Sun Jan 29 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 15/2565 เรื่อง มาตรการยกระดับอุตสาหกรรม (Smart and Sustainable Industry)


ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 15/2565 เรื่อง มาตรการยกระดับอุตสาหกรรม (Smart and Sustainable Industry)

ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 15/2565 เรื่อง มาตรการยกระดับอุตสาหกรรม ( Smart and Sustainable Industry ) อนุสนธิประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 8/2565 เรื่อง นโยบายและหลักเกณฑ์ การส่งเสริมการลงทุน เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาและปฏิรูปอุตสาหกรรมไทยสู่อุตสาหกรรม 4.0 อย่างยั่งยืน ทั้งในภาคการผลิตและภาคบริการให้เร่งเปลี่ยนผ่านไปสู่อุตสาหกรรมอัจฉริยะและยั่งยืน อาศัยอานาจ ตามความในมาตรา 16 มาตรา 18 และมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน จึงออกประกาศ ดังนี้ ข้อ 1 มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพสำหรับโครงการที่ดาเนินการอยู่แล้ว 1) มาตรการนี้บังคับใช้กับกิจการที่ดาเนินการอยู่แล้ว ไม่ว่าจะได้รับส่งเสริมหรือไม่ก็ตำม โดยต้องเป็นประเภทกิจการที่คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนประกาศให้การส่งเสริมการลงทุนในขณะที่ ยื่นขอรับการส่งเสริม ยกเว้นประเภทกิจการที่มีนโยบายเฉพาะที่จะไม่ให้สิทธิและประโยชน์ตามที่ สำนักงานกำหนด 2) โครงการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนอยู่เดิมสามารถยื่น ขอรับการส่งเสริมภายใต้ มาตรการนี้ได้ เมื่อสิทธิและประโยชน์การยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้นสิ้นสุดลงแล้ว หรือเป็นโครงการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3) ต้องมีเงินลงทุนในการปรับปรุง ไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท โดยไม่รวมค่าที่ดิน และทุนหมุนเวียน 1.1 มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพด้านการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรและระบบอัตโนมัติ เงื่อนไข 1) จะต้องเสนอแผนการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรตามเกณฑ์ที่สานักงาน กาหนด เช่น การนาระบบอัตโนมัติ หรือหุ่นยนต์มาใช้ในสายการผลิตหรือการให้บริการที่มีอยู่เดิม เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ เป็นต้น 2) ให้นับมูลค่าเงินลงทุนเครื่องจักรอุปกรณ์และเทคโนโลยีดิจิทัล ดังนี้ 2.1) ให้นับเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายสำหรับเครื่องจักรและอุปกรณ์ เต็มจำนวน 2.2) ให้นับเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายสำหรับเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการ ใช้ซอฟต์แวร์ โปรแกรมหรือระบบสารสนเทศ และการเช่า/ใช้บริการ Cloud หรือ Data Center ดังต่อไปนี้ ้ หนา 38 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 21 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มกราคม 2566

(1) ให้นับเงินการลงทุนหรือค่าใช้จ่ายเต็มจานวนสาหรับรายการ ดังนี้ - เงินลงทุนหรือค่ำใช้จ่ายในการใช้ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือระบบสารสนเทศที่ต้องทางานร่วมกับเครื่องจักร หรืออุปกรณ์ เพื่อการสั่งงานและควบคุมการทางาน ตลอดจนการสนับสนุนระบบการผลิต - เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ ( Artificial Intelligence หรือ AI ) Machine Learning การนา Big Data มาใช้หรือการวิเคราะห์ ข้อมูล ( Data Analytics ) - เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการใช้ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือระบบสารสนเทศ ในการบริหารจัดการองค์กร เฉพาะส่วนที่พัฒนาหรือปรับปรุงโดยผู้ประกอบการ ในประเทศไทยซึ่งได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ค่าใช้จ่ายในการเช่า/ใช้บริการ Cloud หรือ Data Center ในประเทศไทย (2) ให้นับเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายกึ่งหนึ่งสำหรับรายการ ดังนี้ - เงิ นลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการใช้ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือระบบสารสนเทศ ในการบริหารจัดการองค์กร เฉพาะส่วนที่พัฒนาหรือปรับปรุงโดยผู้ประกอบการ ในประเทศไทยที่ไม่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือโดยผู้ประกอบการในต่างประเทศ - ค่าใช้จ่ายในการเช่า/ใช้บริการ Cloud หรือ Data Center ในต่างประเทศ สิทธิและประโยชน์ 1) ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร 2) ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3 ปี เป็นสัดส่วนร้อยละ 50 ของเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ในการปรับปรุง ทั้งนี้ ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลจากรายได้ของกิจการที่ดำเนินการอยู่เดิม ทั้งนี้ กรณีการใช้เครื่องจักรที่มีการเชื่อมโยงหรือสนับสนุนอุตสาหกรรม การผลิตเครื่องจักรระบบอัตโนมัติในประเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของมูลค่าเครื่องจักรที่มี การปรับเปลี่ยน ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3 ปี เป็นสัดส่วนร้อยละ 100 ของเงินลงทุน โดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนในการปรับปรุง ้ หนา 39 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 21 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มกราคม 2566

