Sun Jan 29 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 9/2565 เรื่อง มาตรการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ


ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 9/2565 เรื่อง มาตรการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ

ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 9/2565 เรื่อง มาตรการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน จึงออกประกาศ ดังนี้ ข้อ 1 ให้กิจการตามที่กาหนดไว้ในบัญชีท้ายประกาศนี้เป็นกิจการที่ให้การส่งเสริมการลงทุน ข้อ 2 กาหนดเงื่อนไขสาหรับโครงการที่ได้รับส่ง เสริมการลงทุนตามที่กาหนดในกิจการ ประเภทนั้น ข้อ 3 หลักเกณฑ์ และสิทธิและประโยชน์สาหรับโครงการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 8/2565 เรื่อง นโยบายและหลักเกณฑ์ การส่งเสริมการลงทุน เว้นแต่ที่มีการกาหนดไว้เป็นการเฉพาะในบัญชีท้ายประกาศนี้ ข้อ 4 คณะกรรมการอาจประกาศงดให้การส่งเสริมการลงทุนแก่กิจการที่ปรากฏในบัญชี ท้ายประกาศนี้เมื่อเห็นว่ากิจการนั้นหมดความจำเป็นที่จะให้การส่งเสริมการลงทุนต่อไป หรือ อาจประกาศเพิ่มเติมประเภทกิจการใด ๆ ที่ คณะกรรมการเห็นสมควรให้การส่งเสริมขึ้นอีกก็ได้แม้กิจการนั้น จะไม่ปรากฏในบัญชีท้ายประกาศนี้ก็ตาม ข้อ 5 ในกรณีที่มีปัญหาไม่อาจวินิจฉัยได้ตามประกาศนี้ ให้เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุนเป็นผู้วินิจฉัย ข้อ 6 ประกาศฉบับนี้ให้มีผลใช้บังคับกับคาขอรับการส่งเ สริมที่ยื่นตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป ข้อ 7 โครงการที่ยื่นคำ ขอรับการส่งเสริม หรือได้รับการส่งเสริมการลงทุนก่อนวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2566 และยังไม่ได้ใช้สิทธิและประโยชน์ทางภาษี จะขอเปลี่ยนประเภทกิจการ ตามที่กาหนดใหม่ และปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กาหนดใหม่ในประเภทกิจการนั้น ๆ ก็ได้ โดยให้ยื่นขอ ต่อสำนักงานภายในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2566 ประกาศ ณ วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 256 5 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการส่งเสริมการลงทุน ้ หนา 25 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 21 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มกราคม 2566

บัญชีประเภทกิจการที่ให้การส่งเสริมการลงทุน หมวด 1 อุตสาหกรรมการเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1 . 1 กิจการเกษตรต้นน้ํา 1 . 1 . 1 กิจการปลูกไม้เศรษฐกิจ และ พืชพลังงาน 1 . 1 . 1 . 1 กิจการปลูกไม้เศรษฐกิจ 1 . 1 . 1 . 2 กิจการปลูกพืชพลังงาน 1 . 1 . 2 กิจการขยายพันธุ์สัตว์หรือ เลี้ยงสัตว์ 1 . ต้องมีพื้นที่ติดกันไม่น้อยกว่า 50 ไร่ 2 . ต้องได้รับหนังสือรับรองการขึ้นทะเบียนที่ดินเป็นสวนป่า จากกรมป่าไม้หรือหน่วยงานที่กรมป่าไม้มอบหมาย ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับหนังสือรับรองก่อนวันครบเปิดดําเนินการ 3 . ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานด้านการจัดการป่าไม้ ที่เหมาะสม เช่น Forest Stewardship Council (FSC), Programme for the Endorsement of Forest Certification (PEFC) หรือ มาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า เป็นต้น ก่อนวันครบ เปิดดําเนินการ 1 . ต้องมีพื้นที่ติดกันไม่น้อยกว่า 50 ไร่ 2 . ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานด้านการจัดการการปลูก ที่เหมาะสม เช่น Forest Stewardship Council (FSC), Programme for the Endorsement of Forest Certification (PEFC) หรือ มาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า เป็นต้น ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ 1 . ต้องมีการขยายพันธุ์สัตว์ในโครงการ 2 . ต้องใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย เช่น โรงเรือนระบบปิด ระบบ ระบายอากาศ ระบบการให้น้ําและอาหารอัตโนมัติ ระบบ ป้องกันพาหะนําโรคเข้าสู่ฟาร์ม และระบบป้องกันและ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เป็นต้น 3 . ต้องมีระบบการตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) หรือ ระบบการตรวจสอบย้อนกลับที่เทียบเท่าตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ 4 . ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานด้านการจัดการการเลี้ยงสัตว์ เช่น Good Agricultural Practice (GAP) หรือมาตรฐานอื่นที่ เทียบเท่า เป็นต้น ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ A1 A1 A3

2 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1 . 1 . 3 กิจการฆ่าและชําแหละสัตว์ 1 . 1 . 4 กิจการประมงน้ําลึก 1 . ต้องมีกรรมวิธีการผลิตที่ทันสมัย เช่น ระบบทําให้สัตว์สลบ ราวแขวนสัตว์ ห้องเย็น ระบบลดอุณหภูมิ และการตรวจสอบ สิ่งปลอมปน เป็นต้น 2 . ต้องมีระบบการตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) หรือ ระบบการตรวจสอบย้อนกลับที่เทียบเท่าตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ 3 . ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานสําหรับโรงฆ่าสัตว์ เช่น Good Manufacturing Practice (GMP) หรือมาตรฐาน อื่นที่เทียบเท่า เป็นต้น ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ ต้องได้รับใบอนุญาตทําการประมงนอกน่านน้ําไทยจาก กรมประมง ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับใบอนุญาตก่อนวันครบเปิด ดําเนินการ A3 A3 1 . 2 กิจการเกษตรแปรรูป 1 . 2 . 1 กิจการผลิตแป้งจากพืช 1 . 2 . 1 . 1 กิจการผลิตแป้ง อินทรีย์ (Organic Starch or Organic Flour) 1 . 2 . 1 . 2 กิจการผลิตแป้ง แปรรูป (Modified Starch) หรือแป้ง จากพืชที่มี คุณสมบัติพิเศษ 1 . 2 . 1 . 3 กิจการผลิตแป้งดิบ (Native Starch or Native Flour) ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เช่น International Federation of Organic Agriculture Movements (IFOAM), Canada Organic Regime ( COR) , The National Organic Program (NOP) หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า เป็นต้น ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ 1 . ต้องใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การนําน้ํา กลับมาใช้ใหม่ การควบคุมมลภาวะทางอากาศ เป็นต้น 2 . ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ISO 14000 หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า เป็นต้น ก่อนวันครบ เปิดดําเนินการ A2 A3 A4

3 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1 . 2 . 2 กิจการผลิตน้ํามันหรือไขมัน จากพืชหรือสัตว์ 1 . 2 . 3 กิจการฟอกหนังสัตว์ หรือแต่ง สําเร็จหนังสัตว์ 1 . 2 . 4 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์จากยาง ธรรมชาติ 1 . 2 . 4 . 1 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ จากยางธรรมชาติ 1 . 2 . 4 . 2 กิจการแปรรูปยาง ขั้นต้น 1 . 2 . 5 กิจการผลิตหรือถนอมอาหาร เครื่องดื่ม วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) สิ่งปรุงแต่ง อาหาร (Food Ingredient) หรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (Dietary Supplement) ที่ใช้ เทคโนโลยีที่ทันสมัย 1 . 2 . 6 กิจการผลิตอาหารแห่งอนาคต (Future Food) 1 . 2 . 6 . 1 กิจการผลิตอาหารที่มี คํากล่าวอ้างทาง สุขภาพ (Health Claim) 1 . ต้องใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ลดการใช้ สารเคมี หรือนําเอนไซม์ หรือตัวเร่งชีวภาพ (Biological Catalyst) มาใช้ทดแทนการใช้สารเคมี เป็นต้น 2 . เฉพาะกิ จการฟอกหนั งสั ตว์ ต้ องตั้ งในนิ คมหรื อ เขตอุตสาหกรรมที่ได้รับการส่งเสริมหรือในเขตประกอบการ อุตสาหกรรมฟอกหนัง ซึ่งเป็นเขตประกอบการอุตสาหกรรม ตามมาตรา 30 ของกฎหมายว่าด้วยโรงงาน และในกรณี ขยายกิจการหรือการขอรับการส่งเสริมตามมาตรการ ยกระดับอุตสาหกรรม (Smart and Sustainable Industry) จะอนุญาตให้ตั้งในพื้นที่สถานประกอบการเดิมได้ โดยจะต้อง มีมาตรการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 1 . ไม่ให้ส่งเสริมการผลิตยางรัดของ ลูกโป่ง และแหวนยาง 2 . ต้องมีปริมาณการใช้ยางธรรมชาติเป็นวัตถุดิบไม่น้อยกว่า ร้อยละ 51 ของปริมาณการใช้วัตถุดิบในโครงการ ไม่ให้ส่งเสริมการผลิตน้ําตาลทราย น้ําผลไม้เจือจาง เครื่องดื่ม เกลือแร่ เครื่องดื่มให้พลังงาน เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ น้ําบริโภค น้ําโซดาทั้งที่มีการแต่งกลิ่นรสและไม่แต่งกลิ่นรส น้ําอัดลม น้ําดื่มผสมวิตามิน และน้ําดื่มที่มีส่วนผสมของ สิ่งปรุงแต่งอื่นๆ 1 . ไม่ให้ส่งเสริมการผลิตน้ําตาลทราย น้ําผลไม้เจือจาง เครื่องดื่มเกลือแร่ เครื่องดื่มให้พลังงาน เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ น้ําบริโภค น้ําโซดาทั้งที่มีการแต่งกลิ่นรสและ ไม่แต่งกลิ่นรส น้ําอัดลม น้ําดื่มผสมวิตามิน และน้ําดื่มที่มี ส่วนผสมของสิ่งปรุงแต่งอื่นๆ A3 A3 A2 A4 A3 A2

4 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1 . 2 . 6 . 2 กิจการผลิตอาหาร ใหม่ (Novel Food) 1 . 2 . 6 . 3 กิจการผลิตอาหาร อินทรีย์ (Organic Food) 1 . 2 . 6 . 4 กิจการผลิตอาหาร ทางการแพทย์ (Medical Food) 2 . ต้องได้รับการประเมินการกล่าวอ้างทางสุขภาพจาก สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือหน่วยงานอื่น ที่เทียบเท่า ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ 1 . ไม่ให้ส่งเสริมการผลิตน้ําตาลทราย น้ําผลไม้เจือจาง เครื่องดื่มเกลือแร่ เครื่องดื่มให้พลังงาน เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ น้ําบริโภค น้ําโซดาทั้งที่มีการแต่งกลิ่นรสและ ไม่แต่งกลิ่นรส น้ําอัดลม น้ําดื่มผสมวิตามิน และน้ําดื่มที่มี ส่วนผสมของสิ่งปรุงแต่งอื่นๆ 2 . ต้องได้รับการขึ้นทะเบียนอาหารใหม่จากสํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยาหรือหน่วยงานอื่นที่ เทียบเท่า ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ 1 . ไม่ให้ส่งเสริมการผลิตน้ําตาลทราย น้ําผลไม้เจือจาง เครื่องดื่มเกลือแร่ เครื่องดื่มให้พลังงาน เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ น้ําบริโภค น้ําโซดาทั้งที่มีการแต่งกลิ่นรสและ ไม่แต่งกลิ่นรส น้ําอัดลม น้ําดื่มผสมวิตามิน และน้ําดื่มที่มี ส่วนผสมของสิ่งปรุงแต่งอื่นๆ 2 . ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เช่น International Federation of Organic Agriculture Movements (IFOAM), Canada Organic Regime (COR), The National Organic Program (NOP) หรือมาตรฐานอื่น ที่เทียบเท่า เป็นต้น ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ 1 . ไม่ให้ส่งเสริมการผลิตน้ําตาลทราย น้ําผลไม้เจือจาง เครื่องดื่มเกลือแร่ เครื่องดื่มให้พลังงาน เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ น้ําบริโภค น้ําโซดาทั้งที่มีการแต่งกลิ่นรสและ ไม่แต่งกลิ่นรส น้ําอัดลม น้ําดื่มผสมวิตามิน และน้ําดื่มที่มี ส่วนผสมของสิ่งปรุงแต่งอื่นๆ 2 . ต้องได้รับการขึ้นทะเบียนอาหารทางการแพทย์จาก สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือหน่วยงานอื่น ที่เทียบเท่า ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ A2 A2 A2

5 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1 . 2 . 7 กิจการผลิตน้ําตาลทราย 1 . 2 . 8 กิจการผลิตอาหารสัตว์หรือ ส่วนผสมอาหารสัตว์ 1 . 2 . 8 . 1 กิจการผลิตอาหาร ประกอบการรักษา โรคสําหรับสัตว์เลี้ยง 1 . 2 . 8 . 2 กิจการผลิตอาหาร สัตว์หรือส่วนผสม อาหารสัตว์ ที่ได้รับ การรับรองมาตรฐาน ความปลอดภัยทาง อาหาร 1 . ต้องได้รับความเห็นชอบแผนการเตรียมปริมาณอ้อยเข้า สู่โรงงานจากสํานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ําตาลทราย ก่อนยื่นขอรับการส่งเสริม 2 . ต้องได้รับรองมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ISO 14000 หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า เป็นต้น ก่อนวันครบเปิด ดําเนินการ 3 . กําหนดวงเงินสําหรับการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลโดยคํานวณจากเงินลงทุนด้านเครื่องจักร ตามหลักเกณฑ์ของมาตรการยกระดับอุตสาหกรรม (Smart and Sustainable Industry) ด้านการปรับเปลี่ยนเครื่องจักร และระบบอัตโนมัติ ด้านการใช้พลังงานทดแทนหรือ การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และด้านการยกระดับ ไปสู่อุตสาหกรรม 4 . 0 ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 4 . ทั้งกรณีการลงทุนใหม่และกรณีขยายกิจการไม่สามารถ ขอรับสิทธิและประโยชน์เพิ่มเติมด้านภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามมาตรการอื่นๆ ได้ 1 . ต้องได้รับการขึ้นทะเบียนอาหารสัตว์ควบคุมเฉพาะประเภท อาหารสัตว์เลี้ยง ชนิดอาหารประกอบการรักษาโรคสําหรับ สัตว์เลี้ยง หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า ก่อนวันครบเปิด ดําเนินการ 2 . ต้องได้รับรองมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัยของ อาหาร เช่น ISO 22000 หรือมาตรฐานที่ Global Food Safety Initiative (GFSI) ยอมรับ เป็นต้น ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ ต้องได้รับรองมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัยของ อาหาร เช่น ISO 22000 หรือมาตรฐานที่ Global Food Safety Initiative (GFSI) ยอมรับ เป็นต้น ก่อนวันครบเปิด ดําเนินการ A4 A2 A3

6 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1 . 2 . 8 . 3 กิจการผลิตอาหาร สัตว์หรือส่วนผสม อาหารสัตว์ ที่ได้รับ การรับรอง มาตรฐานสากล 1 . 2 . 8 . 4 กิจการผลิตอาหาร สัตว์หรือส่วนผสม อาหารสัตว์ กรณีอื่นๆ 1 . 2 . 9 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์หรือ บรรจุภัณฑ์ จากผลผลิตทาง การเกษตร ผลพลอยได้หรือ เศษวัสดุทางการเกษตร หรือผลิตภัณฑ์จากวัตถุดิบที่มา จากผลพลอยได้หรือเศษวัสดุ หรือของเสียจากการเกษตร 1 . 2 . 10 กิจการผลิตเชื้อเพลิงหรือ แอลกอฮอล์ทางเภสัชกรรม (Pharmaceutical Grade) จากผลผลิตการเกษตร รวมทั้ง เชื้อเพลิงจากเศษวัสดุ หรือ ของเสียที่ได้จากผลผลิต ทางการเกษตร 1 . 2 . 10 . 1 กิจการผลิตเชื้อเพลิง หรือแอลกอฮอล์ ทางเภสัชกรรม (Pharmaceutical Grade) จากผลผลิต ทางการเกษตร ต้องได้รับรองมาตรฐานสากล เช่น Hazard Analysis and Critical Control Points (HACCP) หรือ Good Manufacturing Practice (GMP) เป็นต้น ก่อนวันครบเปิด ดําเนินการ A4 B A3 A2

7 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1 . 2 . 10 . 2 กิจการผลิต เชื้อเพลิงจาก เศษวัสดุหรือของ เสียที่ได้จากผลผลิต ทางการเกษตร 1 . 2 . 10 . 3 กิจการผลิต เชื้อเพลิงชีวมวลอัด 1 . 2 . 11 กิจการผลิตสารสกัดจาก วัตถุดิบทางธรรมชาติหรือ ผลิตภัณฑ์จากสารสกัดจาก วัตถุดิบจากธรรมชาติ หรือ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 1 . 2 . 11 . 1 กิจการผลิตสารสกัด จากวัตถุดิบ ทางธรรมชาติ ที่ใช้เทคโนโลยีการ สกัดขั้นสูงหรือการ ผลิตผลิตภัณฑ์จาก สารสกัดจากวัตถุดิบ ทางธรรมชาติที่ใช้ เทคโนโลยีการสกัด ขั้นสูงที่ต่อเนื่องใน โครงการเดียวกัน 1 . 2 . 11 . 2 กิจการผลิตสารสกัด จากวัตถุดิบทาง ธรรมชาติหรือการ ผลิตผลิตภัณฑ์จาก สารสกัดจากวัตถุดิบ ทางธรรมชาติ ที่ต่อเนื่องในโครงการ เดียวกัน ต้องเป็นการผลิตเชื้อเพลิงจากเศษวัสดุหรือของเสียที่ได้จาก ผลผลิตทางการเกษตร เช่น Biomass to Liquid (BTL) ก๊าซชีวภาพจากน้ําเสีย ไบโอดีเซลจากน้ํามันพืชใช้แล้ว เป็นต้น การผลิตผลิตภัณฑ์จากสารสกัดจากวัตถุดิบทางธรรมชาติ ที่ต่อเนื่องในโครงการ ต้องได้รับการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์ สมุนไพรหรือเทียบเท่าตามกฎหมายว่าด้วยผลิตภัณฑ์ สมุนไพร จากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาหรือ หน่วยงานอื่นที่เทียบเท่า ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับการขึ้นทะเบียน ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ การผลิตผลิตภัณฑ์จากสารสกัดจากวัตถุดิบทางธรรมชาติ ที่ต่อเนื่องในโครงการ ต้องได้รับการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์ สมุนไพรหรือเทียบเท่าตามกฎหมายว่าด้วยผลิตภัณฑ์ สมุนไพร จากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ หน่วยงานอื่นที่เทียบเท่า ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับการขึ้นทะเบียน ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ A2 A3 A2 A3

8 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1 . 2 . 11 . 3 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ จากสารสกัดจากวัตถุดิบ ทางธรรมชาติหรือ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ที่ไม่มีขั้นตอนการผลิต สารสกัดจากวัตถุดิบทาง ธรรมชาติ 1 . ต้องได้รับการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์สมุนไพรหรือ เทียบเท่าตามกฎหมายว่าด้วยผลิตภัณฑ์สมุนไพร จาก สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือหน่วยงานอื่น ที่เทียบเท่า ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับการขึ้นทะเบียนก่อน วันครบเปิดดําเนินการ 2 . ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานสําหรับสถานที่ผลิต ผลิตภัณฑ์สมุนไพร เช่น Good Manufacturing Practice (GMP) หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า เป็นต้น ก่อนวันครบ เปิดดําเนินการ A3 1 . 3 กิจการเกษตรสมัยใหม่ 1 . 3 . 1 กิจการปรับปรุงพันธุ์พืช หรือสัตว์ ( ที่ไม่เข้าข่ายกิจการ เทคโนโลยีชีวภาพ ) 1 . 3 . 2 กิจการผลิตหรือให้บริการ เครื่องจักรกล อุปกรณ์ ทางการเกษตรสมัยใหม่และ ระบบเกษตรสมัยใหม่ 1 . 3 . 2 . 1 กิจการผลิตหรือ ให้บริการเครื่องจักรกล อุปกรณ์ทางการเกษตร สมัยใหม่และ ระบบเกษตรสมัยใหม่ ที่มีการออกแบบระบบ หรือซอฟต์แวร์ หรือแพลตฟอร์ม และผลิตเครื่องจักรกล อุปกรณ์ในโครงการ สําหรับการปรับปรุงพันธุ์พืชที่มีความอ่อนไหวตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ต้องมีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน 1 . ต้องผลิตระบบเกษตรสมัยใหม่ เช่น ระบบตรวจจับหรือ ติดตามสภาพต่างๆ ระบบควบคุมการใช้ทรัพยากรที่ เกี่ยวข้อง ( น้ํา ปุ๋ย เวชภัณฑ์ และ ระบบโรงเรือนอัจฉริยะ ) เป็นต้น 2 . ต้องมีขั้นตอนการออกแบบระบบ หรือ ซอฟต์แวร์ หรือ แพลตฟอร์ม ที่ใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง ใ น ลั ก ษ ณ ะ System Integration ที่ ดํำ เ นิ นการเอง โดยจะต้องมีการเก็บข้อมูล แปลผล และวิเคราะห์ข้อมูล ทั้งนี้ หากไม่มีการดําเนินการเอง จะต้องเป็นการว่าจ้าง ผู้พัฒนาระบบในประเทศ โดยจะต้องมีค่าใช้จ่ายในการ ว่าจ้างไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ A3 A1

9 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1 . 3 . 2 . 2 กิจการผลิตหรือ ให้บริการเครื่องจักรกล อุปกรณ์ทางการเกษตร สมัยใหม่และระบบ เกษตรสมัยใหม่ ที่มีการออกแบบระบบ หรือซอฟต์แวร์ หรือแพลตฟอร์ม แต่ไม่มีการผลิต เครื่องจักรกลอุปกรณ์ ในโครงการ 3 . ต้องผลิตเครื่องจักรกล อุปกรณ์สําหรับระบบเกษตร สมัยใหม่โดยมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วน การประกอบ และ / หรือการออกแบบทางวิศวกรรม ตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ 4 . ต้องมีค่าใช้จ่ายเงินเดือนของบุคลากรด้านการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศและวิศวกรรมไม่น้อยกว่า 1 , 500 , 000 บาทต่อปี โดยต้องเป็นการจ้างงานใหม่ หรือมีเงินลงทุน ( ไม่รวมค่าที่ดิน ทุนหมุนเวียน และ ค่ายานพาหนะ ) ไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท 1 . ต้องผลิตระบบเกษตรสมัยใหม่ เช่น ระบบตรวจจับหรือ ติดตามสภาพต่างๆ ระบบควบคุมการใช้ทรัพยากรที่ เกี่ยวข้อง ( น้ํา ปุ๋ย เวชภัณฑ์ และ ระบบโรงเรือนอัจฉริยะ ) เป็นต้น 2 . ต้องมีขั้นตอนการออกแบบระบบ หรือ ซอฟต์แวร์ หรือ แพลตฟอร์ม ที่ใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรที่ เกี่ยวข้องในลักษณะ System Integration ที่ดําเนินการ เอง โดยจะต้องมีการเก็บข้อมูล แปลผล และวิเคราะห์ ข้อมูล ทั้งนี้ หากไม่มีการดําเนินการเองจะต้องเป็นการ ว่าจ้างผู้พัฒนาระบบในประเทศ โดยจะต้องมีค่าใช้จ่ายใน การว่าจ้างไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท ก่อนวันครบเปิด ดําเนินการ โดยค่าใช้จ่ายในการว่าจ้างผู้พัฒนาระบบใน ประเทศให้นับรวมเป็นวงเงินยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลได้ 3 . ต้องมีการจัดหาเครื่องจักร อุปกรณ์จากผู้ประกอบการ รายอื่น หรือว่าจ้างผู้ประกอบการรายอื่นผลิต แล้วนํามา ประกอบในลักษณะ System Integration เป็นระบบ เกษตรสมัยใหม่ 4 . ต้องมีค่าใช้จ่ายเงินเดือนของบุคลากรด้านการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศและวิศวกรรมไม่น้อยกว่า 1 , 500 , 000 บาทต่อปี โดยต้องเป็นการจ้างงานใหม่ หรือมีเงินลงทุน ( ไม่รวมค่าที่ดิน ทุนหมุนเวียน และ ค่ายานพาหนะ ) ไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท A2

10 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1 . 3 . 2 . 3 กิจการให้บริการระบบ เกษตรสมัยใหม่ 1 . 3 . 3 กิจการโรงงานผลิตพืช (Plant Factory) ต้องเป็นการให้บริการระบบเกษตรสมัยใหม่ เช่น ระบบ ตรวจจับหรือติดตามสภาพต่างๆ ระบบควบคุมการใช้ ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง ( น้ํา ปุ๋ย เวชภัณฑ์ และ ระบบโรงเรือน อัจฉริยะ ) เป็นต้น ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ ต้องมีการปลูกพืชภายในอาคารที่ออกแบบมาเฉพาะใน ระบบปิด และต้องมีการติดตั้งระบบควบคุมสภาพแวดล้อม ในการปลูกพืช ทั้งทางกายภาพและการควบคุมสภาพแวดล้อม ทางชีวภาพ ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ A4 A3 1 . 4 กิจการสนับสนุนอุตสาหกรรมเกษตร และอาหาร 1 . 4 . 1 กิจการผลิตปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมีนาโน และสาร ชีวภัณฑ์ ป้องกันกําจัดศัตรูพืช 1 . 4 . 2 กิจการอบพืชและไซโล 1 . 4 . 3 กิจการคัดคุณภาพ และเก็บ รักษาผลิตผลและผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตร 1 . 4 . 3 . 1 กิจการคัดคุณภาพ และเก็บรักษาผลิตผล และผลิตภัณฑ์ทาง การเกษตร ที่ใช้ เทคโนโลยีขั้นสูง 1 . ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพ และปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยอินทรีย์ เคมีนาโน ต้องดําเนินการให้ได้รับการขึ้นทะเบียนและ ใบอนุญาตผลิตปุ๋ยเพื่อการค้าจากกรมวิชาการเกษตร ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับการขึ้นทะเบียนและใบอนุญาตก่อนวัน ครบเปิดดําเนินการ 2 . ผลิตภัณฑ์สารชีวภัณฑ์ป้องกันกําจัดศัตรูพืช ต้อง ดําเนินการให้ได้รับการขึ้นทะเบียนและใบรับแจ้ง การดําเนินการเกี่ยวกับวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 จาก กรมวิชาการเกษตร ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับการขึ้นทะเบียน และ ใบรับแจ้งก่อนวันครบเปิดดําเนินการ ต้องใช้เทคโนโลยีขั้นสูง เช่น การใช้ระบบเซ็นเซอร์ตรวจสอบ เนื้อในผลไม้ การใช้คลื่นความถี่วิทยุในการกําจัดแมลง การใช้ Nuclear Magnetic Resonance และการใช้ระบบเอกซเรย์ เป็นต้น A3 B A2

11 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1 . 4 . 3 . 2 กิจการคัดคุณภาพ และเก็บรักษาผลิตผล และผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตร ที่ใช้ เทคโนโลยีทันสมัย 1 . 4 . 3 . 3 กิจการคัดคุณภาพ และเก็บรักษา ผลิตภัณฑ์ข้าวที่ใช้ เทคโนโลยีที่ทันสมัย 1 . 4 . 4 กิจการห้องเย็น หรือกิจการ ห้องเย็นและขนส่งห้องเย็น 1 . 4 . 4 . 1 กิจการห้องเย็น หรือ กิจการห้องเย็นและ ขนส่งห้องเย็น กรณีใช้สารทํา ความเย็นธรรมชาติ (Natural Refrigerants) 1 . 4 . 4 . 2 กิจการห้องเย็น หรือ กิจการห้องเย็นและ ขนส่งห้องเย็น กรณีอื่นๆ 1 . 4 . 5 กิจการศูนย์กลางการค้าสินค้า เกษตร 1 . ต้องใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย เช่น การใช้เครื่องคัดแยกสี เมล็ดพืช การอบไอน้ําฆ่าไข่แมลงวันผลไม้ การเคลือบผิว เมล็ดพืช การบรรจุในบรรยากาศดัดแปลง (Modified Atmosphere Packaging: MAP) การบรรจุในบรรยากาศ ควบคุม (Controlled Atmosphere Packaging: CAP) การเก็บรักษาในห้องเย็น (Cold Storage) และการแช่ เยือกแข็ง (Freezing) เป็นต้น 2 . ไม่ให้การส่งเสริมการคัดคุณภาพข้าว ต้องใช้สารทําความเย็นธรรมชาติ โดยอนุญาตให้ใช้แอมโมเนีย ได้ในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 49 ของปริมาณการใช้ สารทําความเย็นในระบบ ต้องใช้สารทําความเย็นที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย โดยจะพิจารณาจากตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง เช่น Global Warming Potential (GWP) เป็นต้น 1 . ต้องมีที่ดินไม่น้อยกว่า 50 ไร่ 2 . ต้องมีพื้นที่สําหรับประกอบกิจการ และบริการเกี่ยวกับ สินค้าเกษตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของพื้นที่ทั้งหมด โดยต้องจัดให้มีพื้นที่สําหรับแสดง หรือซื้อขายสินค้า เกษตร ศูนย์ประมูลสินค้า ห้องเย็น และคลังสินค้า 3 . ต้องมีการให้บริการตรวจสอบ คัดคุณภาพ และตรวจ สารพิษตกค้าง A3 B A4 B A3

12 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1 . 4 . 6 กิจการศูนย์การค้าผลิตผล ทางการเกษตรระบบดิจิทัล 1 . ต้องมีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของ ทุนจดทะเบียน 2 . ต้องมีแพลตฟอร์มสําหรับให้บริการเกษตรกรและ ผู้ประกอบการ รวมทั้งมีระบบการติดตามและควบคุม คุณภาพผลผลิตทางการเกษตร โดยต้องมีกระบวนการ พัฒนาหรือว่าจ้างผู้อื่นในประเทศเพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์หรือ แพลตฟอร์มที่ใช้ในโครงการ 3 . ต้องเป็นการจําหน่ายผลิตผลทางการเกษตรในรูปแบบ B2B (Business-to-Business) เท่านั้น 4 . ต้องมีระบบการตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) หรือ ระบบการตรวจสอบย้อนกลับที่เทียบเท่าตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ และมีกระบวนการตรวจคุณภาพ เช่น ห้องปฏิบัติการ เพื่อทดสอบคุณภาพ เป็นต้น A3 1 . 5 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์จากเทคโนโลยี ชีวภาพ 1 . 5 . 1 กิจการผลิตพลาสติกชีวภาพ หรือผลิตภัณฑ์จากพลาสติก ชีวภาพ (Bioplastics) 1 . 5 . 1 . 1 กิจการผลิตพลาสติก ชีวภาพหรือการผลิต ผลิตภัณฑ์พลาสติก ชีวภาพที่ขึ้นรูป ต่อเนื่องในโครงการ เดียวกัน 1 . 5 . 1 . 2 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ พลาสติกชีวภาพ ต้องได้การรับรองมาตรฐานพลาสติกฐานชีวภาพ เช่น มอก . 2734 , ISO 16620 หรือมาตรฐานสากลอื่นที่เทียบเท่า เป็นต้น ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ 1 . ต้องได้การรับรองมาตรฐานพลาสติกฐานชีวภาพ เช่น มอก . 2734 , ISO 16620 หรือมาตรฐานสากลอื่นที่ เทียบเท่า เป็นต้น ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ 2 . ต้องมีกระบวนการขึ้นรูปจากพลาสติกชีวภาพ A2 A3

