Tue Aug 15 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 443) พ.ศ. 2566 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง เอนไซม์สำหรับใช้ในการผลิตอาหาร


ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 443) พ.ศ. 2566 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง เอนไซม์สำหรับใช้ในการผลิตอาหาร

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 443) พ.ศ. 2566 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง เอนไซม์สำหรับใช้ในการผลิตอาหาร โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 409) พ.ศ. 2562 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง เอนไซม์สำหรับใช้ในการผลิตอาหาร อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 6 (1) (2) (4) (5) (6) (7) (9) และ (10) แห่งพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 รัฐมนตรีว่ำการกระทรวงสาธารณสุข ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 409) พ.ศ. 2562 ออกตาม ความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง เอนไซม์สาหรับใช้ในการผลิตอาหาร ลงวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ข้อ 2 ให้เอนไซม์สำหรับใช้ในการผลิตอาหารซึ่งเป็นวัตถุเจือปนอาหารเป็นอาหารควบคุมเฉพาะ ข้อ 3 ในประกาศนี้ “ เอนไซม์ ( enzyme )” หมายความว่า โปรตีนกลุ่มหนึ่งซึ่งทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมีที่นามาใช้ ในกระบวนการผลิตอาหาร เช่น การเตรียมวัตถุดิบ การแปรรูป การบ่ม การข นส่ง การเก็บรักษา เป็นต้น ทั้งนี้ให้หมายความรวมถึงเอนไซม์ปรุงแต่งและเอนไซม์ตรึงรูป “ เอนไซม์ปรุงแต่ง ( enzyme preparation )” หมายความว่า เอนไซม์ตั้งแต่หนึ่งชนิดขึ้นไป ซึ่งอาจมีวัตถุอื่น เช่น วัตถุกันเสีย สารที่ทาให้คงตัวหรือสารเพิ่มปริมาณเป็นส่วนประก อบ เพื่อช่วยคง สภาพหรือยืดอายุการเก็บรักษาของเอนไซม์ ทั้งนี้ ให้หมายความรวมถึงเอนไซม์ตรึงรูปด้วย “ เอนไซม์ตรึงรูป ( immobilized enzyme )” หมายความว่า เอนไซม์ที่ถูกทาให้ไม่ละลาย ด้วยกระบวนการทางเคมีหรือทางกายภาพ เช่น นาไปจับยึดไว้กับตัวพยุง หรืออาจทาให้ โมเลกุล มีขนาดใหญ่ขึ้นด้วยการเชื่อมพันธะทางเคมีหรือไม่มีพันธะทางเคมีก็ได้ซึ่งมีผลให้เอนไซม์จับยึดกันเป็น ของแข็งเพื่อให้สามารถแยกออกจากกระบวนการผลิตและสามารถนำกลับมาใช้งานได้ใหม่ “ สารช่วยในการผลิต ( processing aid )” หมายถึง สารหรือวัตถุใด ๆ ซึ่งมิได้ใช้ บริโภค ในลักษณะเป็นส่วนประกอบของอาหาร แต่ใช้ในกระบวนการเตรียมวัตถุดิบหรือส่วนประกอบของอาหาร เพื่อให้เป็นไปตามเทคโนโลยีระหว่างการปรับคุณภาพหรือการแปรรูป ซึ่งอาจมีสารหรืออนุพันธุ์ของสาร นั้นเหลือตกค้างในผลิตภัณฑ์โดยไม่ตั้งใจแต่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ข้อ 4 เอนไซม์สาหรับใช้ในการผลิตอาหารต้องได้จากส่วนของพืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ ตามบัญชีหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศนี้ หรือตามที่กำหนดไว้ใน JECFA Combined Compendium of Food Additive Specifications ้ หนา 21 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 193 ง ราชกิจจานุเบกษา 15 สิงหาคม 2566