  1. ระยะเวลายกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้นับจากวันที่มีรายได้ภายหลัง ได้รับบัตรส่งเ สริม และจะต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตรส่งเสริม 1.2 มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพด้านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เงื่อนไข 1) จะต้องเสนอแผนการลงทุนการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ยกระดับการทางาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตหรือการให้บริการตามเกณฑ์ที่สำนักงานกาหนด ในกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังนี้ 1.1) การนาซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือระบบสารสนเทศ มาใช้ในการ เชื่อมโยงภายในองค์กรอย่างเป็นระบบ ( Integrated ) และเชื่อมโยงภายนอกองค์กร ( Connected ) บางส่วน ห รือมีการเชื่อมโยงทั้งภายในและภายนอก โดยต้องมีการเชื่อมโยงข้อมูลอย่างน้อย 3 ฟังก์ชัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตหรือการให้บริการ 1.2) การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ ( Artificial Intelligence หรือ AI ) Machine Learning การนำ Big Data มาใช้หรือการวิเคราะห์ข้อมูล ( Data Analytics ) 1.3) การนาซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือระบบสารสนเทศ มาใช้ในการ เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างระบบของบริษัทกับระบบออนไลน์ของภาครัฐ เช่น เชื่อมโยงกับระบบ National E - payment เป็นต้น ตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ 2) สาหรับกรณี 1.1) และ 1.3) จะต้องมีการลงทุนหรือมีค่าใช้จ่ายในการ ใช้ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือระบบสารสนเทศที่พัฒนาหรือปรับปรุง โดยผู้ประกอบการในประเทศไทย ซึ่งได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3) ให้นับมูลค่าเงินลงทุนในการปรับปรุงประสิทธิภาพด้วยการ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 3.1) ให้นับเงินการลงทุนหรือค่าใช้จ่ายเต็มจำนวนสำหรับรายการ ดังนี้ (1) เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการใช้ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือระบบสารสนเทศตามข้อ 1.1) และ 1.3) เฉพาะส่วนที่พัฒนาหรือปรับปรุง โดยผู้ ประกอบการ ในประเทศไทยซึ่งได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (2) เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ ( Artificial Intelligence หรือ AI ) Machine Learning การนา Big Data มาใช้หรือการวิเคราะห์ ข้อมูล ( Data Analytics ) ตามข้อ 1.2) (3) ค่าใช้จ่ายในการเช่า/ใช้บริการ Cloud หรือ Data Center ในประเทศไทย 3.2) ให้นับเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายกึ่งหนึ่งสำหรับรายการ ดังนี้ ้ หนา 40 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 21 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มกราคม 2566