13 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1 . 5 . 2 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์เคมี ชีวภาพ (Biochemicals) 1 . 5 . 3 กิจการเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) 1 . 5 . 3 . 1 กิจการการปรับปรุง พันธุ์พืช สัตว์ และ จุลินทรีย์ที่ใช้ เทคโนโลยีชีวภาพ 1 . 5 . 3 . 2 กิจการผลิตสาร เวชภัณฑ์ที่ใช้ เทคโนโลยีชีวภาพ 1 . 5 . 3 . 3 กิจการผลิตชุดตรวจ วินิจฉัยทางการแพทย์ การเกษตร อาหาร และสิ่งแวดล้อมที่ใช้ เทคโนโลยีชีวภาพ 1 . 5 . 3 . 4 กิจการผลิตสาร ชีวโมเลกุลและสาร ออกฤทธิ์ชีวภาพ ที่ใช้เซลล์จุลินทรีย์ เซลล์พืชและเซลล์ สัตว์ในการผลิต 1 . ต้องใช้วัตถุดิบที่มาจากผลผลิตทางการเกษตร ผลิตภัณฑ์ แปรรูปจากการเกษตร วัสดุชีวมวล เศษหรือผลพลอยได้ จากอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 โดยน้ําหนัก 2 . ไม่ให้การส่งเสริมโครงการที่มีเฉพาะการผสมหรือเจือจาง 3 . ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานหรือการทดสอบคุณสมบัติ การย่อยสลายทางชีวภาพได้ (Ready Biodegradability) ตามมาตรฐานสากล เช่น OECD Guidelines for the Testing of Chemical, Test No. 301: Ready Biodegradability เป็นต้น ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ A2 A1 A1 A1 A1

14 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1 . 5 . 3 . 5 กิจการผลิตวัตถุดิบ และ / หรือวัสดุจําเป็น ที่ใช้เพื่อการวิจัยและ พัฒนา การทดลอง การทดสอบ การควบคุมคุณภาพ สําหรับการผลิต ผลิตภัณฑ์ชีวภาพ A1 1 . 6 กิจการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) 1 . ต้องมีขั้นตอนการพัฒนาเทคโนโลยีเป้าหมายที่ใช้เป็นฐาน ในกระบวนการผลิตหรือให้บริการในอุตสาหกรรม เป้าหมายตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 2 . ต้องมีการถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยร่วมมือกับสถาบัน การศึกษาหรือสถาบันวิจัยตามรูปแบบที่คณะกรรมการ กําหนด เช่น Technology Research Consortium เป็นต้น A1+ ( 10 ปี ไม่กําหนด วงเงิน ยกเว้นภาษี เงินได้ นิติบุคคล

หมวด 2 อุตสาหกรรมการแพทย์ ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 2 . 1 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ 2 . 1 . 1 กิจการผลิต Non-woven Fabric หรือผลิตภัณฑ์สุขอนามัย (Hygienic Products) จาก Non-woven Fabric 2 . 1 . 1 . 1 กิจการผลิต Non-woven Fabric A3 2 . 1 . 1 . 2 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ สุขอนามัย (Hygienic Products) จาก Non- woven Fabric A4 2 . 1 . 2 กิจการผลิตเครื่องมือแพทย์ 2 . 1 . 2 . 1 กิจการผลิตเครื่องมือแพทย์ ที่จัดอยู่ในประเภทความ เสี่ยงสูงหรือเทคโนโลยีสูง A2 2 . 1 . 2 . 2 กิจการผลิตเครื่องมือแพทย์ ชนิดอื่นๆ ไม่ให้การส่งเสริมการผลิตเครื่องมือแพทย์จากผ้าหรือ เส้นใยชนิดต่าง ๆ A3 2 . 1 . 2 . 3 กิจการผลิตเครื่องมือแพทย์ จากผ้าหรือเส้นใยชนิดต่างๆ 1 . ต้องเป็นการผลิตเครื่องมือแพทย์จากผ้าหรือเส้นใย ชนิดต่าง ๆ เช่น เสื้อกาวน์ ผ้าคลุม หมวก ผ้าปิดปาก และจมูก ผ้าก๊อซ และสําลี เป็นต้น 2 . กรณีการผลิตผ้าก๊อซหรือสําลี ต้องเริ่มต้นจากผ้า ฝ้ายดิบ หรือใยฝ้าย A4 2 . 1 . 2 . 4 กิจการผลิตชิ้นส่วน เครื่องมือแพทย์ ต้องได้การรับรองมาตรฐาน ISO 13485 หรือมาตรฐาน เครื่องมือแพทย์อื่นที่เทียบเท่า ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ A4 2 . 1 . 3 กิจการผลิตสารออกฤทธิ์สําคัญในยา (Active Pharmaceutical Ingredients) ต้องเป็นการผลิตสารออกฤทธิ์ หรือวัตถุดิบทางเภสัชกรรม (Active Pharmaceutical Ingredients: APIs) A2

2 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 2 . 1 . 4 กิจการผลิตยา 2 . 1 . 4 . 1 กิจการผลิตยามุ่งเป้า 1 . ต้องเป็นการผลิตยาในกลุ่มบัญชียามุ่งเป้าที่ประกาศโดย กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ยื่นขอรับการส่งเสริม 2 . ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานสถานที่ผลิต Good Manufacturing Practice ( GMP) ตำ ม แ น ว ทำ ง Pharmaceutical Inspection Co-operation Scheme (PIC/S) ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ A2 2 . 1 . 4 . 2 กิจการผลิตยาแผนปัจจุบัน ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานสถานที่ผลิต Good Manufacturing Practice ( GMP) ตำ ม แ น ว ทำ ง Pharmaceutical Inspection Co- operation Scheme (PIC/S) ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ A3 2 . 2 กิจการบริการทางการแพทย์และบริการ สาธารณสุข 2 . 2 . 1 กิจการสถานพยาบาล 2 . 2 . 1 . 1 กิจการศูนย์การแพทย์ เฉพาะทาง 1 . ต้องเป็นศูนย์การแพทย์เฉพาะทางสาขาขาดแคลน ได้แก่ ด้านหัวใจ ( โรคหลอดเลือดหัวใจ ผ่าตัด หัวใจ และหัวใจล้มเหลว ) ด้านมะเร็ง ( เคมีบําบัด และรังสี วิทยา ) ด้านไต ( ศูนย์ไตเทียม ) ด้านกายภาพบําบัด และด้านจิตเวช 2 . ต้องมีแผนการจัดหาบุคลากรทางการแพทย์ที่เหมาะสม 3 . ต้องมีเครื่องมือและอุปกรณ์ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 4 . ต้องได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับใบอนุญาตก่อนวันครบเปิด ดําเนินการ 5 . ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบว่าด้วยมาตรฐานการ ประกอบวิชาชีพหรือมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 6 . ต้องพิจารณาถึงการกระจายการให้บริการและการ เข้าถึงของประชาชน A2

3 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 2 . 2 . 1 . 2 กิจการโรงพยาบาล ผู้สูงอายุ 7 . อนุญาตให้ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ กับผู้ป่วย หรือผู้ที่เข้ารับบริการในด้านอื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวกับ โครงการโดยตรงได้ แต่ไม่ให้นํารายได้มารวมคํานวณ เป็นรายได้ของโครงการที่เข้าข่ายได้รับสิทธิและ ประโยชน์ด้านภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 . ต้องมีแผนการจัดหาบุคลากรทางการแพทย์ที่เหมาะสม 2 . ต้องมีเครื่องมือและอุปกรณ์ในการให้บริการตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ 3 . ต้องมีจํานวนเตียงรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนตั้งแต่ 31 เตียง ขึ้นไป 4 . ต้องได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล ประเภทโรงพยาบาลเฉพาะผู้ป่วย หรือโรงพยาบาล ผู้สูงอายุก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับใบอนุญาตก่อนวัน ครบเปิดดําเนินการ 5 . ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบว่าด้วยมาตรฐานการ ประกอบวิชาชีพหรือมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 6 . ต้องมีหน่วยบริการและระบบสนับสนุนการให้บริการ สําหรับโรงพยาบาลผู้สูงอายุ ตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบก่อนวันเปิดดําเนินการ 7 . อนุญาตให้ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ กับผู้ป่วย หรือผู้ที่เข้ารับบริการที่อายุต่ํากว่า 60 ปีได้ แต่ไม่ให้ นํารายได้มารวมคํานวณเป็นรายได้ของโครงการที่เข้า ข่ายได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล A3

4 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 2 . 2 . 1 . 3 กิจการศูนย์การแพทย์ แผนไทย หรือการแพทย์ แผนไทยประยุกต์ 2 . 2 . 1 . 4 กิจการโรงพยาบาล 2 . 2 . 2 กิจการบริการสาธารณสุข 2 . 2 . 2 . 1 กิจการศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ หรือผู้มีภาวะพึ่งพิง 1 . ต้องได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับใบอนุญาตก่อนวันครบ เปิดดําเนินการ 2 . ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบว่าด้วยมาตรฐานการ ประกอบวิชาชีพหรือมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1 . ต้องมีจํานวนเตียงรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนตั้งแต่ 31 เตียง ขึ้นไป 2 . ต้องมีเครื่องมือและอุปกรณ์ในการให้บริการตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ 3 . ต้องได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับใบอนุญาตก่อนวันครบเปิด ดําเนินการ 4 . ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบว่าด้วยมาตรฐานการ ประกอบวิชาชีพหรือมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1 . ต้องมีบุคคลผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน 2 . ต้องเป็นกิจการดูแลผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิง ตามกฎหมายว่าด้วยสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ 3 . ต้องมีจํานวนเตียงรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนตั้งแต่ 31 เตียง ขึ้นไป A3 A4 A4

5 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 2 . 2 . 2 . 2 กิจการศูนย์ฟื้นฟูสุขภาพ 4 . ต้องมีขอบข่ายการให้บริการดูแลและประคับประคอง ผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิงโดยมีการพักค้างคืนและ ต้องมีการจัดกิจกรรมดูแล ส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภาพ แก่ผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิง 5 . ต้องได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล เพื่อสุขภาพ ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับใบอนุญาต ก่อนวันครบเปิดดําเนินการ 1 . ต้องมีเงินลงทุน ( ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ) ไม่น้อยกว่า 30 ล้านบาท 2 . ต้องใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ในการบําบัด และฟื้นฟูสุขภาพ ทั้งนี้ ต้องไม่เป็นการบําบัดผู้ติด ยาเสพติดให้โทษ 3 . ต้องมีการจัดโปรแกรมการฟื้นฟูสุขภาพแบบต่อเนื่อง และมีการพักค้างคืนสําหรับผู้มาใช้บริการ B 2 . 3 กิจการวิจัยทางคลินิก (Clinical Research) 2 . 3 . 1 กิจการสนับสนุนและบริหารจัดการ การวิจัยทางคลินิก (Contract Research Organization) 1 . ต้องมีแผนการดําเนินการเพื่อสนับสนุนและรองรับ การวิจัยทางคลินิก (Clinical Research) ดังนี้ 1 . 1 การบริหารจัดการงานวิจัยทางคลินิก 1 . 2 การกํากับดูแลการวิจัยทางคลินิก เช่น - การบริหารจัดการสิ่งส่งตรวจและห้องเก็บ สิ่งส่งตรวจ - การบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ที่ทําการวิจัย ทางคลินิก - การบริหารจัดการเพื่อการจัดเก็บเอกสาร หรือข้อมูลที่ใช้ในงานวิจัยทางคลินิก - การบริหารจัดการของเสียที่เกิดจากการ วิจัยทางคลินิก A1

6 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ - การบริหารจัดการเวชระเบียนสําหรับการ วิจัยทางคลินิก - การบริหารจัดการอาสาสมัครที่ใช้ในการ วิจัยทางคลินิก - การจัดหาหรือให้บริการอาคารสถานที่ สําหรับการวิจัยทางคลินิก เช่น ห้องตรวจ ผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน ห้องทดสอบ เป็นต้น 2 . ต้องมีบุคลากรไทยปฏิบัติงานในส่วนเกี่ยวข้องกับ การวิจัยทางคลินิก เช่น Clinical Research Associate (CRA) เป็นต้น ที่ผ่านการอบรมตาม แนวทางการปฏิบัติการวิจัยทางคลินิกที่ดี (Good Clinical Practice: GCP) ของ ICH (International Conference on Harmonization) หรือมาตรฐาน อื่นที่เทียบเท่า ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับก่อนวันครบ เปิดดําเนินการ 3 . ต้องมีค่าใช้จ่ายเงินเดือนของบุคลากรไทยด้านการ บริหารจัดการทางคลินิกเฉพาะในโครงการที่ขอรับ การส่งเสริมไม่น้อยกว่า 1 , 500 , 000 บาทต่อปี โดยต้องเป็นการจ้างใหม่ ทั้งนี้ ค่าใช้จ่ายเงินเดือนของ บุคลากรไทย จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ คณะกรรมการเห็นชอบ โดยคํานวณเฉพาะโครงการ ที่ขอรับการส่งเสริม 4 . ต้องมีความร่วมมือกับองค์กรด้านการวิจัยหรือ บริการด้านสาธารณสุข หรือสถาบันการศึกษาใน ประเทศ ตามที่คณะกรรมการให้ความเห็นชอบ

7 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 2 . 3 . 2 ศูนย์การวิจัยทางคลินิก (Clinical Research Center) 1 . ต้องมีขอบข่ายธุรกิจไม่น้อยกว่าหนึ่งข้อ ดังนี้ - การวิจัยทางคลินิกเพื่อศึกษาความปลอดภัยของ ผลิตภัณฑ์ในสัตว์ทดลอง (Preclinical Research) - การวิจัยทางคลินิกเพื่อศึกษาความปลอดภัยของ ผลิตภัณฑ์ในมนุษย์ (Clinical Research) - การศึกษาชีวประสิทธิผลและชีวสมมูลของผลิตภัณฑ์ สุขภาพ (Bioavailability and Bioequivalence Studies) 2 . กรณีการวิจัยทางคลินิกในมนุษย์ต้องดําเนินการ ไม่น้อยกว่า 1 ระยะ ตามที่กําหนดดังนี้ - การวิจัยทางคลินิกระยะที่ 1 (Phase I: Safety and Dosage) เป็นการศึกษาความปลอดภัยใน กลุ่มอาสาสมัคร - การวิจัยทางคลินิกระยะที่ 2 (Phase II: Efficacy and Side Effects) เป็นการศึกษาประสิทธิภาพ และภาวะแทรกซ้อน - การวิจัยทางคลินิกระยะที่ 3 (Phase III: Efficacy and Monitoring of Adverse Reaction) เ ป็ น การศึกษาประสิทธิภาพและติดตามอาการไม่พึง ประสงค์ - การวิจัยทางคลินิกระยะที่ 4 (Phase IV: Post- marketing Surveillance) เป็นการศึกษาเพื่อ สังเกตผลในระยะยาว 3 . ต้องเสนอรายละเอียดเกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลนักวิจัย โครงสร้างพื้นฐานของศูนย์วิจัย การดูแลและคุ้มครอง อาสาสมัคร เป็นต้น 4 . ต้องมีหรือจัดหาสถานที่และอุปกรณ์ (Facilities) ที่เอื้ออํานวยต่อการดําเนินงาน การวิจัยทางคลินิก เช่น ห้องตรวจ ห้องเก็บยา อุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่ใช้ในการวิจัยทางคลินิก เป็นต้น A1

8 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 5 . อนุญาตให้นําเครื่องมือหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่มีอยู่เดิม มาใช้ในโครงการที่ได้รับการส่งเสริมได้ ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 6 . การดําเนินการวิจัยต้องเป็นไปตามมาตรฐานการ ปฏิบัติการวิจัยที่ดีทางคลินิก (Good Clinical Practice: GCP) หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า 7 . ต้องมีค่าใช้จ่ายเงินเดือนของบุคลากรไทยด้านการ วิจัยทางคลินิกไม่น้อยกว่า 1 , 500 , 000 บาทต่อปี โดยต้องเป็นการจ้างใหม่ หรือมีเงินลงทุน ( ไม่รวม ค่าที่ดิน ทุนหมุนเวียน และค่ายานพาหนะ ) ไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท ทั้งนี้ ค่าใช้จ่ายเงินเดือนของบุคลากรไทย และ / หรือเงินลงทุน จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ คณะกรรมการกําหนด โดยคํานวณเฉพาะโครงการที่ ขอรับการส่งเสริม 8 . ต้องมีบุคลากรไทยปฏิบัติงานในส่วนการวิจัยทางคลินิก และผ่านการอบรมตามแนวทางการปฏิบัติการวิจัยทาง คลินิกที่ดี (Good Clinical Practice: GCP) ของ ICH ( International Conference on Harmonization) หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า และต้องได้รับอนุญาต จากคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรม (Ethics Committee: EC) หรื อ คณะกรรมการควบคุม สัตว์ทดลอง (Institutional Animal Care and Use Committee: IACUC) ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับก่อน วันครบเปิดดําเนินการ 9 . ต้องมีความร่วมมือกับองค์กรด้านการวิจัยหรือบริการ ด้านสาธารณสุข หรือสถาบันการศึกษาในประเทศ ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ

หมวด 3 อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 1 กิจการผลิตเครื่องจักร อุปกรณ์ และ ชิ้นส่วนและการซ่อมแซมเครื่องจักรหรือ อุปกรณ์ที่ผลิตเอง 3 . 1 . 1 กิจการผลิตเครื่องจักร และ / หรือ อุปกรณ์อัตโนมัติ (Automation) ที่มีการออกแบบทางวิศวกรรม 3 . 1 . 1 . 1 กิจการผลิตเครื่องจักร และ / หรือ อุปกรณ์อัตโนมัติ (Automation) ที่มีการออกแบบ ทางวิศวกรรมและมีขั้นตอนการ พัฒนาและออกแบบระบบ อัตโนมัติ (Automation System Integration) รวมถึงมีขั้นตอน การออกแบบระบบควบคุมการ ปฏิบัติงานด้วยระบบสมองกลเอง 1 . ต้องเป็นระบบหรือเครื่องจักรที่มีหน้าที่การทํางาน ร่วมกันอย่างต่อเนื่องโดยอัตโนมัติ ไม่น้อยกว่า 2 หน้าที่การทํางาน 2 . ต้องมีขั้นตอนการทํางาน ดังนี้ 2 . 1 การพัฒนาและออกแบบระบบอัตโนมัติ (Automation System Integration) 2 . 2 การออกแบบระบบควบคุมการปฏิบัติงานด้วย ระบบสมองกลเอง 2 . 3 การออกแบบทางวิศวกรรมสําหรับตัวเครื่องจักร อุปกรณ์ และชิ้นส่วน A1 3 . 1 . 1 . 2 กิจการผลิตเครื่องจักร และ / หรือ อุปกรณ์อัตโนมัติ (Automation) ที่มีการ ออกแบบทางวิศวกรรมและมี ขั้นตอนการออกแบบระบบ ควบคุมการปฏิบัติงานด้วย ระบบสมองกลเอง ต้องมีขั้นตอนการทํางาน ดังนี้ 1 . การออกแบบระบบควบคุมการปฏิบัติงานด้วย ระบบสมองกลเอง 2 . การออกแบบทางวิศวกรรมสําหรับตัวเครื่องจักร อุปกรณ์ และชิ้นส่วน A2 3 . 1 . 2 กิจการผลิตเครื่องจักร อุปกรณ์หรือ ชิ้นส่วน และ / หรือ การซ่อมแซม แม่พิมพ์ ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนที่ใช้ทํางานตาม วัตถุประสงค์หลักของเครื่องจักรที่ผลิต และ / หรือการ ออกแบบทางวิศวกรรม A3 3 . 1 . 3 กิจการประกอบเครื่องจักร และ / หรือ อุปกรณ์เครื่องจักร ต้องมีขั้นตอนการประกอบตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 1 . 4 กิจการประกอบหุ่นยนต์ หรืออุปกรณ์ อัตโนมัติ และ / หรือชิ้นส่วน ต้องมีขั้นตอนการประกอบตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A3

2 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 1 . 5 กิจการผลิตเครื่องจักรที่มีความแม่นยําสูง รวมถึงอุปกรณ์และชิ้นส่วน และการ ซ่อมแซมเครื่องจักร 3 . 1 . 5 . 1 กิจการผลิตเครื่องจักรที่มี ความแม่นยําสูง 1 . ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วน และ / หรือ ต้องมี ขั้นตอนการประกอบตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 2 . ต้องมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 2 . 1 ต้องเป็นเครื่องจักรที่ใช้ในกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้ Microfabrication Technology เช่น กระบวนการผลิตวงจรรวม (Integrated Circuit: IC) เซมิคอนดักเตอร์ (Semiconductor) ระบบไฟฟ้าเครื่องกล จุลภาค (Microelectromechanical Systems: MEMS) เป็นต้น 2 . 2 เครื่องจักรที่ผลิตได้ในโครงการต้องสามารถ กําหนดค่าความคลาดเคลื่อนในการผลิต ชิ้นงานตามค่า International Tolerance Grades (IT) ไม่เกิน IT5 A2 3 . 1 . 5 . 2 กิจการผลิตอุปกรณ์ และ ชิ้นส่วนสําหรับเครื่องจักรที่ มีความแม่นยําสูง 1 . ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วน และ / หรือ ต้องมี ขั้นตอนการประกอบตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 2 . ต้องมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 2 . 1 ต้องเป็นชิ้นส่วน หรืออุปกรณ์ที่ใช้ทํางานตาม วัตถุประสงค์หลักของเครื่องจักรตามประเภท กิจการ 3 . 1 . 5 . 1 2 . 2 เครื่องจักรหลักที่ใช้ในโครงการต้องสามารถ ผลิตชิ้นงานที่มีค่าความคลาดเคลื่อน ตามค่า International Tolerance Grades (IT) ไม่เกิน IT5 A2

3 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 1 . 5 . 3 กิจการซ่อมแซมเครื่องจักร ที่มีความแม่นยําสูง 1 . ต้องมีการซ่อมแซมชิ้นส่วนสําคัญที่ใช้โดยตรง ต่อการทํางานตามหน้าที่ของเครื่องจักรที่มีความ แม่นยําสูง 2 . ต้องมีค่าใช้จ่ายเงินเดือนของบุคลากรด้านการ ซ่อมแซมเครื่องจักรไม่น้อยกว่า 1 , 500 , 000 บาท ต่อปี โดยต้องเป็นการจ้างงานใหม่หรือมีเงินลงทุน ( ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ) ไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท A3 ( ไม่กําหนด วงเงิน ยกเว้นภาษี เงินได้ นิติบุคคล 3 . 2 กิจการผลิตเครื่องมือวิทยาศาสตร์ 3 . 2 . 1 กิจการผลิตเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูง 3 . 2 . 2 กิจการผลิตเครื่องมือวิทยาศาสตร์ อื่นๆ ต้องเป็นเครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่สามารถตรวจวัด ค่าพารามิเตอร์ ประมวลผลข้อมูล และรายงานผลใน ตัวเองได้ หรือสามารถตรวจวัดและควบคุม พารามิเตอร์โดยอัตโนมัติ A2 A3 3 . 3 กิจการผลิตเลนส์ที่ไม่เข้าข่ายเครื่องมือ แพทย์ 3 . 3 . 1 กิจการผลิตเลนส์ที่มีขั้นตอนการ ขึ้นรูปต่อเนื่องจากการหลอมแก้ว ในโครงการเดียวกัน ต้องเป็นเลนส์ที่ไม่เข้าข่ายเครื่องมือแพทย์ตาม กฎหมายว่าด้วยเครื่องมือแพทย์ A3 3 . 3 . 2 กิจการผลิตเลนส์ เช่น เลนส์กล้อง เป็นต้น 3 . 3 . 3 กิจการผลิตเลนส์กันแดด หรือ เลนส์เพื่อความสวยงาม (Cosmetic Lenses) กรอบ แว่นตา และส่วนประกอบ ต้องเป็นเลนส์ที่ไม่เข้าข่ายเครื่องมือแพทย์ตามกฎหมาย ว่าด้วยเครื่องมือแพทย์ และไม่ใช่เลนส์กันแดดหรือเลนส์ เพื่อความสวยงาม (Cosmetic Lenses) กรอบแว่นตา และส่วนประกอบ A4 B

4 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 4 กิจการผลิตเครื่องยนต์ อุปกรณ์ หรือ ชิ้นส่วน 3 . 4 . 1 กิจการผลิตเครื่องยนต์สําหรับ ยานยนต์ 1 . ต้องมีการขึ้นรูปชิ้นส่วนไม่น้อยกว่า 4 ใน 5 ชิ้น ดังนี้ Cylinder Head, Cylinder Block, Crankshaft, Camshaft และ Connecting Rod 2 . กรณีการประกอบเครื่องยนต์ A3 A4 3 . 4 . 2 กิจการผลิตเครื่องยนต์สําหรับ รถจักรยานยนต์ 3 . 4 . 2 . 1 กิจการผลิตเครื่องยนต์ สําหรับรถจักรยานยนต์ ที่มีความจุกระบอกสูบ ตั้งแต่ 248 ซีซี ขึ้นไป 3 . 4 . 2 . 2 กิจการผลิตเครื่องยนต์ สําหรับรถจักรยานยนต์ ที่มีความจุกระบอกสูบ ต่ํากว่า 248 ซีซี 3 . 4 . 3 กิจการผลิตเครื่องยนต์สําหรับ เครื่องจักรกล 1 . การผลิตเครื่องยนต์ที่มีความจุกระบอกสูบตั้งแต่ 248 ซีซี ขึ้นไป แต่ต่ํากว่า 500 ซีซี ต้องมีการขึ้น รูปชิ้นส่วนในประเทศไทยไม่น้อยกว่า 4 ใน 6 ชิ้น ดังนี้ Cylinder Head, Cylinder Block, Crankcase, Crankshaft, Camshaft และ Connecting Rod ไม่ว่าจะดําเนินการโดยตนเอง หรือโดยผู้ผลิตรายอื่น 2 . การผลิตเครื่องยนต์ที่มีความจุกระบอกสูบตั้งแต่ 500 ซีซี ขึ้นไป ต้องมีการขึ้นรูปชิ้นส่วนในประเทศ ไทยไม่น้อยกว่า 2 ใน 6 ชิ้น ดังนี้ Cylinder Head, Cylinder Block, Crankcase, Crankshaft, Camshaft และ Connecting Rod ไม่ว่าจะ ดําเนินการโดยตนเอง หรือโดยผู้ผลิตรายอื่น 3 . กรณีการประกอบเครื่องยนต์ 1 . ต้องมีการขึ้นรูปชิ้นส่วน ดังนี้ Cylinder Head, Cylinder Block, Crankcase, Crankshaft, Camshaft และ Connecting Rod 2 . กรณีการประกอบเครื่องยนต์ 1 . ต้องมีการขึ้นรูปชิ้นส่วนไม่น้อยกว่า 2 ใน 6 ชิ้น ดังนี้ Cylinder Head, Cylinder Block, Crankcase, Crankshaft, Camshaft และ Connecting Rod 2 . กรณีการประกอบเครื่องยนต์ A3 A3 A4 A3 A4 A3 A4

5 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 4 . 4 กิจการผลิตเครื่องยนต์ อเนกประสงค์ หรืออุปกรณ์ 3 . 4 . 5 กิจการผลิตอุปกรณ์หรือชิ้นส่วน เครื่องยนต์ (Engine System Parts) 3 . 4 . 5 . 1 กิจการผลิต Crankshaft 3 . 4 . 5 . 2 กิจการผลิต Camshaft 1 . ต้องมีการขึ้นรูปชิ้นส่วน ดังนี้ Cylinder Head, Cylinder Block, Crankcase, Crankshaft, Camshaft และ Connecting Rod 2 . กรณีการประกอบเครื่องยนต์ ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A3 A4 A3 A3 3 . 4 . 5 . 3 กิจการผลิต Gear ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A3 3 . 4 . 5 . 4 กิจการผลิต Turbocharger 1 . กรณีมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ 2 . กรณีการประกอบ Turbocharger A3 A4 3 . 4 . 5 . 5 กิจการผลิตชิ้นส่วน Turbocharger ได้แก่ Turbine Blade, Turbine Housing และ Bearing Housing ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 4 . 5 . 6 กิจการผลิต Cylinder Head ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 4 . 5 . 7 กิจการผลิต Cylinder Block และ Crankcase ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 4 . 5 . 8 กิจการผลิต Connecting Rod ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 4 . 5 . 9 กิจการผลิต Valve ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4

6 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 4 . 5 . 10 กิจการผลิต Piston ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 4 . 5 . 11 กิจการผลิต Starting Motor or Parts ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 4 . 5 . 12 กิจการผลิต Alternator or Parts ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 4 . 5 . 13 กิจการผลิต Rocker Arm ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 4 . 5 . 14 กิจการผลิต Waste Gate Actuator ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 5 กิจการผลิตชิ้นส่วนยานพาหนะ 3 . 5 . 1 การผลิตชิ้นส่วนยานพาหนะที่ใช้ เทคโนโลยีขั้นสูง 3 . 5 . 1 . 1 กิจการผลิต Substrate สําหรับ Catalytic Converter A2 3 . 5 . 1 . 2 กิจการผลิต Electronic Fuel Injection System A2 3 . 5 . 1 . 3 กิจการผลิต Transmission A2 3 . 5 . 1 . 4 กิจการผลิต Electronic Control Unit (ECU) A2 3 . 5 . 2 กิจการผลิตชิ้นส่วนความปลอดภัย (Safety Parts) 3 . 5 . 2 . 1 กิจการผลิตระบบหรือ ส่วนประกอบของเบรก ABS (Anti-Lock Brake System) หรือ Electronic Brake Force Distribution (EBD) A2

7 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 5 . 2 . 2 กิจการผลิตถุงลมนิรภัย / เข็มขัดนิรภัย A4 3 . 5 . 2 . 3 กิจการผลิต Airbag Inflator, Gas Generator, Gas Generant A3 3 . 5 . 2 . 4 กิจการผลิตชิ้นส่วน ถุงลมนิรภัย ได้แก่ Initiator, Coolant Filter และ Ignitor A4 3 . 5 . 2 . 5 กิจการผลิตชิ้นส่วน เข็มขัดนิรภัย ได้แก่ Interlock, Retractor และ Buckle A4 3 . 5 . 3 กิจการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการควบคุมหรือ เพิ่มประสิทธิภาพระบบต่างๆ สําหรับยานพาหนะ 3 . 5 . 3 . 1 กิจการผลิต Electronic Stability Control (ESC) A2 3 . 5 . 3 . 2 กิจการผลิต Regenerative Braking System A2 3 . 5 . 3 . 3 กิจการผลิต Idling Stop System 3 . 5 . 3 . 4 กิจการผลิต Autonomous Emergency Braking System A2 A2

