไม่สบายท้อง 9. ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 10 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 3. ขมิ้นชัน 1. ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ขมิ้นชัน ชนิดเม็ด หรือ ขมิ้นชัน ชนิดแคปซูล 1.1 ชื่อสามัญไทย ขมิ้นชัน 1.2 ชื่อสามัญอังกฤษ Turmeric 1. 3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Curcuma longa L. ชื่อพ้อง Curcuma domestica Valeton 1. 4 ส่วนที่ใช้ เหง้า

237 2. กรรมวิธีการผลิต บดเป็นผง 3. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยลดอาการที่เกิดจากสภาวะอาหารไม่ย่อย 4. ขนาดและ วิธีใช้ รับประทานวันละไม่เกิน 2 กรัมต่อวัน (คํานวณเป็นน้ําหนักเหง้าขมิ้นแห้ง) 5 . ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับผู้ที่ท่อน้ําดีอุดตัน หรือผู้ที่ไวต่อขมิ้นชัน 6. คําเตือน เด็กและสตรีมีครรภ์ไม่ควรรับประทาน 7. ข้อควรระวัง 7.1 ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ําดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ 7.2 ควรระวังการใช้ขมิ้นชันร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants) และยาต้านการจับตัวของ เกล็ดเลือด ( antiplatelets) 7.3 ควรระวังการใช้ขมิ้นชันร่วมกับยาที่กระบวนการเมแทบอลิซึม ผ่านเอนไซม์ Cytochrome P450 (CYP 450) เนื่องจากสาร curcumin ยับยั้ง CYP 3A4 , CYP 1A2 แต่กระตุ้น เอนไซม์ CYP 2A6 7.4 ควรระวังการใช้ขมิ้นชันร่วมกับยารักษาโรคมะเร็งบางชนิด เช่น doxorubicin, chlormethine, cyclophosphamide และ camptothecin เนื่องจาก curcumin อาจมีผลต้านฤทธิ์ยาดังกล่าว 8. อาการไม่พึงประสงค์ ผิวหนังอักเสบจากการแพ้ 9. ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 1 0 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล หรือไม่เกิน 120 เม็ด ต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 4. ขิง 1. ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ขิง ชนิดเม็ด หรือ ขิง ชนิดแคปซูล หรือ ขิง ชนิดผง 1.1 ชื่อสามัญไทย ขิง 1.2 ชื่อสามัญอังกฤษ Ginger 1. 3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Zingiber officinale Roscoe 1. 4 ส่วนที่ใช้ เหง้า 2. กรรมวิธีการผลิต บดเป็นผง

238 3. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยลดอาการที่เกิดจากสภาวะอาหารไม่ย่อย 4. ขนาดและ วิธีใช้ รับประทานวันละ 0.3 - 3 กรัม ( คํานวณเป็น เหง้า แห้ง ) 5 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 6. คําเตือน เด็กและสตรีมีครรภ์ไม่ควรรับประทาน 7. ข้อควรระวัง 7.1 ควรระวังการใช้ผลิตภัณฑ์นี้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants) และยาต้านการจับตัว ของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) 7.2 ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ําดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ 8. อาการไม่พึงประสงค์ อาการแสบร้อนบริเวณทางเดินอาหาร อาการระคายเคืองบริเวณปากและคอ 9. ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 10 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล หรือไม่เกิน 120 เม็ด ต่อภาชนะบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 5. แครอต 1. ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร แครอต ชนิดเม็ด หรือ แครอต ชนิดแคปซูล 1.1 ชื่อสามัญไทย - 1.2 ชื่อสามัญอังกฤษ Carrot 1.3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Daucus carota L. subsp . sativus 1. 4 ส่วนที่ใช้ ราก 2. กรรมวิธีการผลิต - สกัดด้วยน้ํา โดยมี สารสําคัญ เบต้า - แคโรทีน ( Beta - carotene ) - สกัดด้วยน้ําและเอทานอล โดยมี สารสําคัญ เบต้า - แคโรทีน ( Beta - carotene ) 3. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ 3.1 เป็น แหล่ง สารตั้งต้นของวิตามินเอในร่างกาย ที่ช่วยบํารุงรักษาสุขภาพ

239 3.2 เป็น แหล่ง สารตั้งต้นของวิตามินเอในร่างกาย ที่มีส่วนช่วยพัฒนาและคงสภาพปกติของการมองเห็น ตอนกลางคืน 3.3 เป็น แหล่ง สารตั้งต้นของวิตามินเอในร่างกาย ที่มีส่วนช่วยคงสภาพปกติของการมองเห็น ผิว เนื้อเยื่อ และการทํางานของระบบภูมิคุ้มกัน 4. ขนาดและ วิธีใช้ ปริมาณเบต้า - แคโรทีน ( Beta - carotene ) วันละ 390 - 4,800 ไมโครกรัม 5 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 6. คําเตือน เด็กและสตรีมีครรภ์ไม่ควรรับประทาน 7. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ในผู้ที่ใช้ยาอนุพันธ์ของวิตามินเอ เนื่องจากอาจเกิดภาวะวิตามินเอมากเกิน 8. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 9. ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 1 0 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล หรือไม่เกิน 120 เม็ด ต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 6. ซิตรัสไบโอเฟลวานอยด์ 1. ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ซิตรัสไบโอเฟลวานอยด์ ชนิดเม็ด หรือ ซิตรัสไบโอเฟลวานอยด์ ชนิดแคปซูล 1.1 ชื่อสามัญไทย - 1.2 ชื่อสามัญอังกฤษ Citrus bioflavonoids 1.3 ชื่อวิทยาศาสตร์ของแหล่งวัตถุดิบ Citrus aurantiifolia Citrus limon Citrus hystrix DC. 1.4 ส่วนที่ใช้ ผล 2. กรรมวิธีการผลิต สกัดด้วยน้ํา 3. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ เป็นแหล่งของ สารต้านอนุมูลอิสระ 4. ขนาดและวิธีใช้

240 ปริมาณซิตรัส ไบโอเฟลวานอยด์ ไม่เกินวันละ 600 มิลลิกรัม และมีปริมาณเฮสเพอริดีน ไม่เกิน 20 มิลลิกรัมต่อวัน 5 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 6. คําเตือน 6.1 เด็กและสตรีมีครรภ์ไม่ควรรับประทาน 6.2 ผู้ที่ได้รับยารักษาโรค หากต้องการรับประทาน ผลิตภัณฑ์ซิตรัส ไบโอเฟลวานอยด์ ขนาดตั้งแต่ 50 มิลลิกรัมต่อวันขึ้นไป ต้องปรึกษาแพทย์หรือ เภสัชกร ก่อนรับประทาน เนื่องจาก ซิตรัส ไบโอเฟลวานอยด์ อาจทําให้ประสิทธิภาพการรักษาลดลง 7. ข้อควรระวัง ไม่มี 8 . อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 9. ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 1 0 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล หรือไม่เกิน 120 เม็ด ต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 7. ถั่วเหลือง 1. ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ถั่วเหลือง ชนิดเม็ด หรือ ถั่วเหลือง ชนิดแคปซูล 1.1 ชื่อสามัญไทย ถั่วเหลือง 1.2 ชื่อสามัญอังกฤษ Soybean 1.3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Glycine max (L.) Merr. 1. 4 ส่วนที่ใช้ เมล็ด 2. กรรมวิธีการผลิต บดเป็นผง โดยต้องมีกรรมวิธีผ่านความร้อน 3. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ 3.1 เป็นแหล่งของโปรตีนที่ช่วยบํารุงรักษาสุขภาพ 3.2 เป็นแหล่งของโปรตีนที่ช่วยเสริมสร้างและซ่อมแซมเนื้อเยื่อ 3.3 เป็นแหล่งของกรดอะมิโนที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์โปรตีนในกล้ามเนื้อ 3. 4 เป็นแหล่งของกรดอะมิโนจําเป็นที่ช่วยบํารุงรักษาสุขภาพ 4. ขนาดและ วิธีใช้ รับประทาน วันละ 7.5 - 8 กรัม

241 5 . ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่แพ้โปรตีน 6. คําเตือน เด็กและสตรีมีครรภ์ไม่ควรรับประทาน 7. ข้อควรระวัง ไม่มี 8. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 9. ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 1 0 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล หรือไม่เกิน 120 เม็ด ต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 8. เทียนเกล็ดหอย 1. ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร เทียนเกล็ดหอย ชนิดชง 1.1 ชื่อสามัญไทย เทียนเกล็ดหอย 1.2 ชื่อสามัญอังกฤษ Psyllium 1.3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Plantago ovata Forssk. 1. 4 ส่วนที่ใช้ เมล็ดหรือเยื่อหุ้มเมล็ด 2. กรรมวิธีการผลิต บดเป็นผง 3. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ 3. 1 เพิ่มกากใยอาหารที่อาจส่งผลให้ช่วยในการขับถ่าย 3.2 มีส่วนช่วยส่งเสริมการเคลื่อนไหวของลําไส้ โดยการเพิ่มมวลและปริมาณน้ํา 4. ขนาดและ วิธีใช้ รับประทานวันละ 2.5 - 7 กรัม ( คํานวณเป็นเมล็ด หรือ เยื่อหุ้มเมล็ด ) โดย 1 กรัม ผสมน้ํา 240 มิลลิลิตร คนให้เข้ากันและดื่มทันที 5 . ข้อห้ามใช้ 5.1 ห้ามใช้ใน ผู้ที่มีภาวะกลืนลําบาก 5.2 ห้ามใช้ในผู้ป่วยเบาหวานที่มีปัญหาในการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด 5.3 ห้ามใช้ในผู้ที่เคยรับประทานยาระบายหรือผลิตภัณฑ์ที่ช่วยในการขับถ่ายแล้วทําให้ระบบขับถ่าย อุจจาระผิดปกติอย่างทันทีโดยมีอาการมากกว่า 2 สัปดาห์ หรือมีอาการเลือดออกทางทวารหนักโ ดยไม่ ทราบสาเหตุ หรือไม่ถ่ายเมื่อใช้ยาระบายชนิดอื่น

242 6 . คําเตือน 6. 1 เด็กและสตรีมีครรภ์ไม่ควรรับประทาน 6 . 2 ผู้ที่มีอาการปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน หรือเป็นไข้ ควรปรึกษาแพทย์ก่อนรับประทาน 6.3 รับประทานห่างจากยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพอื่นอย่างน้อย 2 - 3 ชั่วโมง 6.4 ไม่ควรรับประทานก่อนนอน 7 . ข้อควรระวัง 7.1 หยุดรับประทานหากมีอาการแพ้ 7.2 ควรดื่มน้ําตามมากๆหลังรับประทาน เพื่อป้องกันลําไส้อุดตัน 7 . 3 ควรปรึกษาแพทย์ทันที หากมีอาการเจ็บหน้าอก อาเจียน กลืนหรือหายใจลําบากหลังรับประทาน ผลิตภัณฑ์ 7. 4 ถ้ามีอาการปวดท้องภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากการรับประทาน ให้หยุดใช้และปรึกษาแพทย์ 8. อาการไม่พึงประสงค์ 8.1 อาจ ทําให้เกิดลมในกระเพาะอาหาร หรือมีอาการท้องอืด 8.2 อาจเกิดอาการแพ้จากการสัมผัสหรือสูดดม 9. ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 10 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 9. พริกไทย 1. ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร พริกไทย ชนิดเม็ด หรือ พริกไทย ชนิดแคปซูล 1.1 ชื่อสามัญไทย พริกไทย 1.2 ชื่อสามัญอังกฤษ Pepper/black pepper 1. 3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Piper nigrum L. 1. 4 ส่วนที่ใช้ ผล 2. กรรมวิธีการผลิต บดเป็นผง 3. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการย่อยอาหาร 4. ขนาดและ วิธีใช้ รับประทานวันละ 250 - 420 มิลลิกรัม (คํานวณเป็นผลแห้ง ) และต้องมีปริมาณพิเพอรีน ( piperine ) ไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อวัน 5 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี

243 6. คําเตือน 6.1 เด็กและสตรีมีครรภ์ไม่ควรรับประทาน 6.2 หญิงให้นมบุตรควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรก่อนรับประทาน 6.3 หากต้องการรับประทานผลิตภัณฑ์พริกไทยร่วมกับยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพอื่น ควรปรึกษาแพทย์ หรือเภสัชกรก่อนรับประทาน เนื่องจากพริกไทยอาจทําให้ประสิทธิภาพการรักษาลดลง 7. ข้อควรระวัง 7.1 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 12 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร 8. อาการไม่พึงประสงค์ ไม่สบายท้องหรือมีอาการผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร 9. ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 1 0 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล หรือไม่เกิน 120 เม็ด ต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 10. พริก 1. ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร พริก ชนิดเม็ด หรือ พริก ชนิด แคปซูล 1.1 ชื่อสามัญไทย พริก 1.2 ชื่อสามัญอังกฤษ Chili , peppers 1. 3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Capsicum annuum L. 1. 4 ส่วนที่ใช้ ผล 2. กรรมวิธีการผลิต - บดเป็นผง - สกัดด้วยน้ํา 3. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ 3.1 มีส่วนช่วยในการย่อยอาหาร 3.2 มีส่วนช่วยส่งเสริมระบบไหลเวียนโลหิต 4. ขนาดและ วิธีใช้ รับประทานวันละ 15 - 360 มิลลิ กรัม ( คํานวณเป็นผลแห้ง ) และปริมาณแคปไซซิน ไม่เกิน 15 มิลลิกรัมต่อวัน 5 . ข้อห้ามใช้ เด็กห้ามรับประทาน 6. คําเตือน 6.1 สตรีมีครรภ์ไม่ควรรับประทาน

244 6.2 หญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีแผล ใน กระเพาะอาหารหรือมีการอักเสบ ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรก่อน รับประทาน 7. ข้อควรระวัง ไม่มี 8. อาการไม่พึงประสงค์ อาจเกิดการระคายเคืองกระเพาะอาหาร 9. ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 1 0 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล หรือไม่เกิน 120 เม็ด ต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 11. เห็ดหลินจือ 1. ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร เห็ดหลินจือ ชนิดเม็ด หรือ เห็ดหลินจือ ชนิดแคปซูล 1.1 ชื่อสามัญไทย เห็ดหลินจือ 1.2 ชื่อสามัญอังกฤษ Reishi mushroom 1. 3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Ganoderma lucidum (Curtis) P. Karst. 1. 4 ส่วนที่ใช้ ดอกเห็ด 2. กรรมวิธีการผลิต - สกัดด้วยเอทานอล โดย มีสารสําคัญ พอลิแซ็กคาไรด์ ร้อยละ 40 - สกัดด้วยน้ําและเอทานอล โดย มีสารสําคัญ พอลิแซ็กคาไรด์ ร้อยละ 40 3. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ 3.1 มีส่วนช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน 3.2 มีส่วนช่วยลดอาการอ่อนเพลียที่มีสาเหตุจากภาวะเครียด 4. ขนาดและ วิธีใช้ รับประทานพร้อมอาหาร วันละ ไม่เกิน 1.5 - 2 กรัม (คํานวณเป็นดอกเห็ดแห้ง) 5 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 6. คําเตือน 6.1 เด็ก สตรีมีครรภ์ และหญิงให้นมบุตรไม่ควรรับประทาน 7. ข้อควรระวัง 7.1 หยุดรับประทานหากมีอาการแพ้ 8. อาการไม่พึงประสงค์

245 ผู้ที่รับประทานติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน 3 - 6 เดือน อาจทําให้เกิดอาการปากแห้ง จมูกและคอแห้ง คัน ท้องเสีย มึนงง ปวดศีรษะ เลือดกําเดาไหล ไม่สบายท้อง หรือมีเลือดปนออกมากับอุจจาระ 9. ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 1 0 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล หรือไม่เกิน 120 เม็ด ต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 12. เห็ดหอม 1. ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร เห็ดหอม ชนิดเม็ด หรือ เห็ดหอม ชนิดแคปซูล 1.1 ชื่อสามัญไทย เห็ดหอม 1.2 ชื่อสามัญอังกฤษ Shiitake 1.3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Lentinula edodes (Berk.) Pegler 1. 4 ส่วนที่ใช้ ดอกเห็ด 2. กรรมวิธีการผลิต - บดเป็นผง - สกัดด้วยเอทานอล กรณีระบุสารสําคัญต้องมี พอลิแซ็กคาไรด์ ร้อยละ 40 3. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน 4. ขนาดและ วิธีใช้ รับประทานวันละ 1.6 - 6 กรัม (คํานวณเป็นดอกเห็ดแห้ง) 5 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 6. คําเตือน 6.1 เด็กและสตรีมีครรภ์ไม่ควรรับประทาน 6.2 หญิงให้นมบุตร ผู้ที่รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรก่อน รับประทาน 7 . ข้อควรระวัง 7.1 หยุดรับประทานหากมีอาการแพ้ 8 . อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 9 . ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients

246 1 0 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล หรือไม่เกิน 120 เม็ด ต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 13. กระเจี๊ยบแดง 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร กระเจี๊ยบแดง ชนิดชง 1 . 1 ชื่อสามัญไทย กระเจี๊ยบแดง 1 . 2 ชื่อสามัญอังกฤษ Roselle, Hibiscus, Jamaica Sorrel, Red Sorrel 1 . 3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Hibiscus sabdariffa L . 1 . 4 ส่วนที่ใช้ กลีบเลี้ยงและริ้วประดับที่เจริญติดกับผล 2 . กรรมวิธีการผลิต 1) นํากลีบเลี้ยงและริ้วประดับที่เจริญติดกับผลที่มีสีแดงมาล้างทําความสะอาด แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นํามาย่อยขนาดให้มีขนาดเล็กลง 4) บรรจุผงกลีบเลี้ยงและริ้วประดับที่เจริญติดกับผลลงซองเยื่อกระดาษหรือซองปิดสนิท แล้วบรรจุลง ภาชนะปิดสนิท 3 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยคงระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ในผู้ใหญ่สุขภาพดี 4 . ขนาดและ วิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1.25 - 2.5 กรัม ชงในน้ําร้อน วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น 5 . ข้อห้ามใช้ 5.1 หยุดใช้ก่อนผ่าตัด 2 สัปดาห์ 5.2 ห้ามใช้กับผู้ป่วยที่มีการทํางานของไตบกพร่อง 6 . คําเตือน 6.1 หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร หรือเด็กอายุต่ํากว่า 15 ปี ไม่ควรรับประทาน 6.2 ไม่ควรใช้ร่วมกับยากลุ่มลดความดันโลหิต chloroquine, diclofenac และ simvastatin 7 . ข้อควรระวัง 7.1 กระเจี๊ยบแดงอาจทําให้เกิดอาการท้องเสียได้ เนื่องจากมีฤทธิ์เป็นยาระบาย 7.2 ควรระวังการ ใช้ร่วมกับยาลดน้ําตาลในเลือด 8 . อาการไม่พึงประสงค์ อาจมีอาการปวดมวนท้องได้ 9 . ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 10 . ขนาดบรรจุ

247 บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 14. กระชาย 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร กระชาย ชนิดชง 1 . 1 ชื่อสามัญไทย กระชาย 1 . 2 ชื่อสามัญอังกฤษ Fingerroot 1 . 3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Boesenbergia rotunda ( L .) Mansf . 1 . 4 ส่วนที่ใช้ เหง้าและราก 2 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําเหง้าและรากมาล้างทําความสะอาด แล้วผึ่งให้แห้ง 2 ) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3 ) นํามาย่อยขนาดให้มีขนาดเล็กลง 4 ) บรรจุผงเหง้าและรากลงซองเยื่อกระดาษหรือซองปิดสนิท แล้วบรรจุลงภาชนะปิดสนิท 3 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยลดอาการที่เกิดจากสภาวะอาหารไม่ย่อย 4 . ขนาดและ วิธีใช้ รับประทานครั้งละ 3 - 5 กรัม ชงในน้ําร้อน เมื่อมีอาการ 5 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 6 . คําเตือน ไม่มี 7 . ข้อควรระวัง ไม่มี 8 . อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 9 . ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 10 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 15. กระชายดํา

248 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ชนิดแคปซูล กระชายดํา กระชายดํา ชนิดเม็ด หรือ 1 . 1 ชื่อสามัญไทย กระชายดํา 1 . 2 ชื่อสามัญอังกฤษ Black galingale 1 . 3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Kaempferia parviflora Wall . ex Baker 1 . 4 ส่วนที่ใช้ เหง้า 2 . กรรมวิธีการผลิต สารสกัดจากเหง้าด้วยเอทานอล 95 % ที่มีสาร 5,7 - dimethoxyflavone ไม่น้อยกว่า 2 % w / w 3 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ เสริมสมรรถภาพทางกาย ( physical fitness ) 4 . ขนาดและ วิธีใช้ 4.1 ชนิดเม็ดหรือแคปซูล สารสกัดกระชายดํา 90 มิลลิกรัม - รับประทาน ครั้งละ 2 เม็ดหรือแคปซูล วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหาร 4.2 ชนิดเม็ดหรือแคปซูล สารสกัดกระชายดํา 180 มิลลิกรัม - รับประทาน ครั้งละ 1 เม็ดหรือแคปซูล วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหาร 5 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 6 . คําเตือน 6.1 เด็ก อายุต่ํากว่า 15 ปี และสตรีมีครรภ์ ไม่ควรรับประทาน 7 . ข้อควรระวัง 7.1 ถ้ารับประทานสารสกัดกระชายดําแล้วมีอาการคล้ายเป็นหวัด ไอ ปวดหลัง ให้หยุดรับประทาน 7.2 ควรระวังการใช้ผลิตภัณฑ์นี้ร่วมกับยาที่ผ่านกระบวนการเมแทบอลิซึม ( metabolism) ผ่านเอนไซม์ cytochrome P 450 ( CYP 1 A 1 , CYP 1 A 2 , CYP 2 B, และ CYP 2 E 1) เนื่องจากกระชายดํามีผลปานกลางต่อ เอนไซม์ดังกล่าว โดยเฉพาะยา acetaminophen ที่มีการเผาผลาญผ่านเอนไซม์ CYP 2 E 1 8 . อาการไม่พึงประสงค์ อาจจะพบอาการคล้ายเป็นหวัด ไอ ปวดหลัง 9 . ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 1 0 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล หรือไม่เกิน 120 เม็ด ต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 16. กะเพรา 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร กะเพรา ชนิดชง 1 . 1 ชื่อสามัญไทย กะเพรา