ในกรณีเอนไซม์นอกเหนือจากวรรคหนึ่ง ให้ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าเพื่อจาหน่ายต้องยื่นรายงานผล การประเมินความปลอดภัยจากหน่วยประเมินความปลอดภัยที่สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประกาศกำหนด พร้อมรายละเอียดข้อมูลตามบัญชีหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศนี้ ให้แก่เลขาธิการ คณะกรรมการอาหารและยาหรือผู้ซึ่งเลขาธิกำรคณะกรรมการอาหารและยามอบหมายเพื่อพิจารณา อนุญาต ข้อ 5 เอนไซม์สำหรับใช้ในการผลิตอาหารต้องมีคุณภาพหรือมาตรฐาน ดังนี้ ( 1 ) มีค่าแอกทิวิตี ( Activity ) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ของแอกทิวิตีของเอนไซม์ตามที่แจ้ง ( 2 ) ตรวจพบ ตะกั่ว ไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อ กิโลกรัม ( 3 ) ตรวจไม่พบซัลโมเนลลา ใน 25 กรัม ( 4 ) ตรวจพบโคลิฟอร์ม ไม่เกิน 30 ต่อกรัมโดยวิธี เอ็ม พี เอ็น ( 5 ) ตรวจไม่พบอีโคไล ใน 25 กรัม ( 6 ) ตรวจไม่พบกิจกรรมการต้านจุลชีพ ( antibiotic activity ) กรณีที่เป็นเอนไซม์ซึ่งได้จาก จุลินทรีย์ ( 7 ) ตรวจไม่พบสารพิษจาก รา ( mycotoxin ) กรณีที่เป็นเอนไซม์ซึ่งได้จากรา ( 8 ) ตรวจไม่พบจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรม ใน 1 กรัม กรณีที่เป็นเอนไซม์ซึ่งได้จากจุลินทรีย์ ดัดแปรพันธุกรรม ( 9 ) คุณภาพหรือมาตรฐานอื่นด้านความปลอดภัย (ถ้ามี) ที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน คณะกรรมการอาหารแล ะยา โดยต้องมีรายงานผลการประเมินความปลอดภัยจากหน่วยประเมิน ความปลอดภัยด้วย ข้อ 6 การใช้เอนไซม์ในการผลิตอาหารต้องเป็นไปตามเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่ง ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ตามเงื่อนไขการใช้ซึ่งกาหนดไว้ในบัญชีหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศนี้ ( 2 ) ตามเงื่อนไขการใช้ซึ่งกาหนดไว้ใน JECFA Combined Compendium of Food Additive Specifications ( 3 ) ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหาร การใช้เอนไซม์นอกเหนือจากวรรคหนึ่ง ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าต้องยื่นข้อมูลความจาเป็นทางด้าน เทคโนโลยีการผลิตแ ละประสิทธิภาพ ตามบัญชีหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศนี้ ให้แก่เลขาธิการ คณะกรรมการอาหารและยาหรือผู้ซึ่งเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยามอบหมายเพื่อพิจารณา อนุญาต ข้อ 7 การใช้วัตถุเจือปนอาหารในเอนไซม์ปรุงแต่ง ให้ใช้ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในบัญชี หมายเลข 4 แนบท้ายประกำศนี้ การใช้วัตถุเจือปนอาหารนอกเหนือจากวรรคหนึ่ง ต้องปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหาร ้ หนา 22 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 193 ง ราชกิจจานุเบกษา 15 สิงหาคม 2566

ข้อ 8 การใช้ตัวพยุงสาหรับการผลิตเอนไซม์ตรึงรูป ให้ใช้ตามที่กาหนดไว้ในบัญชีหมายเลข 5 แนบท้ายประกาศนี้ ตัวพยุงนอกเหนือจากวรรคหนึ่ง ต้องมีคุณภาพหรือมาตรฐานเหมาะสาหรับใช้ในการผลิต อาหารตามข้อกำหนดของประเทศที่มีระบบการประเมินความปลอดภัยที่เป็นสากล โดยได้รับ ความเห็นชอบจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ข้อ 9 วิธีการตรวจวิเคราะห์ให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในบัญชีหมายเลข 6 แนบท้าย ประกาศนี้ ข้อ 10 ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าเอนไซม์สาหรับใช้ในการผลิตอาหารเพื่อจาหน่ายต้องปฏิบัติตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยวิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร ข้อ 11 การใช้ภาชนะบรรจุเอนไซม์สาหรับใช้ในการผลิตอาหาร ให้ปฏิบัติตามประกาศ กระทรวง สาธารณสุขว่าด้วยภาชนะบรรจุอาหาร ข้อ 12 การแสดงฉลากของเอนไซม์สาหรับใช้ในการผลิตอาหาร ให้ปฏิบัติตามประกาศ กระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหาร การแสดงฉลากของอาหารที่มีการใช้เอนไซม์ ให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรร จุ ข้อ 13 ประกาศฉบับนี้ไม่ใช้บังคับกับ ( 1 ) เอนไซม์ที่ใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารเพื่อวัตถุประสงค์ทางด้านโภชนาการ หรือผลทางสุขภาพอื่น ๆ ( 2 ) เอนไซม์ที่ใช้ในการผลิตวัตถุเจือปนอาหารหรือสารช่วยในการผลิต ( 3 ) เอนไซม์ที่เกิดขึ้นจากการใช้เชื้อจุลินทรีย์ในการหมักอาหาร ข้อ 14 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 25 6 6 สาธิต ปิตุเตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ้ หนา 23 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 193 ง ราชกิจจานุเบกษา 15 สิงหาคม 2566