8 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 5 . 3 . 5 กิจการผลิตอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ สําหรับยานพาหนะ ต้องมีกรรมวิธีการผลิตตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ A2 3 . 5 . 4 กิจการผลิตอุปกรณ์สําหรับ ยานพาหนะไฟฟ้า 3 . 5 . 4 . 1 กิจการผลิตแบตเตอรี่ 3 . 5 . 4 . 2 กิจการผลิต Traction Motor 3 . 5 . 4 . 3 กิจการผลิตระบบปรับ อากาศด้วยไฟฟ้า ได้แก่ คอมเพรสเซอร์ 3 . 5 . 4 . 4 กิจการผลิตระบบ บริหารจัดการ แบตเตอรี่ (BMS) 3 . 5 . 4 . 5 กิจการผลิตระบบ ควบคุมการขับขี่ 3 . 5 . 4 . 6 กิจการผลิต On-board Charger 1 . กรณีมีขั้นตอนการผลิต Cell โดยให้ได้รับสิทธิและ ประโยชน์ลดหย่อนอากรขาเข้าวัตถุดิบและวัสดุ จําเป็นตามมาตรา 30 ในอัตราร้อยละ 90 สําหรับ ชิ้นส่วนหรือวัตถุดิบที่ไม่มีการผลิตในประเทศ เป็นระยะเวลา 5 ปี ทั้งนี้ จะอนุมัติให้คราวละ 1 ปี นับจากวันที่นําเข้าวัตถุดิบครั้งแรก 2 . กรณีนํา Cell มาเริ่มผลิต เช่น ผลิตเป็น Module หรือ Battery Pack เป็นต้น โดยให้ได้รับสิทธิและ ประโยชน์ลดหย่อนอากรขาเข้าวัตถุดิบและวัสดุ จําเป็นตามมาตรา 30 ในอัตราร้อยละ 90 สําหรับ ชิ้นส่วนหรือวัตถุดิบที่ไม่มีการผลิตในประเทศ เป็นระยะเวลา 5 ปี ทั้งนี้ จะอนุมัติให้คราวละ 1 ปี นับจากวันที่นําเข้าวัตถุดิบครั้งแรก 3 . กรณีนํา Module มาผลิตเป็น Battery Pack A1 A2 A3 A2 A2 A2 A2 A2

9 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 5 . 4 . 7 กิจการผลิตอุปกรณ์ สําหรับอัดประจุไฟฟ้า สําหรับยานพาหนะ ไฟฟ้า เช่น เต้ารับ - เต้าเสียบ Wallbox เป็นต้น 3 . 5 . 4 . 8 กิจการผลิต DC/DC Converter 3 . 5 . 4 . 9 กิจการผลิต Inverter 3 . 5 . 4 . 10 กิจการผลิต Portable Electric Vehicle Charger 3 . 5 . 4 . 11 กิจการผลิต Electrical Circuit Breaker 3 . 5 . 4 . 12 กิจการพัฒนาระบบ อัดประจุไฟฟ้า อัจฉริยะ (EV Smart Charging System) 3 . 5 . 4 . 13 กิจการผลิตคานหน้า / คานหลังสําหรับรถ โดยสารไฟฟ้าและ รถบรรทุกไฟฟ้า 3 . 5 . 4 . 14 กิจการผลิตชุดสายไฟ แรงดันสูง (High Voltage Harness) 3 . 5 . 4 . 15 กิจการผลิต Reduction Gear 3 . 5 . 4 . 16 กิจการผลิต Battery Cooling System A2 A2 A2 A 2 A2 A2 A2 A2 A2 A2

10 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 5 . 4 . 17 กิจการผลิต Regenerative Braking System A2 3 . 5 . 5 กิจการผลิตยางล้อสําหรับยานพาหนะ A2 3 . 5 . 6 กิจการผลิตชิ้นส่วนระบบเชื้อเพลิง (Fuel System Parts) 3 . 5 . 6 . 1 กิจการผลิต Fuel Pump ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A3 3 . 5 . 6 . 2 กิจการผลิต Injection Pump ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A3 3 . 5 . 6 . 3 กิจการผลิต Injector ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A3 3 . 5 . 6 . 4 กิจการผลิต Fuel Pipe/Tube A4 3 . 5 . 7 กิจการผลิตชิ้นส่วนระบบส่งกําลัง (Transmission System Parts) 1 . กรณีมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ 2 . กรณีการประกอบตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ A3 A4 3 . 5 . 8 กิจการผลิตระบบเบรก และ ชิ้นส่วน (Brake System & Parts) ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 5 . 9 กิจการผลิตชิ้นส่วนระบบ กันสะเทือน (Suspension System Parts) ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 5 . 10 กิจการผลิตชิ้นส่วนระบบบังคับ เลี้ยว (Steering System Parts) ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 5 . 11 กิจการผลิตชิ้นส่วนระบบระบาย ความร้อน (Cooling System Parts) 3 . 5 . 11 . 1 กิจการผลิต Water Pump ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4

11 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 5 . 11 . 2 กิจการผลิตอุปกรณ์ แลกเปลี่ยนความ ร้อน (Heat Exchanger) เช่น Radiator และ Air Cooler เป็นต้น ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 5 . 12 กิจการผลิตชิ้นส่วนระบบท่อ ไอเสีย (Exhaust System Parts) ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 5 . 13 กิจการผลิตชิ้นส่วนระบบปรับ อากาศ (Air Conditioning System Parts) 3 . 5 . 13 . 1 กิจการผลิต Air Compressor ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 5 . 13 . 2 กิจการผลิต Condenser / Condensing Coil ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 5 . 13 . 3 กิจการผลิต Evaporator / Cooling Coil ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A4 3 . 5 . 14 กิจการผลิตชิ้นส่วนตัวถังที่ใช้ เหล็กทนแรงดึงสูง (Ultimate Tensile Strength Steel) ต้องใช้เหล็กที่มีค่า Ultimate Tensile Strength (UTS) มากกว่า 700 เมกะปาสคาล (MPa) ขึ้นไป A4 3 . 5 . 15 กิจการผลิต Rolling Bearing สําหรับยานพาหนะ 3 . 5 . 16 กิจการผลิตโครงรถจักรยานยนต์ (Motorcycle Frame) สําหรับ รถจักรยานยนต์ขนาดตั้งแต่ 248 ซีซี ขึ้นไป โครง รถจักรยานยนต์ไฟฟ้าและโครง รถจักรยานไฟฟ้า 1 . กรณีมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ 2 . กรณีการประกอบ Rolling Bearing 1 . ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนหรือการเชื่อม ประกอบที่ทันสมัยตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 2 . กรณีการผลิตโครงรถจักรยานไฟฟ้า จะต้องผลิต จากวัสดุน้ําหนักเบา เช่น Aluminium Alloy, Chromiummolybdenum Alloy Steel, Titanium Alloy และ Carbon Fiber เป็นต้น A3 A4 A4

12 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 5 . 17 กิจการผลิตชิ้นส่วนยานพาหนะ อื่นๆ 1 . กรณีมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วนตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ 2 . กรณีอื่นๆ A4 B 3 . 6 กิจการผลิตยานยนต์ทั่วไป B 3 . 7 กิจการผลิตรถจักรยานยนต์ ( ยกเว้นที่มี ความจุกระบอกสูบต่ํากว่า 248 ซีซี ) 1 . ต้องมีการขึ้นรูปชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ ในประเทศ ดังนี้ Cylinder Head, Cylinder Block, Crankshaft, Crankcase, Camshaft และ Connecting Rod ไม่ว่าจะเป็นของตนเอง หรือของผู้ผลิตรายอื่น 1 . 1 การผลิตรถจักรยานยนต์ที่มีความจุกระบอก สูบตั้งแต่ 248 ซีซี ขึ้นไป แต่ต่ํากว่า 500 ซีซี ต้องมีการขึ้นรูปชิ้นส่วนไม่น้อยกว่า 4 ใน 6 ชิ้น 1 . 2 การผลิตรถจักรยานยนต์ที่มีความจุกระบอก สูบตั้งแต่ 500 ซีซี ขึ้นไป ต้องมีการขึ้นรูป ชิ้นส่วนไม่น้อยกว่า 2 ใน 6 ชิ้น 2 . ต้องมีขั้นตอนการเชื่อมประกอบโครงรถและพ่นสี ไม่ว่าจะดําเนินการเองหรือโดยผู้ผลิตรายอื่น 3 . ต้องเสนอแผนการลงทุนผลิตชิ้นส่วน และการใช้ชิ้นส่วน และต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สิทธิและประโยชน์ 1 . กรณีปฏิบัติครบเงื่อนไขข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 2 . กรณีปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อ 2 และข้อ 3 A3 B 3 . 8 กิจการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า Battery Electric Vehicle (BEV), Plug-in Hybrid Electric Vehicle (PHEV), Hybrid Electric Vehicle (HEV) และ แพลตฟอร์มสําหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบ แบตเตอรี่ (BEV Platform) 1 . ต้องเสนอเป็นแผนงานรวม (Package) ที่ประกอบด้วยโครงการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าแบบ BEV และ / หรือ แพลตฟอร์มสําหรับรถยนต์ไฟฟ้า แบบแบตเตอรี่ (BEV Platform) เป็นอย่างน้อย และโครงการผลิตแบตเตอรี่ไฟฟ้า ไม่ว่าจะเป็นของ ตนเองหรือของผู้ผลิตรายอื่น แผนการนําเข้า เครื่องจักรและติดตั้ง แผนการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า และ / หรือ แพลตฟอร์มสําหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบ แบตเตอรี่ (BEV Platform) ในปีที่ 1 - 3 แผนการ

13 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ ผลิตหรือจัดหาชิ้นส่วนอื่นๆ แผนการพัฒนาสถานี ประจุไฟฟ้าหรือสถานีสับเปลี่ยนแบตเตอรี่ไฟฟ้า ( เฉพาะการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ ) แผนการจัดการแบตเตอรี่ใช้แล้ว และแผนการ พัฒนาผู้ผลิตวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนในประเทศ (Local Supplier) ที่มีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ในการฝึกอบรมด้าน เทคโนโลยีและการให้ความช่วยเหลือทางเทคนิค 2 . รถยนต์ไฟฟ้าที่จําหน่ายในประเทศต้องเป็นไปตาม มาตรฐานและข้อกําหนด ดังนี้ 2 . 1 มาตรฐานความปลอดภัยของระบบส่ง กําลังไฟฟ้าตามข้อกําหนด UN R100 2 . 2 มาตรฐานด้านความปลอดภัยเชิงป้องกันก่อน เกิดเหตุ (Active Safety) โดยจะต้องมีระบบ ABS และ ESC (UN R13H W/ABS & ESC) เป็นอย่างน้อย 2 . 3 มาตรฐานการป้องกันผู้โดยสารกรณีที่เกิด อุบัติเหตุจากการชนด้านหน้าและด้านข้าง (UN R94 & UN R95) 2 . 4 มาตรฐานด้านมลพิษระดับ Euro 5 ขึ้นไป (UN R83) ( เฉพาะรถยนต์ไฟฟ้า HEV และ PHEV) 2 . 5 มาตรฐานและข้อกําหนดอื่นๆ ตามที่กําหนด โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สํานักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และ กรมการขนส่งทางบก เป็นต้น ทั้งนี้ แพลตฟอร์มสําหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบ แบตเตอรี่ (BEV Platform) ให้ยกเว้นเงื่อนไข มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ในส่วนที่ไม่เกี่ยวข้อง เช่น มาตรฐานการป้องกันผู้โดยสารกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ จากการชนด้านหน้าและด้านข้าง (UN R94 & UN R95) เป็นต้น

14 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . แพลตฟอร์มต้องประกอบด้วย Energy Storage System, Charging Module และ Front & Rear Axle Module 4 . ต้องเริ่มผลิตรถยนต์ไฟฟ้าทุกประเภท และ / หรือ แพลตฟอร์มสําหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ (BEV Platform) ตามที่ได้รับอนุมัติ โดยต้องมีการ ผลิตแบตเตอรี่ไฟฟ้าที่เริ่มจากขั้นตอนการนํา Cell มาเริ่มผลิต เช่น ผลิตเป็น Module หรือ Battery Pack เป็นต้น ภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตร ส่งเสริม 5 . ต้องมีการผลิตชิ้นส่วนสําคัญเพิ่มเติมอย่างน้อยอีก 1 ชิ้น ใน 3 ชิ้น ดังนี้ Traction Motor ระบบ บริหารจัดการแบตเตอรี่ (BMS) และระบบควบคุม การขับขี่ ภายใน 3 ปีนับจากวันเริ่มผลิตรถยนต์ ไฟฟ้า และ / หรือ แพลตฟอร์มสําหรับรถยนต์ไฟฟ้า แบบแบตเตอรี่ (BEV Platform) 6 . เฉพาะรถยนต์ HEV และ PHEV ต้องมีการผลิต ชิ้นส่วนเพิ่มเติมอย่างน้อยอีก 2 ชิ้น ตามประเภท กิจการ 3 . 5 . 4 กิจการผลิตอุปกรณ์สําหรับ ยานพาหนะไฟฟ้า ภายใน 3 ปี นับจากวันเริ่ม ผลิตรถยนต์ไฟฟ้า 7 . ไม่ให้ขยายเวลานําเข้าเครื่องจักรยกเว้นกรณีมีเหตุ อันสมควร 8 . กรณีขนาดการลงทุนไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ของโครงการรวม (Package) ได้แก่ การผลิต รถยนต์ BEV และ / หรือ แพลตฟอร์มสําหรับ รถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ (BEV Platform) และ การผลิตชิ้นส่วนสําคัญ ( แบตเตอรี่ไฟฟ้า Traction Motor ระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่ (BMS) และ ระบบควบคุมการขับขี่ ทั้งของตนเองและผู้ผลิต ชิ้นส่วน (Suppliers) รวมกันไม่น้อยกว่า 5 , 000 ล้านบาท ให้ได้รับสิทธิและประโยชน์ ดังนี้ - สําหรับผลิตภัณฑ์รถยนต์ PHEV A4

15 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ - สําหรับผลิตภัณฑ์รถยนต์ BEV และแพลตฟอร์ม สําหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ (BEV Platform) และสามารถขอรับสิทธิและ ประโยชน์เพิ่มเติมตามมาตรการเสริมสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันในการวิจัยและ พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม และ / หรือ การฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีขั้นสูงได้ ตาม หลักเกณฑ์ที่กําหนด 9 . กรณีขนาดการลงทุนไม่รวมค่าที่ดินและทุน หมุนเวียนของโครงการรวม (Package) ได้แก่ การผลิตรถยนต์ BEV และ / หรือ แพลตฟอร์มสําหรับ รถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ (BEV Platform) และ การผลิตชิ้นส่วนสําคัญ ( แบตเตอรี่ไฟฟ้า Traction Motor ระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่ (BMS) และ ระบบควบคุมการขับขี่ ทั้งของตนเองและผู้ผลิต ชิ้นส่วน (Suppliers) รวมกันน้อยกว่า 5 , 000 ล้านบาท ให้ได้รับสิทธิและประโยชน์ ดังนี้ - สําหรับผลิตภัณฑ์รถยนต์ PHEV - สําหรับผลิตภัณฑ์รถยนต์ BEV และ แพลตฟอร์มสําหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบ แบตเตอรี่ (BEV Platform) สิทธิและประโยชน์เพิ่มเติม 9 . 1 หากมีการผลิตชิ้นส่วนสําคัญสําหรับรถยนต์ BEV และ / หรือ แพลตฟอร์มสําหรับรถยนต์ ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ (BEV Platform) ยกเว้นแบตเตอรี่ไฟฟ้า เพิ่มเติมจาก ข้อกําหนดพื้นฐาน ภายใน 3 ปี นับจากวัน เริ่มผลิตรถยนต์ไฟฟ้า และ / หรือแพลตฟอร์ม สําหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ (BEV Platform) ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลเพิ่มเติมชิ้นละ 1 ปี A2 A4 A4

16 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 9 . 2 หากมีปริมาณการผลิตจริง (Actual Production) สําหรับรถยนต์ BEV และ / หรือ แพลตฟอร์มสําหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบ แบตเตอรี่ (BEV Platform) มากกว่า 10 , 000 คัน ( หน่วย ) ต่อปีในปีใดปีหนึ่ง ภายใน 3 ปีนับจากวันเริ่มผลิตรถยนต์ไฟฟ้า และ / หรือ แพลตฟอร์มสําหรับรถยนต์ไฟฟ้า แบบแบตเตอรี่ (BEV Platform) ให้ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม 1 ปี 9 . 3 สามารถยื่นขอรับสิทธิและประโยชน์ เพิ่มเติมตามมาตรการเสริมสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันในประเภท การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรม และ / หรือ การฝึกอบรมด้าน เทคโนโลยีขั้นสูงได้ ตามหลักเกณฑ์ที่ กําหนด 10 . ไม่ให้ได้รับสิทธิและประโยชน์เพิ่มเติมเพื่อพัฒนา พื้นที่อุตสาหกรรม 11 . กรณีผู้ได้รับส่งเสริมในกิจการผลิตรถยนต์ ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (Eco-car) ให้สามารถนับปริมาณรถยนต์ไฟฟ้าทุกประเภท ภายใต้โครงการเป็นปริมาณการผลิตจริง (Actual Production) ของกิจการผลิตรถยนต์ ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากลได้ ทั้งนี้ สําหรับ รถยนต์ที่ผลิตเพื่อตลาดในประเทศจะต้องมี คุณสมบัติด้านสิ่งแวดล้อมตามเงื่อนไขที่กําหนด ไว้ในกิจการผลิตรถยนต์ประหยัดพลังงาน มาตรฐานสากล

17 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 9 กิจการผลิตรถจักรยานยนต์ไฟฟ้าแบบ แบตเตอรี่ 1 . ต้องเสนอเป็นแผนงานรวม (Package) ที่ ประกอบด้วยโครงการผลิตรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า แบบแบตเตอรี่ และโครงการผลิตแบตเตอรี่ไฟฟ้า ไม่ว่าจะเป็นของตนเองหรือของผู้ผลิตรายอื่น แผนการนําเข้าเครื่องจักรและติดตั้ง แผนการผลิต รถจักรยานยนต์ไฟฟ้าในปีที่ 1 - 3 แผนการผลิต หรือจัดหาชิ้นส่วนอื่นๆ แผนการพัฒนาสถานีประจุ ไฟฟ้าหรือสถานีสับเปลี่ยนแบตเตอรี่ไฟฟ้า แผนการจัดการแบตเตอรี่ใช้แล้ว และแผนการ พัฒนาผู้ผลิตวัตถุดิบหรือชิ้นส่วน ในประเทศ (Local Supplier) ที่มีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่ น้อยกว่าร้อยละ 51 ในการฝึกอบรมด้าน เทคโนโลยีและการให้ความช่วยเหลือทางเทคนิค 2 . ต้องมีการผลิตรถจักรยานยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ และการผลิตแบตเตอรี่ไฟฟ้าภายใน 3 ปี นับจาก วันออกบัตรส่งเสริม 3 . รถจักรยานยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ที่จําหน่ายใน ประเทศต้องเป็นไปตามมาตรฐานและข้อกําหนด ดังต่อไปนี้ 3 . 1 มาตรฐานความปลอดภัยของระบบส่ง กําลังไฟฟ้าตามข้อกําหนด UN R136 3 . 2 มาตรฐานยางล้อตามข้อกําหนด มอก . 2720 หรือ UN R75 3 . 3 มาตรฐานระบบเบรก ABS หรือ CBS ตาม ข้อกําหนด UN R78 3 . 4 มาตรฐานและข้อกําหนดอื่นๆ ตามที่กําหนดโดย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สํานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กรมการขนส่งทางบก เป็นต้น 4 . ไม่ให้ขยายเวลานําเข้าเครื่องจักร ยกเว้นกรณีมีเหตุ อันสมควร A4

18 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 5 . สิทธิและประโยชน์เพิ่มเติม 5 . 1 หากมีการผลิตแบตเตอรี่ไฟฟ้าที่เริ่มจาก ขั้นตอนการนํา Cell มาเริ่มผลิต เช่น ผลิต เป็น Module หรือ Battery Pack เป็นต้น ภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตรส่งเสริม ให้ ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม 1 ปี 5 . 2 หากมีการผลิตชิ้นส่วนสําคัญอื่นๆเพิ่มเติม ได้แก่ Traction Motor ระบบบริหารจัดการ แบตเตอรี่ (BMS) และระบบควบคุมการขับขี่ ภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตรส่งเสริม ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม ชิ้นละ 1 ปี 5 . 3 สามารถยื่นขอรับสิทธิและประโยชน์เพิ่มเติม ตามมาตรการเสริมสร้างขีดความสามารถใน การแข่งขันในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรม และ / หรือ การฝึกอบรมด้าน เทคโนโลยีขั้นสูงได้ ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด 6 . ไม่ให้ได้รับสิทธิและประโยชน์เพิ่มเติมเพื่อพัฒนา พื้นที่อุตสาหกรรม 3 . 10 กิจการผลิตรถสามล้อไฟฟ้าแบบ แบตเตอรี่ และแพลตฟอร์มสําหรับ รถสามล้อไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ 1 . ต้องเสนอเป็นแผนงานรวม (Package) ที่ ประกอบด้วยโครงการผลิตรถสามล้อไฟฟ้าแบบ แบตเตอรี่ และ / หรือ แพลตฟอร์มสําหรับ รถสามล้อไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ และโครงการผลิต แบตเตอรี่ไฟฟ้าไม่ว่าจะเป็นของตนเองหรือของ ผู้ผลิตรายอื่น แผนการนําเข้าเครื่องจักรและติดตั้ง แผนความเชื่อมโยงสถานีประจุไฟฟ้าหรือสถานี สับเปลี่ยนแบตเตอรี่ไฟฟ้า ( เฉพาะการผลิต รถสามล้อไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ ) แผนการผลิต รถสามล้อไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ และ / หรือ แพลตฟอร์มสําหรับรถสามล้อไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ ในปีที่ 1 - 3 แผนการผลิตหรือจัดหาชิ้นส่วนอื่นๆ แผนการจัดการแบตเตอรี่ใช้แล้ว และแผนการ พัฒนาผู้ผลิตวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนในประเทศ A4

19 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ (Local Supplier) ที่มีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ในการฝึกอบรมด้าน เทคโนโลยีและการให้ความช่วยเหลือทางเทคนิค 2 . แพลตฟอร์มต้องประกอบด้วย Energy Storage System, Charging Module และ Front & Rear Axle Module 3 . ต้องมีการผลิตรถสามล้อไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ และ / หรือ แพลตฟอร์มสําหรับรถสามล้อไฟฟ้าแบบ แบตเตอรี่ และการผลิตแบตเตอรี่ไฟฟ้า ภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตรส่งเสริม 4 . รถสามล้อไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่และแพลตฟอร์ม สําหรับรถสามล้อไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ที่จําหน่ายใน ประเทศต้องเป็นไปตามมาตรฐานและข้อกําหนด ดังนี้ 4 . 1 มาตรฐานความปลอดภัยของระบบส่ง กําลังไฟฟ้าตามข้อกําหนด UN R136 4 . 2 มาตรฐานและข้อกําหนดอื่นๆ ตามที่กําหนด โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สํานักงาน มาตรฐานผลิตผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และ กรมการขนส่งทางบก เป็นต้น 5 . ไม่ให้ขยายเวลานําเข้าเครื่องจักร ยกเว้นกรณีมีเหตุ อันสมควร 6 . สิทธิและประโยชน์เพิ่มเติม 6 . 1 หากมีการผลิตแบตเตอรี่ไฟฟ้าที่เริ่มจาก ขั้นตอนการนํา Cell มาเริ่มผลิต เช่น ผลิต เป็น Module หรือ Battery Pack เป็นต้น ภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตรส่งเสริม ให้ ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม 1 ปี 6 . 2 หากมีการผลิตชิ้นส่วนสําคัญอื่นๆเพิ่มเติม ได้แก่ Traction Motor ระบบบริหาร จัดการแบตเตอรี่ (BMS) และระบบควบคุม การขับขี่ ภายใน 3 ปี นับจากวันออก

20 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ บัตรส่งเสริม ให้ได้รับยกเว้นภาษีนิติบุคคล เพิ่มเติมชิ้นละ 1 ปี 6 . 3 สามารถยื่นขอรับสิทธิและประโยชน์เพิ่มเติม ตามมาตรการเสริมสร้างขีดความสามารถใน การแข่งขันในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมได้ และ / หรือ การฝึกอบรมด้าน เทคโนโลยีขั้นสูงได้ ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด 7 . ไม่ให้ได้รับสิทธิและประโยชน์เพิ่มเติมเพื่อพัฒนา พื้นที่อุตสาหกรรม 3 . 11 กิจการผลิตรถโดยสารไฟฟ้าและ รถบรรทุกไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ และ แพลตฟอร์มสําหรับรถโดยสารไฟฟ้า และรถบรรทุกไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ 1 . ต้องเสนอเป็นแผนงานรวม (Package) ที่ ประกอบด้วยโครงการผลิตรถโดยสารไฟฟ้าหรือ รถบรรทุกไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ และ / หรือ แพลตฟอร์มสําหรับรถโดยสารไฟฟ้าหรือรถบรรทุก ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ และโครงการผลิตแบตเตอรี่ ไฟฟ้าไม่ว่าจะเป็นของตนเองหรือของผู้ผลิตรายอื่น แผนการนําเข้าเครื่องจักรและติดตั้ง แผนการผลิต รถโดยสารไฟฟ้าและรถบรรทุกไฟฟ้าแบบ แบตเตอรี่ และ / หรือ แพลตฟอร์มสําหรับรถ โดยสารไฟฟ้าหรือรถบรรทุกไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ ในปีที่ 1 - 3 แผนการผลิตหรือจัดหาชิ้นส่วนอื่นๆ แผนการพัฒนาสถานีประจุไฟฟ้าหรือสถานี สับเปลี่ยนแบตเตอรี่ไฟฟ้า ( เฉพาะการผลิตรถ โดยสารไฟฟ้าและรถบรรทุกไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ ) แผนการจัดการแบตเตอรี่ใช้แล้ว และแผนการ พัฒนาผู้ผลิตวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนในประเทศ (Local Supplier) ที่มีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ในการฝึกอบรมด้าน เทคโนโลยีและการให้ความช่วยเหลือทางเทคนิค 2 . แพลตฟอร์มต้องประกอบด้วย Energy Storage System, Charging Module และ Front & Rear Axle Module 3 . ต้องมีการผลิตรถโดยสารไฟฟ้าหรือรถบรรทุกไฟฟ้า แบบแบตเตอรี่ และ / หรือ แพลตฟอร์มสําหรับรถ โดยสารไฟฟ้าหรือรถบรรทุกไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ และการผลิตแบตเตอรี่ไฟฟ้าภายใน 3 ปี นับจาก วันออกบัตรส่งเสริม A4

21 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . รถโดยสารไฟฟ้าหรือรถบรรทุกไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ และแพลตฟอร์มสําหรับรถโดยสารไฟฟ้าหรือ รถบรรทุกไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ที่จําหน่ายใน ประเทศต้องเป็นไปตามมาตรฐานและข้อกําหนด ดังต่อไปนี้ 4 . 1 มาตรฐานความปลอดภัยของระบบส่ง กําลังไฟฟ้าตามข้อกําหนด UN R100 4 . 2 มาตรฐานและข้อกําหนดอื่นๆ ตามที่กําหนด โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สํานักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และ กรมการขนส่งทางบก เป็นต้น 5 . ไม่ให้ขยายเวลานําเข้าเครื่องจักร ยกเว้นกรณีมีเหตุ อันสมควร 6 . สิทธิและประโยชน์เพิ่มเติม 6 . 1 หากมีการผลิตแบตเตอรี่ไฟฟ้าที่เริ่มจาก ขั้นตอนการนํา Cell มาเริ่มผลิต เช่น ผลิตเป็น Module หรือ Battery Pack เป็นต้น ภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตรส่งเสริม ให้ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม 1 ปี 6 . 2 หากมีการผลิตชิ้นส่วนสําคัญอื่นๆเพิ่มเติม ได้แก่ Traction Motor ระบบบริหารจัดการ แบตเตอรี่ (BMS) และระบบควบคุมการขับขี่ ภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตรส่งเสริม ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม ชิ้นละ 1 ปี 6 . 3 สามารถยื่นขอรับสิทธิและประโยชน์เพิ่มเติม ตามมาตรการเสริมสร้างขีดความสามารถใน การแข่งขันในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมได้ และ / หรือ การฝึกอบรมด้าน เทคโนโลยีขั้นสูงได้ ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด 7 . ไม่ให้ได้รับสิทธิและประโยชน์เพิ่มเติมเพื่อพัฒนา พื้นที่อุตสาหกรรม

22 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 12 กิจการผลิตรถจักรยานไฟฟ้า (Electric Bicycle หรือ E-Bike) 1 . ต้องเสนอเป็นแผนงานรวม (Package) ที่ ประกอบด้วย ( 1 ) โครงการผลิตรถจักรยานไฟฟ้า ( 2 ) โครงการผลิตแบตเตอรี่ไฟฟ้าไม่ว่าจะเป็นของ ตนเองหรือของผู้ผลิตรายอื่น และ ( 3 ) แผนการ จัดการแบตเตอรี่ใช้แล้ว 2 . ต้องมีการผลิตรถจักรยานไฟฟ้าและการผลิต แบตเตอรี่ไฟฟ้าภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตร ส่งเสริม 3 . ต้องใช้โครงรถจักรยานไฟฟ้าจากวัสดุน้ําหนักเบา เช่น Aluminium Alloy, Chromium- Molybdenum Alloy Steel, Titanium Alloy และ Carbon Fiber เป็นต้น 4 . รถจักรยานไฟฟ้าที่ผลิตตามโครงการต้องเป็นไป ตามมาตรฐาน EN15194 หรือเทียบเท่า 5 . แบตเตอรี่ที่ใช้กับรถจักรยานไฟฟ้าจะต้องเป็น เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 6 . อนุญาตให้ผลิตรถจักรยานร่วมกับรถจักรยานไฟฟ้า ในโครงการได้ แต่รถจักรยานจะไม่ให้ได้รับสิทธิ และประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 7 . ไม่ให้ขยายเวลานําเข้าเครื่องจักร ยกเว้นกรณีมีเหตุ อันสมควร 8 . สิทธิและประโยชน์เพิ่มเติม 8 . 1 หากมีการผลิต Traction Motor ภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตรส่งเสริม ให้ได้รับยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม 1 ปี 8 . 2 หากมีการผลิตโครงรถจักรยานไฟฟ้าจากวัสดุ น้ําหนักเบาภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตร ส่งเสริม ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เพิ่มเติม 1 ปี 8 . 3 สามารถยื่นขอรับสิทธิและประโยชน์เพิ่มเติม ตามมาตรการเสริมสร้างขีดความสามารถใน การแข่งขันในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมได้ ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด 9 . ไม่ให้ได้รับสิทธิและประโยชน์เพิ่มเติมเพื่อพัฒนา พื้นที่อุตสาหกรรม A4