249 1 . 2 ชื่อสามัญอังกฤษ Holy basil 1 . 3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum tenuiflorum L . 1 . 4 ส่วนที่ใช้ ใบ 2 . กรรมวิธีการผลิต 1) นําใบมาล้างทําความสะอาด แล้วผึ่งให้แห้ง 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นํามาย่อยขนาดให้มีขนาดเล็กลง 4) บรรจุผงใบลงซองปิดสนิท แล้วบรรจุลงภาชนะปิดสนิท 3 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยลดอาการที่เกิดจากสภาวะอาหารไม่ย่อย 4 . ขนาดและ วิธีใช้ รับประทานวันละ 4 กรัม ชงน้ําดื่ม เมื่อมีอาการ 5 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 6 . คําเตือน ไม่มี 7 . ข้อควรระวัง ไม่มี 8 . อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 9 . ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 10 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 17. ทับทิม 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ทับทิม ชนิดน้ํา 1 . 1 ชื่อสามัญไทย ทับทิม 1 . 2 ชื่อสามัญอังกฤษ Pomegranate 1 . 3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Punica granatum L . 1 . 4 ส่วนที่ใช้ เนื้อหุ้มเมล็ด ( aril ) 2 . กรรมวิธีการผลิต คั้นน้ําจากเนื้อหุ้มเมล็ด โดยมี total phenolic content ไม่น้อยกว่า 120 mg GAE / 100 ml 3 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ

250 มีผลต้านอนุมูลอิสระ 4 . ขนาดและ วิธีใช้ รับประทานน้ําทับทิม ครั้งละ 2 50 มิลลิลิตร วันละ 1 ครั้ง หลังอาหาร 5 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 6 . คําเตือน ไม่มี 7 . ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ในผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง 8 . อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 9 . ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 10 . ขนาดบรรจุ บรรจุขวดพลาสติก หรือขวดแก้วที่ปิดสนิท แล้ วบรรจุขวดลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่ เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 5 ขวดต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 18. มะขามป้อม 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร มะขามป้อม ชนิดเม็ด มะขามป้อม ชนิดแคปซูล หรือ มะขามป้อม ชนิดผง 1 . 1 ชื่อสามัญไทย มะขามป้อม 1 . 2 ชื่อสามัญอังกฤษ Indian gooseberry , Emblic Myrobalan, Emblic, Amla 1 . 3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Phyllanthus emblica L . ชื่อพ้อง Emblica officinalis Gaertn . 1 . 4 ส่วนที่ใช้ ผล 2 . กรรมวิธีการผลิต 2 . 1 บดเป็นผง 2 . 2 สกัดด้วยน้ํา 3 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ 3 . 1 มีส่วนช่วยคงค่าปกติของระดับไขมันในเลือด ในผู้ใหญ่สุขภาพดี 3 . 2 มีผลต้านอนุมูลอิสระ 4 . ขนาดและวิธีใช้ 4.1 กรณีมีส่วนช่วยคงค่าปกติของระดับไขมันในเลือด ในผู้ใหญ่สุขภาพดี - รับประทานวันละ 2 - 6 กรัม (คํานวณเป็นผลแห้ง) วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า

251 4.2 กรณี มีผลต้านอนุมูลอิสระ (สารสกัดด้วยน้ํา ที ่ มีสารสําคัญ total polyphenols ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 คํานวณเทียบเท่ากับ gallic acid) - รับประทานสารสกัดครั้งละ 250 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง หลังอาหารเช้า เย็น 5 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 6 . คําเตือน 6 . 1 เด็กอายุต่ํากว่า 15 ปี ไม่ควรรับประทาน 6 . 2 หญิงตั้งครรภ์ หรือหญิงให้นมบุตรควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรก่อนรับประทาน 6 . 3 ผู้ป่วยเบาหวาน ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรก่อนรับประทาน 7 . ข้อควรระวัง 7 . 1 ควรรับประทานห่างจากยา อย่างน้อย 2 ชั่วโมง 7 . 2 ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร หากมีอาการปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน หรือมีไข้ 7 . 3 ควรระวังการใช้กับผู้ที่มีภาวะเสี่ยงของการมีเลือดออกใช้ยาต้านเกล็ดเลือด และควรหยุดใช้ก่อนการ ผ่าตัด 2 สัปดาห์ 7 . 4 ควรระวังการใช้ผลิตภัณฑ์นี้ร่วมกับยาที่ผ่านกระบวนการเมแทบอลิซึม ( metabolism ) ผ่านเอนไซม์ CYP1A2, CYP2C9, CYP2D6, CYP2E1 และ CYP3A4 8 . อาการไม่พึงประสงค์ รู้สึกไม่สบายในท้อง อาหารไม่ย่อย 9 . ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 10 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล หรือไม่เกิน 120 เม็ด ต่อภาชนะบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท ป้องกันแสง 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 19. ข่า 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ข่า ชนิดชง 1 . 1 ชื่อสามัญไทย ข่า 1 . 2 ชื่อสามัญอังกฤษ Galangal 1 . 3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Alpinia galanga ( L .) Willd . ชื ่ อพ้ อง Languas galangal ( L .) Stuntz 1 . 4 ส่วนที่ใช้ เหง้า 2 . กรรมวิธีการผลิต 1) นําเหง้ามาล้างทําความสะอาด แล้วผึ่งให้แห้ง

252 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นํามาย่อยขนาดให้มีขนาดเล็กลง 4) บรรจุผงเหง้าลงซองเยื่อกระดาษ แล้วบรรจุลงภาชนะปิดสนิท 3 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยลดอาการที่เกิดจากสภาวะอาหารไม่ย่อย 4 . ขนาดและ วิธีใช้ รับประทานครั้งละ 2 กรัม แช่น้ําร้อน 250 มิลลิลิตร เมื่อมีอาการ 5 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 6 . คําเตือน ไม่มี 7 . ข้อควรระวัง ไม่มี 8 . อาการไม่พึงประสงค์ ยัง ไม่มี รายงาน 9 . ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 10 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 20. มะรุม 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร มะรุม รุม ชนิดเม็ด หรือ มะ ชนิดแคปซูล 1 . 1 ชื่อสามัญไทย มะรุม 1 . 2 ชื่อสามัญอังกฤษ Ben moringa / Drumstick tree 1 . 3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Moringa oleifera Lam . 1 . 4 ส่วนที่ใช้ ใบในช่วงที่เป็นใบเพสลาด 2 . กรรมวิธีการผลิต 1) เก็บใบในช่วงที่เป็นใบเพสลาด 2) นํามาอบความร้อนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส จนกว่าจะแห้ง 3) นํามา บดเป็นผง 4) บรรจุผงใบลง แคปซูลหรือตอกเป็นเม็ด แล้วบรรจุลงภาชนะปิดสนิท 3 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ บํารุงเลือด บํารุง น้ํานม สําหรับสตรีหลังคลอดบุตร 4 . ขนาดและ วิธีใช้

253 4.1 บํารุงเลือด สําหรับสตรีหลังคลอดบุตร - รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหาร 4.2 บํารุงน้ํานม สําหรับสตรีหลังคลอดบุตร - รับประทานครั้งละ 250 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง เช้า และเย็น 5 . ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีประวัติแพ้มะรุม 6 . คําเตือน 6.1 ไม่ควรใช้ร่วมกับยาลดน้ําตาลในเลือด 6.2 ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยไทรอยด์ 7. ข้อควรระวัง 7.1 ไม่ควรรับประทานต่อเนื่องกันนานเกิน 6 เดือน 7.2 ควรระวังการใช้ผลิตภัณฑ์นี้ร่วมกับยาที่ผ่านกระบวนการเมแทบอลิซึม ( metabolism) ผ่านเอนไซม์ CYP 1 A 2 , CYP 2 C 9 , CYP 2 C 19 , CYP 3 A 4 และ p - glycoprotein 8 . อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 9 . ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 1 0 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล หรือไม่เกิน 120 เม็ด ต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 21. น้ํามันรําข้าว 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร น้ํามันรําข้าว ชนิดแคปซูลนิ่ม 1 . 1 ชื่อสามัญไทย น้ํามันรําข้าว 1 . 2 ชื่อสามัญอังกฤษ Rice bran oil 1 . 3 ชื่อวิทยาศาสตร์ Oryza sativa L . 1 . 4 ส่วนที่ใช้ เมล็ด 2 . กรรมวิธีการผลิต 2.1 บีบอัด 2.2 การสกัดด้วยเฮกเซน 2.3 การสกัดด้วยวิธี Supercritical fluid CO 2 หรือ CO 2 ที่ผสมเฮกเซน หรือ CO 2 ที่ผสมเอทานอล 3 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยคงค่าปกติของระดับไขมันในเลือด ในผู้ใหญ่สุขภาพดี 4 . ขนาดและ วิธีใช้

254 รับประทานน้ํามันรําข้าว ให้ได้ γ - oryzanol วันละ 300 มิลลิกรัม 5 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 6 . คําเตือน ไม่มี 7 . ข้อควรระวัง ไม่มี 8 . อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 9 . ส่วนประกอบอื่นๆ ให้ ปฏิ บัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่ำด้วยเรื่ องวัตถุเจือปนอาหาร และ Handbook of Pharmaceutical Excipients 1 0 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 1 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง และบรรจุในภาชนะปิดสนิท 1 2 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 22 . ตรีผลา ชนิดผง 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีผลา ชนิดผง 2 . สูตรตํารับ 2 . 1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 สมอไทย เนื้อผล 30 กรัม 2 สมอพิเภก เนื้อผล 30 กรัม 3 มะขามป้อม เนื้อผล 30 กรัม 2 . 2 ส่วนประกอบอื่น ๆ ไม่มี 3 . ที่มาของตํารับผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3 . 1 ตํารายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) 3 . 2 ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง

255 3 ) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4 ) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5 ) บรรจุผงสมุนไพรในซองกันความชื้น ซองละ 1 . 5 กรัม 6 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ 7 . ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 ซอง ชงน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น โดยให้ดื่มขณะยังอุ่นอยู่ 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . คําเตือน ไม่มี 10 . ข้อควรระวัง 10 . 1 ควรระวังการใช้ในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10 . 2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11 . อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 23 . ตรีผลา ชนิดแคปซูล 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีผลา ชนิดแคปซูล 2 . สูตรตํารับ 2 . 1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 สมอไทย เนื้อผล 30 กรัม 2 สมอพิเภก เนื้อผล 30 กรัม 3 มะขามป้อม เนื้อผล 30 กรัม 2 . 2 ส่วนประกอบอื่น ๆ ไม่มี 3 . ที่มาของตํารับผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3 . 1 ตํารายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) 3.2 ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564