(1) เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการใช้ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือระบบสารสนเทศตามข้อ 1.1) และ 1.3) เฉพาะส่วนที่พัฒนาหรือปรับปรุงโดยผู้ประกอบการ ในประเทศไทยที่ไม่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือผู้ประกอบการในต่างประเทศ (2) ค่าใช้จ่ายในการเช่า/ใช้บริการ Cloud หรือ Data Center ในต่างประเทศ สิทธิและประโยชน์ 1) ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3 ปี เป็นสัดส่วนร้อยละ 50 ของเงินลงทุน โดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนในการปรับปรุง ทั้งนี้ ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลจากรายได้ของกิจการที่ดำเนินการอยู่เดิม 2) ระยะเวลายกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้นับจากวันที่มีรายได้ภายหลัง ได้รับบัตรส่งเสริม และจะต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตรส่งเสริม 1.3 มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพด้านการยกระดับไปสู่อุตสาหกรรม 4.0 เงื่อนไข 1) ต้องเสนอแผนการปรับปรุงประสิทธิภาพเพื่อยกระดับไปสู่อุตสาหกรรม 4.0 ที่ได้รับความเห็นชอบจากสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และต้องดาเนินการ ตามแผนที่ได้รับอนุมัติ 2) ต้องมีการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อยกระดับไปสู่อุตสาหกรรม 4.0 ตาม เกณฑ์ที่กำหนดในด้านต่าง ๆ เช่น ระบบอัตโนมัติและการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ ( Automation and Network Technology ) การวิเคราะห์ข้อมูลและการปฏิบัติการที่ชาญฉลาด ( Smart Operation ) หรือการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้บริหารจัดการในกระบวนการผลิตและการบริหารองค์กร ( Digital Technology in Production and Enterprise Processes ) เป็นต้น ในสายการผลิตหรือการให้บริการ ที่มีอยู่เดิมเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ 3) ให้นับมูลค่าเงินลงทุนในการปรับป รุงประสิทธิภาพด้านการยกระดับไปสู่ อุตสาหกรรม 4.0 เฉพาะมูลค่าเงินลงทุนเครื่องจักรอุปกรณ์และเทคโนโลยีดิจิทัลในด้านระบบอัตโนมัติ และการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ ( Automation and Network Technology ) ด้านการวิเคราะห์ ข้อมูลและการปฏิบัติการที่ชาญฉลาด ( Smart O peration ) และด้านการนำเทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้บริหารจัดการในกระบวนการผลิตและการบริหารองค์กร ( Digital Technology in Production and Enterprise Processes ) เท่านั้น 3.1) ให้นับเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายสำหรับเครื่องจักรและอุปกรณ์ เต็มจำนวน ้ หนา 41 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 21 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มกราคม 2566

3.2) ให้นับเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายสำหรับเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการ ใช้ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือระบบสารสนเทศ และการเช่า/ใช้บริการ Cloud หรือ Data Center ดังต่อไปนี้ (1) ให้นับเงินการลงทุนหรือค่าใช้จ่ายเต็มจานวนสาหรับรายการ ดังนี้ - เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการใช้ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือระบบสารสนเทศ ที่ต้องทำงานร่วมกับเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ เพื่อการสั่งงานและควบคุม การทำงาน ตลอดจนการสนับสนุนระบบการผลิต - เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ ( Artificial Int elligence หรือ AI ) Machine Learning การนา Big Data มาใช้หรือการวิเคราะห์ ข้อมูล ( Data Analytics ) - เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการใช้ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือระบบสารสนเทศ ในการบริหารจัดการองค์กร เฉพาะส่วนที่พัฒนาหรือปรับปรุง โดยผู้ประกอบการ ในประเทศไทยซึ่งได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ค่าใช้จ่ายในการเช่า/ใช้บริการ Cloud หรือ Data Center ในประเทศไทย (2) ให้นับเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายกึ่งหนึ่งสำหรับรายการ ดังนี้ - เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการใช้ ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือ ระบบสารสนเทศ ในการบริหารจัดการองค์กร เฉพาะส่วนที่พัฒนาหรือปรับปรุงโดยผู้ประกอบการ ในประเทศไทยที่ไม่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือโดยผู้ประกอบการในต่างประเทศ - ค่าใช้จ่ายในการเช่า/ใช้บริการ Cloud หรือ Data Center ในต่างประเทศ สิทธิและประโยชน์ 1) ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร 2) ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3 ปี เป็นสัดส่วนร้อยละ 100 ของเงินลงทุน โดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนในการปรับปรุง ทั้งนี้ ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลจากรายได้ของกิจการที่ดำเนินการอยู่เดิม 3) ระยะเวลายกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้นับจากวันที่มีรายได้ภายหลัง ได้รับบัตรส่งเสริม และจะต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตรส่งเสริม 1.4 มาตรการปรับป รุงประสิทธิภาพด้านการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน หรือการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ้ หนา 42 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 21 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มกราคม 2566