23 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 13 กิจการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าพลังงานเซลล์ เชื้อเพลิง (Fuel Cell Electric Vehicles : FCEV) และอุปกรณ์สําหรับ ระบบเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell System) 3 . 13 . 1 กิจการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า พลังงานเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell Electric Vehicles : FCEV 3 . 13 . 2 กิจการผลิตอุปกรณ์สําหรับ ระบบเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell System) กรณีการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าพลังงานเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell Electric Vehicles : FCEV) ต้องเสนอ เป็นแผนงานรวม (Package) ที่ประกอบด้วย โครงการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าพลังงานเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell Electric Vehicles หรือ FCEV) และ โครงการผลิตเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell) ไม่ว่าจะเป็น ของตนเองหรือของผู้ผลิตรายอื่น แผนการนําเข้า เครื่องจักรและติดตั้ง แผนการผลิตในปีที่ 1 - 3 แผนการผลิตหรือจัดหาชิ้นส่วนอื่นๆ แผนการพัฒนา สถานีเติมก๊าซไฮโดรเจน (Hydrogen Fueling Station) แผนการจัดการแบตเตอรี่ใช้แล้ว และ แผนการพัฒนาผู้ผลิตวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนในประเทศ (Local Supplier) ที่มีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อย กว่าร้อยละ 51 ในการฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีและ การให้ความช่วยเหลือทางเทคนิค A2 A2 3 . 14 กิจการผลิตเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell) และชิ้นส่วน A2 3 . 15 กิจการต่อเรือหรือซ่อมเรือ 3 . 15 . 1 กิจการต่อเรือหรือซ่อมเรือ ขนาดตั้งแต่ 500 ตันกรอส ต้องได้รับใบรับรองระบบคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 14000 ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิดดําเนินการ A2 3 . 15 . 2 กิจการต่อเรือหรือซ่อมเรือ ขนาดต่ํากว่า 500 ตันกรอส ( เฉพาะเรือโลหะ หรือไฟเบอร์ กลาสที่มีการติดตั้งเครื่องยนต์ หรือระบบขับเคลื่อน และ อุปกรณ์ ) ต้องได้รับใบรับรองระบบคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 14000 ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิดดําเนินการ A2

24 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 16 กิจการผลิตและ / หรือซ่อมรถไฟ ชิ้นส่วน หรืออุปกรณ์สําหรับระบบราง 3 . 16 . 1 กิจการผลิตขบวนรถและ / หรือ ตู้รถ เช่น ตู้รถโดยสาร ตู้สินค้า เป็นต้น 3 . 16 . 1 . 1 กิจการผลิตขบวน รถและ / หรือ ตู้รถ เช่น ตู้รถโดยสาร ตู้สินค้า เป็นต้น ที่มีการออกแบบ ทางวิศวกรรม 3 . 16 . 1 . 2 กิจการผลิตขบวน รถและ / หรือ ตู้รถ เช่น ตู้รถโดยสาร ตู้สินค้า เป็นต้น 3 . 16 . 2 กิจการซ่อมรถไฟ หรือชิ้นส่วน หรืออุปกรณ์สําหรับระบบราง 3 . 16 . 3 กิจการผลิตชิ้นส่วน หรือ อุปกรณ์สําหรับระบบราง 1 . ต้องมีขั้นตอนการออกแบบทางวิศวกรรม 2 . ต้องเป็นไปตามมาตรฐานสากลหรือข้อกําหนดของ หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ต้องเป็นไปตามมาตรฐานสากลหรือข้อกําหนดของ หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ต้องมีการซ่อมบํารุงหนัก (Overhaul) และ / หรือ การซ่อมแซม (Repair) ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง 1 . ต้องมีกรรมวิธีการผลิตตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ 2 . ต้องเป็นการผลิตชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์สําหรับ ระบบราง ได้แก่ 1 ) โครงสร้างหลัก 2 ) ตู้โดยสาร 3 ) ห้องควบคุมรถและอุปกรณ์ 4 ) โบกี้ 5 ) ระบบห้ามล้อและ / หรือชิ้นส่วนสําคัญ 6 ) อุปกรณ์เชื่อมต่อตู้โดยสาร 7 ) ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ และ / หรือชิ้นส่วนสําคัญ 8 ) ระบบผลิตและจ่ายลม และ / หรือชิ้นส่วน สําคัญ 9 ) ระบบประตูโดยสาร และ / หรือชิ้นส่วนสําคัญ A1 A2 A3 ( ไม่กําหนด วงเงิน ยกเว้น ภาษีเงินได้ นิติบุคคล ) A2

25 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 10 ) ระบบส่องสว่างของรถ และ / หรือชิ้นส่วน สําคัญ 11 ) ระบบสื่อสารและเฝ้าสังเกตการณ์และ / หรือ ชิ้นส่วนสําคัญ 12 ) ระบบควบคุมและอาณัติสัญญาณและ / หรือ ชิ้นส่วนสําคัญ 13 ) ระบบไฟฟ้าและระบบจ่ายไฟและ / หรือ ชิ้นส่วนสําคัญ 14 ) รางหรือชิ้นส่วนราง 3 . 17 กิจการสถานีบริการอัดประจุไฟฟ้า (Charging Station) และสถานีบริการ สับเปลี่ยนแบตเตอรี่ (Battery Swapping Station) สําหรับยานพาหนะไฟฟ้า 3 . 17 . 1 กิจการสถานีบริการอัดประจุ ไฟฟ้า (Charging Station) 3 . 17 . 2 กิจการสถานีบริการสับเปลี่ยน แบตเตอรี่ (Battery Swapping Station) 1 . ต้องเสนอแผนการจัดหาอุปกรณ์และชิ้นส่วน 2 . ต้องเสนอแผนพัฒนาระบบอัดประจุไฟฟ้าอัจฉริยะ (EV Smart Charging System) หรือแผนการ เชื่อมโยงระบบอัดประจุไฟฟ้าเข้ากับแพลตฟอร์ม บูรณาการหรือแพลตฟอร์มส่วนกลางสําหรับ บริหารจัดการเครือข่ายระบบอัดประจุไฟฟ้า 3 . ต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือข้อกําหนดด้าน มาตรฐานและความปลอดภัยของหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงพลังงาน การไฟฟ้านคร หลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และกระทรวง อุตสาหกรรม เป็นต้น 4 . ให้ได้รับสิทธิและประโยชน์ ดังนี้ - กรณีที่มีหัวจ่ายประจุไฟฟ้าไม่น้อยกว่า 40 หัวจ่าย โดยเป็นประเภท Quick Charge ซึ่งหมายถึง แบบจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง (DC) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25 - กรณีอื่นๆ 1 . ต้องเสนอแผนการจัดหาอุปกรณ์และชิ้นส่วน 2 . ต้องเสนอแผนพัฒนาระบบอัดประจุไฟฟ้าอัจฉริยะ (EV Smart Charging System) หรือแผนการ เชื่อมโยงระบบอัดประจุไฟฟ้าเข้ากับแพลตฟอร์ม บูรณาการหรือแพลตฟอร์มส่วนกลางสําหรับ บริหารจัดการเครือข่ายระบบอัดประจุไฟฟ้า A3 A4 A3

26 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . ต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือข้อกําหนดด้าน มาตรฐานและความปลอดภัยของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงพลังงาน การไฟฟ้า นครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และกระทรวง อุตสาหกรรม เป็นต้น 4 . ไม่ให้ได้รับสิทธิและประโยชน์ตามมาตรา 28 สําหรับแบตเตอรี่ 3 . 18 กิจการด้านอากาศยานและอวกาศ 3 . 18 . 1 กิจการผลิตและซ่อมแซม อากาศยาน อุปกรณ์ หรือ ชิ้นส่วน 3 . 18 . 1 . 1 กิจการผลิตอากาศ ยานหรือชิ้นส่วน ต้องเป็นการผลิตอากาศยานหรือชิ้นส่วน เช่น ลําตัว อากาศยาน ชิ้นส่วนประกอบสําคัญของอากาศยาน บริภัณฑ์และชิ้นส่วนอื่นๆ เป็นต้น A1 3 . 18 . 1 . 2 กิจการผลิตเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์ภายใน อากาศยาน ต้องเป็นการผลิตเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์ภายใน อากาศยาน เช่น เก้าอี้ ชูชีพ รถเข็น หรือ อุปกรณ์ ประกอบอาหาร เป็นต้น แต่ไม่รวมถึงการผลิตเครื่องใช้ หรือวัสดุสิ้นเปลืองและหมุนเวียน A3 3 . 18 . 1 . 3 กิจการซ่อม อากาศยาน หรือชิ้นส่วน 3 . 18 . 1 . 4 กิจการซ่อมเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์ภายใน อากาศยาน 3 . 18 . 1 . 5 กิจการผลิตอุปกรณ์ ซ่อมบํารุงและ งานบริการภาคพื้น (Ground Support Equipment) ให้ได้รับสิทธิและประโยชน์ลดหย่อนอากรขาเข้า วัตถุดิบและวัสดุจําเป็นตามมาตรา 30 ในอัตรา ร้อยละ 90 สําหรับชิ้นส่วนหรือวัตถุดิบที่ไม่มีการผลิต ในประเทศ เป็นระยะเวลา 5 ปี ทั้งนี้ จะอนุมัติให้ คราวละ 1 ปี นับจากวันที่นําเข้าวัตถุดิบครั้งแรก ไม่ให้การส่งเสริมการซ่อมเครื่องใช้หรือวัสดุสิ้นเปลือง และหมุนเวียน 1 . ไม่ให้การส่งเสริมการผลิตรถบัสบริการเคลื่อนย้าย ผู้โดยสาร (Bus or Passenger Transport Vehicles) รถเข็นสัมภาระ ในสนามบิน (Airport Trolley) สายรัด (Aviation Belt) และกระบะรองสัมภาระ (Air Transport Aviation Freight Pallet) 2 . กรณีมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วน และ / หรือ การออกแบบทางวิศวกรรมเองในโครงการ 3 . กรณีมีขั้นตอนการประกอบตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A2 A4 A3 A4

27 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 18 . 2 กิจการผลิตอุปกรณ์การออกแบบ และพัฒนาเกี่ยวกับอวกาศ และ การให้บริการเกี่ยวกับอวกาศ 3 . 18 . 2 . 1 กิจการผลิตอุปกรณ์ เกี่ยวกับอวกาศ 1 . ต้องเป็นการผลิตอุปกรณ์เกี่ยวกับอวกาศ เช่น ยานอวกาศ ดาวเทียม ระบบขับเคลื่อนจรวดนําส่ง และยานอวกาศ เป็นต้น 2 . ให้ได้รับสิทธิและประโยชน์ลดหย่อนอากรขาเข้า วัตถุดิบและวัสดุจําเป็นตามมาตรา 30 ในอัตรา ร้อยละ 90 สําหรับชิ้นส่วนหรือวัตถุดิบที่ไม่มีการ ผลิตในประเทศ เป็นระยะเวลา 5 ปี ทั้งนี้ จะอนุมัติให้คราวละ 1 ปี นับจากวันที่นําเข้า วัตถุดิบครั้งแรก A1 3 . 18 . 2 . 2 กิจการผลิตชิ้นส่วน Mechanical Parts และ / หรือ Electronic Parts สําหรับดาวเทียม หรือวัตถุอวกาศ รูปแบบต่างๆ 3 . 18 . 2 . 3 กิจการการออกแบบ และพัฒนาระบบ หรือซอฟต์แวร์ที่ เกี่ยวข้องกับดาวเทียม และสถานีภาคพื้นดิน ต้องเป็นการออกแบบและพัฒนาระบบหรือซอฟต์แวร์ เช่น ระบบหรือซอฟต์แวร์สําหรับแพลตฟอร์ม ดาวเทียม ระบบสัมภาระ (Payload) ระบบค้นหา ระบบป้องกันขยะอวกาศ (Space Debris) และระบบ นําทางในอวกาศ เป็นต้น A2 A1 3 . 18 . 2 . 4 กิจการบริการนําส่งวัตถุ สู่อวกาศ (Launching Services) หรือกิจการ ผลิตระบบควบคุม ภารกิจนําส่ง A1 3 . 18 . 2 . 5 กิจการสนับสนุน เกี่ยวกับอวกาศ ต้องเป็นกิจการสนับสนุนเกี่ยวกับอวกาศ เช่น ห้องปฏิบัติการเพื่อการทดสอบดาวเทียมและวัตถุอวกาศ และ / หรือ การรับรองมาตรฐานชิ้นส่วน เป็นต้น A2

28 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 19 กิจการผลิตยานพาหนะและระบบอาวุธ เพื่อการป้องกันประเทศ และชิ้นส่วน และ / หรือซ่อม 1 . ต้องเป็นการผลิตยานพาหนะและระบบอาวุธเพื่อ การป้องกันประเทศ ได้แก่ รถถัง รถเกราะ ยานพาหนะรบ หรือยานพาหนะช่วยรบ 2 . ต้องได้รับการรับรองว่าผ่านการทดสอบหรือได้ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่เห็นชอบโดยหน่วยงาน ภายใต้กระทรวงกลาโหม หรือสถาบันเทคโนโลยี ป้องกันประเทศ 3 . กรณีซ่อม ต้องเป็นการซ่อมบํารุงหนัก หรือการ ซ่อมแซมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตาม มาตรฐานที่เห็นชอบโดยหน่วยงานภายใต้ กระทรวงกลาโหมหรือสถาบันเทคโนโลยีป้องกัน ประเทศ A2 3 . 20 กิจการผลิตยานไร้คนขับ (Unmanned System) เพื่อการป้องกันประเทศ และ ชิ้นส่วน และ / หรือการซ่อม 3 . 20 . 1 กิจการผลิตยานภาคพื้น ไร้คนขับ (Unmanned Ground System: UGS) และชิ้นส่วน และ / หรือซ่อม 1 . ต้องเป็นการผลิตยานภาคพื้นไร้คนขับ (Unmanned Ground System: UGS) เช่น ยานภาคพื้นไร้คนขับ (Unmanned Ground Vehicle: UGV) หุ่นยนต์สําหรับการปฏิบัติการ ทางทหาร และหุ่นยนต์ขนาดจิ๋ว เป็นต้น 2 . ต้องเป็นการผลิตชิ้นส่วนยานไร้คนขับ (Unmanned System) เช่น ตัวโครงสร้างหลัก แขนกล มือจับ ระบบติดต่อสื่อสารระบบกล้อง ระบบสมองกล ระบบไฟฟ้า และแบตเตอรี่ เป็นต้น 3 . กรณีซ่อม ต้องเป็นการซ่อมบํารุงหนัก หรือการซ่อมแซม ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่ เห็นชอบโดยหน่วยงานภายใต้กระทรวงกลาโหมหรือ สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ 4 . ต้องได้รับการรับรองว่าผ่านการทดสอบหรือได้ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่เห็นชอบโดยหน่วยงาน ภายใต้กระทรวงกลาโหม หรือสถาบันเทคโนโลยี ป้องกันประเทศ A1

29 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 20 . 2 กิจการผลิตยานทางน้ําไร้ คนขับ (Unmanned Maritime System: UMS) และชิ้นส่วน และ / หรือซ่อม 1 . ต้องเป็นการผลิตยานทางน้ําไร้คนขับ (Unmanned Maritime System: UMS) เช่น ยานผิวน้ําไร้คนขับ (Unmanned Surface Vehicle: USV) และยานใต้น้ําไร้คนขับ (Unmanned Underwater Vehicle: UUV) เป็นต้น 2 . ต้องเป็นการผลิตชิ้นส่วนยานไร้คนขับ (Unmanned System) เช่น ตัวโครงสร้างหลัก แขนกล มือจับ ระบบติดต่อสื่อสาร ระบบกล้อง ระบบสมองกล ระบบไฟฟ้า และ แบตเตอรี่ เป็นต้น 3 . กรณีซ่อม ต้องเป็นการซ่อมบํารุงหนัก หรือการ ซ่อมแซมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ทั้งนี้ ต้องเป็นไป ตามมาตรฐานที่เห็นชอบโดยหน่วยงานภายใต้ กระทรวงกลาโหมหรือสถาบันเทคโนโลยีป้องกัน ประเทศ 4 . ต้องได้รับการรับรองว่าผ่านการทดสอบหรือ ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่เห็นชอบโดยหน่วยงาน ภายใต้กระทรวงกลาโหม หรือสถาบันเทคโนโลยี ป้องกันประเทศ A1 3 . 20 . 3 กิจการผลิตอากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aircraft System: UAS) และชิ้นส่วน และ / หรือซ่อม 1 . ต้องเป็นการผลิตอากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aircraft System: UAS) เช่น อากาศยานไร้คนขับแบบปีกติดลําตัว (Fixed Wing) อากาศยานไร้คนขับแบบปีกหมุน (Rotor) และอากาศยานไร้คนขับแบบผสม (Fixed Wing/Rotor) เป็นต้น 2 . ต้องเป็นการผลิตชิ้นส่วนยานไร้คนขับ (Unmanned System) เช่น ตัวโครงสร้างหลัก แขนกล มือจับ ระบบติดต่อสื่อสาร ระบบกล้อง ระบบสมองกล ระบบไฟฟ้า และแบตเตอรี่ เป็นต้น A1

30 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . กรณีซ่อม ต้องเป็นการซ่อมบํารุงหนัก หรือการ ซ่อมแซมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตาม มาตรฐานที่เห็นชอบโดยหน่วยงานภายใต้กระทรวง กลาโหมหรือสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ 4 . ต้องได้รับการรับรองว่าผ่านการทดสอบหรือได้ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่เห็นชอบโดยหน่วยงาน ภายใต้กระทรวงกลาโหม หรือสถาบันเทคโนโลยี ป้องกันประเทศ 3 . 21 กิจการผลิตและ / หรือซ่อมอาวุธ และ เครื่องช่วยฝึกเพื่อการป้องกันประเทศ และชิ้นส่วน 3 . 21 . 1 การผลิต และ / หรือ ซ่อมอาวุธ 3 . 21 . 1 . 1 กิจการผลิตอาวุธ ปืนและชิ้นส่วน และ / หรือการ ซ่อมอาวุธปืน 1 . ต้องได้รับการรับรองว่าผ่านการทดสอบหรือ ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่เห็นชอบโดยหน่วยงาน ภายใต้กระทรวงกลาโหม หรือสถาบันเทคโนโลยี ป้องกันประเทศ 2 . กรณีซ่อม ต้องเป็นการซ่อมบํารุงหนัก หรือการ ซ่อมแซมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตาม มาตรฐานที่เห็นชอบโดยหน่วยงานภายใต้กระทรวง กลาโหมหรือสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ 3 . ต้องได้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัติโรงงานผลิต อาวุธของเอกชน พ . ศ . 2550 4 . ต้องมีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน ยกเว้นกรณีกิจการที่สถาบัน เทคโนโลยีป้องกันประเทศจัดตั้งหรือร่วมกับบุคคล อื่นในการจัดตั้งเป็นนิติบุคคล จะได้รับการยกเว้น ตามพระราชบัญญัติเทคโนโลยีป้องกันประเทศ พ . ศ . 2562 A2

31 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 21 . 1 . 2 กิจการผลิต กระสุนปืนและ ชิ้นส่วน 3 . 21 . 1 . 3 กิจการผลิตระบบ จรวดและชิ้นส่วน และ / หรือการ ซ่อมระบบจรวด 1 . ต้องได้รับการรับรองว่าผ่านการทดสอบหรือได้ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่เห็นชอบโดยหน่วยงาน ภายใต้กระทรวงกลาโหม หรือสถาบันเทคโนโลยี ป้องกันประเทศ 2 . ต้องได้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัติโรงงานผลิต อาวุธของเอกชน พ . ศ . 2550 3 . ต้องมีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน ยกเว้นกรณีกิจการที่สถาบัน เทคโนโลยีป้องกันประเทศจัดตั้งหรือร่วมกับบุคคล อื่นในการจัดตั้งเป็นนิติบุคคลจะได้รับการยกเว้น ตามพระราชบัญญัติเทคโนโลยีป้องกันประเทศ พ . ศ . 2562 1 . ต้องเป็นการผลิตระบบจรวด ให้รวมถึงระบบ ควบคุม รถยิงหรือสิ่งนําพาไปของระบบจรวด 2 . ต้องได้รับการรับรองว่าผ่านการทดสอบหรือ ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่เห็นชอบโดยหน่วยงาน ภายใต้กระทรวงกลาโหม หรือสถาบันเทคโนโลยี ป้องกันประเทศ 3 . กรณีซ่อม ต้องเป็นการซ่อมบํารุงหนัก หรือการ ซ่อมแซมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตาม มาตรฐานที่เห็นชอบโดยหน่วยงานภายใต้กระทรวง กลาโหมหรือสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ 4 . ต้องได้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัติโรงงานผลิต อาวุธของเอกชน พ . ศ . 2550 5 . ต้องมีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน ยกเว้นกรณีกิจการที่สถาบัน เทคโนโลยีป้องกันประเทศจัดตั้งหรือร่วมกับ บุคคลอื่นในการจัดตั้งเป็นนิติบุคคลจะได้รับการ ยกเว้นตามพระราชบัญญัติเทคโนโลยีป้องกัน ประเทศ พ . ศ . 2562 A2 A2

32 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . 21 . 2 การผลิตระบบจําลองยุทธ์และ การฝึกเสมือนจริง และชิ้นส่วน และ / หรือการซ่อมระบบจําลอง ยุทธ์และการฝึกเสมือนจริง 1 . ต้องเป็นระบบจําลองยุทธ์และการฝึกเสมือนจริง เช่น ระบบเครื่องช่วยฝึกยานรบเสมือนจริง ระบบ เครื่องช่วยฝึกใช้อาวุธเสมือนจริง และระบบสนาม ฝึกยิงอาวุธประจํากายและอาวุธประจําหน่วย ระบบจําลองยุทธ์ปฏิบัติการร่วม (JTLS) เป็นต้น 2 . ต้องได้รับการรับรองว่าผ่านการทดสอบหรือ ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่เห็นชอบโดยหน่วยงาน ภายใต้กระทรวงกลาโหม หรือสถาบันเทคโนโลยี ป้องกันประเทศ 3 . กรณีซ่อม ต้องเป็นการซ่อมบํารุงหนัก หรือการ ซ่อมแซมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตาม มาตรฐานที่เห็นชอบโดยหน่วยงานภายใต้กระทรวง กลาโหมหรือสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ 4 . ต้องมีการออกแบบระบบหรือพัฒนาซอฟต์แวร์เอง A1 3 . 22 กิจการผลิตและ / หรือซ่อมอุปกรณ์ช่วยรบ 1 . ต้องเป็นการผลิตอุปกรณ์ช่วยรบ เช่น เสื้อเกราะ กันกระสุนและสะเก็ดระเบิด แผ่นเกราะหรือ โล่ป้องกันกระสุนและสะเก็ดระเบิด เป็นต้น 2 . ต้องได้รับการรับรองว่าผ่านการทดสอบหรือ ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่เห็นชอบโดยหน่วยงาน ภายใต้กระทรวงกลาโหม หรือสถาบันเทคโนโลยี ป้องกันประเทศ 3 . กรณีซ่อม ต้องเป็นการซ่อมบํารุงหนัก หรือการ ซ่อมแซมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตาม มาตรฐานที่เห็นชอบโดยหน่วยงานภายใต้กระทรวง กลาโหมหรือสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ A2

หมวด 4 อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . 1 กิจการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ Microelectronics, Optoelectronics หรือ Embedded System 4 . 2 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์และชิ้นส่วน 4 . 2 . 1 กิจการผลิต Wafer 4 . 2 . 2 กิจการผลิตหรือทดสอบ อุปกรณ์สารกึ่งตัวนําและ วงจรรวม 4 . 2 . 2 . 1 กิจการผลิตหรือ ทดสอบอุปกรณ์ สารกึ่งตัวนําและ วงจรรวม ที่เป็นการ ลงทุนขนาดใหญ่ 1 . ต้องมีค่าใช้จ่ายเงินเดือนของบุคลากรด้านออกแบบ ทางอิเล็กทรอนิกส์ ไม่น้อยกว่า 1 , 500 , 000 บาท ต่อปี โดยต้องเป็นการจ้างงานใหม่ หรือมีเงินลงทุน ( ไม่รวมค่าที่ดิน ทุนหมุนเวียน และค่ายานพาหนะ ) ไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท 2 . ในการยื่นแบบขอใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงิน ได้นิติบุคคลจากการจําหน่ายผลิตภัณฑ์หรือบริการซึ่ง เป็นผลงานที่เกี่ยวกับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมโดยตรง ต้องมีหลักฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ - สิทธิบัตร สําหรับผลิตภัณฑ์หรือบริการซึ่งเป็นผลงานที่ เกี่ยวกับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมโดยตรง - หนังสือรับรองผลิตภัณฑ์หรือบริการว่าเป็นการ ออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ของโครงการ จากสํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือสถาบัน ที่เกี่ยวข้องสําหรับแต่ละผลิตภัณฑ์หรือบริการ ต้องมีกรรมวิธีการผลิตตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 1 . ต้องเป็นการผลิตหรือทดสอบชิ้นส่วนสําหรับอุปกรณ์ สารกึ่งตัวนําและวงจรรวม และผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น ระหว่างหรือต่อเนื่องจากขั้นตอนการผลิต เช่น Wafer Grinding, Sawed Dice, Wafer Testing, IC Testing และ IC Module เป็นต้น 2 . สําหรับการผลิตและทดสอบวงจรรวม (Integrated Circuit: IC) การลงทุนปรับปรุงเครื่องจักรเดิมให้เป็น ส่วนหนึ่งของโครงการที่จะได้รับส่งเสริมด้วยโดยไม่ให้ นับมูลค่าเครื่องจักรเดิมมารวมเป็นเงินลงทุนที่จะได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล A1 A1+ ( 13 ปี ไม่กําหนด วงเงินยกเว้น ภาษีเงินได้ นิติบุคคล ) A2

2 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . 2 . 2 . 2 กิจการผลิตหรือ ทดสอบอุปกรณ์ สารกึ่งตัวนําและ วงจรรวม 4 . 2 . 3 กิจการผลิต Electronic Passive Component เช่น Resistor, Capacitor และ Inductor เป็นต้น 4 . 2 . 3 . 1 กิจการผลิต Electronic Passive Component ชนิด Surface Mount Device ที่เป็นการ ลงทุนขนาดใหญ่ 3 . ต้องมีเงินลงทุนค่าเครื่องจักร ( รวมค่าติดตั้งและค่าทดลอง เครื่อง ) ที่ใช้ในการผลิตหรือทดสอบไม่น้อยกว่า 1 , 500 ล้านบาท 1 . ต้องเป็นการผลิตหรือทดสอบชิ้นส่วนสําหรับอุปกรณ์ สารกึ่งตัวนําและวงจรรวม และผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น ระหว่างหรือต่อเนื่องจากขั้นตอนการผลิต เช่น Wafer Grinding, Sawed Dice, Wafer Testing, IC Testing และ IC Module เป็นต้น 2 . สําหรับการผลิตและทดสอบวงจรรวม (Integrated Circuit: IC) การลงทุนปรับปรุงเครื่องจักรเดิมให้เป็น ส่วนหนึ่งของโครงการที่จะได้รับส่งเสริมด้วยโดยไม่ให้ นับมูลค่าเครื่องจักรเดิมมารวมเป็นเงินลงทุนที่จะได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ต้องมีเงินลงทุนค่าเครื่องจักร ( รวมค่าติดตั้งและค่าทดลอง เครื่อง ) ที่ใช้ในการผลิตไม่น้อยกว่า 1 , 500 ล้านบาท A3 A2

3 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . 2 . 3 . 2 กิจการผลิต Electronic Passive Component ชนิด Surface Mount Device 4 . 2 . 3 . 3 กิจการผลิต Electronic Passive Component ชนิด Through Hole Device 4 . 2 . 4 กิจการผลิตแผงวงจร และ / หรือชิ้นส่วนแผงวงจร 4 . 2 . 4 . 1 กิจการผลิต Printed Circuit Board ชนิด High Density Interconnect 4 . 2 . 4 . 2 กิจการผลิต Flexible Printed Circuit Board, Multilayer Printed Circuit Board หรือชิ้นส่วน ที่เป็นการลงทุน ขนาดใหญ่ 4 . 2 . 4 . 3 กิจการผลิต Flexible Printed Circuit Board, Multilayer Printed Circuit Board หรือชิ้นส่วน 4 . 2 . 4 . 4 กิจการผลิต Printed Circuit Board หรือชิ้นส่วน ต้องมีการลงทุนเครื่องจักรและกรรมวิธีการผลิตตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ ต้องมีเงินลงทุนค่าเครื่องจักร ( รวมค่าติดตั้งและค่าทดลอง เครื่อง ) ที่ใช้ในการผลิตไม่น้อยกว่า 1 , 500 ล้านบาท A3 A4 A2 A2 A3 B

4 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . 2 . 5 กิจการผลิต Printed Circuit Board Assembly (PCBA) หรือผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องจาก การผลิต PCBA ในโครงการ เดียวกัน 4 . 2 . 5 . 1 กิจการผลิต Printed Circuit Board Assembly (PCBA) หรือผลิตภัณฑ์ ต่อเนื่องจากการผลิต PCBA ในโครงการ เดียวกัน ที่เป็นการ ลงทุนขนาดใหญ่ 4 . 2 . 5 . 2 กิจการผลิต Printed Circuit Board Assembly (PCBA) หรือผลิตภัณฑ์ ต่อเนื่องจากการผลิต PCBA ในโครงการ เดียวกันที่ใช้เทคโนโลยี Surface Mount Technology ครบทั้ง สายการผลิต 4 . 2 . 5 . 3 กิจการผลิต Printed Circuit Board Assembly (PCBA) หรือผลิตภัณฑ์ ต่อเนื่องจากการผลิต PCBA ในโครงการ เดียวกัน 1 . ต้องมีขั้นตอนการประกอบ PCBA ที่ใช้ Surface Mount Technology ครบทั้งสายการผลิตในโครงการเดียวกัน 2 . ต้องมีเงินลงทุนค่าเครื่องจักร ( รวมค่าติดตั้งและค่าทดลอง เครื่อง ) ที่ใช้ในการผลิตไม่น้อยกว่า 500 ล้านบาท ต้องมีขั้นตอนการประกอบ PCBA ที่ใช้ Surface Mount Technology ครบทั้งสายการผลิตในโครงการเดียวกัน A3 A4 B