256 4 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4 ) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5 ) บรรจุผงสมุนไพรลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ 7 . ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 3 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง หลั งอาหาร เช้า เย็น 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . คําเตือน ไม่มี 10 . ข้อควรระวัง 10 . 1 ควรระวังการใช้ในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10 . 2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11 . อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย 1 2 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 24 . ตรีผลา ชนิดต้ม 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีผลา ชนิดต้ม 2 . สูตรตํารับ 2 . 1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 สมอไทย เนื้อผล 30 กรัม 2 สมอพิเภก เนื้อผล 30 กรัม 3 มะขามป้อม เนื้อผล 30 กรัม 2 . 2 ส่วนประกอบอื่น ๆ ไม่มี

257 3 . ที่มาของตํารับผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3 . 1 ตํารายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) 3.2 ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 4 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลงและมีขนาดสม่ําเสมอกัน 3 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4 ) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ 5 ) นําส่วนประกอบทั้งหมดมาผสมรวมกัน แล้วบรรจุ ในห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ห่อละ 90 กรัม 6 ) บรรจุห่อสมุนไพรลงในซองอะลูมิเนียมฟอยล์หรือซองที่กันความชื้นได้ 6 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ 7 . ขนาดและวิธีใช้ 7.1 วิธีการเตรียมผลิตภัณฑ์สําหรับต้ม 1 ) นําห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2 ) เติมน้ํา 1,000 มิลลิลิตร นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือดด้วยไฟกลาง แล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ไฟ อ่อนๆ ต้มต่อไปอีก 30 นาที ยกลงจากเตา นําห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้มออก 3 ) ปรับปริมาตรด้ วยน้ําต้มสุก จนครบ 1,000 มิลลิลิตร 7.2 วิธีใช้ รินเอาน้ํา ดื่มครั้งละ 50 - 100 มิลลิลิตร วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น โดยให้ดื่มขณะยังอุ่นอยู่ น้ําที่ต้มแล้ว เก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิท ที่อุณหภูมิ 2 - 8 องศาเซลเซียส (แช่ไว้ในตู้เย็น) ได้ 5 วัน โดยต้องอุ่นก่อนดื่ม 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . คําเตือน ไม่มี 10 . ข้อควรระวัง 10 . 1 ควรระวังการใช้ในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10 . 2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11 . อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา

258 เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 25 . มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองเสมหะสมุฏฐาน ชนิดผง 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองเสมหะสมุฏฐาน ชนิดผง 2 . สูตรตํารับ 2 . 1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 มะขามป้อม เนื้อผล 45 กรัม 2 สมอพิเภก เนื้อผล 3 0 กรัม 3 สมอไทย เนื้อผล 15 กรัม 2 . 2 ส่วนประกอบอื่น ๆ ไม่มี 3 . ที่มาของตํารับผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราเวชศาสตร์ฉบับหลวงรัชกาลที่ 5 เล่ม 2 4 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4 ) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5 ) บรรจุผงสมุนไพรในซองกันความชื้น ซองละ 1 . 5 กรัม 6 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ ช่วยให้ชุ่มคอ 7 . ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 ซอง ชงน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น โดยให้ดื่มขณะยังอุ่นอยู่ 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . คําเตือน ไม่มี 10 . ข้อควรระวัง 10 . 1 ควรระวังการใช้ในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10 . 2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11 . อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย 12 . ขนาดบรรจุ

259 บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 26 . มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองเสมหะสมุฏฐาน ชนิดแคปซูล 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองเสมหะสมุฏฐาน ชนิดแคปซูล 2 . สูตรตํารับ 2 . 1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 มะขามป้อม เนื้อผล 45 กรัม 2 สมอพิเภก เนื้อผล 30 กรัม 3 สมอไทย เนื้อผล 15 กรัม 2 . 2 ส่วนประกอบอื่น ๆ ไม่มี 3 . ที่มาของตํารับผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตําราเวชศาสตร์ฉบับหลวงรัชกาลที่ 5 เล่ม 2 4 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4 ) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5 ) บรรจุผงสมุนไพรลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ 7 . ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 3 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . คําเตือน ไม่มี 10 . ข้อควรระวัง 10 . 1 ควรระวังการใช้ในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10 . 2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย

260 11 . อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย 1 2 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 27 . มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองเสมหะสมุฏฐาน ชนิดต้ม 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองเสมหะสมุฏฐาน ชนิดต้ม 2 . สูตรตํารับ 2 . 1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 มะขามป้อม เนื้อผล 45 กรัม 2 สมอพิเภก เนื้อผล 3 0 กรัม 3 สมอไทย เนื้อผล 15 กรัม 2 . 2 ส่วนประกอบอื่น ๆ ไม่มี 3 . ที่มาของตํารับผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตําราเวชศาสตร์ฉบับหลวงรัชกาลที่ 5 เล่ม 2 4 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลงและมีขนาดสม่ําเสมอกัน 3 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4 ) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ 5 ) นําส่วนประกอบทั้งหมดมาผสมรวมกัน แล้วบรร จุในห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ห่อละ 90 กรัม 6 ) บรรจุห่อสมุนไพรลงในซองอะลูมิเนียมฟอยล์หรือซองที่กันความชื้นได้ 6 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ ช่วยให้ชุ่มคอ 7 . ขนาดและวิธีใช้ 7.1 วิธีการเตรียมผลิตภัณฑ์สําหรับต้ม 1 ) นําห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2 ) เติมน้ํา 1 , 000 มิลลิลิตร นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือดด้วยไฟกลาง แล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ ไฟอ่อน ๆ ต้มต่อไปอีก 30 นาที ยกลงจากเตา นําห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้มออก

261 3 ) ปรับปริมาตรด้วยน้ําต้มสุก จนครบ 1 ,000 มิลลิลิตร 7.2 วิธีใช้ รินเอาน้ํา ดื่มครั้งละ 50 - 100 มิลลิลิตร วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น โดยให้ดื่มขณะยังอุ่นอยู่ น้ําที่ต้มแล้ว เก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิท ที่อุณหภูมิ 2 - 8 องศาเซลเซียส (แช่ไว้ในตู้เย็น) ได้ 5 วัน โดยต้องอุ่นก่อนดื่ม 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . คําเตือน ไม่มี 10 . ข้อควรระวัง 10 . 1 ควรระวังการใช้ในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10 . 2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11 . อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 28 . มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองปิตตะสมุฏฐาน ชนิดผง 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองปิตตะสมุฏฐาน ชนิดผง 2 . สูตรตํารับ 2 . 1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 สมอพิเภก เนื้อผล 45 กรัม 2 สมอไทย เนื้อผล 30 กรัม 3 มะขามป้อม เนื้อผล 15 กรัม 2 . 2 ส่วนประกอบอื่น ๆ ไม่มี 3 . ที่มาของตํารับผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตําราเวชศาสตร์ฉบับหลวงรัชกาลที่ 5 เล่ม 2 4 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตร แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด

262 4 ) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5 ) บรรจุผงสมุนไพรในซองกันความชื้น ซ องละ 1.5 กรัม 6 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ มีส่วนช่วยในการย่อยอาหาร 7 . ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 ซอง ชงน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น โดยให้ดื่มขณะยังอุ่นอยู่ 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . คําเตือน ไม่มี 10 . ข้อควรระวัง 10 . 1 ควรระวังการใช้ในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10 . 2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11 . อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 29 . มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองปิตตะสมุฏฐาน ชนิดแคปซูล 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองปิตตะสมุฏฐาน ชนิดแคปซูล 2 . สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 สมอพิเภก เนื้อผล 45 กรัม 2 สมอไทย เนื้อผล 30 กรัม 3 มะขามป้อม เนื้อผล 15 กรัม 2 . 2 ส่วนประกอบอื่น ๆ ไม่มี 3 . ที่มาของตํารับผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตําราเวชศาสตร์ฉบับหลวงรัชกาลที่ 5 เล่ม 2 4 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5 . กรรมวิธีการผลิต

263 1 ) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4 ) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5 ) บรรจุผงสมุนไพรลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ มีส่วนช่วยในการย่อยอาหาร 7 . ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 3 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . คําเตือน ไม่มี 10 . ข้อควรระวัง 10 . 1 ควรระวังการใช้ในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10 . 2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11 . อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย 1 2 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 30 . มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองปิตตะสมุฏฐาน ชนิดต้ม 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองปิตตะสมุฏฐาน ชนิดต้ม 2 . สูตรตํารับ 2 . 1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 สมอพิเภก เนื้อผล 45 กรัม 2 สมอไทย เนื้อผล 3 0 กรัม 3 มะขามป้อม เนื้อผล 15 กรัม 2 . 2 ส่วนประกอบอื่น ๆ ไม่มี 3 . ที่มาของตํารับผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตําราเวชศาสตร์ฉบับหลวงรัชกาลที่ 5 เล่ม 2 4 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้เตรียมผลิตภัณฑ์

264 ไม่มี 5 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลงและมีขนาดสม่ําเสมอกัน 3 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4 ) ชั่งน้ ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ 5 ) นําส่วนประกอบทั้งหมดมาผสมรวมกัน แล้วบรรจุในห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ห่อละ 90 กรัม 6 ) บรรจุห่อสมุนไพรลงในซองอะลูมิเนียมฟอยล์หรือซองที่กันความชื้นได้ 6 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ มีส่วนช่วยในการ ย่อยอาหาร 7 . ขนาดและวิธีใช้ 7.1 วิธีการเตรียมผลิตภัณฑ์สําหรับต้ม 1 ) นําห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2 ) เติมน้ํา 1,000 มิลลิลิตร นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือดด้วยไฟกลาง แล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ไฟอ่อน ๆ ต้มต่อไปอีก 30 นาที ยกลงจากเตา นําห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้มออก 3 ) ปรับปริมาตรด้วยน้ําต้มสุก จนครบ 1,000 มิลลิลิตร 7.2 วิธีใช้ รินเอาน้ํา ดื่มครั้งละ 50 - 100 มิลลิลิตร วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น โดยให้ดื่มขณะยังอุ่นอยู่ น้ําที่ต้มแล้ว เก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิท ที่อุณหภูมิ 2 - 8 องศาเซลเซียส (แช่ไว้ในตู้เย็น) ได้ 5 วัน โดยต้องอุ่นก่อนดื่ม 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . คําเตือน ไม่มี 10 . ข้อควรระวัง 10 . 1 ควรระวังการใช้ในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10 . 2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11 . อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 31 . มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองวาตะสมุฏฐาน ชนิดผง 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองวาตะสมุฏฐาน ชนิดผง

265 2 . สูตรตํารับ 2 . 1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 สมอไทย เนื้อผล 45 กรัม 2 มะขามป้อม เนื้อผล 3 0 กรัม 3 สมอพิเภก เนื้อผล 15 กรัม 2 . 2 ส่วนประกอบอื่น ๆ ไม่มี 3 . ที่มาของตํารับผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตําราเวชศาสตร์ฉบับหลวงรัชกาลที่ 5 เล่ม 2 4 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4 ) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5 ) บรรจุผงสมุนไพรในซองกันความชื้ น ซองละ 1.5 กรัม 6 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ มีส่วนช่วยในการขับถ่าย 7 . ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 ซอง ชงน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น โดยให้ดื่มขณะยังอุ่นอยู่ 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . คําเตือน ไม่มี 10 . ข้อควรระวัง 10 . 1 ควรระวังการใช้ในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10 . 2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11 . อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม

266 ไม่มี 32 . มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองวาตะสมุฏฐาน ชนิดแคปซูล 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองวาตะสมุฏฐาน ชนิดแคปซูล 2 . สูตรตํารับ 2 . 1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 สมอไทย เนื้อผล 45 กรัม 2 มะขามป้อม เนื้อผล 30 กรัม 3 สมอพิเภก เนื้อผล 15 กรัม 2 . 2 ส่วนประกอบอื่น ๆ ไม่มี 3 . ที่มาของตํารับผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตําราเวชศาสตร์ฉบับหลวงรัชกาลที่ 5 เล่ม 2 4 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4 ) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5 ) บรรจุผงสมุนไพรลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ มีส่วนช่วยในการขับถ่าย 7 . ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 3 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น 8 . ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9 . คําเตือน ไม่มี 10 . ข้อควรระวัง 10 . 1 ควรระวังการใช้ในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10 . 2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11 . อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย 1 2 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา

267 เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 33 . มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองวาตะสมุฏฐาน ชนิดต้ม 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร มหาพิกัดตรีผลาสําหรับกองวาตะสมุฏฐาน ชนิดต้ม 2 . สูตรตํารับ 2 . 1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 สมอไทย เนื้อผล 45 กรัม 2 มะขามป้อม เนื้อผล 30 กรัม 3 สมอพิเภก เนื้อผล 15 กรัม 2 . 2 ส่วนประกอบอื่น ๆ ไม่มี 3 . ที่มาของตํารับผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตําราเวชศาสตร์ฉบับหลวงรัชกาลที่ 5 เล่ม 2 4 . วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5 . กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลงและมีขนาดสม่ําเสมอกัน 3 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4 ) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ 5 ) นํา ส่วนประกอบ ทั้งหมดมาผสมรวมกัน แล้วบรรจุในห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ห่อละ 90 กรัม 6 ) บรรจุห่อสมุนไพรลงในซองอะลูมิเนียมฟอยล์หรือซองที่กันความชื้นได้ 6 . ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ มีส่วนช่วยในการขับถ่าย 7 . ขนาดและวิธีใช้ 7 . 1 วิธีการเตรียมผลิตภัณฑ์สําหรับต้ม 1 ) นําห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2 ) เติมน้ํา 1 , 000 มิลลิลิตร นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือดด้วยไฟกลาง แล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ ไฟอ่อน ๆ ต้มต่อไปอีก 30 นาที ยกลงจากเตา นําห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่ อกระดาษสําหรับต้มออก 3 ) ปรับปริมาตรด้วยน้ําต้มสุก จนครบ 1 , 000 มิลลิลิตร 7.2 วิธีใช้ รินเอาน้ํา ดื่มครั้งละ 50 - 100 มิลลิลิตร วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น โดยให้ดื่มขณะยังอุ่นอยู่ น้ําที่ต้มแล้ว เก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิท ที่อุณหภูมิ 2 - 8 องศาเซลเซียส (แช่ไว้ในตู้เย็น) ได้ 5 วัน โดยต้องอุ่นก่อนดื่ม 8 . ข้อห้ามใช้

268 ไม่มี 9 . คําเตือน ไม่มี 10 . ข้อควรระวัง 10 . 1 ควรระวังการใช้ในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10 . 2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11 . อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 3 4 . ตรีกฏุก ชนิดผง 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีกฏุก ชนิด ผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วน ประกอบ สําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 พริกไทย ผลแก่ 3 0 กรัม 2 ขิง เหง้า 3 0 กรัม 3 ดีปลี ช่อผล 3 0 กรัม 2. 2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อน ใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบ ตามสูตร ตํารับ แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4 ) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5 ) บรรจุผ งสมุนไพร ในซองกันความชื้น ซองละ 1 . 5 กรัม 6. ข้อ ความ กล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับลมและลดอาการท้องอืด และมีส่วนช่วยลดอาการที่ เกิดจากสภาวะอาหารไม่ย่อย 7. ขนาดและวิธีใช้

269 ครั้งละ 1 ซอง ชงน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิ ลิตร ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที ดื่ม วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็ก 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10 .1 ไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์นี้ในฤดูร้อน เพราะอาจ ส่งผลให้ไฟธาตุกําเริบ 10 .2 ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการจับ ตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) 10 .3 ควรระวั งการใช้ ร่วมกั บยา phenytoin, propranolol, the ophylline และ rifampicin เนื่องจากผลิตภัณฑ์นี้มีพริกไทยและดีปลีในปริมาณสูง 10 .4 ควรระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ และผู้มีความดันโลหิตสูง 10.5 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 3 5 . ตรีกฏุก ชนิดแคปซูล 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีกฏุก ชนิด แคปซูล 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบ สําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 พริกไทย ผลแก่ 3 0 กรัม 2 ขิง เหง้า 3 0 กรัม 3 ดีปลี ช่อผล 3 0 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี

270 5. กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบ ตามสูตร ตํารับ แล้วน ํา มารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4 ) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5 ) บรรจุผง สมุนไพร ลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. ข้อ ค วาม กล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับลมและลดอาการท้องอืด และมีส่วนช่วยลดอาการที่เกิดจากสภาวะอาหารไม่ย่อย 7. ขนาดและวิธีใช้ กิน ครั้งละ 3 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็ก 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์นี้ในฤดูร้อน เพราะอาจ ส่งผลให้ไฟธาตุกําเริบ 10.2 ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการจับ ตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) 10.3 ควรระวั งการใช้ ร่วมกั บยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากผลิตภัณฑ์นี้มีพริกไทยและดีปลีในปริมาณสูง 10.4 ควรระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ และผู้มีความดันโลหิตสูง 10.5 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แ ผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 1 2 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 3 6 . ตรีกฏุก ชนิดต้ม 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีกฏุก ชนิดต้ม 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบ สําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 พริกไทย ผลแก่ 3 0 กรัม 2 ขิง เหง้า 3 0 กรัม

271 ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 3 ดีปลี ช่อผล 3 0 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลง และมีขนาดสม่ําเสมอกัน 3) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบ ตามสูตรตํารับ 5) นํา ส่วนประกอบ ทั้งหมดมาผสมรวมกัน แล้ วบรรจุในห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ห่อละ 90 กรัม 6) บรรจุ ห่อ สมุนไพร ลงในซองอะลูมิเนียมฟอยล์หรือซองที่กันความชื้นได้ 6. ข้อ ความ กล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับลมและลดอาการท้องอืด และมีส่วนช่วยลดอาการที่เกิดจากสภาวะอาหารไม่ย่อย 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 วิธีการเตรียมผลิตภัณฑ์สําหรับต้ม 1) นํา ห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2) เติมน้ํา 2,000 มิลลิลิตร นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือดด้วยไฟแรง แล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ ไฟอ่ อน ๆ จนเหลื อปริมาตรประมาณ 1,000 มิลลิลิตร (โดยทั่วไปใช้เวลาประมาณ 30 นาที) ยกลงจากเตา นําห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้มออก 3) ปรับปริมาตรด้วยน้ําต้มสุก จนครบ 1,000 มิลลิลิตร 7.2 วิธีใช้ รินเอาน้ํา ครั้งละ 50 - 100 มิลลิลิตร ดื่ม วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ น้ําที่ต้มแล้ว เก็บไว้ ในภาชนะที่ปิดสนิท ที่อุณหภูมิ 2 - 8 องศาเซลเซียส (แช่ไว้ในตู้เย็น ) ได้ 5 วัน โดยต้องอุ่นก่อนดื่มทุกครั้ง 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็ก 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์นี้ในฤดูร้อน เพราะอาจ ส่งผลให้ไฟธาตุกําเริบ 10.2 ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการจับ ตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)

272 10.3 ควรระวั งการใช้ ร่วมกั บยา phenytoin, propranolol, the ophylline และ rifampicin เนื่องจากผลิตภัณฑ์นี้มีพริกไทยและดีปลีในปริมาณสูง 10.4 ควรระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ และผู้มีความดันโลหิตสูง 10.5 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 3 7 . ตรีผลสมุฏฐาน ชนิดผง 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีผลสมุฏฐาน ชนิด ผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบ สําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 มะตูม ผลอ่อน 30 กรัม 2 ยอ ผล อ่อน 3 0 กรัม 3 ลูก ผักชีลา ผล 3 0 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วน ํา มารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) บรรจุผง สมุนไพร ในซองกันความชื้น ซองละ 1.5 กรัม 6. ข้อ ความ กล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ มีส่วน ช่วยในการขับลม และช่วยเพิ่มความอยากอาหาร 7. ขนาดและวิธีใช้

273 ครั้งละ 1 ซอง ชงน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที ดื่มวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 3 8 . ตรีผลสมุฏฐาน ชนิดแคปซูล 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีผลสมุฏฐาน ชนิด แคปซูล 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 มะตูม ผลอ่อน 30 กรัม 2 ยอ ผล อ่อน 3 0 กรัม 3 ลูก ผักชีลา ผล 3 0 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นํา สมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบ ตามสูตร ตํารับ แล้วน ํา มารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) บรรจุผง สมุนไพร ลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม

274 6. ข้อ ความ กล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ มีส่วน ช่วยในการขับลม และช่วยเพิ่มความอยากอาหาร 7. ขนาดและวิธีใช้ กิน ครั้งละ 3 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 1 2 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 39 . ตรีผลสมุฏฐาน ชนิดต้ม 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีผลสมุฏฐาน ชนิด ต้ม 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 มะตูม ผลอ่อน 30 กรัม 2 ยอ ผล อ่อน 3 0 กรัม 3 ลูก ผักชีลา ผล 3 0 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลง และมีขนาดสม่ําเสมอกัน 3) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง

275 4) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบ ตามสูตรตํารับ 5) นําส่วนประกอบทั้งหมดมา ผสมรวมกัน แล้วบรรจุในห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ห่อละ 90 กรัม 6) บรรจุ ห่อสมุนไพรลงในซองอะลูมิเนียมฟอยล์หรือซองที่กันความชื้นได้ 6. ข้อ ความ กล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ มีส่วน ช่วยในการขับลม และช่วยเพิ่มความอยากอาหาร 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 วิธีการเตรียมผลิตภัณฑ์สําหรับต้ม 1) นํา ห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2) เติมน้ํา 2,000 มิลลิลิตร นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือดด้วยไฟแรง แล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ ไฟอ่อน ๆ จนเหลือปริมาตรประมาณ 1,000 มิลลิลิตร (โดยทั่วไปใช้เวลาประมาณ 30 นาที) ยกลง จากเตา นําห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้มออ ก 3) ปรับปริมาตรด้วยน้ําต้มสุก จนครบ 1 ,000 มิลลิลิตร 7.2 วิธีใช้ รินเอาน้ํา ครั้งละ 50 - 100 มิลลิลิตร ดื่ม วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ น้ําที่ต้มแล้ว เก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิท ที่อุณหภูมิ 2 - 8 องศาเซลเซียส (แช่ไว้ในตู้เย็น) ได้ 5 วัน โดยต้องอุ่นก่อนดื่มทุกครั้ง 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 40 . ตรีกาลพิษ ชนิดผง 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีกาลพิษ ชนิด ผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบ สําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 กระชาย เหง้าและ ราก 30 กรัม 2 ข่า เหง้า 30 กรัม