  • 1 - บัญชีหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข ( ฉบับที่ 44 3 ) พ.ศ. 2566 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง เอนไซม์สำหรับใช้ในการผลิตอาหาร รายชื่อเอนไซม์ ที่อนุญาตให้ใช้สำหรับผลิตอาหาร ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ 1 EC 1 . 1 . 3 . 4 กลูโคส ออกซิเดส ( Glucose Oxidase ) แอสเพอร์จิลลัส ออ ไรซี บีอีซีเอช 2 ( Aspergillus oryzae BECH 2 ) ที่มี หน่วย พันธุกรรม จาก แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ (Aspergillus niger ) สารช่วยในการผลิต เพื่อเร่งปฏิกิริยาออกซิเดชันของน้าตาล กลูโคสไปเป็น ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ ( hydrogen peroxide) และ กลูโคโนแล็กโทน (gluconolactone) ในการผลิต อาหารกลุ่มผลิตภัณฑ์เบเกอรี่และขนมอบ ปริมาณที่เหมาะสม 2 กลูโคส ออกซิเดส ( Glucose Oxidase ) และแคทาเลส ( Catalase ) ได้แก่ EC 1 . 1 . 3 . 4 กลูโคส ออกซิเดส ( Glucose Oxidase ) แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ วา ร์ . ( Aspergillus niger, var .) (1) สารป้องกันการเกิดออกซิเดชั่น (2) สารช่วยในการผลิต เพื่อเร่งปฏิกิริยาออกซิเดชันของ น้าตาลกลูโคสในผลิตภัณฑ์อาหาร ได้แก่ o ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีนมและไข่เป็นส่วนประกอบ เช่น ชีส เครื่องดื่ม และน้าสลัด เป็นต้น o ผลิตภัณฑ์ พาสต้า ก๋วยเตี๋ยว และผลิตภัณฑ์ ทำนองเดียวกัน ชนิดสดและกึ่งสำเร็จรูป o ผลิตภัณฑ์ที่มีขนมปังเป็นส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์ ขนมปังและโรล o ผลิตภัณฑ์จากข้าวสุกหรือข้าวแปรรูป o ผลิตภัณฑ์จากข้าวสาลีหรือข้าวเจ้า เช่น หมั่นโถว และซาลาเปา ปริมาณที่เหมาะสม EC 1 . 11 . 1 . 6 แคทาเลส ( Catalase ) แอสเพอร์จิลลัส อะคูเลียทัส (Aspergillus aculeatus)

  • 2 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ 3 EC 1 . 1 . 3 . 5 เฮกโซสออกซิเดส ( Hexose Oxidase หรือ HOX ) แฮนซีนูลา พอลิมอร์ฟา ( Hansenula polymorpha) ที่มีหน่วยพันธุกรรมจาก คอนดรัส คริสพัส (Chondrus crispus ) สารช่วยในการผลิต เพื่อเร่งปฏิกิริยาออกซิชั่น ( oxidation ) ของน้าตาลเฮกโซส ในการผลิตอาหาร เช่น o การผลิตแป้งขนมปัง เพื่อทาให้โครงข่ายกลูเตน แข็งแรงขึ้น o การผลิตชีสขูดฝอย ( shredded cheese ) มันฝรั่ง ทอดไข่ขาวผง และเวย์โปรตีนเพื่อลดการเกิดปฏิกิริยา เมลลาร์ด o การผลิตคอทเทจชีส ( cottage cheese ) และเต้าหู้ เพื่อช่วยในการขึ้นรูป o การผลิตซอสมะเขือเทศ มายองเนส และน้าสลัด เพื่อไล่ออกซิเจน ปริมาณที่เหมาะสม 4 EC 1 . 10 . 3 . 2 แล็กเคส (Laccase) แอสเพอร์จิลลัส ออไรซี ( Aspergillus oryzae) ที่มีหน่วยพันธุกรรมจาก ไมซีลิออปโทรา เทอร์ มอฟิลา ( Myceliophthora thermophil a ) สารช่วยในการผลิตเพื่อป้องกันการเกิดกลิ่นไม่พึงประสงค์ จากการทำปฏิกิริยาของออกซิเจนกับกรดไขมัน กรดอะมิโน โปรตีน หรือแอลกอฮอล์ ในระหว่างกระบวนการผลิตเบียร์ ปริมาณที่เหมาะสม 5 EC 1 . 11 . 1 . 6 แคทาเลส ( Catalase ) ตับวัว สารช่วยในการผลิตอาหารซึ่งมีนมและไข่เป็นวัตถุดิบ เช่น ชีสและน้าสลัด รวมทั้งเครื่องดื่ม เพื่อกำจัดสารไฮโดรเจน - เพอร์ออกไซ ด์ ปริมาณที่เหมาะสม ไมโครค็อกคัส ไลโซเดอิกทิคัส ( Micrococcus lysodeicticus ) 6 EC 2 . 3 . 2 . 13 โปรทีน - กลูตามีน แกรมมา - กลูตามิล แทรนส์เฟอเรส (Protein - glutamine γ - glutamyltransferase) หรือ ทรานส์กลูตามิเนส (Transglutaminase) สเตรปโทเวอร์ทิซิลเลียม ม อ บารี นส์ วา ร์. ( Streptoverticillium mobaraense var . ) สารช่วยในการผลิตอาหารซึ่งวัตถุดิบมีโปรตีนเป็น องค์ประกอบ เพื่อปรับปรุงเนื้อสัมผัสของอาหารด้วยการ เพิ่มความสามารถในการอุ้มน้าหรือลดการแยกชั้นของน้า กับโปรตีน เช่น ปริมาณที่เหมาะสม