5 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . 2 . 6 กิจการผลิต Printed Electronics 4 . 2 . 6 . 1 กิจการผลิต Printed Electronics ที่ใช้สาร สําหรับการพิมพ์ มากกว่า 1 ชนิด 4 . 2 . 6 . 2 กิจการผลิต Printed Electronics ที่ใช้ สารสําหรับการพิมพ์ 1 ชนิด 4 . 2 . 7 กิจการผลิตชิ้นส่วน อุปกรณ์ บันทึกข้อมูลและหน่วยความจํา 4 . 2 . 7 . 1 กิจการผลิต Solid State Drive 4 . 2 . 7 . 2 กิจการผลิต Advanced Technology Hard Disk Drive และ / หรือชิ้นส่วนสําคัญ 1 . ต้องมีขั้นตอนการประกอบ PCBA ที่ใช้ Surface Mount Technology ครบทั้งสายการผลิตในโครงการเดียวกัน 2 . การลงทุนปรับปรุงเครื่องจักรเดิมให้เป็นส่วนหนึ่งของ โครงการที่จะได้รับส่งเสริมด้วย โดยไม่ให้นับมูลค่า เครื่องจักรเดิมมารวมเป็นเงินลงทุนที่จะได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 1 . ต้องเป็นการผลิต Hard Disk Drive ที่มีความหนาแน่น ของข้อมูล (Areal Density) ไม่น้อยกว่า 2 , 000 กิกะบิต ต่อตารางนิ้ว 2 . ไม่ให้การส่งเสริมการผลิต Top Cover หรือ Base Plate หรือ Peripheral 3 . การลงทุนปรับปรุงเครื่องจักรเดิมให้เป็นส่วนหนึ่งของ โครงการที่จะได้รับส่งเสริมด้วย โดยไม่ให้นับมูลค่า เครื่องจักรเดิมมารวมเป็นเงินลงทุนที่จะได้รับยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล A2 A4 A2 A2

6 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . 2 . 7 . 3 กิจการผลิต Hard Disk Drive และ / หรือชิ้นส่วนสําคัญ 4 . 2 . 7 . 4 กิจการผลิตชิ้นส่วนอื่นๆ ของ Hard Disk Drive เช่น Top cover, Base Plate, Pin และ Filter เป็นต้น 4 . 2 . 7 . 5 กิจการผลิต External Hard Disk Drive และ อุปกรณ์หน่วยความจํา อื่นๆ เช่น Flash Drive เป็นต้น 4 . 2 . 8 กิจการผลิตอุปกรณ์จัดเก็บ พลังงาน (Energy Storage) 4 . 2 . 8 . 1 กิจการผลิตแบตเตอรี่ ความจุสูง (High Density Battery) กรณีมีขั้นตอนการ ผลิต Cell 1 . ต้องเป็นการผลิต Hard Disk Drive และ / หรือชิ้นส่วน สํำ คั ญ เ ช่ น Spindle Motor, Suspension, Head Gimbal Assembly และ Voice Coil Motor เป็นต้น 2 . ไม่ให้การส่งเสริมการผลิต Top Cover หรือ Base Plate หรือ Peripheral 3 . การลงทุนปรับปรุงเครื่องจักรเดิมให้เป็นส่วนหนึ่งของ โครงการที่จะได้รับส่งเสริมด้วย โดยไม่ให้นับมูลค่า เครื่องจักรเดิมมารวมเป็นเงินลงทุนที่จะได้รับยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล ต้องมีขั้นตอนการประกอบ PCBA ที่ใช้ Surface Mount Technology ครบทั้งสายการผลิตในโครงการเดียวกัน 1 . ต้องเป็นการผลิต High Density Battery ที่มีคุณสมบัติ ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ ดังนี้ 1 ) มีค่า Specific Energy Density ไม่น้อยกว่า 150 Wh/kg 2 ) มีจํานวนรอบการอัดประจุ (Cycle) ไม่น้อยกว่า 500 รอบ 2 . ให้ได้รับสิทธิและประโยชน์ลดหย่อนอากรขาเข้าวัตถุดิบ และวัสดุจําเป็นตามมาตรา 30 ในอัตราร้อยละ 90 สําหรับชิ้นส่วนหรือวัตถุดิบที่ไม่มีการผลิตในประเทศ เป็น ระยะเวลา 5 ปี ทั้งนี้ จะอนุมัติให้คราวละ 1 ปี นับจากวันที่นําเข้าวัตถุดิบครั้งแรก A3 A4 A4 A1

7 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . 2 . 8 . 2 กิจการผลิตแบตเตอรี่ ความจุสูง (High Density Battery) กรณีนํา Cell มาเริ่ม ผลิต เช่น ผลิตเป็น Module หรือ Battery Pack เป็นต้น 4 . 2 . 8 . 3 กิจการผลิตแบตเตอรี่ ความจุสูง (High Density Battery) กรณีนํา Module มาผลิตเป็น Battery Pack 4 . 2 . 8 . 4 กิจการผลิต Supercapacitor 4 . 2 . 8 . 5 กิจการผลิต แบตเตอรี่อื่นๆ 1 . ต้องเป็นการผลิต High Density Battery ที่มีคุณสมบัติ ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ ดังนี้ 1 ) มีค่า Specific Energy Density ไม่น้อยกว่า 150 Wh/kg 2 ) มีจํานวนรอบการอัดประจุ (Cycle) ไม่น้อยกว่า 500 รอบ 2 . ให้ได้รับสิทธิและประโยชน์ลดหย่อนอากรขาเข้าวัตถุดิบ และวัสดุจําเป็นตามมาตรา 30 ในอัตราร้อยละ 90 สําหรับชิ้นส่วนหรือวัตถุดิบที่ไม่มีการผลิตในประเทศ เป็น ระยะเวลา 5 ปี ทั้งนี้ จะอนุมัติให้คราวละ 1 ปี นับจากวันที่นําเข้าวัตถุดิบครั้งแรก ต้องเป็นการผลิต High Density Battery ที่มีคุณสมบัติ ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ ดังนี้ 1 ) มีค่า Specific Energy Density ไม่น้อยกว่า 150 Wh/kg 2 ) มีจํานวนรอบการอัดประจุ (Cycle) ไม่น้อยกว่า 500 รอบ ต้องเป็นการผลิต Supercapacitor ที่มีคุณสมบัติตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ ดังนี้ 1 ) มีค่า Specific Power Density ไม่น้อยกว่า 10 , 000 W/kg 2 ) มีจํานวนรอบการอัดประจุ (Cycle) ไม่น้อยกว่า 10 , 000 รอบ ไม่ให้การส่งเสริมการผลิตแบตเตอรี่กลุ่มตะกั่ว - กรด (Lead- Acid Battery) A2 A3 A2 B

8 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . 2 . 9 กิจการผลิต Flat Panel Display และชิ้นส่วน 4 . 2 . 9 . 1 กิจการผลิต Flat Panel Display หรือ ชิ้นส่วนสําคัญ 4 . 2 . 9 . 2 กิจการผลิตชิ้นส่วน Flat Panel Display อื่นๆ 4 . 2 . 10 กิจการผลิต Electro- magnetic Product และ ชิ้นส่วน 4 . 2 . 11 กิจการผลิตชิ้นส่วน อุปกรณ์ ต่อพ่วง และสายสัญญาณ 4 . 2 . 11 . 1 กิจการผลิตสายใย แก้วนําแสง (Optical Fiber) 4 . 2 . 11 . 2 กิจการผลิต ชิ้นส่วนอุปกรณ์ Optical Fiber, Optical Device และ Electro- optical Device 4 . 2 . 11 . 3 กิจการผลิตชิ้นส่วน อุปกรณ์ต่อพ่วง และสายสัญญาณ อื่นๆ ที่มีขั้นตอน การผลิตต่อเนื่อง จากการขึ้นรูปโลหะ หรือวัสดุนําไฟฟ้า ในโครงการเดียวกัน 1 . ต้องเป็นการผลิต Flat Panel Display หรือชิ้นส่วน สําคัญ เช่น Backlight Panel, Diffuser, LCD Film, Electrode และ Polarizing Film เป็นต้น 2 . ต้องมีกรรมวิธีการผลิตตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ ต้องมีกรรมวิธีการผลิตตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ ต้องมีกรรมวิธีการผลิตตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ A3 B A4 A2 A3 A4

9 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . 2 . 11 . 4 กิจการผลิตชิ้นส่วน อุปกรณ์ต่อพ่วงและ สายสัญญาณอื่นๆ 4 . 2 . 12 กิจการผลิตชิ้นส่วนหรือ อุปกรณ์สําหรับระบบที่ใช้ พลังงานแสงอาทิตย์ 4 . 2 . 12 . 1 กิจการผลิตเซลล์ แสงอาทิตย์ และ / หรือวัตถุดิบสําหรับ เซลล์แสงอาทิตย์ 4 . 2 . 12 . 2 กิจการผลิตแผง เซลล์แสงอาทิตย์ จากเซลล์แสงอาทิตย์ ที่ผลิตในโครงการ เดียวกัน 4 . 2 . 13 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้ไฟฟ้าอัจฉริยะ และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (Smart Electrical Appliance and Smart Electronics) 4 . 2 . 13 . 1 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า อัจฉริยะ และ อิเล็กทรอนิกส์ อัจฉริยะ (Smart Electrical Appliance and Smart Electronics) ที่เป็น การลงทุนขนาดใหญ่ ต้องมีกรรมวิธีการผลิตและ Energy Yield ตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ ต้องมีกรรมวิธีการผลิตและ Energy Yield ตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ 1 . ต้องเป็นการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าอัจฉริยะ และ อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (Smart Electrical Appliance and Smart Electronics) ที่มีคุณสมบัติดังนี้ - ต้องมีชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสามารถตรวจจับ และรับข้อมูลได้เป็นองค์ประกอบหลัก - ต้องสามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์หรือเครื่องมืออื่น หรือโครงข่ายผ่านระบบไร้สาย - ต้องมีระบบปฏิบัติการหรือประมวลผลฝังตัวอยู่ใน ตัวอุปกรณ์หรือเครื่องมือนั้นๆ B A2 A2 A2

10 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . 2 . 13 . 2 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า อัจฉริยะ และ อิเล็กทรอนิกส์ อัจฉริยะ (Smart Electrical Appliance and Smart Electronics) 4 . 2 . 14 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์และ ชิ้นส่วนกลุ่มภาพและเสียง (Audio Visual Product) 4 . 2 . 14 . 1 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ และชิ้นส่วนกลุ่มภาพ และเสียง (Audio Visual Product) จาก PCBA ที่ผลิต ในโครงการเดียวกัน 2 . ไม่ให้การส่งเสริมการผลิตปลั๊กไฟฟ้า อุปกรณ์ส่องสว่าง และหลอดไฟ 3 . ต้องมีเงินลงทุนค่าเครื่องจักร ( รวมค่าติดตั้ง และทดลอง เครื่อง ) ไม่ต่ํากว่า 1 , 500 ล้านบาท 4 . ต้องมีขั้นตอนการประกอบ PCBA ที่ใช้ Surface Mount Technology ครบทั้งสายการผลิตในโครงการเดียวกัน 1 . ต้องเป็นการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าอัจฉริยะ และ อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (Smart Electrical Appliance and Smart Electronics) ที่มีคุณสมบัติดังนี้ - ต้องมีชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสามารถตรวจจับ และรับข้อมูลได้เป็นองค์ประกอบหลัก - ต้องสามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์หรือเครื่องมืออื่น หรือโครงข่ายผ่านระบบไร้สาย - ต้องมีระบบปฏิบัติการหรือประมวลผลฝังตัวอยู่ใน ตัวอุปกรณ์หรือเครื่องมือนั้นๆ 2 . ไม่ให้การส่งเสริมการผลิตปลั๊กไฟฟ้า อุปกรณ์ส่องสว่าง และหลอดไฟ 3 . สิทธิและประโยชน์เพิ่มเติม กรณีมีขั้นตอนการประกอบ PCBA ที่ใช้ Surface Mount Technology ครบทั้งสายการผลิตในโครงการเดียวกัน ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติมอีก 1 ปี ต้องมีขั้นตอนการประกอบ PCBA ที่ใช้ Surface Mount Technology ครบทั้งสายการผลิตในโครงการเดียวกัน A3 A3

11 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . 2 . 14 . 2 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ และชิ้นส่วนกลุ่มภาพ และเสียง (Audio Visual Product) 4 . 2 . 15 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์และ ชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สําหรับสํานักงาน 4 . 2 . 15 . 1 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ และชิ้นส่วนอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์สําหรับ สํานักงาน จาก PCBA ที่ผลิตในโครงการ เดียวกัน 4 . 2 . 15 . 2 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ และชิ้นส่วนอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์สําหรับ สํานักงาน 4 . 2 . 16 กิจการผลิตอุปกรณ์โทรคมนาคม และระบบไร้สาย (Telecom and Wireless) 4 . 2 . 16 . 1 กิจการผลิต Optical Module, Optical Device, Electro- optical Module หรือ Electro- optical Device ต้องมีขั้นตอนการประกอบ PCBA ที่ใช้ Surface Mount Technology ครบทั้งสายการผลิตในโครงการเดียวกัน ต้องมีขั้นตอนการผลิตอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 1 . การประกอบ PCBA ที่ใช้ Surface Mount Technology ครบทั้งสายการผลิตในโครงการเดียวกัน 2 . การเชื่อมประกอบ Optical Chip A4 A3 A4 A3

12 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . 2 . 16 . 2 กิจการผลิต Network Device for Office and Home Use เช่น Router, Access Point, Network Switch, Repeater, Extender และ Gateway เป็นต้น จาก PBCA ที่ผลิตใน โครงการเดียวกันหรือมี ขั้นตอนการขึ้นรูป ชิ้นส่วน 4 . 2 . 16 . 3 กิจการผลิต Network Device for Office and Home Use เช่น Router, Access Point, Network Switch, Repeater, Extender และ Gateway เป็นต้น 4 . 2 . 17 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์และ ชิ้นส่วน Electronic Measuring Instrument ต้องมีขั้นตอนการผลิตอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 1 . การประกอบ PCBA ที่ใช้เทคโนโลยี Surface Mount Technology ครบทั้งสายการผลิตในโครงการเดียวกัน 2 . การขึ้นรูปชิ้นส่วน A3 A4

13 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . 2 . 17 . 1 กิจการผลิต ผลิตภัณฑ์และ ชิ้นส่วน Electronic Measuring Instrument จาก PBCA ที่ผลิตใน โครงการเดียวกัน หรือมีขั้นตอน การขึ้นรูปชิ้นส่วน 4 . 2 . 17 . 2 กิจการผลิต ผลิตภัณฑ์และ ชิ้นส่วน Electronic Measuring Instrument 4 . 2 . 18 กิจการผลิต Power Supply, Converter, Inverter หรือ Charger 4 . 2 . 18 . 1 กิจการผลิต Power Supply, Converter, Inverter หรือ Charger ที่มี โปรแกรมควบคุม การทํางาน 4 . 2 . 18 . 2 กิจการผลิต Power Supply, Converter, Inverter หรือ Charger ต้องมีขั้นตอนการผลิตอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 1 . การประกอบ PCBA ที่ใช้เทคโนโลยี Surface Mount Technology ครบทั้งสายการผลิตในโครงการเดียวกัน 2 . การขึ้นรูปชิ้นส่วน ต้องมีกรรมวิธีการผลิต ดังนี้ 1 . การออกแบบลายวงจรของแผงวงจรไฟฟ้า (PCB Design) 2 . การบรรจุโปรแกรมควบคุมในโครงการเดียวกัน ต้องมีกรรมวิธีการผลิตตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ A3 A4 A3 A4

14 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . 2 . 19 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ใช้ ไมโครเทคโนโลยีในการผลิต 4 . 2 . 20 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ อิเล็กทรอนิกส์ และ ชิ้นส่วนอื่นๆ 4 . 3 กิจการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ และชิ้นส่วน 4 . 3 . 1 กิจการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า (Electrical Appliance) 4 . 3 . 2 กิจการผลิตชิ้นส่วน อุปกรณ์ต่อ พ่วงและ สายไฟฟ้า 4 . 3 . 2 . 1 กิจการผลิตชิ้นส่วน อุปกรณ์ต่อพ่วงและ สายไฟฟ้าที่มีขั้นตอน การผลิตต่อเนื่องจาก การขึ้นรูปโลหะ หรือ วัสดุนําไฟฟ้าใน โครงการเดียวกัน ต้องมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 1 . ต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ Microfabrication Technology ในการผลิต เช่น ระบบไฟฟ้าเครื่องกลจุลภาค (Microelectromechanical Systems: MEMS), Microelectronics และ Microsensor เป็นต้น หรือ ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ Microtechnology ในการผลิต เช่น Micro Coil, Micro Magnet, Micro Components, Micro Rotor, Micro Ceramic และ Brushless Motor เป็นต้น 2 . เครื่องจักรหลักที่ใช้ในโครงการต้องสามารถผลิตชิ้นงาน ที่มีค่าความคลาดเคลื่อน ตามค่า International Tolerance Grades (IT) ไม่เกิน IT5 1 . ต้องเป็นการผลิต เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น ตู้แช่ เครื่องซักผ้า หรือเครื่องอบผ้า 2 . ต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานประสิทธิภาพสูงในระดับ ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 ของกระทรวงพลังงาน หรือมีประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานที่เทียบเท่า A2 B A4 A4

15 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . 3 . 2 . 2 กิจการผลิตชิ้นส่วน อุปกรณ์ต่อพ่วงและ สายไฟฟ้าอื่นๆ 4 . 3 . 3 กิจการผลิต Transformer 4 . 3 . 4 กิจการผลิต Circuit Breaker 4 . 3 . 4 . 1 กิจการผลิต Circuit Breaker ที่มีขั้นตอน การขึ้นรูปชิ้นส่วน 4 . 3 . 4 . 2 กิจการผลิต Circuit Breaker 4 . 3 . 5 กิจการผลิต Compressor และ / หรือ Motor สําหรับ เครื่องใช้ไฟฟ้า 4 . 3 . 6 กิจการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า และชิ้นส่วนอื่นๆ ต้องมีขั้นตอนการพันขดลวด ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วน ต้องมีขั้นตอนการพันขดลวด หรือมีการผลิต Stator หรือ Rotor ในโครงการ B A4 A4 B A4 B

หมวด 5 อุตสาหกรรม โลหะและวัสดุ ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 5.1 กิจการสำรวจแร่ ทำเหมืองแร่ แต่งแร่ ถลุงแร่ ประกอบโลหกรรม แร่ศักยภาพเป้าหมาย 5. 1.1 กิจการสำรวจแร่ 5.1.2 กิจการทำเหมืองแร่ แต่งแร่ ถลุงแร่ ประกอบโลหกรรม แร่ศักยภาพเป้าหมาย 5. 1.2.1 กิจการทำเหมืองแร่ ศักยภาพเป้าหมาย ต้องมีอาชญาบัตรผูกขาดสำรวจแร่ หรืออาชญาบัตรพิเศษ ก่อนยื่นขอรับการส่งเสริม 1 . ต้องมีประทานบัตรหรือใบอนุญาตรับช่วงการทำเหมือง ก่อนยื่นขอรับการส่งเสริม 2 . ต้องเป็นกิจการเกี่ยวกับแร่ศักยภาพเป้าหมาย เช่น แร่หายาก ( Rare Earth ) โลหะมีค่าสูง ( Precious Metal ) โลหะแอลคาไลน์ ( Alkali Metal ) แร่ควอตซ์ ( Quartz ) แร่โพแทช ( Potash ) เป็นต้น และแร่อื่นๆ ตามที่ คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติกาหนด (ยกเว้นหินอุตสาหกรรมเพื่ออุตสาหกรรมก่อสร้าง) 3 . ต้องได้รับหนังสือรับรองสถานประกอบการเหมืองแร่ สีเขียว ( Green Mining ) หรือมาตรฐานความรับผิดชอบ ต่อสังคม ( CSR - DPIM ) จากกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและ การเหมืองแร่ หรือมาตรฐานสากลอื่นตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิดดำเนินการ 4 . ต้องได้รับหนังสือรับรอง Mining 4.0 จากกรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ หรือมาตรฐานสากลอื่นตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ ภายใน 2 ปี นั บแต่วันครบเปิด ดำเ นินการ หากไม่สามารถดำเนินการได้ จะถูกเพิกถอนสิทธิ และประโยชน์การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 ปี 5 . ต้องมีระบบตรวจสอบและรายงานผลกระทบด้า น สิ่งแวดล้อมแบบเรียลไทม์ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิด ดาเนินการ หากไม่สามารถดาเนินการได้ จะถูกเพิกถอน สิทธิและ ประโยชน์ การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 ปี B A2

2 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 5.1.2.2 กิจการแต่งแร่ ต่อเนื่องจากการทำ เหมืองแร่ศักยภาพ เป้าหมายใน โครงการเดียวกัน 6 . กรณีนิติบุคคลเดียวกันมีการทาเหมืองแร่ต่อจากการสารวจ แร่ศักยภาพเป้าหมาย ให้ นาค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการสารวจ แร่ของประทานบัตรที่รับรองโดย กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร่ มาคำนวณรวมเป็นวงเงินยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลได้ 7 . กิจการที่ดาเนินการอยู่แล้ว ไม่ว่าจะได้รับส่งเสริมหรือไม่ ก็ตาม หากมาขอรับสิทธิและประโยชน์ตามมาตรการ ยกระดับอุตสาหกรรม ( Smart and Sustainab le Industry ) ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อ 3 – 5 ภายในวันครบเปิด ดำเนินการ 1 . ต้องมีประทานบัตรหรือใบอนุญาตรับช่วงการทำเหมือง ก่อนยื่นขอรับการส่งเสริม 2 . กรณีแต่งแร่อยู่นอกพื้นที่ประทานบัตร ต้องมีใบอนุญาต แต่งแร่ ก่อนยื่นขอรับการส่งเสริม 3 . ต้องเป็นกิจการเกี่ยวกับแร่ศักยภาพเป้าหมาย เช่น แร่หายาก ( Rare Earth ) โลหะมีค่าสูง ( Precious Metal ) โ ลหะแอลคาไลน์ ( Alkali Metal ) แร่ควอตซ์ ( Quartz ) แร่โพแทช ( Potash ) เป็นต้น และแร่อื่นๆ ตามที่ คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติกาหนด (ยกเว้นหินอุตสาหกรรมเพื่ออุตสาหกรรมก่อสร้าง) 4 . ต้องได้รับหนังสือรับรองสถานประกอบการเหมืองแร่สีเขียว ( Green Mining ) หรือ มาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม ( CSR - DPIM ) จากกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ หรือมาตรฐานสากลอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิดดำเนินการ 5 . ต้องได้รับหนังสือรับรอง Mining 4.0 จากกรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ หรือมาตรฐานสากลอื่นตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิด ดำเนินการ หากไม่สามารถดำเนินการได้ จะถูกเพิกถอนสิทธิ และประโยชน์การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 ปี A2

3 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 5.1.2.3 กิจการถลุงแร่ และ/ หรือ ประกอบ โลหกรรมต่อเนื่อง จากการทำเหมืองแร่ และแต่งแร่ 6 . ต้องมีระบบตรวจสอบและรายงานผลกระทบด้า น สิ่งแวดล้อมแบบเรียลไทม์ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิ ด ดาเนินการ หากไม่สามารถดาเนินการได้ จะถูกเพิกถอน สิทธิและประโยชน์ การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 ปี 7 . กรณีนิติบุคคลเดียวกันมีการทาเหมืองแร่ ต่อจากการสำรวจ แร่ศักยภาพเป้าหมาย ให้ นาค่า ใช้จ่ายที่เกิดจากการสารวจ แร่ของ ประทานบัตรที่รับรองโดย กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร่ มาคานวณรวมเป็นวงเงินยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลได้ 8 . กิจการที่ดาเนินการอยู่แล้ว ไม่ว่าจะได้รับส่งเสริมหรือ ไม่ก็ตาม หากมาขอรับสิทธิและประโยชน์ ตามมาตรการ ยกระดับอุตสาหกรรม ( Smart and Sustainab le Industry ) ต้องปฏิบัติตามเงื่ อนไขข้อ 4 – 6 ภายในวันครบเปิด ดำเนินการ 1 . ต้องมีประทานบัตรหรือใบอนุญาตรับช่วงการทาเหมือง ก่อนยื่นขอรับการส่งเสริม 2 . กรณีแต่งแร่ และ/หรือประกอบโลหกรรมอยู่นอกพื้นที่ ประทานบัตร ต้องมีใบอนุญาตแต่งแร่ และ/หรือ ใบอนุญาต ประกอบโลหกรรม ก่อนยื่นขอรับการส่งเสริม 3 . ต้องเป็นกิจการเกี่ยวกับแร่ศักยภาพเป้าหมาย เช่น แร่หายาก ( Rare Earth ) โลหะมีค่าสูง ( Precious Metal ) โลหะแอลคาไลน์ ( Alkali Metal ) แร่ควอตซ์ ( Quartz ) แ ร่ โพแทช ( Potash ) เป็ นต้ น และแร่ อื่ นๆ ตามที่ คณะกรรมการ นโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติกาหนด (ยกเว้นหินอุตสาหกรรมเพื่ออุตสาหกรรมก่อสร้าง) 4 . ต้องได้รับหนังสือรับรองสถานประกอบการเหมืองแร่สีเขียว ( Green Mining ) หรือมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม ( CSR - DPIM ) จาก กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ หรือมาตรฐานสากลอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ ภายใน 2 ปี นับแต่ วันครบเปิดดำเนินการ A2

4 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 5.1.2.4 กิจการแต่งแร่ ถลุงแร่ หรือ ประกอบโลหกรรม แร่ศักยภาพเป้าหมาย 5 . ต้องได้รับหนังสือรับรอง Mining 4.0 จากกรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ หรือมาตรฐานสากลอื่นตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิด ดำเนินการ หากไม่สามารถดำเนินการได้ จะถูกเพิกถอนสิทธิ และประโยชน์การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 ปี 6 . ต้องมีระบบตรวจสอบและรายงานผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อมแบบเรียลไทม์ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิด ดำเนินการ หากไม่สามารถดาเนินการได้ จะถูกเพิกถอน สิทธิและประโยชน์การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 ปี 7 . กรณีนิติบุคคลเดียวกันมีการทำเหมืองแร่ต่อจากการ สำรวจแร่ศักยภาพเป้าหมาย ให้ นำค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการ สำรวจแร่ของประทานบัตรที่รับรองโดย กรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ มาคำนวณรวมเป็นวงเงิน ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลได้ 8 . กิจการที่ดำเนินการอยู่แล้ว ไม่ว่าจะได้ รับส่งเสริมหรือไม่ ก็ตาม หากมาขอรับสิทธิและประโยชน์ ตามมาตรการ ยกระดับอุตสาหกรรม ( Smart and Sustainab le Industry ) ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไข ข้อ 4 – 6 ภายในวันครบเปิด ดำเนินการ 1 . ต้องมีใบอนุญาตแต่งแร่ หรือ ใบอนุญาตประกอบโลหกรรม หรือใบอนุญาตอื่นจากกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการ เหมืองแร่ ก่อนยื่นขอรับการส่งเสริม 2 . ต้องเป็นกิจการเกี่ยวกับแร่ศักยภาพเป้าหมาย เช่น แร่หายาก ( Rare Earth ) โลหะมีค่าสูง ( Precious Metal ) โลหะแอลคาไลน์ ( Alkali Metal ) แร่ควอตซ์ ( Quartz ) แร่โพแทช ( Potash ) เป็นต้น และแร่อื่นๆ ตามที่ คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติกาหนด (ยกเว้นหินอุตสาหกรรมเพื่ออุตสาหกรรมก่อสร้าง) A3

5 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3 . ต้องได้รับหนังสือรับรองสถานประกอบการเหมืองแร่สีเขียว ( Green Mining ) หรือมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม ( CSR - DPIM ) จากกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมื องแร่ หรือมาตรฐานสากลอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิดดำเนินการ 4 . ต้องได้รับหนังสือรับรอง Mining 4.0 จากกรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ หรือมาตรฐานสากลอื่นตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิด ดำเนินการ หากไม่สามารถดำเนินการได้จะถูกเพิกถอนสิทธิ และประโยชน์การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 ปี 5 . กิจการที่ดำเนินการอยู่แล้ว ไม่ว่าจะได้รับส่งเสริมหรือไม่ ก็ตาม หากมาขอรับสิทธิและประโยชน์ ตามมาตรการ ยกระดับ อุตสาหกรรม ( Smart and Sustainab le Industry ) ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อ 3 – 4 ภายในวันครบเปิด ดำเนินการ 5. 2 กิจการผลิตวัสดุ 5. 2.1 กิจการผลิต Advanced หรือ Nano Materials หรือ ผลิตภัณฑ์จาก Advanced หรือ Nano Materials 5.2.1.1 กิจการผลิต Advanced หรือ Nano Materials หรือการผลิตผลิตภัณฑ์ จาก Advanced หรือ Nano Materials ที่มี ขั้นตอนการผลิต ต่อเนื่องจากการผลิต Advanced หรือ Nano Materials ในโครงการ เดียวกัน A2

6 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 5. 2.1.2 กิจการผลิต ผลิตภัณฑ์จาก Advanced หรือ Nano Materials 5. 2.2 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์แก้ว หรือเซรามิกส์ 5.2.2.1 กิจการผลิต ผลิตภัณฑ์แก้ว หรือเซรามิกส์ที่มี คุณสมบัติพิเศษ 5.2.2.2 กิจการผลิต ผลิตภัณฑ์แก้ว 5.2.2.3 กิจการผลิต ผลิตภัณฑ์ เซรามิกส์ (ยกเว้ น Earthenware และ กระเบื้องเซรามิกส์) 5.2.3 กิจการผลิตวัสดุทนไฟ หรือ ฉนวนกันความร้อน (ยกเว้น อิฐมวลเบา อิฐน้ำหนักเบา) 5. 2.4 กิจการผลิตยิปซั่มหรือ ผลิตภัณฑ์จากยิปซั่ม และ ปูนซีเมนต์ 5. 2.4.1 กิจการผลิตยิปซั่ม หรือผลิตภัณฑ์ จากยิปซั่ม ต้องมีขั้นตอนการหลอม และ/หรือ การอบ ต้องมีขั้นตอนการหลอม และ/หรือ การอบ ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูป เผา และ/หรือ การอบ A3 A 3 B B B B