เงื่อนไข จะต้องเสนอแผนการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อการประหยัดพลังงาน การนาพลังงานทดแทนมาใช้ในกิจการ หรือการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยดาเนินการในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง ดังนี้ 1) ต้องมีการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรไปสู่เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อให้เกิด การใช้พลังงานลดลงตามเกณฑ์ที่สำนักงานกำหนด 2) ต้องมีการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักร เพื่อให้มีการนาพลังงำนทดแทน มาใช้ในกิจการในสัดส่วนตามเกณฑ์ที่สำนักงานกำหนด เมื่อเทียบกับการใช้พลังงานทั้งสิ้น 3) ต้องมีการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นการลดปริมาณของเสีย น้ำเสีย หรืออากาศ ตามเกณฑ์ที่สำนักงานกำหนด 4) ต้องมีการลง ทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกตามเกณฑ์ที่สำนักงานกำหนด โดยจะต้องได้รับการขึ้นทะเบียน และรับรองปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) สิทธิและประโยชน์ 1) ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร 2) ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3 ปี เป็นสัดส่วนร้อยละ 50 ของเงินลงทุน โดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนในการปรับปรุง ทั้งนี้ ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลจากรายได้ของกิจการที่ดำเนินการอยู่เดิม 3) ระยะเวลายกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้นับจากวันที่มีรายได้ภายหลัง ได้รับบัตรส่งเสริมและจะต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตรส่งเสริม 1.5 มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพด้านการยกระดับไปสู่มาตรฐานเพื่อความยั่งยืน ในระดับสากล เงื่อนไข จะต้องมีการลงทุนหรือมีค่าใช้จ่ายเพื่อการยกระดับอุตสาหกรรมไปสู่มาตรฐาน เพื่อความยั่งยืนในระดับสากล เช่น มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ( Good Agriculture Practices : GAP ) มาตรฐานการรับรองป่าไม้ตามแนวทางขององค์การพิทักษ์ป่าไม้ ( Forest St ewardship Council : FSC ) มาตรฐาน PEFCs ( Program for the Endorsement of Forest Certification Scheme ) มาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหาร ( ISO 22000 ) หรือมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการป่าไม้แบบยั่งยืน ( ISO 14061 Sustainable Forest Management System ( SFM )) เป็นต้น สิทธิและประโยชน์ 1) ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร ้ หนา 43 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 21 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มกราคม 2566

  1. ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3 ปี เป็นสัดส่วนร้อยละ 50 ของเงินลงทุน โดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนในการปรับปรุง ทั้งนี้ ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลจากรายได้ของกิจการที่ดำเนินการอยู่เดิม 3) ระยะเวลายกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้นับจากวันที่มีรายได้ภายหลัง ได้รับบัตรส่งเสริมและจะต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตรส่งเสริม ข้อ 2 มาตรการยกระดับอุ ตสาหกรรมสาหรับโครงการลงทุนใหม่ที่ยื่นขอรับการส่งเสริม การลงทุนสำหรับกิจการในกลุ่ม B โครงการที่จะขอรับสิทธิและประโยชน์เพิ่มเติมต้องเป็นกิจการในกลุ่ม B ที่คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนประกาศให้การส่งเสริมการลงทุนที่ใช้บังคับอยู่ในขณะที่ยื่นขอรับ การส่งเสริ ม ยกเว้นประเภทกิจการที่มีนโยบายเฉพาะที่ไม่ให้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลตามที่สำนักงานกำหนด 2.1 มาตรการยกระดับอุตสาหกรรมด้านการนาระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์มาใช้ ในการผลิตหรือบริการ เงื่อนไข 1) จะต้องเสนอแผนการลงทุนเครื่องจักรระบบอัตโนมัติหรือหุ่นยนต์ที่จะนามาใช้ ในการสนับสนุนการผลิตหรือการบริการในโครงการ 2) ให้นับมูลค่าเงินลงทุนเครื่องจักรอุปกรณ์และเทคโนโลยีดิจิทัล ดังนี้ 2.1) ให้นับเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายสำหรับเครื่องจักรและอุปกรณ์เต็มจำ นวน 2.2) ให้นับเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายสาหรับเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการใช้ ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือระบบสารสนเทศ และการเช่า/ใช้บริการ Cloud หรือ Data Center ดังต่อไปนี้ (1) ให้นับเงินการลงทุนหรือค่าใช้จ่ายเต็มจำนวนสำหรับรายการ ดังนี้ - เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการใช้ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือ ระบบสารสนเทศที่ต้องทางานร่วมกับเครื่องจักร หรืออุปกรณ์ เพื่อการสั่งงานและควบคุมการทางาน ตลอดจนการสนับสนุนระบบการผลิต - เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ ( Artificial Int elligence หรือ AI ) Machine Learning การนา Big Data มาใช้หรือการวิเคราะห์ ข้อมูล ( Data Analytics ) - เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการใช้ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือระบบ สารสนเทศ ในการบริหารจัดการองค์กร เฉพาะส่วนที่พัฒนาหรือปรับปรุง โดยผู้ประกอบการ ในประเทศไทยซึ่งได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ค่าใช้จ่ายในการเช่า/ใช้บริการ Cloud หรือ Data Center ในประเทศไทย ้ หนา 44 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 21 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มกราคม 2566