  • 3 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ o ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์สัตว์น้าบดและปรุงสุก เช่น ลูกชิ้น และไส้กรอก o ผลิตภัณฑ์ที่มีนมเป็นวั ตถุดิบ เช่น โยเกิร์ต ชีส และ ไอศกรีมนม o ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีแป้งสาลีเป็นส่วนประกอบ เช่น พาสต้ำ แผ่นเกี๊ ยว บะหมี่ รวมทั้งผลิตภัณฑ์ขนมอบซึ่ง ใช้แป้งข้าวสาลีเป็นวัตถุดิบ o ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีถั่วเหลืองเป็นองค์ประกอบ เช่น เต้าหู้ โปรตีนจากถั่วเหลือง และโปรตีนเกษตร 7 EC 2 . 4 . 1 . 18 1,4 - แอลฟา กลูแคน บรานชิง เอนไซม์ ( 1,4 - α - glucan branching enzyme ) หรือ บรานชิงกลูโคซิล แทรนส์เฟอเรส ( Branching glucosyltransferase ) บาซิลลัส ซั บ ทิลิส ( Bacillus subtilis ) ที่มี หน่วยพันธุกรรมจาก โรโดเทอร์มัส โอบาเมนซิส ( Rhodothemus obamensis ) (1) สารปรับปรุงคุณภาพแป้ง (2) สารช่วยในการผลิต อาหาร ได้แก่ o แป้งดัดแปร ( modified strach ) เพื่อปรับ คุณสมบัติเชิงหน้าที่ของแป้ง o อาหารที่มีแป้งเป็นส่วนประกอบหลัก เช่น - พาสต้ำ ก๋วยเตี๋ยว และผลิตภัณฑ์ทำนองเดียวกัน ชนิดสดและชนิดกึ่งสาเร็จรูป - ผลิตภัณฑ์จากข้าวสุกหรือข้าวแปรรูป - ขนมอบ ขนมปังและโรล - หมั่นโถว ซาลาเปา - ผลิตภัณฑ์สัตว์น้าแปรรูปที่มีแป้งเป็น ส่วนประกอบ เช่น ผลิตภัณฑ์ซูริมิ - ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์แปรรูปที่ทาให้สุกด้วยความ ร้อนที่มีแป้งเป็นส่วนประกอบ ปริมาณที่เหมาะสม จีโอบาซิลลัส สเตียโรเทอร์มอฟิลัส ทีอาร์บีอี 14 ( Geobacillus stearothermophilus TRBE 14)

  • 4 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ 8 EC 2.4.1.24 1,4 - แอลฟา - กลูแคน 6 - แอลฟา - กลูโค ซิลแทรนส์เฟอเรส ( 1 , 4 - alpha - glucan 6 - alpha - glucosyltransferase) หรือ ทรานกลูโคซิเดส (Transglucosidase) แอสเพอร์จิ ล ลัส ไนเจอร์ วาร์ (Aspergillus niger, var.) สารช่วยในการผลิต ไอโซมอลโตโอลิโกแซ็กคาไรด์ ( Isomalto - o ligosaccharide ; IMO) ปริมาณที่เหมาะสม ไทร โคเดอร์มา รีเซอิ อาร์แอล - พี 37 (Trichoderma reesei RL - P37 ) ที่มีหน่วยพันธุกรรมจาก แอสเพอร์จิ ล ลัส ไนเจอร์ ( Aspergillus niger ) 9 EC 3 . 1 . 1 . 3 ไทรแอซิลกลีเซอรอล ไลเปส ( triacylglycerol lipase ) หรือ ไลเปส ( Lipase) กระเพาะอาหารส่วนหน้าของลูกโค และลูกแกะ (1) สารเพิ่มรสชาติ (2) สารช่วยในการผลิต เพื่อย่อยไตรกลีเซอไรด์ หรือ เอสเทอร์ของกรดไขมันในการผลิต ; o ชีส หรือผลิตภัณฑ์อาหารที่มีนมเป็นวัตถุดิบ o น้ามันและไขมัน o ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีไข่แดงเป็นวัตถุดิบ o ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ และขนมอบ o พาสต้า และก๋วยเตี๋ยว o ข้าวสุก หรือข้าวกึ่งสุกโปรตีนต่า ปริมาณที่เหมาะสม เนื้อเยื่อตับอ่อนของสัตว์ สายพันธุ์ ที่บริโภคได้ โอแกเทีย พอลิมอร์ฟา ( Ogataea polymorpha) ที่มีหน่วยพันธุกรรมจาก ฟิวซาเรียม เฮเทอโรสปอรัม ( Fusarium heterosporum ) แคนดิดา ไซลินดราเซีย ( Candida cylindrace a ) แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ ( Aspergillus niger ) แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ เอ็มแอลเอ็กซ์เอ็น26 ( Aspergillus niger MLxN26 ) ที่มีหน่วย พันธุกรรมจาก แคนดิดา แอนตาร์กติกา (Candida antarctica) ไรโซพัส นิวีอัส ( Rhizopus niveus ) ไรโซพัส ออไรซี (Rhizopus oryzae) แอสเพอร์จิลลัส ออไรซี พีเอฟเจโอ 480 ( Aspergillus oryzae PFJo 480) ที่มีหน่วย พันธุกรรมจากเทอร์โมไมเซส ลานูจิโนซัส ( Thermomyces lanuginosus) เอนไซม์ตรึงรูป เพื่อช่วยในการผลิตในอุตสาหกรรมไขมัน และน้ามัน เช่น เนยเทียมหรือไขมันที่ต้องการดัดแปลง คุณสมบัติ รวมทั้งการผลิตเบียร์และสารสกัดจากมอลต์ ปริมาณที่เหมาะสม