7 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 5. 2.4.2 กิจการผลิต ปูนซีเมนต์ 5.2.5 กิจการผลิตวัสดุก่อสร้างและ กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ คอนกรีตอัดแรงสำหรับงาน สาธารณูปโภค 1 . ต้องมีกรรมวิธีการผลิตที่เป็นเทคโนโลยีสะอาดและเป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อมตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ เช่น 1.1 มีการใช้เทคโนโลยีดักจับและกักเก็บคาร์บอน ( Carbon Capture and Storage : CCS ) และ/หรือ ใช้เทคโนโลยีดักจับและใช้ประโยชน์คาร์บอน ( Carbon Capture and Utilization : CCU ) 1.2 มีการใช้พลังงานทดแทนใน กระบวน การผลิต (ยกเว้น พลังงานไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์) 2 . กรณีโครงการที่ดำเนินการอยู่เดิมสามารถ ยื่นขอรับสิทธิ และประโยชน์ ตามมาตรการ ยกระดับอุตสาหกรรม ( Smart and Sustainab le Industry ) ด้าน การ ลดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เท่านั้น ต้องตั้งสถานประกอบการในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน เท่านั้น B A2 5. 3 กิจการพัฒนาเทคโนโลยีเป้าหมาย ในอุตสาหกรรมวัสดุ 5.3.1 กิจการพัฒนา Advanced Materials Technology 5. 3.2 กิจการพัฒนำ Na notechnology 1 . ต้องมีขั้นตอนการพัฒนาเทคโนโลยีเป้าหมาย ที่ใช้เป็นฐาน ในกระบวนการผลิตหรือให้บริการในอุตสาหกรรม เป้าหมายตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 2 . ต้องมีการถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยร่วมมือกับ ส ถาบันการ ศึกษาหรือสถาบันวิจัยตามรูปแบบที่คณะกรรมการ กำหนด เช่น Technology Research Consortium เป็นต้น A1 + (10 ปี ไม่กำหนด วงเงินยกเว้น ภาษีเงินได้ นิติบุคคล ) A 1 + (10 ปี ไม่กำหนด วงเงินยกเ ว้น ภาษีเงินได้ นิติบุคคล)

8 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 5. 4 กิจการผลิต เหล็กและโลหะ 5.4.1 กิจการผลิตเหล็กขั้นต้น ได้แก่ น้ำเหล็กบริสุทธิ์ ( Pure Molten Iron ) เหล็กถลุง ( Pig Iron ) เหล็กพรุน ( Sponge Iron, Direct Reduction Iron : DRI ) และ Hot Briquetted Iron ( HBI ) 5.4.2 กิจการผลิตเหล็กขั้นกลาง ได้แก่ Slab, Ingot, Billet และ Bloom 5.4.2.1 กิจการผลิตเหล็ก ขั้นกลาง ได้แก่ Slab, Ingot, Billet และ Bloom ที่ผลิต ต่อเนื่องจากเหล็ก ขั้นต้นในโครงการ เดียวกัน 5.4.2.2 กิจการผลิตเหล็ก ขั้นกลาง ได้แก่ Slab, Ingot, Billet และ Bloom อื่นๆ 5. 4.3 กิจการผลิตเหล็ก และ/หรือ เหล็กกล้าขั้นปลาย 5.4.3.1 กิจการผลิตเหล็ก ขั้นปลาย คุ ณภาพสูง ชนิดเหล็กทนแรง ดึงสูง ( High Tensile Strength Steel ) ต้องมีค่า Ultimate Tensile Strength ( UTS ) มากกว่า 700 เมกะปาสคาล ( MPa ) ขึ้นไป A2 A2 A4 A 2

9 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 5.4.3.2 กิจการผลิตเหล็ก ขั้นปลายที่มีขั้นตอน การผลิตต่อเนื่อง จากการผลิตเหล็ก ขั้นต้น และขั้นกลาง ในโครงการเดียวกัน 5.4.3.3 กิจการผลิตเหล็ก ทรงยาวสำหรับงาน อุตสาหกรรม ได้แก่ เหล็กรูปพรรณ เหล็ก เพลา เหล็กลวด และลวดเหล็ก 5.4.3.4 กิจการผลิตเหล็ก ทรงยาวสำหรับ งานก่อสร้าง ได้แก่ เหล็กรูปพรรณ เหล็กเพลา เหล็กลวด แ ละลวดเหล็ก 5.4.3.5 กิจการผลิตเหล็ก ทรงแบนสำหรับ งานอุตสาหกรรม ได้แก่ เหล็กแผ่น ไร้สนิมรีดร้อน หรือ รีดเย็น เหล็กแผ่นหนา เหล็กแผ่นรีดร้อน หรือรีดเย็น และ เหล็กแผ่น เคลือบ ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปโลหะ A2 A4 B A4

10 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 5.4.3.6 กิจการผลิตเหล็ก ทรงแบนสำหรับ งานก่อสร้าง ได้แก่ เหล็กแผ่น ไร้สนิมรีดร้อน หรือรีดเย็น เหล็ก แผ่นหนา เหล็ก แผ่นรีดร้อนหรือ รีดเย็น และเหล็ก แผ่นเคลือบ 5.4.3.7 กิจการผลิต แผ่นเหล็กรีดเย็น เคลือบดีบุก ( Tin Mill Black Plate ) 5. 4.3.8 การผลิตเหล็ก แผ่นรีดเย็นชนิด Electrical Steel 5. 4.4 กิจการผลิตท่อเหล็ก หรือท่อ เหล็กไร้สนิม 5.4.4.1 กิจการผลิตท่อ เหล็กชนิด ไร้ตะเข็บ หรือลบตะเข็บ ภายใน 5. 4.4.2 กิจการผลิตท่อ เหล็กอื่นๆ 5.4.5 กิจการผลิตผงโลหะ (ยกเว้น ผงโลหะสำหรับงานขัดผิว ( Shot Blasting )) 5. 4. 6 กิจการผลิตเฟอร์โรอัลลอย ต้องมีขั้นตอนการรีด หรือขั้นตอนการขึ้นรูปโลหะ B A3 A3 A3 B A3 A4

11 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 5. 4.7 กิจการผลิตชิ้นส่วนเหล็กหล่อ 5. 4.7.1 กิจการผลิตชิ้นส่วน เหล็กหล่อเหนียว 5. 4.7.2 กิจการผลิตชิ้นส่วน เหล็กหล่ออื่นๆ 5. 4.8 กิจการผลิตชิ้นส่วนเหล็กทุบ 5.4.9 กิจการรีด ดึง หล่อ หรือทุบ โลหะ ที่มิใช่เหล็ก 5.4.10 กิจการตัดโลหะ 5. 4.11 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์โลหะ รวมทั้งชิ้นส่วนโลหะ 5. 4.11.1 กิจการผลิต ผลิตภัณฑ์ จากผงโลหะ 5. 4.11.2 กิจการผลิต ผลิตภัณฑ์ เหล็ก หรือ ชิ้นส่วนเหล็ก 5 .4.11.3 กิจการผลิต ชิ้นส่วนโลหะ ด้วยเครื่องพิมพ์ 3 มิติ 5 .4.11.4 กิจการผลิต ผลิตภัณฑ์โลหะ รวมทั้งชิ้นส่วน โลหะ 5. 4.11.5 กิจการผลิต ผลิตภัณฑ์ โลหะรวมทั้ง ชิ้นส่วน โลหะอื่นๆ ต้องใช้เตาหลอมแบบ Induction Furnace ต้องใช้เตาหลอมแบบ Induction Furnace ไม่ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร ต้องมีขั้นตอน Additive Manufacturing และ/หรือการ Sintering ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปต่อเนื่องจากการผลิตชิ้นส่วน เหล็กหล่อที่ใช้เตาหลอมแบบ Induction Furnace หรือ ชิ้นส่วนเหล็กทุบในโครงการเดียวกัน ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูปต่อเนื่องจากการรีด ดึง หล่อ หรือทุบ โลหะที่มิใช่เหล็กในโครงการเดียวกัน ต้องมีขั้นตอนการขึ้นรูป เช่น Machining, Stamping และ Bending เป็นต้น A2 A3 A3 A4 B A3 A3 A3 A4 B

12 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 5.4.12 กิจการชุบ เคลือบผิว การปรับ หรือเปลี่ยน สภาพผิว 5.4.12.1 กิจการชุบ เคลือบผิว การปรับ หรือ เปลี่ยนสภาพผิวที่ ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ( Advanced Technology ) 5.4.12.2 กิจการชุบ เคลือบผิว การ ปรับ หรือ เปลี่ยนสภาพผิว ที่ใช้เทคโนโลยี ระดับพื้นฐาน ( Basic Technology ) ต้องมีกระบวนการทางเคมี และ/หรือ กระบวนการทางไฟฟ้า สำหรับชุบ เคลือบผิว การปรับหรือเปลี่ยนสภาพผิว A4 B 5. 4.13 กิจการอบ - ชุบโลหะ ( Heat Treatment ) ต้องไม่ใช้สารไซยาไนต์ในกรรมวิธีการผลิต A4 5.4.14 กิจการผลิตและประกอบ ผลิตภัณฑ์โลหะสำหรับ อุตสาหกรรม ( Fabrication Industry ) หรือการซ่อม แท่นขุดเจาะ ( Platform ) สำหรับอุตสาหกรรม ปิโตรเลียม

13 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 5.4.14.1 กิจการผลิต และประกอบ ผลิตภัณฑ์ โลหะสำหรับ อุตสาหกรรม ( Fabrication Industry ) ต้องมีขั้นตอน การออกแบบทางวิศวกรรม A3 5. 4.14.2 กิจ การซ่อม แท่นขุดเจาะ ( Platform ) สำหรับ อุตสาหกรรม ปิโตรเลียม A4 5.4.15 กิจการผลิต โครงสร้าง โลหะ สำหรับ งานก่อสร้าง หรืองาน อุตสาหกรรม ( Fabrication Industry ) ต้องตั้งสถานประกอบการในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ เขต พัฒนา เศรษฐกิจพิเศษชายแดนเท่านั้น A2

หมวด 6 อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมี ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 6 . 1 กิจการผลิตเคมีภัณฑ์ 6 . 1 . 1 กิจการผลิตไฮโดรเจน 6 . 1 . 1 . 1 กิจการผลิตไฮโดรเจน จากน้ําโดยใช้พลังงาน หมุนเวียน รวมถึงการ ผลิตผลิตภัณฑ์ ต่อเนื่อง เช่น Green Ammonia เป็นต้น 1 . ต้องมีกระบวนการแยกน้ําด้วยไฟฟ้า (Electrolysis) 2 . ไฟฟ้าที่ใช้ต้องมาจากพลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลม เป็นต้น โดยไม่มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ตลอดห่วงโซ่การผลิต A1 6 . 1 . 1 . 2 กิจการผลิตไฮโดรเจน จากไฮโดรคาร์บอน หรือเชื้อเพลิงฟอสซิล ต้องมีการใช้เทคโนโลยีดักจับและกักเก็บคาร์บอน (Carbon Capture and Storage: CCS) และ / หรือใช้ เทคโนโลยีดักจับและใช้ประโยชน์คาร์บอน (Carbon Capture and Utilization: CCU) A2 6 . 1 . 2 กิจการผลิตแม่ปุ๋ยเคมี A2 6 . 1 . 3 กิจการผลิตเคมีภัณฑ์อื่นๆ 1 . ไม่ให้การส่งเสริมการผลิตเคมีภัณฑ์ที่ก่อให้เกิดภาวะ โลกร้อน ซึ่งอยู่ในข่ายที่ประเทศไทยจะต้องลดหรือ ยกเลิกการใช้งานตามข้อตกลงสากล 2 . ไม่ให้การส่งเสริมโครงการที่มีเฉพาะกระบวนการผสม หรือทําให้เจือจาง หรือเปลี่ยนสถานะ A4 6 . 2 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์เคมี เพื่อการอุตสาหกรรม 1 . ไม่ให้การส่งเสริมการผลิตผลิตภัณฑ์เคมี ดังนี้ 1 . 1 ผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อการอุปโภค เช่น สีทาอาคาร น้ํายา ทําความสะอาด น้ํามันหล่อลื่นยานยนต์ ปุ๋ยเคมีผสม ยาปราบศัตรูพืชหรือยาฆ่าแมลง เป็นต้น 1 . 2 ผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อการก่อสร้าง เช่น กาวซีเมนต์ Concrete Admixture เป็นต้น 1 . 3 สารที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน ซึ่งอยู่ในข่าย ที่ประเทศไทยจะต้องลดหรือยกเลิกการใช้งาน ตามข้อตกลงสากล 2 . ไม่ให้การส่งเสริมโครงการที่มีเฉพาะกระบวนการผสม หรือทําให้เจือจาง หรือเปลี่ยนสถานะ A4

2 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 6 . 3 กิจการผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี 6 . 3 . 1 กิจการโรงกลั่นน้ํามัน B 6 . 3 . 2 กิจการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ 6 . 3 . 2 . 1 กิจการโรงแยกก๊าซ ธรรมชาติที่ใช้เทคโนโลยี ดักจับและกักเก็บ คาร์บอน (Carbon Capture and Storage: CCS) และ / หรือใช้ เทคโนโลยีดักจับและใช้ ประโยชน์คาร์บอน (Carbon Capture and Utilization: CCU) A2 6 . 3 . 2 . 2 กิจการโรงแยกก๊าซ ธรรมชาติทั่วไป A3 6 . 3 . 3 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี 6 . 3 . 3 . 1 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมีที่ใช้เทคโนโลยี ดักจับและกักเก็บ คาร์บอน (Carbon Capture and Storage: CCS) และ / หรือใช้ เทคโนโลยีดักจับและ ใช้ประโยชน์คาร์บอน (Carbon Capture and Utilization: CCU) A2 6 . 3 . 3 . 2 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมีทั่วไป A3

3 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 6 . 3 . 4 กิจการผลิตพอลิเมอร์ชนิดพิเศษ เคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษ รวมถึง ผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องในโครงการ เดียวกัน A2 6 . 3 . 5 กิจการผลิตพลาสติกคอมพาวด์ ชนิดพิเศษหรือยางคอมพาวด์ ชนิดพิเศษ รวมถึงผลิตภัณฑ์ ต่อเนื่องในโครงการเดียวกัน A3 6 . 4 กิจการผลิตภัณฑ์พลาสติก 6 . 4 . 1 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก สําหรับอุตสาหกรรม และชิ้นส่วน ต้องมีกระบวนการขึ้นรูปพลาสติก B 6 . 4 . 2 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก สําหรับสินค้าอุปโภค เช่น บรรจุภัณฑ์พลาสติก เป็นต้น ต้องตั้งสถานประกอบการในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดนเท่านั้น A2 6 . 4 . 3 กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก ชนิดหลายชั้น (Multilayer Plastics Packaging) 6 . 4 . 3 . 1 กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์ พลาสติกชนิดหลายชั้น (Multilayer Plastics Packaging) ด้วยวิธี Co-extrusion ต้องมีการเชื่อมประสานพลาสติกไม่น้อยกว่า 3 ชั้น A3 6 . 4 . 3 . 2 กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์ พลาสติกชนิดหลายชั้น (Multilayer Plastics Packaging) ด้วยวิธี Lamination หรือ วิธี Lamination ร่วมกับ Co-extrusion ต้องมีการเชื่อมประสานพลาสติกไม่น้อยกว่า 4 ชั้น A4

4 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 6 . 4 . 4 กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก ชนิดปลอดเชื้อ (Aseptic Plastics Packaging) 6 . 4 . 4 . 1 กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์ พลาสติกชนิดปลอดเชื้อ (Aseptic Plastics Packaging) ที่ได้รับการ รับรองมาตรฐานห้อง ปลอดเชื้อ ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานห้องปลอดเชื้อในระดับ มาตรฐาน ISO 14611 ระดับ 7 หรือมาตรฐาน Federal Standard 209 E Class 10000 ขึ้นไป หรือ มาตรฐานสากลอื่นที่เทียบเท่า ก่อนใช้สิทธิและประโยชน์ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับการรับรอง มาตรฐานก่อนวันครบเปิดดําเนินการ A3 6 . 4 . 4 . 2 กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์ พลาสติกชนิดปลอดเชื้อ (Aseptic Plastics Packaging) ที่ได้รับการ รับรองมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง 1 . ต้องมีขั้นตอนการผลิตที่ปลอดเชื้อ 2 . ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ที่เกี่ยวข้อง เช่น Global Food Safety Initiative (GFSI), British Retail Consortium Global Standard (BRCGS) หรือเทียบเท่า เป็นต้น ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับการรับรองมาตรฐานก่อน วันครบเปิดดําเนินการ A4 6 . 4 . 5 กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก ชนิดป้องกันไฟฟ้าสถิต (Antistatic Plastics Packaging) ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานห้องปลอดเชื้อในระดับ มาตรฐาน ISO 14611 ระดับ 7 หรือมาตรฐาน Federal Standard 209 E Class 10000 ขึ้นไป หรือ มาตรฐานสากลอื่นที่เทียบเท่า ก่อนการใช้สิทธิและ ประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับ การรับรองมาตรฐานก่อนวันครบเปิดดําเนินการ A3 6 . 4 . 6 กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติกที่ มีคุณสมบัติพิเศษอื่นๆ 1 . ไม่ให้การส่งเสริมการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก ในกลุ่มเป้าหมายที่ต้องลดหรือเลิกตาม Roadmap จัดการขยะพลาสติกประเทศไทย ตามที่กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกําหนด 2 . ต้องมีกระบวนการขึ้นรูปพลาสติก 3 . ต้องได้รับการรับรองคุณสมบัติจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือได้รับรองมาตรฐานสากลตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A3

5 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 6 . 4 . 7 กิจการผลิตเม็ดพลาสติกรีไซเคิล รวมถึงผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องใน โครงการเดียวกัน 6 . 4 . 7 . 1 กิจการผลิตเม็ดพลาสติก รีไซเคิลที่มีคุณสมบัติ เทียบเท่ากับเม็ด พลาสติกใหม่ รวมถึง ผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องใน โครงการเดียวกัน 1 . ต้องมีคุณสมบัติเทียบเท่ากับเม็ดพลาสติกใหม่ โดยต้องได้รับการรับรองคุณสมบัติจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องหรือได้รับรองมาตรฐานสากลตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ 2 . ต้องใช้เศษพลาสติกในประเทศเป็นวัตถุดิบ A2 6 . 4 . 7 . 2 กิจการผลิตเม็ดพลาสติก รีไซเคิล รวมถึง ผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องใน โครงการเดียวกัน 1 . ต้องมีสัดส่วนการใช้เศษพลาสติกในโครงการเป็น ปริมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของวัตถุดิบที่เป็น พลาสติก ( โดยน้ําหนัก ) 2 . ต้องใช้เศษพลาสติกในประเทศเป็นวัตถุดิบ A4 6 . 4 . 8 กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ และ / หรือ ชิ้นส่วนบรรจุภัณฑ์ อัจฉริยะ 6 . 4 . 8 . 1 กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์ และ / หรือ ชิ้นส่วน อัจฉริยะในกลุ่ม Active Packaging 1 . ต้องมีคุณสมบัติที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาสัมพันธ์ ระหว่าง บรรจุภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ที่บรรจุภายใน และ / หรือ สภาพแวดล้อมภายนอก เพื่อยืดอายุ และ / หรือ คงคุณภาพหรือคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ภายใน บรรจุภัณฑ์ 2 . ต้องมีขั้นตอนการผลิตสารที่มีคุณสมบัติตามข้อ 1 เช่น สารยับยั้งการเติบโตของแบคทีเรีย สารกําจัดก๊าซ ออกซิเจน เป็นต้น 3 . กรณีการผลิตบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ ต้องมีกระบวนการ ขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์ในโครงการ 4 . ต้องได้รับการรับรองคุณสมบัติจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือได้รับรองมาตรฐานสากลตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A2

6 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 6 . 4 . 8 . 2 กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์ และ / หรือ ชิ้นส่วน อัจฉริยะในกลุ่ม Intelligent Packaging 1 . ต้องมีคุณสมบัติบ่งชี้คุณภาพผลิตภัณฑ์ หรือการเตือน เกี่ยวกับปัญหาที่อาจเกิดขึ้นโดยสามารถแสดงผลหรือ สื่อสารแก่ผู้ใช้ ( ไม่รวม Radio Frequency Identification: RFID) 2 . ต้องมีขั้นตอนการผลิตสารที่มีคุณสมบัติตามข้อ 1 เช่น หมึกหรือสารชนิดพิเศษที่เปลี่ยนสีตามอุณหภูมิและ เวลา เป็นต้น 3 . กรณีการผลิตบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ ต้องมีกระบวนการ ขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์ในโครงการ 4 . ต้องได้รับการรับรองคุณสมบัติจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือได้รับรองมาตรฐานสากลตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A2 6 . 4 . 8 . 3 กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์ และ / หรือ ชิ้นส่วน อัจฉริยะ จากสารที่ ก่อให้เกิดคุณสมบัติ อัจฉริยะ ต้องมีกระบวนการขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์ และ / หรือ ชิ้นส่วน อัจฉริยะในโครงการ A4 6 . 5 กิจการผลิตเยื่อกระดาษ และกระดาษ 6 . 5 . 1 กิจการผลิตเยื่อกระดาษชนิด ปลอดเชื้อ (Hygienic Pulp) หรือกระดาษชนิดปลอดเชื้อ (Hygienic Paper) ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานห้องปลอดเชื้อในระดับ มาตรฐาน ISO 14611 ระดับ 5 หรือมาตรฐาน Federal Standard 209 E Class 100 ขึ้นไป หรือมาตรฐานสากล อื่นที่เทียบเท่า ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับการรับรอง มาตรฐานก่อนวันครบเปิดดําเนินการ A2 6 . 5 . 2 กิจการผลิตเยื่อกระดาษชนิด พิเศษ (Specialty Pulp) หรือ กระดาษชนิดพิเศษ (Specialty Paper) ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานกระบวนการผลิตหรือ ผลิตภัณฑ์เกี่ยวข้อง เช่น US-FDA, GMP หรือ Food Grade เป็นต้น ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับการรับรอง มาตรฐานก่อนวันครบเปิดดําเนินการ A3

7 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 6 . 5 . 3 กิจการผลิตเยื่อกระดาษรีไซเคิล 6 . 5 . 3 . 1 กิจการผลิตเยื่อกระดาษ รีไซเคิล รวมถึง ผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องใน โครงการเดียวกัน กรณี ใช้เศษกระดาษใช้แล้ว ในประเทศทั้งสิ้น หากมีการผลิตผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องในโครงการเดียวกันต้อง ใช้เยื่อกระดาษรีไซเคิลที่ผลิตเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ( โดยน้ําหนัก ) A3 6 . 5 . 3 . 2 กิจการผลิตเยื่อกระดาษ รีไซเคิล รวมถึง ผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องใน โครงการเดียวกัน กรณีใช้เศษกระดาษใช้ แล้วจากต่างประเทศ บางส่วนหรือทั้งหมด หากมีการผลิตผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องในโครงการเดียวกันต้อง ใช้เยื่อกระดาษรีไซเคิลที่ผลิตเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ( โดยน้ําหนัก ) A4 6 . 5 . 4 กิจการผลิตเยื่อกระดาษที่มี คุณสมบัติเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง ในโครงการเดียวกัน ต้องได้รับการรับรองที่เกี่ยวข้องกับความเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล เช่น มาตรฐาน Forest Stewardship Council (FSC), Sustainable Forestry Initiative (SFI) และ Carbon Footprint Reduction เป็นต้น ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับการรับรองมาตรฐานก่อนวัน ครบเปิดดําเนินการ A2 6 . 6 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์จากเยื่อหรือ กระดาษ 6 . 6 . 1 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์จากเยื่อ กระดาษหรือกระดาษปลอดเชื้อ ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานห้อง ปลอดเชื้อ ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานห้องปลอดเชื้อในระดับ มาตรฐาน ISO 14611 ระดับ 7 หรือมาตรฐาน Federal Standard 209 E Class 10000 ขึ้นไป หรือ มาตรฐานสากลอื่นที่เทียบเท่า ก่อนการใช้สิทธิและ ประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับ การรับรองมาตรฐานก่อนวันครบเปิดดําเนินการ A3

8 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 6 . 6 . 2 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์จากเยื่อ กระดาษหรือกระดาษปลอดเชื้อที่ ได้รับการรับรองมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง 1 . ต้องมีขั้นตอนการผลิตที่ปลอดเชื้อ 2 . ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ที่เกี่ยวข้อง เช่น Global Food Safety Initiative (GFSI), British Retail Consortium Global Standard (BRCGS) หรือเทียบเท่า เป็นต้น ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับการรับรองมาตรฐานก่อน วันครบเปิดดําเนินการ A4 6 . 6 . 3 กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์กระดาษ เคลือบพลาสติกชีวภาพ ต้องมีขั้นตอนการเคลือบผลิตภัณฑ์ด้วยพลาสติกชีวภาพที่ สามารถย่อยสลายได้ A4 6 . 6 . 4 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์จาก กระดาษที่มีสมรรถนะสูง 1 . ต้องมีกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม เช่น การรับ น้ําหนักหรือการกันกระแทก เป็นต้น เพื่อให้ได้กระดาษ และ / หรือ ผลิตภัณฑ์กระดาษที่มีสมรรถนะสูง 2 . ต้องมีผลการทดสอบคุณสมบัติที่สูงกว่ามาตรฐาน อุตสาหกรรม หรือได้รับรองมาตรฐานสากลตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ A3 6 . 6 . 5 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์จาก เยื่อกระดาษหรือกระดาษรีไซเคิล 1 . การผลิตกระดาษต้องใช้เยื่อรีไซเคิลไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ( โดยน้ําหนัก ) ในกระบวนการผลิต 2 . ต้องมีกระบวนการขึ้นรูปในโครงการสําหรับการผลิต ผลิตภัณฑ์จากกระดาษรีไซเคิล A4 6 . 6 . 6 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์จากเยื่อ กระดาษหรือกระดาษที่มี คุณสมบัติเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 1 . การผลิตกระดาษต้องใช้วัตถุดิบที่มีคุณสมบัติเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมทั้งสิ้น โดยวัตถุดิบต้องได้การรับรองที่ เกี่ยวข้องกับความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมตาม มาตรฐานสากล เช่น มาตรฐาน Forest Stewardship Council (FSC), Sustainable Forestry Initiative (SFI) และ Carbon Footprint Reduction เป็นต้น 2 . ต้องมีกระบวนการขึ้นรูปในโครงการสําหรับการผลิต ผลิตภัณฑ์จากกระดาษที่มีคุณสมบัติเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม A4 6 . 6 . 7 กิจการผลิตสิ่งของจากเยื่อ หรือ กระดาษ เช่น กล่องกระดาษ เป็นต้น ต้องตั้งสถานประกอบการในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดนเท่านั้น A2

หมวด 7 สาธารณูปโภค ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 7 . 1 กิจการสาธารณูปโภคและบริการพื้นฐาน 7 . 1 . 1 กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า หรือ พลังงานไฟฟ้าและไอน้ําจากขยะ หรือ เชื้อเพลิงจากขยะ (Refuse Derived Fuel) A1 7 . 1 . 2 กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า หรือ พลังงานไฟฟ้าและไอน้ําจากพลังงาน หมุนเวียน เช่น แสงอาทิตย์ ลม ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ เป็นต้น ยกเว้น ขยะ หรือเชื้อเพลิงจากขยะ กรณีกิจการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ต้องมี ขนาดกําลังการผลิตติดตั้งของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ไม่น้อยกว่า 200 กิโลวัตต์ ในแต่ละจุดจําหน่ายไฟฟ้า A2 7 . 1 . 3 กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า หรือ พลังงานไฟฟ้า และไอน้ําจากไฮโดรเจน A2 7 . 1 . 4 กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้าหรือ พลังงานไฟฟ้าและไอน้ําจาก พลังงานอื่นๆ ต้องใช้ระบบ Cogeneration หรือกรณีใช้ถ่านหิน ต้องเป็นประเภทเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) เท่านั้น A4 7 . 1 . 5 กิจการผลิตน้ําประปา น้ําเพื่อ อุตสาหกรรม หรือไอน้ําจากน้ําเสีย ต้องได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ลําดับที่ 101 ได้แก่ โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม (Central Waste Treatment) A2 7 . 1 . 6 กิจการผลิตน้ําประปา น้ําเพื่อ อุตสาหกรรม หรือไอน้ํา A3 7 . 1 . 7 กิจการบริการด้านจัดการพลังงาน (Energy Service Company: ESCO) ต้องได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงพลังงาน ก่อนยื่นขอรับการส่งเสริม A1 7 . 1 . 8 กิจการแปรรูปวัสดุที่ไม่ใช้แล้วเพื่อ นํากลับมาใช้ประโยชน์ (Recycle) หรือนํากลับคืนมาใหม่ (Recovery) 1 . ต้องดําเนินการจัดการวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เกิดขึ้น ในประเทศเท่านั้น 2 . ต้องมีกระบวนการคัดแยกหรือแปรรูปวัสดุที่ไม่ใช้ แล้วด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ 3 . ต้องตั้งในนิคมอุตสาหกรรมหรือเขตอุตสาหกรรม ที่ได้รับการส่งเสริม A2

2 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 7 . 1 . 9 กิจการคัดแยกวัสดุที่ไม่ใช้แล้วเพื่อ นํากลับมาใช้ใหม่ (Sorting) กรณีตั้งในนิคมอุตสาหกรรม หรือเขตอุตสาหกรรมที่ได้รับ การส่งเสริม 1 . ต้องดําเนินการจัดการวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เกิดขึ้น ในประเทศเท่านั้น 2 . ต้องมีกระบวนการคัดแยกด้วยเทคโนโลยีที่ ทันสมัยตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 3 . ต้องได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ลําดับที่ 105 ได้แก่ โรงงานประกอบกิจการ เกี่ยวกับการคัดแยกหรือฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ ที่ไม่ใช้แล้วที่มีลักษณะและคุณสมบัติตามที่ กําหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยโรงงาน A3 7 . 1 . 10 กิจการคัดแยกวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว เพื่อนํากลับมาใช้ใหม่ (Sorting) 1 . ต้องดําเนินการจัดการวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เกิดขึ้น ในประเทศเท่านั้น 2 . ต้องมีกระบวนการคัดแยกด้วยเทคโนโลยีที่ ทันสมัยตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 3 . ต้องได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ลําดับที่ 105 ได้แก่ โรงงานประกอบกิจการ เกี่ยวกับการคัดแยกหรือฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ ที่ไม่ใช้แล้วที่มีลักษณะและคุณสมบัติตามที่ กําหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยโรงงาน 4 . ต้องมีเงินลงทุน ( ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ) ไม่น้อยกว่า 200 ล้านบาท A4 7 . 1 . 11 กิจการผลิตเชื้อเพลิงจากขยะ (Refuse Derived Fuel) 1 . ต้องตั้งในนิคมอุตสาหกรรมหรือเขตอุตสาหกรรม ที่ได้รับการส่งเสริม ยกเว้นกรณีที่ไม่มีการใช้ ความร้อน (Thermal) ในการหลอมหรือเผาไหม้ ในกรรมวิธีการผลิต 2 . ต้องดําเนินการจัดการวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เกิดขึ้น ในประเทศเท่านั้น 3 . ต้องมีกรรมวิธีการผลิตที่ทันสมัยตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ A2 7 . 1 . 12 กิจการบําบัดหรือกําจัดของเสีย กรณีกําจัดของเสียด้วยวิธีฝังกลบจะให้การส่งเสริม เฉพาะการฝังกลบของเสียอันตราย และต้องได้รับ ความเห็นชอบในรายงานด้านสิ่งแวดล้อมจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องก่อนยื่นขอรับการส่งเสริม A2

