Thu Aug 17 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ว่าด้วยแนวทางการแจ้งปริมาณ สถานที่เก็บ และจัดทำบัญชีคุมสินค้ายางพารา พ.ศ. 2566


ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ว่าด้วยแนวทางการแจ้งปริมาณ สถานที่เก็บ และจัดทำบัญชีคุมสินค้ายางพารา พ.ศ. 2566

ระเบียบส ํานักงํานคณะกรรมกํารกลํางว่ําด้วยรําคําสินค้ําและบริกําร ว่ําด้วยแนวทํางกํารแจ้งปริมําณ สถํานที่เก็บ และจัดทําบัญชีคุมสินค้ํายํางพํารํา พ.ศ. 2566 ตํามที่คณะกรรมกํารกลํางว่ําด้วยรําคําสินค้ําและบริกําร ได้ออกประกําศคณะกรรมกํารกลําง ว่ําด้วยรําคําสินค้ําและบริกําร ฉบับที่ 25 พ.ศ. 2566 เรื่อง กํารแจ้งปริมําณ สถํานที่เก็บ และจัดทําบัญชีคุมสินค้ํายํางพํารํา ลงวันที่ 1 กรกฎําคม พ.ศ. 2566 กําหนดให้ผู้ประกอบกิจกํารยําง ที่มีปริมําณกํารรับซื้อต่อเดือน ตั้งแต่เดือนละห้ําพันกิโลกรัมขึ้นไป แจ้งชื่อ ชนิด ปริมําณที่มีอยู่ ปริมําณกํารรับซื้อ ปริมําณกํารจําหน่ําย ปริมําณกํารใช้ ปริมําณคงเหลือ สถํานที่เก็บ ณ วันสิ้นเดือน เป็นประจ ําทุกเดือน ภํายในวันที่สิบของเดือนถัดไป เป็นต้นไป ไ ปแล้ว นั้น เพื่อให้กํารรับแจ้งข้อมูลยํางพํารําของพนักงํานเจ้ําหน้ําที่เป็นไปในแนวทํางเดียวกัน และเกิด ควํามชัดเจนในกํารแจ้งข้อมูลดังกล่ําวของผู้ประกอบกิจกํารยําง อําศัยอํานําจตํามควํามในมําตรํา 16 (5) แห่งพระรําชบัญญัติว่ําด้วยรําคําสินค้ําและบริกําร พ.ศ. 2542 เลขําธิกํารคณ ะกรรมกํารกลํางว่ําด้วย รําคําสินค้ําและบริกําร จึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่ํา “ ระเบียบสํานักงํานคณะกรรมกํารกลํางว่ําด้วยรําคําสินค้ําและบริกําร ว่ําด้วยแนวทํางกํารแจ้งปริมําณ สถํานที่เก็บ และจัดท ําบัญชีคุมสินค้ํายํางพํารํา พ.ศ. 2566” ข้อ 2 ระเบียบนี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกําศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ผู้ประกอบกิจกํารยํางพํารํา ตํามประกําศคณะกรรมกํารกลํางว่ําด้วยรําคําสินค้ํา และบริกําร ฉบับที่ 25 พ.ศ. 2566 เรื่อง กํารแจ้งปริมําณ สถํานที่เก็บ และจัดทําบัญชีคุมสินค้ํา ยํางพํารํา ลงวันที่ 1 กรกฎําคม พ.ศ. 2566 ดําเนิน กํารแจ้งข้อมูลตํามแนวทํางกํารแจ้งปริมําณ สถํานที่เก็บ และจัดท ําบัญชีคุมสินค้ํายํางพํารํา แนบท้ํายระเบียบนี้ ข้อ 4 ให้เลขําธิกํารคณะกรรมกํารกลํางว่ําด้วยรําคําสินค้ําและบริกําร เป็นผู้รักษํากําร ตํามระเบียบนี้ ประกําศ ณ วันที่ 2 กรกฎําคม พ.ศ. 256 6 วัฒนศักย์ เสือเอี่ยม อธิบดีกรมกํารค้ําภํายใน เลขําธิกํารคณะกรรมกํารกลํางว่ําด้วยรําคําสินค้ําและบริกําร ้ หนา 7 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 196 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 สิงหาคม 2566