  • 5 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ 10 EC 3 . 1 . 1 . 4 ฟอสฟอ ไล เ ป ส เอ 2 (Phospholipase A2) สเตรปโทไมซีส ไวโอเลซีโอรูเบอร์ เอเอส - 10 ( Streptomyces violaceoruber AS - 10) ที่ มี หน่วยพันธุกรรม จาก สเตรปโทไมซีส ไว โอเลซีโอรูเบอร์ (S. violaceoruber ) สารช่วยในการผลิตเพื่อเพิ่มคุณสมบัติการเป็น อิมัล ซิไฟเออร์ ( emulsifier ) ของฟอสโฟลิปิด หรือเลซิทิน ( lecithin )ใน ผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น ผลิตภัณฑ์ เบเกอรี่ ผลิตภัณฑ์ซอส อิมัลชัน เช่น มายอง เนส น้าสลัดและครีม ซึ่งมีไข่แดงหรือ ถั่วเหลืองเป็นวัตถุดิบ ปริมาณที่เหมาะสม 11 EC 3.1.1.5 ไลโซฟอสฟอไลเปส (Lysophospholipase) แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ ซี 2948 - 1505 - 10 (Aspergillus niger C 2948 - 1505 - 10 ) ที่มี หน่วยพันธุกรรมจาก แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ (Aspergillus niger) สารช่วยในการผลิต เพื่อ เร่งปฏิกิริยาการ ย่อย แอล - แอลฟา - ไลโซ - ฟอสฟาทิดิลโคลีน (L - α - lyso - phosphatidylcholine) เป็น กลีเซอโรฟอสโฟโคลีน (Glycerophosphocholine) และกรดไขมันอิสระ ในกระบวนการแปรรูปแป้ง น้าเชื่อม กลูโคสไซรัป ไขมันและน้ามัน และกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ ปริมาณที่เหมาะสม 12 เพกทิเนส ( Pectinase ) ได้แก่ EC 3 . 1 . 1 . 11 (1) เพกทิน เ อสเตอเรส ( Pectin esterase ) แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ วา ร์. ( Aspergillus niger, var .) สารช่วยในการผลิตเพื่อย่อยสลายเพกติน ( pectin) ให้เป็น โอลิโกแซ็ ก คาไรด์ (oligosaccharides ) ในการผลิตอาหาร หรือเครื่องดื่มที่วัตถุดิบมีเพกตินเป็นองค์ประกอบ เช่น เครื่องดื่มน้าผลไม้หรือไวน์ เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม EC 3 . 2 . 1 . 15 (2) เอนโด - โพลีกาแล็กเทอโรเนส ( endo - p olygalacturonase ) แอสเพอร์จิลลัส อะคูเลียทัส (Aspergillus aculeatus) EC 4 . 2 . 2 . 10 (3) เพกทิน ไลเอส ( Pectin lyase ) 13 EC 3 . 1 . 1 . 32 ฟอสฟอ ไล เ ป ส เอ 1 (Phospholipase A1) แอสเพอร์จิลลัส ออไรซี ( Aspergillus oryzae ) ที่มีหน่วยพันธุกรรมจาก ฟิวซาเรียม วีเนนาตัม ( Fusarium venenatum ) สารช่วยในการผลิต เพื่อย่อยพันธะเอสเทอร์ sn - 1 ของ diacylphospholipid ไปเป็น 2 - acyl - 1 - lysophospholipids และกรดไขมันอิสระในการผลิต ; o เนยแข็ง o น้ามันและไขมัน ปริมาณที่เหมาะสม แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ 279 - C2948 - 1 (Aspergillus niger 279 - C2948 - 1 ) ที่มีหน่วยพันธุกรรมจาก ทาลาโรไมซิส เลเซททานัส (Talaromyces leycettanus)

  • 6 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ 14 EC 3 . 1 . 3 . 8 3 - ไฟเทส (3 - phytase) หรือ ไฟเทส ( Phytase) แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ ( Aspergillus niger ) ที่ มีหน่วย พันธุกรรมจาก แอสเพอร์ จิลลัส ไนเจอร์ ( Aspergillus n iger) สารช่วยในการผลิต เพื่อย่อย myo - inositol hexakisphosphate ( phytate ) เป็น inositol pentaphosphate ( IP5 ) และให้เป็นส่วนผสมของ myo - inositol diphosphate ( IP2 ) , myo - inositol mono - phosphate ( IP1 ) และ free o rthophosphate ซึ่งช่วย ลดปริมาณของ ไฟเตตในผลิตภัณฑ์อาหารที่มี ธัญพืชและ พืชตระกูลถั่ว เป็นวัตถุดิบ ปริมาณที่เหมาะสม 15 EC 3 . 1 . 4 . 3 ฟอสฟอไลเ ป ส ซี ( Phospholipase C) พิเชีย พาสโทริส ( Pichia pastoris ) ที่มี หน่วย พันธุกรรมฟอสฟอไลเพส ซี ( phospholipase C gene ) สารช่วยในการผลิตเพื่อย่อยพันธะ ฟอสโฟไดเอสเตอร์ ( phosphodiester) ที่ตาแหน่ง sn - 3 ของ กลีเซอโรฟอส โฟลิพิด ( glycerophospholipids) รวมถึง ฟอสฟาติดิลโค ลีน (phosphatidyl - choline) ฟอสฟาติดิลเอตทาโนลา มีน ( phosphatidylethanolamine) และ ฟอสฟาติดิล เซอรีน ( phosphatidylserine) ให้เป็น 1,2 - ไดเอซิลกลีเซ อรอล ( 1,2 - diacylglycerol) และ ฟอสเฟต เอสเตอร์ (phosp hate esters) ในการกลั่นน้ามันพืช ปริมาณที่เหมาะสม 16 EC 3 . 1 . 26 . 5 ไรโบนิวคลีเอส พี (Ribonuclease P) เพนิซิลเลียม ซิทรินัม ( Penicillium citrinum ) สารช่วยในการผลิตเพื่อไฮโดรไลซ์พันธะฟอสโฟไดเอส เทอร์ ( Phosphodiester linkage ) ของ RNA ( Ribonucleic acid ) เป็น 5’ โมโนฟอสเฟ ต นิวคลีโอไทด์ ( 5’monophosphate nucleotides ) ในการผลิตสารสกัด จากยีสต์ ( yeast extract ) ปริมาณที่เหมาะสม