3 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 7 . 2 กิจการพัฒนาพื้นที่สําหรับกิจการอุตสาหกรรม 7 . 2 . 1 กิจการนิคมหรือเขตอุตสาหกรรม 1 . ต้องมีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน 2 . ไม่ให้การส่งเสริมในกรุงเทพมหานครและสมุทรปราการ 3 . ต้องมีที่ดินไม่น้อยกว่า 500 ไร่ 4 . ที่ดินที่เป็นที่ตั้งโรงงานต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 และไม่เกินร้อยละ 75 ของพื้นที่ทั้งหมด ยกเว้น กรณีมีที่ดินทั้งหมดเกิน 1 , 000 ไร่ ให้กําหนด ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 5 . เงื่อนไขอื่นมีดังนี้ 5 . 1 มาตรฐานของถนนหลัก - กรณีที่ดินเกินกว่า 1 , 000 ไร่ ขึ้นไป ต้องมี ถนน 4 ช่องทาง เขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร ผิวจราจรไม่น้อยกว่า 14 เมตร มีเกาะกลางถนนและทางเท้าไม่น้อยกว่า 2 เมตรต่อข้าง นอกจากนี้ ต้องมีผิวทาง หรือไหล่ทางกว้างเพียงพอที่จะให้รถยนต์ จอดฉุกเฉิน - กรณีที่ดินเกินกว่า 500 – 1 , 000 ไร่ ต้องมีถนน 2 ช่องทาง เขตทางไม่น้อยกว่า 20 เมตร ผิวจราจรไม่น้อยกว่า 7 เมตร มีทางเท้าไม่น้อยกว่า 2 เมตรต่อข้าง นอกจากนี้ต้องมีผิวทางหรือไหล่ทางกว้าง เพียงพอที่จะให้รถยนต์จอดฉุกเฉิน 5 . 2 มาตรฐานของถนนสายรองต้องมีผิวจราจร ไม่น้อยกว่า 8 . 50 เมตร ไหล่ถนนไม่น้อย กว่า 2 เมตรต่อข้าง 5 . 3 ระบบบําบัดน้ําเสียต้องเหมาะสมตามลักษณะ สมบัติของน้ําเสีย และการบําบัดน้ําเสียต้อง เป็นไปตามมาตรฐานน้ําทิ้งตามที่กฎหมาย กําหนด โดยมีบ่อเก็บน้ําทิ้งหลังการบําบัด ด้วย A3

4 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 7 . 2 . 2 กิจการนิคมหรือเขตอุตสาหกรรม อัจฉริยะ 5 . 4 ระบบระบายน้ําเสียต้องแยกออกจากระบบ ระบายน้ําฝนโดยเด็ดขาด 5 . 5 ต้องจัดให้มีที่รวบรวม จัดเก็บ และกําจัด ขยะที่เหมาะสมตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 5 . 6 โรงงานที่เข้าใช้พื้นที่ต้องเป็นโรงงานที่สอดคล้อง กับอุตสาหกรรมเป้าหมายและอุตสาหกรรม ต้องห้ามตามที่กําหนดไว้ในรายงานการประเมิน ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ผ่านความเห็นชอบจาก คณะกรรมการผู้ชํานาญการพิจารณารายงาน การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5 . 7 ต้องมีบริการสาธารณูปโภค โดยมีไฟฟ้า น้ําประปา และน้ําใช้ โทรศัพท์ และการ ไปรษณีย์แก่โรงงานอุตสาหกรรมที่เข้าไป อยู่ในเขตอุตสาหกรรมใช้ได้เพียงพอ 5 . 8 ต้องจัดปรับปรุงที่ดินประมาณร้อยละ 25 ของที่ดินทั้งหมดหรือตามจํานวนที่ คณะกรรมการเห็นชอบ ให้มีความพร้อม ในด้านบริการสาธารณูปโภคต่างๆ ภายใน ระยะเวลา 2 ปี นับแต่วันที่ออกบัตรส่งเสริม 1 . ต้องมีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน 2 . ต้องจัดให้มีบริการระบบอัจฉริยะทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ Smart Facilities, Smart IT, Smart Energy, Smart Economy และบริการระบบอัจฉริยะด้าน อื่นๆ อย่างน้อยอีก 1 ใน 3 ด้าน ดังนี้ Smart Good Corporate Governance, Smart Living และ Smart Workforce 3 . ต้องได้รับความเห็นชอบแผนการพัฒนาเป็นนิคมหรือ เขตอุตสาหกรรมอัจฉริยะจากคณะกรรมการร่วม ระหว่างการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ก่อนยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุน A2

5 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . ต้องมีที่ดินไม่น้อยกว่า 250 ไร่ 5 . ที่ดินที่เป็นที่ตั้งโรงงานต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 และไม่เกินร้อยละ 75 ของพื้นที่ทั้งหมด ยกเว้น กรณีมีที่ดินทั้งหมดเกิน 1 , 000 ไร่ ให้กําหนด ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 6 . เงื่อนไขอื่น ทั้งกรณีเป็นผู้ดําเนินการเองหรือ จัดให้มี ดังนี้ 6 . 1 มาตรฐานของถนนหลัก - กรณีที่ดินเกินกว่า 1 , 000 ไร่ขึ้นไป ต้องมีถนน 4 ช่องทาง เขตทาง ไม่น้อยกว่า 30 เมตร ผิวจราจร ไม่น้อยกว่า 14 เมตร มีเกาะกลางถนน และทางเท้าไม่น้อยกว่า 2 เมตรต่อข้าง นอกจากนี้ต้องมีผิวทางหรือไหล่ทาง กว้างเพียงพอที่จะให้รถยนต์จอดฉุกเฉิน - กรณีที่ดินเกินกว่า 250 – 1 , 000 ไร่ ต้องมีถนน 2 ช่องทาง เขตทาง ไม่น้อยกว่า 20 เมตร ผิวจราจร ไม่น้อยกว่า 7 เมตร มีทางเท้า ไม่น้อยกว่า 2 เมตรต่อข้าง นอกจากนี้ ต้องมีผิวทางหรือไหล่ทางกว้างเพียงพอ ที่จะให้รถยนต์จอดฉุกเฉิน 6 . 2 มาตรฐานของถนนสายรองต้องมีผิวจราจร ไม่น้อยกว่า 8 . 50 เมตร ไหล่ถนนไม่น้อย กว่า 2 เมตรต่อข้าง 6 . 3 ระบบบําบัดน้ําเสียต้องเหมาะสมตาม ลักษณะสมบัติของน้ําเสีย และการบําบัด น้ําเสียต้องเป็นไปตามมาตรฐานน้ําทิ้งตามที่ กฎหมายกําหนด โดยมีบ่อเก็บน้ําทิ้งหลังการ บําบัดด้วย 6 . 4 ระบบระบายน้ําเสียต้องแยกออกจากระบบ ระบายน้ําฝนโดยเด็ดขาด

6 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 6 . 5 ต้องจัดให้มีที่รวบรวม จัดเก็บ และกําจัดขยะ ที่เหมาะสม ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 6 . 6 โรงงานที่เข้าใช้พื้นที่ต้องเป็นโรงงาน ที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรมเป้าหมายและ อุตสาหกรรมต้องห้ามตามที่กําหนดไว้ใน รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ผู้ชํานาญการพิจารณารายงานการ ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 6 . 7 ต้องมีบริการสาธารณูปโภค โดยมีไฟฟ้า น้ําประปาและน้ําใช้ โทรศัพท์ และการ ไปรษณีย์แก่โรงงานอุตสาหกรรมที่เข้าไปอยู่ ในเขตอุตสาหกรรมใช้ได้เพียงพอ 6 . 8 ต้องจัดปรับปรุงที่ดินประมาณร้อยละ 25 ของที่ดินทั้งหมด หรือตามจํานวนที่ คณะกรรมการเห็นชอบ ให้มีความพร้อมใน ด้านบริการสาธารณูปโภคต่างๆ ภายใน ระยะเวลา 2 ปี นับแต่วันที่ออกบัตรส่งเสริม 7 . ต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จตามแผนที่ได้รับ ความเห็นชอบ ภายในระยะเวลา 5 ปี นับจาก วันมีรายได้ครั้งแรกของโครงการ 8 . หากตั้งอยู่ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ให้ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตรา ร้อยละ 50 ของอัตราปกติ เป็นระยะเวลา 5 ปี นับจากวันสิ้นสุดระยะเวลาการยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล

7 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 7 . 2 . 3 นิคมอุตสาหกรรมเฉพาะทาง 7 . 2 . 3 . 1 กิจการนิคมหรือ เขตอุตสาหกรรม ด้านนวัตกรรมอาหาร 1 . ต้องมีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน 2 . ต้องเป็นพื้นที่ที่ได้รับความเห็นชอบจากกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน 3 . ต้องมีโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่พร้อมสนับสนุนการ วิจัยพัฒนาเชิงพาณิชย์ เช่น ห้องปฏิบัติการวิจัย พัฒนา โรงงานต้นแบบ พื้นที่ทดลองผลิต พื้นที่ ทดสอบตลาด (Living Lab) และพื้นที่ให้เช่า สําหรับจัดตั้งศูนย์วิจัยพัฒนาและนวัตกรรมของ ภาคเอกชน เป็นต้น 4 . ต้องมีห้องปฏิบัติการกลาง (Central Lab) ที่มี เครื่องมือและอุปกรณ์ที่จําเป็นสําหรับการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม รวมทั้งมีนักเทคนิค (Technician) ประจําเครื่องมือและอุปกรณ์ ที่พร้อมสนับสนุนการทําวิจัยพัฒนาและ นวัตกรรมของภาคเอกชน 5 . ต้องมีสิ่งอํานวยความสะดวกให้บริการกับผู้ที่อยู่ ในพื้นที่ เช่น ห้องประชุมสัมมนา ระบบการ สื่อสาร ระบบไฟฟ้าสํารอง เป็นต้น 6 . ต้องมีระบบบําบัดน้ําเสียและสิ่งปฏิกูล ที่เหมาะสมตามมาตรฐานที่กฎหมายกําหนด A1 7 . 2 . 3 . 2 กิจการนิคมหรือ เขตวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี (Science and Technology Park) 1 . ต้องมีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน 2 . ต้องมีศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ (Incubation Center) 3 . ต้องมีระบบการสื่อสารและโทรคมนาคม ในประเทศ และระหว่างประเทศ 4 . ต้องมีระบบไฟฟ้าสํารองจ่ายแบบต่อเนื่อง 5 . ต้องมีสิ่งอํานวยความสะดวกอื่นตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ A1

8 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 7 . 2 . 3 . 3 กิจการนิคมหรือเขต อุตสาหกรรมอัญมณี และเครื่องประดับ 7 . 2 . 3 . 4 กิจการนิคมหรือเขต อุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (Logistics Park) 1 . ต้องมีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน 2 . ต้องมีที่ดินไม่น้อยกว่า 100 ไร่ 3 . ต้องมีพื้นที่สําหรับการประกอบอุตสาหกรรม ที่เกี่ยวกับอัญมณีและเครื่องประดับไม่น้อยกว่า ร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมด 4 . ต้องมีพื้นที่สําหรับการค้าขายอัญมณี และ เครื่องประดับ 5 . ต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยที่เหมาะสม ต้องมีห้องประชุมและห้องแสดงสินค้า รวมทั้ง ศูนย์ธุรกิจ 1 . ต้องมีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน 2 . ต้องมีที่ดินไม่น้อยกว่า 200 ไร่ และมีการลงทุน ก่อสร้างคลังสินค้าให้เช่า หรือขายโดยมีพื้นที่ รวมกันไม่น้อยกว่า 50 , 000 ตารางเมตร 3 . ต้องตั้งในพื้นที่รัศมีไม่เกิน 50 กิโลเมตรจาก บริเวณท่าเรือ ท่าอากาศยานด่านชายแดน ศุลกากรสถานีตรวจปล่อย และบรรจุสินค้าเข้า ตู้คอนเทนเนอร์ (Inland Container Depot: ICD) หรืออยู่ในเขตประกอบการเสรีหรือเขต ปลอดอากร (Free Zone) 4 . ต้องจัดให้มีพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดเป็นเขต ประกอบการเสรีหรือเขตปลอดอากร (Free Zone) 5 . ต้องจัดให้มีสถานีเปลี่ยนถ่ายขึ้น - ลงตู้คอนเทนเนอร์ หรือสถานีรถบรรทุกและสถานีเก็บ และรับฝาก ตู้คอนเทนเนอร์ไม่น้อยกว่า 50 ตู้ A3 A3

9 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 7 . 2 . 3 . 5 กิจการนิคมหรือเขต อุตสาหกรรมอากาศยาน หรืออวกาศ 7 . 2 . 3 . 6 กิจการนิคมหรือเขต ส่งเสริมอุตสาหกรรม เกษตรและอาหาร 6 . ต้องมีระบบโทรคมนาคมหลักที่มีการวางสาย สื่อสารแบบความเร็วสูงจากเขตอุตสาหกรรม โลจิสติกส์ไปยังศูนย์กลางสื่อสารโทรคมนาคม ในประเทศ และระหว่างประเทศ 1 . ต้องมีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน 2 . ต้องมีที่ดินไม่น้อยกว่า 100 ไร่ 3 . ต้องจัดให้มีพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดเป็นเขต คลังสินค้าทัณฑ์บน (Bonded Warehouse) หรือเขตปลอดอากร (Free Zone) 4 . ต้องจัดให้มีพื้นที่รองรับศูนย์ซ่อมอากาศยาน หรือชิ้นส่วน 5 . ต้องจัดให้มีระบบสาธารณูปโภค สิ่งอํานวย ความสะดวกและบริการ ได้แก่ ระบบถนน ระบบระบายน้ําฝนและป้องกันน้ําท่วม ระบบประปา ระบบบําบัดน้ําเสีย ระบบสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบไฟฟ้า ระบบดับเพลิงและ ป้องกันอุบัติภัย ระบบการจัดการกาก อุตสาหกรรม และระบบรักษาความปลอดภัย ที่เหมาะสมตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 1 . ต้องมีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน 2 . ไม่ให้การส่งเสริมในกรุงเทพมหานครและ สมุทรปราการ 3 . ต้องมีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 200 ไร่ โดยพื้นที่สําหรับ การประกอบอุตสาหกรรมต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 และไม่เกินร้อยละ 75 ของพื้นที่ ทั้งหมด A3 A3

10 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 7 . 2 . 4 กิจการพัฒนาอาคารสําหรับ โรงงานอุตสาหกรรมและ / หรือ คลังสินค้า 4 . ต้องมีพื้นที่เป็นสถานประกอบการในอุตสาหรรม เกษตร เกษตรแปรรูปอาหาร กิจการที่ใช้ผลิตผล ทางการเกษตร ผลพลอยได้ เศษหรือของเสีย จากการเกษตรเป็นวัตถุดิบหลัก รวมทั้งบริการ สนับสนุนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและ การพัฒนาบุคลากร ในสัดส่วนพื้นที่ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของพื้นที่ที่เป็นสถานประกอบการ ทั้งหมด 5 . ต้องมีบริการและสิ่งอํานวยความสะดวกภายใน โครงการ ดังนี้ - ห้องปฏิบัติการ / ทดสอบ - สถาบันฝึกอบรมหรือพัฒนาองค์ความรู้ ด้านการเกษตรหรืออาหาร - ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานที่เหมาะสมและ ได้มาตรฐาน หรือรายละเอียดตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ ต้องตั้งสถานประกอบการในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้ และเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน เท่านั้น A2

หมวด 8 อุตสาหกรรมดิจิทัล ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 8 . 1 กิจการพัฒนาซอฟต์แวร์ แพลตฟอร์มเพื่อให้บริการดิจิทัล หรือ ดิจิทัลคอนเทนต์ 1 . ต้องมีเงินลงทุนขั้นต่ําของโครงการ ซึ่งคํานวณจาก ค่าใช้จ่ายเงินเดือนบุคลากรไทยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เป็นการจ้างงานเพิ่มภายหลังยื่นขอรับการส่งเสริม ไม่น้อยกว่า 1 , 500 , 000 บาทต่อปี 2 . ต้องมีกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ แพลตฟอร์มเพื่อ ให้บริการดิจิทัล หรือดิจิทัลคอนเทนต์ในประเทศไทย ตามที่สํานักงานกําหนด 3 . อนุญาตให้ใช้เครื่องจักรที่มีอยู่เดิมหรือใช้แล้ว 4 . ไม่ให้การส่งเสริมการลงทุนแก่การค้าปลีกและค้าส่งสินค้า ทุกประเภท 5 . กําหนดวงเงินสําหรับการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลในแต่ละปีจากรายการค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น จริงในปีที่ขอใช้สิทธิและประโยชน์ โดยคํานวณเป็นวงเงิน ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 100 ของค่าใช้จ่าย ดังนี้ - ค่าใช้จ่ายเงินเดือนบุคลากรไทยด้านเทคโนโลยี สารสนเทศที่เป็นการจ้างงานเพิ่ม โดยคิดจากการจ้าง งานบุคลากรไทยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่เพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการจ้างงานบุคลากรไทยด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศก่อนวันยื่นขอรับการส่งเสริม - ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะของ บุคลากรไทยในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศ - ค่าใช้จ่ายเพื่อให้ได้ใบรับรองระบบคุณภาพตาม มาตรฐาน ISO 29110 หรือ CMMI ตั้งแต่ Level 2 หรือมาตรฐาน สากลอื่นที่เทียบเท่า A2

2 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 8 . 2 กิจการโครงสร้างพื้นฐานด้าน ดิจิทัล 8 . 2 . 1 กิจการ Data Center 1 . ต้องจัดให้มีบริการ เช่น บริการรับฝากวางคอมพิวเตอร์ แม่ข่าย (Server Co-location) บริการดูแลระบบ (Managed Service) บริการ Backup เครื่อง Server ของลูกค้า บริการ Disaster Recovery Services (DRS) การให้บริการเช่าเครื่องแม่ข่ายสําหรับฝากวางข้อมูล (Data Hosting) เป็นต้น 2 . ต้องมีพื้นที่สําหรับให้บริการ Data Center ไม่น้อยกว่า 3 , 000 ตารางเมตร 3 . ต้องมีระบบโทรคมนาคมหลักที่มีการวางสายสื่อสารแบบ ความเร็วสูงไปยังศูนย์กลาง สื่อสารโทรคมนาคมทั้งใน ประเทศ และระหว่างประเทศไม่น้อยกว่า 4 วงจร ทั้งนี้ ต้องเป็นวงจรในประเทศที่มีความเร็วไม่น้อยกว่า 10 Gbps ไม่น้อยกว่า 3 วงจร และมีความเร็วรวมของทุกวงจร ไม่น้อยกว่า 60 Gbps 4 . ต้องสามารถให้บริการได้ในขณะที่มีการซ่อมบํารุงหรือมี การเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบ (Concurrently Maintainable) 5 . ต้องมีระบบ Engine Generator ที่เป็น Continuous Rating ที่รองรับปริมาณการใช้ไฟทั้งหมดของ Data Center พร้อมระบบสํารองกรณี Engine Generator ตัวหนึ่งตัวใดชํารุดหรือหยุดทํางาน 6 . ต้องมีอุปกรณ์หรือระบบสํารองในอุปกรณ์ UPS, IT Cooling และ UPS Cooling โดยต้องทํางานในทันทีที่อุปกรณ์หลัก หยุดทํางาน และไม่กระทบต่อการให้บริการ 7 . ต้องมีเส้นทางสํารองในระบบส่งจ่ายไฟฟ้าที่ไม่ขึ้นต่อกัน (Independent Distribution Paths) 8 . ต้องมีระบบป้องกันความเสี่ยงที่เกิดจากความเสียหายกรณี ที่อุปกรณ์ตัวหนึ่งตัวใดชํารุด หรือหยุดทํางาน A1

3 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 8 . 2 . 2 กิจการ Cloud Service 8 . 2 . 3 กิจการบริการวงจรสื่อ สัญญาณความเร็วสูง ระหว่างประเทศ ภาคพื้นน้ํา 9 . ต้องมีระบบปรับอากาศที่มีประสิทธิภาพสูงพร้อมระบบ สํารอง 10 . ต้องมีระบบป้องกันอัคคีภัยทั่วพื้นที่ 11 . ต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง 12 . ต้องได้รับมาตรฐาน ISO/IEC 27001 ด้าน Data Center ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับการรับรองมาตรฐานก่อนวันครบเปิด ดําเนินการ 1 . ต้องตั้งอยู่ใน Data Center ที่ได้รับมาตรฐาน ISO/IEC 27001 ด้าน Data Center ไม่น้อยกว่า 2 ศูนย์ที่อยู่ ในประเทศ 2 . ต้องมีการเชื่อมต่อระหว่างศูนย์ Data Center ทุกศูนย์ เข้าด้วยกัน ด้วยความเร็วไม่น้อยกว่า 10 Gbps ในทุกเส้นทาง พร้อมมีวงจรสํารองที่มีขนาดเท่ากัน 3 . ต้องได้รับมาตรฐาน ISO/IEC 27001 ด้าน Cloud Security และมาตรฐาน ISO/IEC 20000-1 ด้าน Cloud Service ก่อนการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล ทั้งนี้ จะต้องได้รับการรับรองมาตรฐานก่อน วันครบเปิดดําเนินการ ต้องได้รับใบอนุญาตการบริการวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูง ระหว่างประเทศจากสํานักงานคณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ก่อนยื่นขอรับการส่งเสริม A1 A2 8 . 3 กิจการสนับสนุนระบบนิเวศ ด้านดิจิทัล 8 . 3 . 1 กิจการ Innovation Park 1 . ต้องลงทุนหรือจัดให้มีระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน เช่น ระบบสื่อสารหลักแบบใยแก้ว ความเร็วสูง ระบบไฟฟ้า สํารองจ่ายแบบต่อเนื่อง ระบบปรับอากาศ ระบบดับเพลิง และป้องกันอุบัติภัย เป็นต้น A1

4 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 8 . 3 . 2 กิจการ Maker Space หรือ Fabrication Laboratory 8 . 3 . 3 กิจการ Co-working Space 2 . ต้องมีแผนการบ่มเพาะเพื่อการพัฒนานวัตกรรมตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ 3 . ต้องมีแผนการสร้างระบบนิเวศ (Ecosystem) หรือการ สร้างชุมชนเทคโนโลยี รวมทั้งต้องจัดให้มีพื้นที่และ เครื่องมือเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบ (Prototype) 4 . ต้องมีการจ้างผู้เชี่ยวชาญในการให้คําปรึกษาการดําเนิน ธุรกิจและการพัฒนานวัตกรรม (Mentor) ประจําโครงการ 5 . ต้องมีพื้นที่ให้บริการไม่น้อยกว่า 1 , 000 ตารางเมตร 1 . ต้องจัดให้มีพื้นที่สําหรับเป็นห้องปฏิบัติการเพื่อใช้ในงาน สร้างนวัตกรรมหรือผลิตภัณฑ์ต้นแบบ 2 . ต้องจัดให้มีเครื่องมือหรืออุปกรณ์พื้นฐานเพื่อพัฒนา ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ เช่น CNC Machine, 3D Printer, Water Jet, Tooling, Software Tools สําหรับพัฒนา งานด้านปัญญาประดิษฐ์ อุปกรณ์เพาะเชื้อ อุปกรณ์ผสม สารเคมี เป็นต้น 3 . ต้องจัดให้มีผู้เชี่ยวชาญในการให้คําปรึกษาเพื่อการพัฒนา นวัตกรรมหรือผลิตภัณฑ์ต้นแบบ 4 . ต้องจัดให้มีระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานในโครงการ เช่น ระบบสื่อสารหลักแบบใยแก้วความเร็วสูง ระบบไฟฟ้า สํารองจ่ายแบบต่อเนื่อง ระบบปรับอากาศ ระบบดับเพลิง และป้องกันอุบัติภัย เป็นต้น 1 . ต้องจัดให้มีพื้นที่ให้บริการไม่น้อยกว่า 2 , 000 ตารางเมตร 2 . ต้องมีเงินลงทุน ( ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ) ไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท 3 . ต้องมีองค์ประกอบในการบริหารจัดการได้แก่ Co-working Management, Membership Management System และ Supporting Management A3 B

5 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4 . ต้องจัดให้มีเครื่องมือหรืออุปกรณ์พื้นฐานเพื่อให้บริการ เช่น อุปกรณ์สํานักงาน คอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น 5 . ต้องจัดให้มีระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานในโครงการ เช่น ระบบสื่อสารหลักแบบใยแก้วความเร็วสูง ระบบไฟฟ้า สํารองจ่ายแบบต่อเนื่อง ระบบปรับอากาศ ระบบดับเพลิง และป้องกันอุบัติภัย เป็นต้น 8 . 4 กิจการเมืองอัจฉริยะ 8 . 4 . 1 กิจการพัฒนาพื้นที่เมือง อัจฉริยะ 1 . ต้องมีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของ ทุนจดทะเบียน 2 . ต้องจัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานด้านการสื่อสารที่พร้อม รองรับระบบอัจฉริยะด้านต่างๆ เช่น Fiber Optic, Public Wifi เป็นต้น 3 . ต้องจัดให้มีบริการระบบอัจฉริยะ Smart Environment และจัดให้มีบริการระบบอัจฉริยะด้านอื่นๆ อย่างน้อยอีก 1 ด้านจาก 6 ด้าน ดังนี้ Smart Mobility, Smart People, Smart Living, Smart Economy, Smart Governance และ Smart Energy 4 . ต้องจัดให้มีระบบจัดเก็บและบริหารข้อมูลโดยมีการเชื่อมโยง หรือการให้ใช้งานข้อมูลในการบริหารจัดการและให้บริการ ในพื้นที่เมืองอัจฉริยะ (Open Data Platform) 5 . ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการหรือหน่วยงาน ที่รับผิดชอบการพัฒนาเมืองอัจฉริยะก่อนยื่นขอรับการ ส่งเสริมการลงทุน 6 . ต้องกําหนดและดําเนินการตามเป้าหมายด้านต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาพื้นที่ 7 . ต้องจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนใน พื้นที่ และต้องเสนอแผนการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ 8 . หากตั้งอยู่ในพื้นที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ให้ได้รับ ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล ในอัตราร้อยละ 50 ของ อัตราปกติ เป็นระยะเวลา 5 ปี นับแต่วันสิ้นสุดระยะเวลา การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล A2

6 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 8 . 4 . 2 กิจการพัฒนาระบบเมือง อัจฉริยะ 1 . ต้องมีการพัฒนา ติดตั้ง และให้บริการระบบเมืองอัจฉริยะ ที่เหมาะสมในด้านใดด้านหนึ่ง หรือหลายด้านตามที่ คณะกรรมการกําหนด เช่น Smart Mobility, Smart People, Smart Living, Smart Economy, Smart Governance, Smart Energy และ Smart Environment เป็นต้น 2 . ต้องเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่ได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการหรือหน่วยงานที่ รับผิดชอบการพัฒนาเมืองอัจฉริยะเท่านั้น 3 . หากตั้งอยู่ในพื้นที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ให้ได้รับ ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล ในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติ เป็นระยะเวลา 5 ปี นับแต่วันสิ้นสุด ระยะเวลาการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล A2

หมวด 9 อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 9 . 1 กิจการบริการออกแบบและ พัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ 1 . ต้องมีองค์ประกอบครบทั้ง 2 ข้อ ดังนี้ 1 . 1 ระบบข้อมูลเพื่อการออกแบบ 1 . 2 ระบบการออกแบบแนวคิด และการสร้างต้นแบบ แนวคิด 2 . ต้องจัดให้มีระบบในข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ 2 . 1 ระบบการออกแบบเชิงวิศวกรรม 2 . 2 ระบบการสร้างต้นแบบ และทดสอบสมรรถนะ การใช้งาน 2 . 3 ระบบการทดสอบมาตรฐานของต้นแบบและการ ยอมรับของผู้ใช้ 3 . ต้องใช้บุคลากรไทยไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบุคลากร ทั้งหมด 4 . ต้องมีค่าใช้จ่ายเงินเดือนของบุคลากรไทยด้านออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ ไม่น้อยกว่า 1 , 500 , 000 บาทต่อปี โดยเป็นการจ้างงานใหม่ หรือ มีเงินลงทุนขั้นต่ําที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับกิจการ ไม่น้อย กว่า 1 ล้านบาท ( ไม่รวมค่าที่ดิน ทุนหมุนเวียนและ ค่ายานพาหนะ ) A1 9 . 2 กิจการผลิตเส้นใยที่มีคุณสมบัติ พิเศษ (Technical Fiber หรือ Functional Fiber) ต้องได้รับความเห็นชอบจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ สํานักงานนวัตกรรม แห่งชาติ ( องค์การมหาชน ) เป็นต้น A2 9 . 3 กิจการผลิตด้ายหรือผ้าที่มี คุณสมบัติพิเศษ (Functional Yarn หรือ Functional Fabric) ต้องได้รับความเห็นชอบจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ สํานักงานนวัตกรรม แห่งชาติ ( องค์การมหาชน ) เป็นต้น A3 9 . 4 กิจการผลิตเส้นใยรีไซเคิล (Recycled Fiber) ต้องใช้เศษวัสดุของเสียที่เกิดขึ้นในประเทศเท่านั้น A4 9 . 5 กิจการผลิตเส้นใยอื่นๆ หรือ ด้าย หรือผ้าอื่นๆ B 9 . 6 กิจการฟอกย้อมและแต่งสําเร็จ หรือพิมพ์และแต่งสําเร็จ หรือพิมพ์ 1 . ต้องตั้งหรือขยายโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมหรือเขต อุตสาหกรรมที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน หรือ เขตประกอบการอุตสาหกรรมตามมาตรา 30 ของ กระทรวงอุตสาหกรรมที่มีระบบการกําจัดของเสียและ การควบคุมรักษาสิ่งแวดล้อมตามประกาศที่กระทรวง อุตสาหกรรมกําหนด A3