(2) ให้นับเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายกึ่งหนึ่งสำหรับรายการ ดังนี้ - เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการใช้ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือ ระบบสารสนเทศ ในการบริหารจัดการองค์กร เฉพาะส่วนพัฒนาหรือปรับปรุงโดยผู้ประกอบการ ในประเทศไทยที่ไม่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือโดยผู้ประกอบการในต่างประเทศ - ค่าใช้จ่ายในการเช่า/ใช้บริการ Cloud หรือ Data Center ในต่างประเทศ สิทธิและประโยชน์ 1) กรณีมีการนำระบบอัตโนมัติหรือหุ่นยนต์มาใช้ในการสนับสนุนการผลิตหรือ การบริการในโครงการ ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3 ปี เป็นสัดส่วนร้อยละ 50 ของเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน 2) กรณีมีการใช้เครื่องจักรที่มีการเชื่อมโยงหรือสนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิต เครื่องจักรระบบอัตโนมัติในประเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของมูลค่าเครื่องจักรระบบอัตโนมัติหรือ หุ่นยนต์ที่ใช้ในโครงการ ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นระยะเวลา 3 ปี เป็นสัดส่วนร้ อยละ 100 ของเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน 2.2 มาตรการยกระดับอุตสาหกรรมด้านการยกระดับไปสู่อุตสาหกรรม 4.0 เงื่อนไข 1) ต้องเสนอแผนการลงทุนเพื่อยกระดับไปสู่อุตสาหกรรม 4.0 ที่ได้รับ ความเห็นชอบจากสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และต้องดาเนินการตามแผนที่ ได้รับอนุมัติ 2) ให้นับมูลค่าเงินลงทุนด้านการยกระดับไปสู่อุตสาหกรรม 4.0 เฉพาะมูลค่า เงินลงทุนเครื่องจักรอุปกรณ์และเทคโนโลยีดิจิทัลในด้านระบบอัตโนมัติและการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ ( Automation and Network Technology ) ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลและการปฏิบัติการที่ชาญฉลาด ( Smart Operation ) และด้านการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาบริหารจัดการในกระบ วนการผลิตและ การบริหารองค์กร ( Digital Technology in Production and Enterprise Processes ) เท่านั้น 2.1) ให้นับเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายสำหรับเครื่องจักรและอุปกรณ์เต็มจำนวน 2.2) ให้นับเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายสาหรับเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการใช้ ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือระบบสารสนเทศ และการเช่า/ใช้บริการ Cloud หรือ Data Center ดังต่อไปนี้ (1) ให้นับเงินการลงทุนหรือค่าใช้จ่ายเต็มจำนวนสำหรับรายการ ดังนี้ - เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการใช้ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือ ระบบสารสนเทศ ที่ต้องทางำนร่วมกับเครื่องจักร หรืออุปกรณ์ เพื่อการสั่งงานและควบคุมการทำงาน ตลอดจนการสนับสนุนระบบการผลิต ้ หนา 45 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 21 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มกราคม 2566

  • เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ ( Artificial Intelligence หรือ AI ) Machine Learning การนา Big Data มาใช้หรือการวิเคราะห์ข้อมูล ( Data Analytics ) - เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการใช้ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือ ระบบสารสนเทศ ในการบริหารจัดการองค์กร เฉพาะส่วนที่พัฒนาหรือปรับปรุง โดยผู้ประกอบการ ในประเทศไทยซึ่งได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ค่าใช้จ่ายในการเช่า/ใช้บริการ Cloud หรือ Data Center ในประเทศไทย (2) ให้นับเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายกึ่งหนึ่งสำหรับรายการ ดังนี้ - เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการใช้ซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือ ระบบสารสนเทศ ในการบริหารจัดการองค์กร เฉพาะส่วนที่พัฒนาหรือปรับปรุง โดยผู้ประกอบการ ในประเทศไทยที่ไม่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือโดยผู้ประกอบการในต่างประเทศ - ค่าใช้จ่ายในการเช่า/ใช้บริการ Cloud หรือ Data Center ในต่างประเทศ สิทธิและประโยชน์ ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นระยะเวลา 3 ปี เป็นสัดส่วนร้อยละ 100 ของเงินลงทุน โดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนในการยกระดับไปสู่อุตสาหกรรม 4.0 ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 256 5 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการส่งเสริมการลงทุน ้ หนา 46 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 21 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มกราคม 2566