  • 7 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ 17 EC 3 . 2 . 1 . 1 แอลฟา - แอมีเลส ( alpha - Amylase ) หรือ ไกลโคจีเนส ( Glycogenase ) บาซิลลัส ไลเคนิฟอร์มิส ( Bacillus licheniformis ) (1) สารปรับปรุงคุณภาพแป้ง (2) สารช่วยในการผลิตอาหาร ซึ่งวัตถุดิบมี พอลิแซ็กคาไรด์ ( polysaccharides ) หรือ สตาร์ซ ( starch ) เป็น องค์ประกอบ เช่น o เครื่องดื่มน้าผัก - ผลไม้ o เครื่องดื่มจากธัญพืช ถั่ว และถั่วเปลือกแข็ง o ขนมหวาน และลูกกวาด o ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ และ ขนมอบ o เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เบียร์และ เอทานอล o น้าตาล น้าเชื่อม และ สารให้ความหวานแทนน้าตาล o ใยอาหาร o ผลิตภัณฑ์ผัก - ผลไม้แปรรูป ปริมาณที่เหมาะสม แอสเพอร์จิลลัส ออไรซี วำร์. ( Aspergillus oryzae, var .) บาซิลลัส ซับทิลิส ( Bacillus subtilis) ที่มี หน่วยพันธุกรรมจาก บาซิลลัส เมกะทีเรียม ( Bacillus megaterium) บาซิลลัส สเตียโรเทอร์มอฟิลัส ( Bacillus stearothermophilus ) บาซิลลัส ซับทิลิส ( Bacillus subtilis) ที่มี หน่วยพันธุกรรมจาก บาซิลลัส สเตียโรเทอร์ มอฟิลัส (Bacillus stearothermophilus) บาซิลลัส ซับทิลิส ( Bacillus subtilis ) บาซิลลัส ไลเคนิฟอร์มิส ( Bacillus licheniformis ) บาซิลลัส แอมีโลลิเคอฟาเซียนส์ ( Bacillus amyloliquefaciens ) บาซิลลัส ไลเคนิฟอร์มิส ( Bacillus licheniformis) ที่มีหน่วยพันธุกรรม จาก บาซิลลัส ไลเคนิฟอร์มิส ( B . licheniformis ) บาซิลลัส ไลเคนิ ฟอร์มิส เอสเจ10402 (Bacillus licheniformis SJ10402 ) ที่มี หน่วยพันธุกรรมจาก บาซิลลัส สเตียโรเทอร์ มอฟิลัส (Bacillus stearothermophilus)