276 ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 3 กะเพรา ราก 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบ ตามสูตร แล้วน ํา มารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) บรรจุผง สมุนไพร ในซองกันความชื้น ซองละ 1.5 กรัม 6. ข้อความกล่า วอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ และ มีส่วน ช่วย ในการ ขับลม 7. ขนาดและวิธีใช้ ครั้งละ 1 ซอง ชงน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที ดื่มวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 41 . ตรีกาลพิษ ชนิดแคปซูล 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีกาลพิษ ชนิด แคปซูล 2. สูตรตํารับ

277 2.1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 กระชาย เหง้าและ รา ก 30 กรัม 2 ข่า เหง้า 30 กรัม 3 กะเพรา ราก 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นํา สมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบ ตามสูตร ตํารับ แล้วน ํา มารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) บรรจุผง สมุนไพร ลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ และ มีส่วน ช่วย ในการ ขับลม 7. ขนาดและวิธีใช้ กิน ครั้งละ 3 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 1 2 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี

278 42 . ตรีกาลพิษ ชนิดต้ม 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีกาลพิษ ชนิด ต้ม 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบ สําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 กระชาย เหง้าและ ราก 30 กรัม 2 ข่า เหง้า 30 กรัม 3 กะเพรา ราก 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลง และมีขนาดสม่ําเสมอกัน 3) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบ ตามสูตรตํารับ 5) นํา ส่วนประกอบ ทั้งหมดมาผสมรวมกัน แล้วบรรจุในห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ห่อละ 90 กรัม 6) บรรจุห่อสมุนไพรลงในซองอะลูมิเนียมฟอยล์ หรือซองที่กันความชื้นได้ 6. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยปรับสมดุลธาตุ และ มีส่วน ช่วย ในการ ขับลม 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 วิธีการเตรียมผลิตภัณฑ์สําหรับต้ม 1) นําห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2) เติมน้ํา 2,000 มิลลิลิตร นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือดด้วยไฟแรง แล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ ไฟอ่ อน ๆ จนเหลื อปริมาตรประมาณ 1,000 มิลลิ ลิตร (โดยทั่ วไปใช้ เวลาประมาณ 30 นาที) ยกลงจากเตา นําห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้มออก 7.2 วิธีใช้ รินเอาน้ํา ครั้งละ 50 - 100 มิลลิลิตร ดื่ม วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ น้ําที่ต้มแล้ว เก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิท ที่อุณหภูมิ 2 - 8 องศาเซลเซียส (แช่ไว้ในตู้เย็น) ได้ 5 วัน โดย ต้อง อุ่นก่อนดื่มทุกครั้ง 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน

279 ไม่มี 10. ข้อควรระวัง หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 43 . ตรีสันนิบาตผล ชนิดผง 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีสันนิบาตผล ชนิด ผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 พริกไทย ราก 30 กรัม 2 ดีปลี ช่อผล 30 กรัม 3 กะเพรา ราก 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วนํามา รวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) บรรจุผง สมุนไพร ในซองกันความชื้น ซองละ 1.5 กรัม 6. ข้อควา มกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับลมและลดอาการท้องอืด 7. ขนาดและวิธีใช้ ครั้งละ 1 ซอง ชงน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที ดื่มวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ 8. ข้อห้ามใช้

280 ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็ก 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการจับ ตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) 10.2 ควรระวั งการใช้ ร่วมกั บยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากผลิตภัณฑ์นี้มีดีปลีในปริมาณสูง 10.3 ควรระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ และผู้มีความดันโลหิตสูง 10.4 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 44 . ตรีสันนิบาตผล ชนิดแคปซูล 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีสันนิบาตผล ชนิด แคปซูล 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 พริกไทย ราก 30 กรัม 2 ดีปลี ช่อผล 30 กรัม 3 กะเพรา ราก 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นํา สมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วนํา มารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด

281 4) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) บรรจุผง สมุนไพร ลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับลมและลดอาการท้องอืด 7. ขนาดและวิธีใช้ กิน ครั้งละ 3 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็ก 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการจับ ตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) 10.2 ควรระวั งการใช้ ร่ว มกั บยำ phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากผลิตภัณฑ์นี้มีดีปลีในปริมาณสูง 10.3 ควรระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ และผู้มีความดันโลหิตสูง 10.4 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 1 2 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 45. ตรีสันนิบาตผล ชนิดต้ม 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีสันนิบาตผล ชนิด ต้ม 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบ สําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 พริกไทย ราก 30 กรัม 2 ดีปลี ช่อผล 30 กรัม 3 กะเพรา ราก 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1

282 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นํา สมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลงและมีขนาดสม่ําเสมอกัน 3) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบ ตามสูตรตํารับ 5) นํา ส่วนประกอบ ทั้งหมดมาผสมรวมกัน แล้ วบรรจุในห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ห่อละ 90 กรัม 6) บรรจุ ห่อ สมุนไพร ลงในซองอะลูมิเนียมฟอยล์หรือซองที่กันความชื้นได้ 6. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับลมและลดอาการท้องอืด 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 วิธีการเตรียมผลิตภัณฑ์สําหรับต้ม 1) นําห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2) เติมน้ํา 2,000 มิลลิลิตร นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือดด้วยไฟแรง แล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ ไฟอ่อน ๆ จนเหลือปริมาตรประมาณ 1,000 มิลลิลิตร (โดยทั่วไปใช้เวลาประมาณ 30 นาที) ยกลง จากเตา นําห่อผ้าขาวบำงหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้มออก 3) ปรับปริมาตรด้วยน้ําต้มสุก จนครบ 1,000 มิลลิลิตร 7.2 วิธีใช้ รินเอาน้ํา ครั้งละ 50 - 100 มิลลิลิตร ดื่ม วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ น้ําที่ต้มแล้ว เก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิท ที่อุณหภูมิ 2 - 8 องศาเซลเซียส (แช่ไว้ในตู้เย็น) ได้ 5 วัน โดยต้องอุ่นก่อนดื่มทุกครั้ง 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็ก 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการจับ ตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) 10.2 ควรระวั งการใช้ ร่วมกั บยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากผลิตภัณฑ์นี้มี ดีปลีในปริมาณสูง 10.3 ควรระมัดระวัง การใช้ในผู้สูงอายุ และผู้มีความดันโลหิตสูง 10.4 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ

283 บรรจุในภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 46 . ตรีพิษจักร ชนิดผง 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีพิษจักร ชนิด ผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบ สําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 ลูกจันทน์ เมล็ด 30 กรัม 2 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 30 กรัม 3 ลูก ผักชีล้อม ผล 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อน ใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบ ตามสูตร ตํารับ แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4 ) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5 ) บรรจุผ งสมุนไพร ในซองกันความชื้น ซองละ 1 . 5 กรัม 6. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับลม 7. ขนาดและวิธีใช้ ครั้งละ 1 ซอง ชงน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิ ลิตร ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที ดื่ม วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย

284 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 47 . ตรีพิษจักร ชนิดแคปซูล 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีพิษจักร ชนิด แคปซูล 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบ สําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 ลูก จันทน์ เมล็ด 30 กรัม 2 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 30 กรัม 3 ลูกผักชีล้อม ผล 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อน ใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบ ตามสูตร ตํารับ แล้วน ํา มารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4 ) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5 ) บรรจุผง สมุนไพร ลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับลม 7. ขนาดและวิธีใช้ กิน ครั้งละ 3 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี

285 10. ข้อควรระวัง หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 1 2 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 48 . ตรีพิษจักร ชนิดต้ม 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีพิษจักร ชนิด ต้ม 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 ลูก จันทน์ เมล็ด 30 กรัม 2 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 30 กรัม 3 ลูกผักชีล้อม ผล 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพ ทย์ ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อน ใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลง และมีขนาดสม่ําเสมอกัน 3) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบ ตามสูตรตํารับ 5) นํา ส่วนประกอบ ทั้งหมดมาผสมรวมกัน แล้ วบรรจุในห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อก ระดาษสําหรับต้ม ห่อละ 90 กรัม 6) บรรจุ ห่อ สมุนไพร ลงในซองอะลูมิเนียมฟอยล์หรือซองที่กันความชื้นได้ 6. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับลม 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 วิธีการเตรียมผลิตภัณฑ์สําหรับต้ม

286 1) นํา ห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2) เติมน้ํา 2,000 มิลลิลิตร นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือดด้วยไฟแรง แล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ ไฟอ่อน ๆ จนเหลือปริมาตรประมาณ 1,000 มิลลิลิตร (โดยทั่วไปใช้เวลาประมาณ 30 นาที) ยกลง จากเตา นําห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้มออก 3) ปรับปริมาตรด้วยน้ําต้มสุก จนครบ 1,000 มิลลิลิตร 7.2 วิธีใช้ รินเอาน้ํา ครั้งละ 50 - 100 มิลลิลิตร ดื่ม วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ น้ําที่ต้มแล้ว เก็บไว้ ในภาชนะที่ปิดสนิท ที่อุณหภูมิ 2 - 8 องศาเซลเซียส (แช่ไว้ในตู้เย็น ) ได้ 5 วัน โดยต้องอุ่นก่อนดื่มทุกครั้ง 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 49 . ตรีสมอ ชนิดผง 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีสมอ ชนิด ผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 สมอไทย เนื้อผล 30 กรัม 2 สมอพิเภก เนื้อผล 30 กรัม 3 สมอเทศ ผล 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตํารา เวชศึกษา แพทย์ ศาสตร์สังเขป 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อน ใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต

287 1) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วน ํา มารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) บรรจุผง สมุนไพร ในซองกันความชื้น ซองละ 1.5 กรัม 6. ข้อ ความ กล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับถ่าย 7. ขนาดและวิธีใช้ ครั้งละ 1 ซอง ชงน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที ดื่มวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10.2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 50 . ตรีสมอ ชนิดแคปซูล 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีสมอ ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 สมอไทย เนื้อผล 30 กรัม 2 สมอพิเภก เนื้อผล 30 กรัม 3 สมอเทศ ผล 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป

288 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นํา สมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบ ตามสูตร ตํารับ แล้วน ํา มารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) บรรจุผง สมุนไพร ลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. ข้อ ความ กล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับถ่าย 7. ขนาดและวิธีใช้ กิน ครั้งละ 3 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10.2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย 1 2 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 51 . ตรีสมอ ชนิดต้ม 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีสมอ ชนิดต้ม 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 สมอไทย เนื้อผล 30 กรัม 2 สมอพิเภก เนื้อผล 30 กรัม 3 สมอเทศ ผล 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี

289 3. ที่มาของผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตําราเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อน ใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลงและมีขนาดสม่ําเสมอกัน 3) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ 5) นําส่วนประกอบทั้งหมดมาผสมรวมกัน แล้วบรรจุในห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ห่อละ 90 กรัม 6) บรรจุห่อสมุนไพรลงในซองอะลูมิเนียมฟอยล์หรือซองที่กันความชื้นได้ 6. ข้อ ความ กล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับถ่าย 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 วิธีการเตรียมผลิตภัณฑ์สําหรับต้ม 1) นํา ห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2) เติมน้ํา 2,000 มิลลิลิตร นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือดด้วยไฟแรง แล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ ไฟอ่ อน ๆ จนเหลื อปริมาตรประมาณ 1,000 มิลลิ ลิตร (โดยทั่วไปใช้เวลาประมาณ 30 นาที) ยกลงจากเตา นําห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้มออก 3) ปรับป ริมาตรด้วยน้ําต้มสุก จนครบ 1,000 มิลลิลิตร 7.2 วิธีใช้ รินเอาน้ํา ครั้งละ 50 - 100 มิลลิลิตร ดื่ม วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ น้ําที่ต้มแล้ว เก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิท ที่อุณหภูมิ 2 - 8 องศาเซลเซียส (แช่ไว้ในตู้เย็น ) ได้ 5 วัน โดยต้องอุ่นก่อนดื่มทุกครั้ง 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10.2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง

290 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 52 . ตรีสัตตกุลา ชนิดผง 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีสัตตกุลา ชนิด ผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอ บ สําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 ขิงแห้ง เหง้า 30 กรัม 2 ลูกผักชีลา ผล 30 กรัม 3 เทียนดํา เมล็ด 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อน ใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) บรรจุผงสมุนไพรในซองกันความชื้ น ซองละ 1.5 กรัม 6. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับลมและลดอาการท้องอืด 7. ขนาดและวิธีใช้ ครั้งละ 1 ซอง ชงน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิ ลิตร ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที ดื่ม วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ

291 บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 53 . ตรีสัตตกุลา ชนิดแคปซูล 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีสัตตกุลา ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบ สําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 ขิงแห้ง เหง้า 30 กรัม 2 ลูกผักชีลา ผล 30 กรัม 3 เทียนดํา เมล็ด 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ ไทย แผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อน ใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4 ) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5 ) บรรจุผงสมุนไพรลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับลมและลดอาการท้องอืด 7. ขนาดและวิธีใช้ กิน ครั้งละ 3 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์

292 ยังไม่มีรายงาน 1 2 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 54 . ตรีสัตตกุลา ชนิดต้ม 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีสัตตกุลา ชนิดต้ม 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบ สําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 ขิงแห้ง เหง้า 30 กรัม 2 ลูกผักชีลา ผล 30 กรัม 3 เทียนดํา เมล็ด 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อน ใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลงและมีขนาดสม่ําเสมอกัน 3) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ 5) นําส่วนประกอบทั้งหมดมาผสมรวมกัน แล้วบรรจุในห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ห่อละ 90 กรัม 6) บรรจุห่อสมุนไพรลงในซองอะลูมิเนียมฟอยล์หรือซองที่กันความชื้นได้ 6. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับลมและลดอาการท้องอืด 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 วิธีการเตรียมผลิตภัณฑ์สําหรับต้ม 1) นํา ห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม

293 2) เติมน้ํา 2,000 มิลลิลิตร นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือดด้วยไฟแรง แล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ ไฟอ่ อน ๆ จนเหลื อปริมาตรประมาณ 1,000 มิลลิ ลิตร (โดยทั่วไปใช้เวลาประมาณ 30 นาที) ยกลงจากเตา นําห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้มออ ก 3) ปรับปริมาตรด้วยน้ําต้มสุก จนครบ 1,000 มิลลิลิตร 7.2 วิธีใช้ รินเอาน้ํา ครั้งละ 50 - 100 มิลลิลิตร ดื่มวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ น้ําที่ต้มแล้ว เก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิท ที่อุณหภูมิ 2 - 8 องศาเซลเซียส (แช่ไว้ในตู้เย็น ) ได้ 5 วัน โดยต้องอุ่นก่อนดื่มทุกครั้ง 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 55 . ตรีคันธวาต ชนิดผง 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีคันธวาต ชนิด ผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบ สําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 เร่วใหญ่ เมล็ด 30 กรัม 2 ลูกจันทน์ เมล็ด 30 กรัม 3 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อน ใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต

294 1) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5) บรรจุผงสมุนไพรในซองกันความชื้ น ซองละ 1.5 กรัม 6. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับลมและลดอาการท้องอืด 7. ขนาดและวิธีใช้ ครั้งละ 1 ซอง ชงน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิ ลิตร ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที ดื่ม วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอ ยู่ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 56 . ตรีคันธ วาต ชนิดแคปซูล 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีคันธวาต ชนิดแคปซูล 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบ สําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 เร่วใหญ่ เมล็ด 30 กรัม 2 ลูกจันทน์ เมล็ด 30 กรัม 3 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1

295 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อน ใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4 ) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5 ) บรรจุผงสมุนไพรลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับลมและลดอาการท้องอืด 7. ขนาดและวิธีใช้ กิน ครั้งละ 3 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 1 2 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 57 . ตรีคันธวาต ชนิดต้ม 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตรีคันธวาต ชนิดต้ม 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอ บสําคัญ น้ําหนักรวม 90 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 เร่วใหญ่ เมล็ด 30 กรัม 2 ลูกจันทน์ เมล็ด 30 กรัม 3 กานพลู ดอกตูมก่อนบาน 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี

296 3. ที่มาของผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุง ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลงและมีขนาดสม่ําเสมอกัน 3) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ 5) นําส่วนประกอบทั้งหมดมาผสมรวมกัน แล้วบรรจุในห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ห่อละ 90 กรัม 6) บรรจุห่อสมุนไพรลงในซองอะลูมิเนียมฟอยล์หรือซองที่กันความชื้นได้ 6. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับลมและลดอาการท้องอืด 7. ขนาดและวิธีใช้ 7.1 วิธีการเตรียมผลิตภัณฑ์สําหรับต้ม 1) นํา ห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2) เติมน้ํา 2,000 มิลลิลิตร นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือดด้วยไฟแรง แล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ ไฟอ่ อน ๆ จนเหลื อปริมาตรประมาณ 1,000 มิลลิ ลิตร (โดยทั่วไปใช้เวลาประมาณ 30 นาที) ยกลงจากเตา นําห่อผ้าขาวบา งหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้มออ ก 3) ปรับปริมาตรด้วยน้ําต้มสุก จนครบ 1,000 มิลลิลิตร 7.2 วิธีใช้ รินเอาน้ํา ครั้งละ 50 - 100 มิลลิลิตร ดื่มวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ น้ําที่ต้มแล้ว เก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิท ที่อุณหภูมิ 2 - 8 องศาเซลเซียส (แช่ไว้ในตู้เย็น ) ได้ 5 วัน โดยต้องอุ่นก่อนดื่มทุกครั้ง 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง

297 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 58 . จตุผลาธิกะ ชนิดผง 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร จตุผลาธิกะ ชนิด ผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบ สําคัญ น้ําหนักรวม 120 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 สมอไทย เนื้อผล 30 กรัม 2 สมอพิเภก เนื้อผล 30 กรัม 3 มะขามป้อม เนื้อผล 30 กรัม 4 สมอเทศ ผล 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทยศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อน ใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมา ะสม 2 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบ ตามสูตร ตํารับ แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4 ) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 5 ) บรรจุผ งสมุนไพร ในซองกันความชื้น ซองละ 1 . 5 กรัม 6. ข้อ ความ กล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับถ่าย 7. ขนาดและวิธีใช้ ครั้งละ 1 ซอง ชงน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิ ลิตร ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที ดื่ม วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการใช้ในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10.2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย

298 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 59 . จตุผลาธิกะ ชนิดแคปซูล 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร จตุผลาธิกะ ชนิด แคปซูล 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบ สําคัญ น้ําหนักรวม 120 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 สมอไทย เนื้อผล 30 กรัม 2 สมอพิเภก เนื้อผล 30 กรัม 3 มะขามป้อม เนื้อผล 30 กรัม 4 สมอเทศ ผล 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทยศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อน ใช้เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1 ) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2 ) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3 ) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบ ตามสูตร ตํารับ แล้วน ํา มารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4 ) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5 ) บรรจุผง สมุนไพร ลงแคปซูล แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม 6. ข้อ ค วาม กล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับถ่าย 7. ขนาดและวิธีใช้ กิน ครั้งละ 3 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง

299 10.1 ควรระวังการใช้ในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10.2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย 1 2 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 แคปซูล ต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 60. จตุผลาธิกะ ชนิดต้ม 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร จตุผลาธิกะ ชนิด ต้ม 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบ สําคัญ น้ําหนักรวม 12 0 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 สมอไทย เนื้อผล 30 กรัม 2 สมอพิเภก เนื้อผล 30 กรัม 3 มะขามป้อม เนื้อผล 30 กรัม 4 สมอเทศ ผล 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตําราแพทยศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 1 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เล็กลงและมีขนาดสม่ําเสมอกัน 3) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4) ชั่งน้ําหนักส่วนประกอบตามสูตรตํารับ 5) นําส่วนประกอบทั้งหมดมาผสมรวมกัน แล้วบรรจุในห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ห่อละ 12 0 กรัม 6) บรรจุห่อสมุนไพรลงในซองอะลูมิเนียมฟอยล์หรือซองที่กันความชื้นได้ 6. ข้อ ความ กล่าวอ้างทางสุขภาพ มีส่วนช่วยในการขับถ่าย 7. ขนาดและวิธีใช้

300 7.1 วิธีการเตรียมผลิตภัณฑ์สําหรับต้ม 1) นํา ห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2) เติมน้ํา 1,000 มิลลิลิตร นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือดด้วยไฟกลาง แล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ ไฟอ่อน ๆ ต้มต่อไปอีก 30 นาที ยกลงจากเตา นํา ห่อผ้าขาวบางหรือซองเยื่อกระดาษสําหรับต้ม ออก 3) ปรับปริมาตรด้วยน้ําต้มสุก จนครบ 1,000 มิลลิลิตร 7.2 วิธีใช้ รินเอาน้ํา ครั้งละ 50 - 100 มิลลิลิตร ดื่ม วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ น้ําที่ต้มแล้ว เก็บไว้ ในภาชนะที่ปิดสนิท ที่อุณหภูมิ 2 - 8 องศาเซลเซียส (แช่ไว้ในตู้เย็น ) ได้ 5 วัน โดยต้องอุ่นก่อนดื่มทุกครั้ง 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระวังการใช้ในผู้ที่ท้องเสียง่าย 10.2 หากต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ควรปรึกษาแพทย์แผนไทย 11. อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม ซองละ ไม่เกิน 3 ถุงผ้าขาวบาง 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 61 . เกสรทั้ง 5 ชนิดชง 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร เกสรทั้ง 5 ชนิดชง 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบ สําคัญ น้ําหนักรวม 150 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 มะลิ ดอก 30 กรัม 2 พิกุล ดอก 3 0 กรัม 3 บุนนาค ดอก 30 กรัม 4 สารภี ดอก 30 กรัม 5 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตํารา ประมวลหลักเภสัช