แนวทางการแจ้งปริมาณ สถานที่เก็บ และจัดทําบัญชีคุมสินค้ายางพารา แนบท้ายระเบียบสํานักงานคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ว่าด้วยแนวทางการแจ้งปริมาณ สถานที่เก็บ และจัดทําบัญชีคุมสินค้ายางพารา พ . ศ . 2566 ----------------------------- 1. ผู้ประกอบกิจการยางที่มีหน้าที่แจ้งข้อมูล ได้แก่ 1.1 ผู้ประกอบกิจการโรงทํายาง หมายถึง ผู้ที่ได้รับใบอนุญาตให้ตั้งโรงทํายางจากอธิบดีกรมวิชาการเกษตร หรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมวิชาการเกษตรมอบหมาย ตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ . ศ . 2542 ทั้งนี้ โรงทํายาง หมายถึง สถานที่ที่ใช้น้ํายางสด ยางก้อน เศษยาง หรือยางแผ่นดิบมาแปรรูป เป็นน้ํายางข้น ยางผึ่งแห้ง ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง ยางเครพ ยางดิบชนิดอื่นๆ อย่างหนึ่งอย่างใดหรือ หลายอย่างรวมกัน และหมายความรวมถึงสถานที่ที่ผลิตยางผสม แต่ไม่รวมถึงสถานที่ที่ทํายางแผ่นดิบ ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ . ศ . 2542 1.2 ผู้ส่งออกยาง หมายถึง ผู้ที่ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ส่งยางออกไปนอกราชอาณาจักรจากอธิบดี กรมวิชาการเกษตร หรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมวิชาการเกษตรมอบหมาย ตามมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติ ควบคุมยาง พ . ศ . 2542 1.3 ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ยาง ได้แก่ 1.3.1 ผู้ผลิตยางล้อ 1) ยางนอกชนิดอัดลมที่เป็นของใหม่ (HS 4011) 2) ยางนอกชนิดอัดลมที่หล่อดอกใหม่หรือที่ใช้แล้ว ยางตันหรือยางคูซัน ดอกยาง และ ยางรองยางใน (HS 4012) 3) ยางใน (HS 4013) 1.3.2 ผู้ผลิตของใช้เพื่อการอนามัยหรือใช้ในทางเภสัชกรรม ( รวมถึงหัวนม ) ทําด้วยยางวัลแคไนซ์ นอกจากยางแข็งมีหรือไม่มีอุปกรณ์ติดตั้งที่ทําด้วยยางแข็ง (HS 4014) ได้แก่ ถุงยางอนามัย 1.3.3 ผู้ผลิตเครื่องแต่งกายและของที่ใช้ประกอบกับเครื่องแต่งกาย ( รวมถึงถุงมือทุกชนิด ) ไม่ว่าจะใช้เพื่อวัตถุประสงค์ใดก็ตาม ทําด้วยยางวัลแคไนซ์นอกจากยางแข็ง (HS 4015) ได้แก่ ถุงมือยาง 1.3.4. ผู้ผลิตด้ายและด้ายชนิดคอร์ด ทําด้วยยางวัลแคไนซ์ (HS 4007) ซึ่งเป็นส่วนประกอบ สําคัญที่ใช้ในอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องแต่งกาย ตั้งแต่ขั้นตอนการผลิต เช่น การผลิตถุงเท้า ถุงน่อง ขอบกางเกงชุดชั้นใน เป็นต้น 2. สินค้าที่ต้องแจ้ง ได้แก่ 2.1 น้ํายางสด หมายถึง น้ํายางธรรมชาติ หรือน้ํายางสดที่ได้จากต้นยางธรรมชาติ โดยคิดเป็นเนื้อยางแห้ง (DRC 100%)