  • 8 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ 18 แอลฟา - แอมีเลส ( alpha - a mylase ) และกลูโคแอมีเลส ( g lucoamylase) EC 3.2.1.1 แอลฟา - แอมีเลส ( alpha - a mylase ) หรือ ไกลโคจีเนส ( g lycogenase ) แอสเพอร์จิลลัส ออไรซี วา ร์ ( Aspergillus oryzae, var .) (1) สารปรับปรุงคุณภาพแป้ง (2) สารช่วยในการผลิตอาหาร เช่น เครื่องดื่ม น้าตาล น้าเชื่อม ขนมหวาน ลูกกวาด ลูกอม ผลิตภัณฑ์เบเกอร์รี่ และน้าผึ้ง ซึ่งวัตถุดิบ ที่ใช้ในการผลิต เช่น ธัญพืช แป้ง และพืชผัก มี พอลิแซ็กคาไรด์ ( polysaccharides ) หรือ สตาร์ซ ( starch ) เป็นองค์ประกอบ ปริมาณที่เหมาะสม EC 3.2.1.3 กลูแคน 1,4 - แอลฟา - กลูโคซิเดส ( g lucan 1,4 - α - glucosidase ) หรือ กลูโคแอมีเลส ( g lucoamylase ) 19 คาร์โบไฮเดรส ( Carbohydrase ) ได้แก่ EC 3 . 2 . 1 . 1 แอลฟา - แอมีเลส ( alpha - Amylase ) หรือ ไกลโคจีเนส ( g lycogenase ) ไรโซพัส ออไรซี วา ร์. ( Rhizopus oryzae, var .) สารช่วยในการผลิตอาหารหรือเครื่องดื่ม ซึ่งวัตถุดิบมี สตาร์ช ( starch ) ไกลโคเจน ( glycogen ) หรือ เพคติน ( pectin ) เป็นองค์ประกอบ เช่น เครื่องดื่มน้าผลไม้ น้าเชื่อมและน้ำตาล เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม EC 3 . 2 . 1 . 3 กลูแคน 1,4 - แอลฟา - กลูโคซิเดส ( g lucan 1,4 - alpha - glucosidase ) หรือ กลูโคแอมีเลส ( g lucoamylase ) EC 3 . 2 . 1 . 15 เพกทิเนส ( p ectinase ) 20 มอลต์ คาร์โบไฮเดรต ( Malt Carbohydrase ) หรือ มอลต์ ( Malt ) ได้แก่ EC 3 . 2 . 1 . 1 แอลฟา - แอมีเลส ( alpha - Amylase ) หรือ ไกลโคจีเนส ( glycogenase ) มอลต์ ซึ่ง ได้จาก การ นาข้าวบาร์เลย์มาเพาะ ให้งอก สารช่วยในการผลิตเพื่อเร่งปฏิกิริยาการย่อยแป้งหรือ ไกลโคเจนในการผลิตอาหารและเครื่องดื่มซึ่งวัตถุดิบมีแป้ง หรือไกลโคเจนเป็นองค์ประกอบ เช่น เบียร์ ผลิตภัณฑ์ ขนมอบ เครื่องดื่ม แอลก อ ฮอล์ หรือน้าเชื่อม เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม EC 3 . 2 . 1 . 2 บีตา - แอมีเลส ( beta - Amylase )

  • 9 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ 21 มิกซ์ ไมโครเบียลคาร์โบไฮเดรส และโปรตีเอส ( Mixed Microbial Carbohydrase and Protease ) ได้แก่ EC 3 . 2 . 1 . 1 แอลฟ่า - แอมีเลส ( Alpha - amylase ) หรือ ไกลโคจีเนส ( glycogenase ) บาซิลลัส ซับทิลิส วา ร์. ( Bacillus subtilis, var . ) สารช่วยในการผลิตอาหาร หรือเครื่องดื่ม เช่น การผลิต น้าเชื่อมจากแป้ง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เบียร์ กลูโคส ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ ผลิตภัณฑ์จากเนื้อปลา ผลิตภัณฑ์จาก เนื้อสัตว์ และการผลิต โปรตีนไฮโดรไลเซต ( protein hydrolysates ) เพื่อช่วยเร่งปฏิกิริยา ; o การย่อยพอลีแซคคาไรด์( polysaccharides ) ให้เป็น เดกซ์ตริน ( dextrins ) และโอลิโกแซคคาไรด์ ( oligosaccharides ) o การย่อยพอลีเปบไทด์ ( polypeptides ) ให้เป็นเปป ไทด์ ที่มีมวลโมเลกุลที่เล็กกว่า ปริมาณที่เหมาะสม EC 3 . 4 . 21 . 14 ไมโครเบียล ซีรีน โพรทีเนส ( Microbial serine proteinase ) ได้แก่ บาซิลลัส แอมีโลลิเคอฟาเซียนส์ ( Bacillus amyloliquefaciens ) EC 3.4.21.62 ซับติลิซิน ( subtilisin ) EC 3.4.21.63 ออไรซิน ( oryzin ) EC 3.4.21.64 เอนโดเปบติเดส เค ( endopeptidase K ) EC 3.4.21.65 เทอร์โมมายโคลิน ( thermomycolin ) EC 3.4.21.67 เอนโดเปบติเดส โซ ( endopeptidase So ) EC 3 . 4 . 24 . 4 ไมโครเบียล เมทาล โลโพรทีเนส ( Microbial metalloproteinases ) ได้แก่ EC 3.4.24.25 แอโรโมโนไลซิน ( aeromonolysin ) EC 3.4.24.26 ซูโดไลซิน ( pseudolysin ) EC 3.4.24.27 เทอร์โมไลซิน ( thermolysin ) EC 3.4.24.28 บาซิลโลไลซิน ( bacillolysin ) EC 3.4.24.29 ออริโอไลซิน ( aureolysin ) EC 3.4.24.30 คอคโคไลซิน ( coccolysin ) EC 3.4.24.31 มายโคไลซิน ( mycolysin ) EC 3.4.24.32 บีตา - ไลติค เมทาลโลเอนโดเปปติเดส ( β - lytic metalloendopeptidase ) EC 3.4.24.39 ดิวเทโรไลซิน ( deuterolysin ) EC 3.4.24.40 เซอราไลซิน ( serralysin )