2 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 2 . ในกรณีที่ไม่อยู่ในพื้นที่ตามข้อ 1 . จะอนุญาตให้เฉพาะ กรณีการขยายโรงงานเดิม โดยต้องมีมาตรการลด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 3 . กรณีพิมพ์ผ้าด้วย Digital Printing สําหรับอุตสาหกรรม เครื่องนุ่งห่มหรือเคหะสิ่งทอ ให้ตั้งโรงงานได้ในทุกพื้นที่ 4 . หากขอรับการส่งเสริมการลงทุนตามมาตรการยกระดับ อุตสาหกรรม (Smart and Sustainable Industry) ด้าน การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ให้ตั้งในพื้นที่สถาน ประกอบการเดิมได้ไม่ว่าจะอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมหรือ เขตอุตสาหกรรมที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนหรือ เขตประกอบการอุตสาหกรรม ตามมาตรา 30 ของ กระทรวงอุตสาหกรรมหรือไม่ก็ตาม 5 . ต้องใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในทุกกรณี 9 . 7 กิจการผลิตเครื่องนุ่งห่ม และ เคหะสิ่งทอ B 9 . 8 กิจการผลิตกระเป๋าหรือรองเท้า หรือผลิตภัณฑ์จากหนังสัตว์หรือ หนังเทียม B 9 . 9 กิจการผลิตอัญมณี และ เครื่องประดับ หรือชิ้นส่วน รวมถึงวัตถุดิบและต้นแบบ A4 9 . 10 กิจการผลิตเครื่องกีฬาหรือชิ้นส่วน B 9 . 11 กิจการผลิตเครื่องดนตรี B 9 . 12 กิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์หรือชิ้นส่วน B 9 . 13 กิจการผลิตของเล่น B 9 . 14 กิจการผลิตสิ่งพิมพ์ B 9 . 15 กิจการสร้างภาพยนตร์ไทย ต้องเป็นการสร้างภาพยนตร์ไทย ได้แก่ ภาพยนตร์เรื่อง สารคดี รายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ แอนิเมชัน แต่ไม่รวมถึง ภาพยนตร์โฆษณา A3 ( ไม่กําหนด วงเงินยกเว้น ภาษีเงินได้ นิติบุคคล ) 9 . 16 กิจการบริการแก่ธุรกิจสร้าง ภาพยนตร์ การบริการแก่ธุรกิจสร้างภาพยนตร์ ให้รวมถึง ภาพยนตร์ เรื่อง สารคดี รายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์แอนิเมชัน และ ภาพยนตร์โฆษณา โดยมีขอบข่ายการให้บริการ อย่างใดอย่าง หนึ่ง ดังนี้ A3

3 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1 . บริการให้เช่าอุปกรณ์ถ่ายทํา และ / หรือประกอบการถ่าย ทําภาพยนตร์ โดยมีอุปกรณ์หลัก เช่น กล้องถ่ายทํา ภาพยนตร์ อุปกรณ์เสริมความเคลื่อนไหวของกล้อง อุปกรณ์ไฟถ่ายทําภาพยนตร์ เป็นต้น 2 . บริการล้างและพิมพ์ฟิล์มภาพยนตร์ หรือสําเนาไฟล์ภาพยนตร์ โดยมีอุปกรณ์หลัก เช่น เครื่องล้างฟิล์ม เครื่องพิมพ์ฟิล์ม อุปกรณ์สําเนาไฟล์ ภาพยนตร์ระบบดิจิทัล เป็นต้น 3 . บริการบันทึกเสียงภาพยนตร์ โดยมีอุปกรณ์หลัก เช่น ชุดบันทึกเสียงระบบดิจิทัล ชุดตัดต่อเสียง ระบบดิจิทัล ชุดผสมเสียงระบบดิจิทัล เป็นต้น 4 . บริการทําเทคนิคด้านภาพ ต้องมีเครื่องจักรและอุปกรณ์ สร้างภาพพิเศษ ซึ่งไม่สามารถทําได้สําเร็จในตัวกล้อง เช่น เครื่องตัดต่อและลําดับภาพ เครื่องประกอบสร้างเทคนิค พิเศษและภาพระบบดิจิทัล เป็นต้น 5 . บริการประสานงานภาพยนตร์จากต่างประเทศที่มาถ่ายทํา ในประเทศไทย โดยมีขอบข่ายการให้บริการครอบคลุมถึง การติดต่อขออนุญาตจากทางราชการ การติดต่อหาสถานที่ ถ่ายทําภาพยนตร์ การติดต่อหาบุคลากรและการติดต่อหา อุปกรณ์สร้างภาพยนตร์ 6 . บริการให้เช่าโรงถ่ายทําภาพยนตร์ และรายการโทรทัศน์ ที่ได้มาตรฐาน ทั้งในและนอกสถานที่ (Indoor Studio and Outdoor Studio) 9 . 17 เขตอุตสาหกรรมภาพยนตร์ (Movie Town) ต้องจัดให้มีสิ่งอํานวยความสะดวกในเขตอุตสาหกรรม ภาพยนตร์ ดังนี้ 1 . โรงถ่ายภาพยนตร์ และ / หรือ รายการโทรทัศน์ที่ได้ มาตรฐานทั้งในและนอกสถานที่ (Indoor Studio and Outdoor Studio) 2 . พื้นที่สําหรับให้บริการหลังการถ่ายทําสําหรับธุรกิจ ภาพยนตร์ เช่น บริการทําเทคนิคภาพพิเศษและภาพ แอนิเมชันด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ และบริการห้อง บันทึกเสียงสําหรับภาพยนตร์ เป็นต้น A3

หมวด 10 บริการที่มีมูลค่าสูง ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 10 . 1 กิจการบริการเฉพาะทาง 10 . 1 . 1 กิจการสนับสนุนการค้า และการลงทุน (Trade and Investment Support Office: TISO) 1 . ต้องมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ปีละไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท 2 . ต้องมีแผนดําเนินการและขอบข่ายธุรกิจดังนี้ 2 . 1 การกํากับดูแล และ / หรือ การให้บริการบริษัท ในเครือและในกลุ่ม ทั้งนี้ ให้รวมถึงการให้บริการ ให้เช่าอาคารสํานักงาน หรืออาคารโรงงานให้ บริษัทในเครือและในกลุ่มด้วย และการให้กู้ยืมเงิน แก่บริษัทในเครือและในกลุ่ม ในลักษณะที่ไม่เข้า ข่ายการประกอบธุรกิจการให้บริการด้านการ บริหารเงินของศูนย์บริหารเงิน (Treasury Center) และสามารถดําเนินการได้ภายใต้ กฎหมายควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน เช่น - การให้กู้ยืมเงินสกุลเงินตราต่างประเทศ แก่วิสาหกิจในเครือในต่างประเทศ - การให้กู้ยืมเงินบาทแก่วิสาหกิจในเครือ ในประเทศไทย - การให้กู้ยืมเงินบาทแก่วิสาหกิจในเครือ ในประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามและ ประเทศที่มีพรมแดนติดต่อกับประเทศไทย โดยกิจการที่กู้ยืมเงินจะต้องนําไปใช้เพื่อการค้า หรือการลงทุนในประเทศไทยหรือประเทศ ดังกล่าวเท่านั้น 2 . 2 การให้คําปรึกษาและแนะนําในการประกอบธุรกิจ ยกเว้นธุรกิจด้านการซื้อขายหลักทรัพย์ ด้านแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ด้านบัญชี ด้านกฎหมาย ด้านโฆษณา ด้านสถาปัตยกรรม และด้านวิศวกรรมโยธา 2 . 3 การให้บริการข้อมูลข่าวสารด้านการจัดซื้อจัดหา สินค้า B

2 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 2 . 4 การให้บริการทางวิศวกรรมและเทคนิคที่ไม่รวมถึง การให้บริการทางสถาปัตยกรรมและทางวิศวกรรม โยธา 2 . 5 กิจกรรมทางธุรกิจเกี่ยวกับเครื่องจักรเครื่องกล เครื่องมือ และอุปกรณ์ ที่ผลิตโดยบริษัทในเครือ และในกลุ่ม หรือได้รับการแต่งตั้งจากผู้ผลิตอย่าง เป็นทางการ โดยมีขอบข่ายการให้บริการไม่น้อย กว่า 1 ข้อ ดังนี้ - การนําเข้าเพื่อค้าส่ง - การให้บริการฝึกอบรม - การติดตั้ง บํารุงรักษา และซ่อมแซม - การปรับ (Calibration) 2 . 6 การค้าส่งสินค้าที่ผลิตในประเทศ 2 . 7 การให้บริการรับจ้างบริหารระบบธุรกิจระหว่าง ประเทศ (International Business Process Outsourcing) โดยต้องให้บริการผ่านเครือข่าย โทรคมนาคมในด้านต่างๆ เช่น Administration Services, Finance & Accounting Services, Human Resource Services, Sales & Marketing Services, Customer Services, Data Processing เป็นต้น 3 . กรณีเป็นการดําเนินการให้กู้ยืมเงินแก่บริษัทในเครือ และในกลุ่ม ต้องมีขอบข่ายธุรกิจในการให้บริการบริษัท ในเครือและในกลุ่มในด้านอื่นๆ ที่ไม่ใช่การให้กู้ยืมเงิน ในข้อ 2 . 1 หรือมีขอบข่ายธุรกิจในข้อ 2 . 2 - 2 . 7 ร่วมด้วย ไม่น้อยกว่า 1 ข้อ 4 . ไม่ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร B

3 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 10 . 1 . 2 กิจการศูนย์กลางธุรกิจ ระหว่างประเทศ (International Business Center: IBC) 1 . ต้องมีแผนการดําเนินการให้บริการแก่วิสาหกิจในเครือ โดยมีขอบข่ายธุรกิจ ดังนี้ 1 . 1 การบริหารงานทั่วไป การวางแผนทางธุรกิจ และ การประสานงานทางธุรกิจ 1 . 2 การจัดหาวัตถุดิบและชิ้นส่วน 1 . 3 การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ 1 . 4 การสนับสนุนด้านเทคนิค 1 . 5 การส่งเสริมด้านการตลาดและการขาย 1 . 6 การบริหารด้านงานบุคคลและการฝึกอบรม 1 . 7 การให้คําปรึกษาด้านการเงิน 1 . 8 การวิเคราะห์และวิจัยด้านเศรษฐกิจและการลงทุน 1 . 9 การจัดการและควบคุมสินเชื่อ 1 . 10 การให้บริการด้านการบริหารเงินของศูนย์ บริหารเงิน (Treasury Center) 1 . 11 กิจการการค้าระหว่างประเทศ 1 . 12 การให้กู้ยืมเงินแก่วิสาหกิจในเครือในลักษณะ ที่ไม่เข้าข่ายการประกอบธุรกิจในข้อ 1 . 10 และ สามารถดําเนินการได้ภายใต้กฎหมายควบคุม การแลกเปลี่ยนเงิน เช่น - การให้กู้ยืมเงินสกุลเงินตราต่างประเทศ แก่วิสาหกิจในเครือในต่างประเทศ - การให้กู้ยืมเงินบาทแก่วิสาหกิจในเครือ ในประเทศไทย - การให้กู้ยืมเงินบาทแก่วิสาหกิจในเครือ ในประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม และประเทศที่มีพรมแดนติดต่อกับประเทศไทย โดยกิจการที่กู้ยืมเงินจะต้องนํา ไปใช้เพื่อ การค้า หรือการลงทุนในประเทศไทยหรือ ประเทศดังกล่าวเท่านั้น 1 . 13 การให้บริการให้เช่าอาคารสํานักงาน หรือ อาคารโรงงานให้วิสาหกิจในเครือ

4 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 10 . 1 . 3 กิจการศูนย์จัดหาจัดซื้อ วัตถุดิบ ชิ้นส่วนและ ส่วนประกอบระหว่าง ประเทศ (International Procurement Office: IPO) 1 . 14 การให้บริการสนับสนุนอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ 2 . ต้องมีทุนจดทะเบียนที่ชําระแล้วไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท 3 . ต้องมีการจ้างพนักงานประจําที่มีความรู้และทักษะ ที่จําเป็นสําหรับศูนย์กลางธุรกิจระหว่างประเทศ ไม่น้อยกว่า 10 คน เว้นแต่กรณีศูนย์กลางธุรกิจระหว่าง ประเทศที่มีเฉพาะการให้บริการด้านการบริหารเงินแก่ วิสาหกิจในเครือ ต้องมีการจ้างพนักงานประจําที่มี ความรู้และทักษะไม่น้อยกว่า 5 คน 4 . กรณีเป็นการดําเนินกิจการการค้าระหว่างประเทศ หรือ การให้บริการจัดหา หรือให้เช่าอาคารสํานักงาน หรือ อาคารโรงงานให้วิสาหกิจในเครือ ต้องมีขอบข่ายธุรกิจ ในข้อ 1 . 1 – 1 . 10 ร่วมด้วยไม่น้อยกว่า 1 ข้อ 5 . กรณีเป็นการดําเนินการให้กู้ยืมเงินแก่วิสาหกิจในเครือ ต้องมีขอบข่ายธุรกิจในข้อ 1 . 1 – 1 . 9 ร่วมด้วยไม่น้อย กว่า 1 ข้อ 6 . เครื่องจักรที่จะได้รับสิทธิและประโยชน์ยกเว้นอากร ขาเข้าจะต้องเป็นเครื่องจักรที่ใช้วิจัยและพัฒนา และฝึกอบรม 7 . ไม่ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบและวัสดุจําเป็น สําหรับส่วนที่ผลิตเพื่อการส่งออก 1 . ต้องเป็นการจัดหาจัดซื้อวัตถุดิบ ชิ้นส่วน และส่วนประกอบ ที่ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต 2 . ต้องมีหรือเช่าคลังสินค้า และมีการจัดการสินค้าคงคลัง ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้บริหารจัดการ คลังสินค้าโดยเฉพาะ 3 . ต้องมีกิจกรรมการจัดหาสินค้า และจัดการสินค้า อย่างเหมาะสม เช่น การตรวจสอบคุณภาพสินค้า และการบรรจุสินค้า เป็นต้น 4 . ต้องมีแหล่งจัดหาสินค้าจากหลายราย และอย่างน้อย ต้องมีแหล่งจัดหาจากในประเทศด้วย 5 . ต้องเป็นการค้าส่งในประเทศ และ / หรือ ส่งออกต่างประเทศ 6 . ต้องมีทุนจดทะเบียนเรียกชําระแล้วไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท B

5 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 10 . 2 กิจการวิจัยและพัฒนา 1 . ต้องมีขอบข่ายธุรกิจ อย่างน้อยขอบข่ายใดขอบข่ายหนึ่ง ดังนี้ 1 . 1 การวิจัยขั้นพื้นฐาน (Basic Research) หมายถึง การวิจัย หรือการค้นคว้า เพื่อการค้นพบองค์ความรู้ ใหม่ที่มีคุณค่าทางวิชาการและองค์ความรู้นี้อาจนําไปสู่ การใช้ประโยชน์หรือแก้ปัญหาในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ กระบวนการการผลิต หรือการให้บริการในอนาคต 1 . 2 การวิจัยประยุกต์ (Applied Research) หมายถึง การวิจัยที่นําความรู้พื้นฐานมาประยุกต์ใช้เพื่อ แก้ปัญหา หรือพัฒนาองค์ความรู้เพื่อประโยชน์ใน เชิงพาณิชย์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ หรือกระบวนการใหม่ ทั้งนี้รวมถึงกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เช่น การคิดค้นสูตร การออกแบบผลิตภัณฑ์และการ ออกแบบกระบวนการผลิตที่นําไปสู่การใช้ประโยชน์ ในเชิงอุตสาหกรรมและเชิงพาณิชย์ 1 . 3 การวิจัยพัฒนาระดับนําร่อง (Pilot Development) หมายถึง การขยายขนาดการผลิตที่เป็นผลมาจากการ วิจัยขั้นพื้นฐานและการวิจัยประยุกต์เป็นการทดลอง ผลิตผลิตภัณฑ์ต้นแบบ (Prototype) และ / หรือ ทดสอบกระบวนการผลิตในระดับกึ่งอุตสาหกรรม เพื่อวัตถุประสงค์ในการทดสอบตลาด และ / หรือ เก็บรวบรวมข้อมูลสภาวะที่เหมาะสมสําหรับ การผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อใช้ในการออกแบบ กระบวนการผลิตในระดับอุตสาหกรรม A1

6 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1 . 4 การวิจัยพัฒนาเชิงสาธิต (Demonstration Development) หมายถึง การวิจัยพัฒนาที่นํา ผลการวิจัยพัฒนาระดับนําร่องมาขยายขนาดโดยมี วัตถุประสงค์เพื่อทดสอบกระบวนการผลิตในระดับ อุตสาหกรรมเพื่อยืนยันความน่าเชื่อถือของ เทคโนโลยี และกระบวนการผลิตรวมทั้งสาธิตให้ เห็นถึงความเสถียรของกระบวนการ และศักยภาพ การผลิตเชิงพาณิชย์ ทั้งในส่วนของการควบคุม คุณภาพและการประเมินต้นทุน 2 . ต้องเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับขอบข่ายการวิจัยและการ พัฒนา จํานวนนักวิจัยตามโครงการ ตลอดจนประวัติ การศึกษา และประสบการณ์ของนักวิจัย 3 . ต้องมีค่าใช้จ่ายเงินเดือนของบุคลากรด้านวิจัยและ พัฒนาไม่น้อยกว่า 1 , 500 , 000 บาทต่อปี โดยต้องเป็น การจ้างงานใหม่ หรือ มีเงินลงทุนขั้นต่ําที่เกี่ยวข้อง โดยตรงกับกิจการไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท ( ไม่รวมค่า ที่ดิน ทุนหมุนเวียน และค่ายานพาหนะ ) 10 . 3 กิจการบริการออกแบบทาง วิศวกรรม 1 . ไม่รวมการออกแบบทางด้านวิศวกรรมโยธา และ สถาปัตยกรรม 2 . ต้องมีค่าใช้จ่ายเงินเดือนของบุคลากรด้านออกแบบทาง วิศวกรรมไม่น้อยกว่า 1 , 500 , 000 บาทต่อปี โดยต้อง เป็นการจ้างงานใหม่ หรือ มีเงินลงทุนขั้นต่ําที่เกี่ยวข้อง โดยตรงกับกิจการไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท ( ไม่รวมค่า ที่ดิน ทุนหมุนเวียน และค่ายานพาหนะ ) A1 10 . 4 กิจการบริการทดสอบทาง วิทยาศาสตร์ A1 10 . 5 กิจการบริการสอบเทียบ มาตรฐาน A1 10 . 6 กิจการบริการฆ่าเชื้อแก่ ผลิตภัณฑ์ A2

7 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 10 . 7 กิจการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 10 . 7 . 1 กิจการสถานฝึกฝน วิชาชีพ 10 . 7 . 2 กิจการสถานศึกษาหรือ สถาบันอุดมศึกษาที่มี ศักยภาพสูง 1 . ต้องเป็นกิจการสถานฝึกฝนวิชาชีพที่มีการสอนหรือ ฝึกอบรมทางเทคนิคในสาขาวิชาชีพเฉพาะ รวมถึง การออกแบบ (Design Training Center) ตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ 2 . ต้องมีวัสดุอุปกรณ์ ห้องปฏิบัติการ และอื่นๆ ที่จําเป็น กรณีสถานศึกษาที่มีศักยภาพสูง 1 . ต้องเป็นสถานศึกษาเอกชนที่มีศักยภาพสูงซึ่งมุ่งเน้นการ เรียนการสอนในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 . ต้องตั้งสถานศึกษาในเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออกหรือเขตเศรษฐกิจพิเศษอื่นที่ คณะรัฐมนตรีประกาศกําหนดให้เป็นพื้นที่จัดตั้ง สถานศึกษาที่มีศักยภาพสูง 3 . ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ กรณีสถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพสูง 1 . ต้องเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพสูง กรณีเป็นการ ลงทุนจากต่างประเทศ จะต้องได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการพัฒนาการจัดการศึกษาโดยสถาบัน อุดมศึกษาที่มีศักยภาพสูงจากต่างประเทศ ( คพอต .) 2 . ต้องตั้งสถาบันอุดมศึกษาในเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก หรือเขตเศรษฐกิจพิเศษอื่นที่ คณะรัฐมนตรีประกาศกําหนดให้เป็นพื้นที่จัดตั้ง สถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพสูงจากต่างประเทศหรือ พื้นที่อื่นที่ได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการ พัฒนาการจัดการศึกษาโดยสถาบันอุดมศึกษาที่มี ศักยภาพสูงจากต่างประเทศ ( คพอต .) 3 . ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ A1 A1 A1

8 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 10 . 8 กิจการเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว 10 . 8 . 1 กิจการเรือเฟอร์รี่ หรือ เดินเรือท่องเที่ยว หรือ ให้บริการเรือท่องเที่ยว 10 . 8 . 2 กิจการบริการที่จอดเรือ ท่องเที่ยว 10 . 8 . 3 กิจการสวนสนุก 10 . 8 . 4 กิจการศูนย์แสดง ศิลปวัฒนธรรมไทยหรือ ศูนย์ศิลปหัตถกรรมไทย 10 . 8 . 5 กิจการสวนสัตว์เปิด 10 . 8 . 6 กิจการพิพิธภัณฑ์ ไม่ให้การส่งเสริมการให้เช่าเรือเพื่อให้ผู้อื่นนําไปใช้เพื่อให้ บริการต่อ ต้องมีสิ่งอํานวยความสะดวกต่างๆ เช่น อุปกรณ์ยกเรือ ที่จอดเรือบนบก โรงจอดเรือสําหรับซ่อมบํารุงเรือ เป็นต้น 1 . ต้องมีเงินลงทุน ( ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ) ไม่น้อยกว่า 500 ล้านบาท 2 . ส่วนประกอบของโครงการต้องได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการ 1 . ต้องมีเงินลงทุน ( ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ) ไม่น้อยกว่า 30 ล้านบาท 2 . รูปแบบการแสดงต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ 3 . ต้องมีบุคคลธรรมดาสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน 1 . ต้องมีเงินลงทุน ( ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ) ไม่น้อยกว่า 500 ล้านบาท 2 . ต้องมีที่ดินไม่น้อยกว่า 500 ไร่ 3 . ส่วนประกอบของโครงการต้องได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการ 4 . ต้องจัดที่ดินเป็นพื้นที่สีเขียวและที่จอดรถอย่างละไม่น้อย กว่าร้อยละ 15 ของที่ดินทั้งหมด 1 . ต้องมีเงินลงทุน ( ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ) ไม่น้อยกว่า 30 ล้านบาท 2 . รายละเอียดของโครงการต้องได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการ A3 A3 A3 A3 A3 A3

9 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 10 . 8 . 7 กิจการสนามแข่งขัน ยานยนต์ 10 . 8 . 8 กิจการกระเช้าไฟฟ้าหรือ รถรางไฟฟ้าเพื่อการ ท่องเที่ยว 10 . 8 . 9 กิจการท่าเรือท่องเที่ยว ขนาดใหญ่ (Cruise Terminal) 10 . 8 . 10 กิจการสร้างแหล่ง ท่องเที่ยวขนาดใหญ่ที่มี คุณภาพ 1 . ต้องมีเงินลงทุน ( ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ) ไม่น้อยกว่า 1 , 000 ล้านบาท 2 . ต้องได้รับมาตรฐานจาก Fédération Internationale de L’Automobile (FIA) หรือ Fédération Internationale de Motocyclisme (FIM) สําหรับ สนามแข่งขันทางเรียบ (Circuit) 3 . กรณีมีสนามแข่งขันอื่น เช่น สนามแข่งขันทางตรง ทางโค้ง และทางวิบาก ต้องก่อสร้างตามแนวทางหรือ หลักการที่เทียบเคียงได้หรือที่เป็นสากล 4 . ต้องมีมาตรการป้องกันและควบคุมมิให้เกิดอันตรายหรือ ความเดือดร้อนแก่ผู้อยู่ใกล้เคียง ต้องมีเงินลงทุนไม่น้อยกว่า 100 ล้านบาท ( ไม่รวมค่าที่ดิน และทุนหมุนเวียน ) 1 . ต้องมีเงินลงทุน ( ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ) ไม่น้อยกว่า 100 ล้านบาท 2 . ต้องมีสิ่งอํานวยความสะดวกและสาธารณูปโภคที่จําเป็นใน การรองรับเรือสําราญ (Cruise) และนักท่องเที่ยว เช่น อาคารผู้โดยสาร พื้นที่สําหรับอํานวยความสะดวกในการ ผ่านพิธีการศุลกากร และตรวจคนเข้าเมือง เป็นต้น 1 . ต้องมีเงินลงทุน ( ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ) ไม่น้อยกว่า 100 ล้านบาท 2 . ประเภทและองค์ประกอบของแหล่งท่องเที่ยวต้องได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง 3 . ต้องใช้เทคโนโลยีเป็นหลักในการให้บริการ A3 A3 A3 A3

10 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 10 . 9 กิจการเพื่อสนับสนุนการ ท่องเที่ยว 10 . 9 . 1 กิจการโรงแรม 1 . ต้องมีจํานวนห้องพักและเงินลงทุน ดังนี้ 1 . 1 กรณีมีจํานวนห้องพักไม่น้อยกว่า 100 ห้อง ต้องมี เงินลงทุนต่อห้อง ( ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ) ไม่น้อยกว่า 2 ล้านบาท 1 . 2 กรณีมีจํานวนห้องพักน้อยกว่า 100 ห้อง ต้องมี เงินลงทุน ( ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ) ไม่น้อยกว่า 500 ล้านบาท 1 . 3 กรณีที่ได้รับการส่งเสริมตามมาตรการส่งเสริม การลงทุนสําหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ต้องมีจํานวนห้องพักไม่น้อยกว่า 20 ห้อง แต่ไม่เกิน 99 ห้อง และต้องมีเงินลงทุนต่อห้อง ( ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ) ไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท 2 . ต้องเป็นโรงแรมที่ได้มาตรฐานตามที่สํานักงานกําหนด 3 . ให้ได้รับสิทธิและประโยชน์ ดังนี้ 3 . 1 กรณีตั้งสถานประกอบการในจังหวัดกระบี่ กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี ขอนแก่น ฉะเชิงเทรา ชลบุรี เชียงใหม่ นครปฐม นครราชสีมา นนทบุรี ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ์ พระนครศรีอยุธยา พังงา เพชรบุรี ภูเก็ต ระยอง สงขลา สมุทรปราการ สมุทรสาคร สระบุรี และ สุราษฎร์ธานี จะไม่ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้า เครื่องจักร 3 . 2 กรณีตั้งสถานประกอบการในจังหวัดอื่น B A4

11 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 10 . 9 . 2 กิจการหอประชุม ขนาดใหญ่ 10 . 9 . 3 กิจการศูนย์แสดงสินค้า นานาชาติ 1 . ต้องมีพื้นที่ส่วนที่ใช้เพื่อการประชุมไม่น้อยกว่า 4 , 000 ตารางเมตร โดยห้องประชุมขนาดใหญ่ที่สุดต้องมีพื้นที่ ไม่น้อยกว่า 3 , 000 ตารางเมตร 2 . ต้องมีเครื่องมือและสิ่งอํานวยความสะดวกที่เหมาะสม กับโครงการ 3 . แบบแปลนแผนผังต้องได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการ 1 . ต้องมีพื้นที่แสดงสินค้าภายในอาคารไม่น้อยกว่า 25 , 000 ตารางเมตร 2 . ต้องมีห้องสําหรับเจรจาธุรกิจทุกห้องแสดงสินค้า A3 A3 10 . 10 กิจการขนส่งมวลชนและสินค้า ขนาดใหญ่ และการขนถ่ายสินค้า 10 . 10 . 1 กิจการสนามบิน พาณิชย์ 10 . 10 . 2 กิจการขนส่งทาง อากาศ 10 . 10 . 3 กิจการขนส่งทางเรือ 10 . 10 . 4 กิจการขนส่งทางราง 10 . 10 . 5 กิจการขนส่งทางท่อ ( ยกเว้นการขนส่งน้ํา ทางท่อ ) 10 . 10 . 6 กิจการขนถ่ายสินค้า สําหรับเรือบรรทุก สินค้า การใช้เครื่องจักรใช้แล้วจากต่างประเทศให้ปฏิบัติตาม กฎระเบียบของสํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ต้องมีเครื่องจักรสําหรับการขนถ่ายที่ทันสมัยตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ A2 A3 A2 A2 B A3

12 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 10 . 10 . 7 กิจการสถานที่ตรวจ ปล่อย และบรรจุ สินค้าเข้าตู้คอนเทน เนอร์เพื่อการส่งออก หรือโรงพักสินค้า เพื่อ ตรวจปล่อยของขาเข้า และบรรจุของขาออกที่ ขนส่ง โดยระบบคอน เทนเนอร์นอกเขตท่า เทียบเรือ ( รพท .) (Inland Container Depot: ICD) A3 10 . 11 กิจการศูนย์บริการโลจิสติกส์ 10 . 11 . 1 กิจการศูนย์กระจาย สินค้าด้วยระบบ อัจฉริยะ 1 . ต้องจัดให้มีสถานที่จัดเก็บสินค้าควบคุมด้วยระบบ คอมพิวเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง เช่น ระบบการจัดเก็บ สินค้าและเรียกคืนสินค้าอัตโนมัติ (Automatic Storage and Retrieval Systems: ASRS) และ ระบบ สนับสนุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น 2 . ต้องมีเงินลงทุน ( ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ) ไม่น้อยกว่า 1 , 000 ล้านบาท 3 . ต้องดําเนินการในเรื่องต่อไปนี้ภายใน 3 ปีนับจาก วันออกบัตรส่งเสริม 3 . 1 ต้องใช้ Data Center ที่ตั้งในประเทศไทยรวมถึง กรณี Co-location ในการบริหารจัดการข้อมูล 3 . 2 ต้องมีการจ้างบุคลากรไทยที่สําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีขึ้นไปในสาขาที่เกี่ยวข้องกับด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยตรง เช่น วิศวกรรมศาสตร์ ปัญญาประดิษฐ์ และ Data Science เป็นต้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของการจ้างงาน ทั้งหมดในโครงการ A2

13 ประเภท เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 10 . 11 . 2 กิจการศูนย์กระจาย สินค้าระหว่างประเทศ ด้วยระบบที่ทันสมัย (International Distribution Center: IDC) 10 . 11 . 3 กิจการศูนย์กระจาย สินค้าด้วยระบบที่ ทันสมัย (Distribution Center: DC) 3 . 3 ต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) หรือ จัดการข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Digital Transactions โ ดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลชั้นสูง และต้องดําเนินการ ในประเทศไทยรวมทั้งมีบุคลากรไทยร่วม ดําเนินการอย่างมีนัยสําคัญ โดยมีแผนดําเนินการ ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 3 . 4 ต้องมีการฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีดิจิทัลขั้นสูง เช่น Big Data และ Data Analytics เป็นต้น ตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ 3 . 5 ต้องมีการดําเนินการด้านการวิจัยและพัฒนา หรือ ร่วมมือในโครงการวิจัยและพัฒนากับ สถาบันการศึกษาหรือสถาบันวิจัยของประเทศไทย ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 1 . ต้องมีทุนจดทะเบียนที่ชําระแล้วไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท 2 . ต้องจัดให้มีสถานที่จัดเก็บสินค้าควบคุมด้วยระบบ คอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย 3 . ต้องมีเงินลงทุน ( ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ) ไม่น้อยกว่า 100 ล้านบาท 4 . ต้องกระจายสินค้าไปต่างประเทศไม่น้อยกว่า 5 ประเทศ และสัดส่วนรายได้จากค่าบริหารจัดการสินค้าที่ลูกค้า นําไปกระจายในต่างประเทศมากกว่าร้อยละ 50 ของ รายได้ทั้งหมด 1 . ต้องมีทุนจดทะเบียนที่ชําระแล้วไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท 2 . ต้องจัดให้มีสถานที่จัดเก็บสินค้าควบคุมด้วยระบบ คอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย A3 B