2 2.2 ยางก้อน หมายถึง ยางแผ่นรมควันอัดก้อนชั้น 1 – 5 2.3 เศษยาง หมายถึง ยางก้อนถ้วย ทั้งนี้ ยางก้อนถ้วย หมายถึง ยางที่เกิดจากการจับตัวของน้ํายางสด โดยมีลักษณะรูปทรงเหมือนถ้วย รองรับน้ํายางหรือมีรูปร่างสัณฐานที่บ่งบอกได้ว่าผลิตในถ้วยรองรับน้ํายาง โดยคิดเป็นเนื้อยางแห้ง (DRC 100%) 2.4 น้ํายางข้น หมายถึง น้ํายางที่มีเนื้อยางแห้งไม่ต่ํากว่า 60%

3 2.5 ยางแผ่น หมายถึง ยางแผ่นที่เกษตรกรผลิตขึ้นที่ยังไม่ผ่านการรมควัน และยางแผ่นรมควันชั้น 1 - 5 ( ไม่อัดก้อน ) 2.6 ยางแท่ง หมายถึง ยางแท่งเอสทีอาร์ 20, ยางแท่งเอสทีอาร์ 10 และยางแท่งเอสทีอาร์ 5L 2.7 ยางเครพ หมายถึง ยางที่ได้จากการนําเศษยางไปรีดด้วยเครื่องรีดยางเครพสองลูกกลิ้ง 3. การแจ้งข้อมูล ให้ผู้ประกอบกิจการยางตามข้อ 1 ที่มีปริมาณการรับซื้อสินค้าตามข้อ 2 ตั้งแต่เดือนละ 5,000 กิโลกรัมขึ้นไป แจ้งชื่อ ชนิด ปริมาณที่มีอยู่ ปริมาณการรับซื้อ ปริมาณการจําหน่าย ปริมาณการใช้ ปริมาณคงเหลือ สถานที่เก็บ ณ วันสิ้นเดือนเป็นประจําทุกเดือน 4. ระยะเวลาในการแจ้ง 4.1 ให้เริ่มแจ้งข้อมูลตามข้อ 3 ของเดือนมิถุนายน 2566 ภายในวันที่ 10 กรกฎาคม 2566 4.2 ให้แจ้งข้อมูลตามข้อ 3 ของเดือนต่อๆ ไป ให้แจ้งภายในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป 4.3 กรณีมีการรับซื้อสินค้าตามข้อ 2 ภายหลัง ให้แจ้งข้อมูลตามข้อ 3 ภายใน 15 วัน ตั้งแต่วันที่มีการ รับซื้อเกินปริมาณที่กําหนด

4 5. การจัดทําบัญชีคุม ให้ผู้ประกอบกิจการยางตามข้อ 1 จัดทําข้อมูลตามข้อ 3 เป็นบัญชีคุมสินค้ารายวัน โดยต้องลงรายการในบัญชีดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน 3 วัน ตั้งแต่วันที่รับซื้อยาง ใช้ไป จําหน่ายไปแต่ละครั้ง และเก็บไว้ ณ สถานที่เก็บ เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบได้ทุกเวลา 6. สถานที่ยื่นแจ้ง 6.1 ผู้ประกอบกิจการยางที่มีสถานที่เก็บอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้แจ้ง ณ สํานักงานคณะกรรมการกลาง ว่าด้วยสินค้าและบริการ กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ 6.2 ผู้ประกอบกิจการยางที่มีสถานที่เก็บอยู่ในจังหวัดอื่น นอกจากข้อ 6.1 ให้แจ้ง ณ สํานักงาน พาณิชย์จังหวัดแห่งท้องที่นั้น 7. อัตราโทษ 7.1 กรณีฝ่าฝืนไม่แจ้งข้อมูลตามข้อ 3 หรือแจ้งเกินระยะเวลาตามข้อ 4 ต้องระวางโทษจําคุก ไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และปรับอีกไม่เกินวันละสองพันบาทตลอดเวลา ที่ยังฝ่าฝืนหรือจนกว่าจะแจ้ง 7.2 กรณีฝ่าฝืนไม่จัดทําบัญชีคุมสินค้า ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ -------------------------------