301 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วน ํา มารวมกัน จากนั้นบด หยาบ 4) บรรจุผง สมุนไพร ในซอง เยื่อกระดาษ ซองละ 1.5 กรัม 6. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยทําให้รู้สึกสดชื่น แจ่มใส 7. ขนาดและวิธีใช้ ครั้งละ 1 ซอง แช่ในน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที ดื่ม วันละ 2 - 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า - (กลางวัน) - เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้เกสรดอกไม้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 1 2 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 62 . เกสรทั้ง 7 ชนิดชง 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร เกสรทั้ง 7 ชนิดชง 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 210 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 มะลิ ดอก 30 กรัม 2 พิกุล ดอก 3 0 กรัม 3 บุนนาค ดอก 30 กรัม 4 สารภี ดอก 30 กรัม 5 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 30 กรัม 6 จําปา ดอก 30 กรัม 7 กระดังงา ดอก 30 กรัม

302 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตํารา ประมวลหลักเภสัช 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วน ํา มารวมกัน จากนั้นบด หยาบ 4) บรรจุผง สมุนไพร ในซอง เยื่อกระดาษ ซองละ 1.5 กรัม 6. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยทําให้รู้สึกสดชื่น แจ่มใส 7. ขนาดและวิธีใช้ ครั้งละ 1 ซอง แช่ในน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที ดื่มวันละ 2 - 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า - (กลางวัน) - เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 63 . เกสรทั้ง 9 ชนิดชง 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร เกสรทั้ง 9 ชนิดชง 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 270 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 มะลิ ดอก 30 กรัม 2 พิกุล ดอก 3 0 กรัม 3 บุนนาค ดอก 30 กรัม

303 ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 มะลิ ดอก 30 กรัม 4 สารภี ดอก 30 กรัม 5 บัวหลวง เกสรเพศผู้ 30 กรัม 6 จําปา ดอก 30 กรัม 7 กระดังงา ดอก 30 กรัม 8 ลําเจียก ดอก 30 กรัม 9 ลําดวน ดอก 30 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตํารา ประมวลหลักเภสัช 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วน ํา มารวมกัน จากนั้นบด หยาบ 4) บรรจุผง สมุนไพร ในซอง เยื่อกระดาษ ซองละ 1.5 กรัม 6. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยทําให้รู้สึกสดชื่น แจ่มใส 7. ขนาดและวิธีใช้ ครั้งละ 1 ซอง แช่ในน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที ดื่มวันละ 2 - 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า - ( กลางวัน ) - เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ 8. ข้อห้ามใช้ ไม่มี 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จํานวนไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี

304 64 . ตํารับสมุนไพรบํารุงร่างกาย สูตร 1 ชนิดลูกกลอน 1 . ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตํารับสมุนไพรบํารุงร่างกาย สูตร 1 ชนิด ลูกกลอน 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 180 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 ทิ้งถ่อน เปลือกต้น 15 กรัม 2 ตะโกนา เปลือกต้น 15 กรัม 3 บอระเพ็ด เถา 15 กรัม 4 ข่อย เมล็ด 15 กรัม 5 แห้วหมู เหง้า 15 กรัม 6 พริกไทยดํา ผลแก่ 15 กรัม 7 น้ําผึ้ง - 90 กรัม* * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตํารายาพิเศษ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ 3.2 คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 3 3.3 รายการตํารับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ เตรียมผลิตภัณฑ์ การเคี่ยวน้ําผึ้ง : นําน้ําผึ้งเคี่ยวด้วยไฟแรง จนเดือดเป็นฟองใหญ่ เคี่ยวจนกระทั่งฟองมีขนาดเล็ก และ ละเอียด ยกลงจาก เตา ได้น้ําผึ้งสีน้ําตาลเข้มขึ้น 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นํา สมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) อบที่อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบตามสูตรตํารับ แล้วนํา มารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 4) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 80 - 100 5) นําผงยาในข้อ 4 มาผสมกับน้ําผึ้ง ที่เคี่ยวแล้ว ให้เข้ากัน แล้วปั้นเป็นเม็ดลูกกลอน 6) นํายาลู กกลอนที่ได้ไปอบที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 6 ชั ่ วโมง หรือ จนแห้ง ได้ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร น้ําหนักเม็ดละ 800 มิลลิกรัม 6. ข้อ ความ กล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยบํารุงร่างกาย 7. ขนาดและวิธีใช้ กิน ครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็ก 9. คําเตือน ไม่มี

305 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ 10.2 ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่มและยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด 10.3 ควรระวั งการใช้ ร่วมกั บ ยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจาก ตํา รับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี 65 . ตํารับสมุนไพรบํารุงร่างกาย สูตร 2 ชนิดลู ก กลอน 1. ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตํารับสมุนไพรบํารุงร่างกาย สูตร 2 ชนิดลูกกลอน 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 2,000 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 มะตูมนิ่ม ผล 500 กรัม 2 กล้วยน้ําไท ผลสุก 500 กรัม 3 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 500 กรัม 4 น้ําผึ้ง - 500 กรัม* * น้ําหนักของตัวยาที่ผ่านการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ปรุงยาตามข้อ 4 แล้ว 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 ตํารายาพิเศษ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ 3.2 ตํารา อายุรเวทศึกษา เล่ม 2 3.3 รายการตํารับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ เตรียมผลิตภัณฑ์ การเคี่ยวน้ําผึ้ง : นําน้ําผึ้งเคี่ยวด้วยไฟแรง จนเดือดเป็นฟองใหญ่ เคี่ยวจนกระทั่งฟองมีขนาดเล็ก และ ละเอียด ยกลงจา กเตา ได้น้ําผึ้งสีน้ําตาลเข้มขึ้น 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม โดยมะตูมนิ่มและกล้วยน้ํา ไทใช้เฉพาะส่วนเนื้อผล 2) อบพริกไทยล่อนที่อุณหภูมิ 40 - 45 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 - 2 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 3) นําพริกไทยล่อนจากข้อ 2 บดละเอียด และนําไปผ่านแร่งเบอร์ 80

306 4) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบตามสูตรตํารับ 5) นําเนื้อผลมะตูมนิ่ม (สด) เนื้อผลกล้วยน้ําไท (สด) ผงพริกไทยล่อน และน้ําผึ้งที่เคี่ยวแล้ว 450 กรัม มาบดผสมรวมกัน ให้เป็นเนื้อเดียวกัน 6) นําส่วนผสมในข้อ 5 นึ่งด้วยไ ฟแรงเป็นเวลา 10 นาที 7) นําส่วนผสมในข้อ 6 มานวดผสมกับน้ําผึ้ งที่เคี่ยวแล้ว 50 กรัม จนสม่ําเสมอ ตั้งทิ้งไว้ 12 ชั่วโมง 8) นําส่วนผสมที่ได้ในข้อ 7 มาปั้นเป็นเม็ดลูกกลอน 9) นําเม็ดลูกกลอนที่ได้ ไปอบที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส นาน 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง ได้ผลิตภัณฑ์ สมุนไพร น้ําหนักเม็ดละ 450 มิลลิกรัม 6. ข้อ ความ กล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยบํารุงร่างกาย 7. ขนาดและวิธีใช้ กิน ครั้งละ 2 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็ก 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ 10.2 ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่มและยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด 10.3 ควรระวั งการใช้ ร่วมกั บ ยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจาก ตํา รับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง 1 1. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุในขวดพลาสติกหรือขวดแก้ว หรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวนไม่เกิน 120 เม็ด ต่อ ภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม 1 4 .1 ปริมาณของพริกไทย ในยาตํารับนี้เท่ากับปริมาณของผลมะตูมนิ่ม 1 ผล และผลกล้วยน้ําไท 1 หวี 1 4 .2 ตํารับนี้โบราณระบุให้ “ทําเป็นแผ่นตากแดดให้แห้งแล้วลงครกป่นให้แหลกละเอียดเอาผสมกับ น้ําผึ้ง” แต่อาจทําเป็นรูปแบบยาลูกกลอนได้ เพื่อให้สะดวกในการกินและเก็บไว้ได้นาน 66 . ตํารับสมุนไพรบํารุงร่างกำย สูตร 3 ชนิดผง 1. ชื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตํารับสมุนไพรบํารุงร่างกาย สูตร 3 ชนิดผง 2. สูตรตํารับ 2.1 ส่วนประกอบสําคัญ น้ําหนักรวม 3,000 กรัม ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 1 กระชาย เหง้าและราก 500 กรัม

307 ลําดับ ชื่อไทย ส่วนที่ใช้ น้ําหนัก 2 แห้วหมู เหง้า 500 กรัม 3 บัวบก หัว 500 กรัม 4 พริกไทยล่อน เมล็ดจากผลสุก 1,500 กรัม 2.2 ส่วนประกอบ อื่น ๆ ไม่มี 3. ที่มาของ ตํารับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 2 4. วิธีการเตรียมวัตถุดิบก่อนใช้ เตรียมผลิตภัณฑ์ ไม่มี 5. กรรมวิธีการผลิต 1) นําสมุนไพร ที่เป็นส่วนประกอบ มาทําความสะอาดตามความเหมาะสม 2) นํากระชายและแห้วหมูไปต้มในน้ําสะอาด จนสุกดี 3) อบกระชาย แห้วหมู และหัวบัวบก อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 - 6 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 4) อบพริกไทยล่อนที่อุณหภูมิ 40 - 45 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 - 2 ชั่วโมง หรือจนแห้ง 5) ชั่งน้ําหนัก ส่วนประกอบ ตามสูตร ตํารับ แล้วนํามารวมกัน จากนั้นบดให้ละเอียด 6) ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 100 7) บรรจุผ งสมุนไพร ในซองกันความชื้น ซองละ 1 กรัม 6. ข้อ ความ กล่าวอ้างทางสุขภาพ ช่วยบํารุงร่างกาย 7. ขนาดและวิธีใช้ ครั้งละ 1 ซอง ชงน้ําร้อน 50 - 100 มิลลิ ลิตร ผสมน้ําผึ้ง 1 ช้อนชา ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที ดื่ม วันละ 2 ครั้ง ก่อน อาหาร เช้า เย็น ขณะยังอุ่นอยู่ 8. ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็ก 9. คําเตือน ไม่มี 10. ข้อควรระวัง 10.1 ควรระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ 10.2 ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่มและยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด 10.3 ควรระวังการใช้ร่วมกับ ยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจาก ตํา รับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง 11. อาการไม่พึงประสงค์ ยังไม่มีรายงาน 12 . ขนาดบรรจุ บรรจุซองที่กันความชื้น แล้วบรรจุซองลงในกล่องหรือภาชนะบรรจุชนิดอื่นที่เหมาะสม จ ํา นวน ไม่เกิน 30 ซองต่อภาชนะบรรจุ 1 3 . การเก็บรักษา

308 เก็บในที่แห้ง 1 4 . ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่มี