  • 10 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ 22 EC 3.2.1.2 บีตา - แอมีเลส (beta - amylase) มันเทศ (Ipomoea batatas) สารช่วยในการผลิตเพื่อย่อยสลายพันธะ 1,4 - alpha - D - glucosidic ภายในโครงสร้างของอะไมโลส ( Amylose) และอะไมโลเพกติน ( Amylopectin) ในผลิตภัณฑ์อาหาร ; o น้าเชื่อมมอลโทส o ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ และขนมอบ o เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ปริมาณที่เหมาะสม ถั่วเหลือง ( Glycine max) บาซิลลัส ไลเคนิฟอร์มิส เอเอ็น 1063 ( Bacillus licheniformis AN1063 ) ที่มีหน่วยพันธุกรรม จาก บาซิลลัส ฟลีซัส (Bacillus flexus) 23 EC 3 . 2 . 1 . 3 กลูแคน 1,4 - แอลฟา - กลูโคซิเดส ( g lucan 1,4 - alpha - glucosidase ) หรือ กลูโคแอมีเลส ( g lucoamylase ) แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ วา ร์ ( Aspergillus niger, var . ) สารช่วยในการผลิต เพื่อย่อย พอลิแซ็กคาไรด์ ใน ผลิตภัณฑ์อาหารซึ่งวัตถุดิบมี พอลิแซ็กคาไรด์ หรือแป้ง เป็นองค์ประกอบ เช่น น้าเชื่อม น้าเชื่อมจากแป้ง ข้าวโพด น้าตาล เด็กซ์โทรส ( dextrose ) ผลิตภัณฑ์ เบเกอร์รี่และขนมอบ เครื่องดื่มน้าผลไม้ เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ หรือเบียร์ เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม แอสเพอร์จิลลัส อะคูเลียทัส (Aspergillus aculeatus) ไทรโคเดอร์มา รีเซอิ ( Trichoderma reesei ) ที่มีหน่วยพันธุกรรมจาก ไทรโคเดอร์มา รีเซอิ (Trichoderma reesei ) แอสเพอร์จิลัส ไนเจอร์ ( Aspergillus niger ) แอสเพอร์จิลัส ออไรซี ( Aspergillus oryzae ) แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ ซี 40 - 1 ( Aspergillus niger C40 - 1) ที่มีหน่วยพันธุกรรม จาก แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ ( Aspergillus niger ) 24 เซลลูเลส ( Cellulase s ) ได้แก่ EC 3.2.1.4 เซลลูเลส ( Cellulase ) หรือ เอนโด - 1,4 - บีตา - กลูคาเนส ( endo - 1,4 - beta - glucanase ) เพนิซิลเลียม ฟูนิคูโลซัม ( Penicillium funiculosum ) สารช่วยในการผลิตอาหารหรือเครื่องดื่มซึ่งวัตถุดิบมี พอลิ แซ็กคาไรด์ จำพวกเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบ เช่น เครื่องดื่ม น้าผลไม้ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไวน์ เบียร์ น้ามันพืช ปริมาณที่เหมาะสม

  • 11 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ EC 3 . 2 . 1 . 6 เอนโด - 1,3(4) บีตา - กลูคาเนส ( Endo - 1,3 ( 4 ) - beta - glucanase ) ผลิตภัณฑ์มอลต์สกัดจากข้าวบา ร์ เลย์ หรือผลิตภัณฑ์จาก ข้าวสาลี เป็นต้น EC 3 . 2 . 1 . 8 เอนโด - 1,4 - บีตา - ไซลาเนส ( Endo - 1,4 - beta - xylanase ) 25 เซลลูเลส ( Cellulase s ) ได้แก่ EC 3 . 2 . 1 . 4 เซลลูเลส ( Cellulase ) หรือ เอนโด - 1,4 - บีตา - กลูคาเนส ( endo - 1,4 - ß - glucanase ) ไทรโคเดอร์มา ลองจิบรา เชีย ตัม ( Trichoderma longibrachiatum ) สารช่วยในการผลิตอาหารหรือเครื่องดื่มซึ่งวัตถุดิบมี พอลิ แซ็กคาไรด์ จำพวกเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบ เช่น เครื่องดื่มน้าผลไม้ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไวน์ เบียร์ น้ำมัน พืช ผลิตภัณฑ์มอลต์สกัดจากข้าวบาเลย์ หรือผลิตภัณฑ์ ข้าวสาลี เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม EC 3 . 2 . 1 . 74 กลูแคน - 1,4 - บีตา - กลูโคซิเดส ( glucan - 1,4 - ß - glucosidase ) หรือ เอกโซ - 1 ,4 - บีตา - ดี - กลูโคซิเดส ( Exo - 1,4 - ß - D - glucosidase ) ไทรโคเดอร์มา รีเซอิ ( Trichoderma reesei ) EC 3 . 2 . 1 . 91 เซลลูโลส 1,4 - บีตา - เซลโลไบโอซิเดส ( cellulose 1,4 - ß - cellobiosidase ) หรือ เอกโซ เซลโลไบโอไฮโดรเลส ( Exo - cellobiohydrolase ) EC 3 . 2 . 1 . 6 เอนโด – 1,3(4) บีตา - กลูคาเนส (endo - 1,3(4) - ß - glucanase ) หรือ บีตา - กลูคาเนส ( ß - glucanase ) 26 EC 3 . 2 . 1 . 6 เอนโด - 1,3, - บีตา - กลูคาเนส ( Endo - 1,3 - ß - glucanase ) หรือ บีตา กลู คาเนส ( b eta - g lucanase ) แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ วาร์. ( Aspergillus niger , var .) สารช่วยในการผลิตเพื่อย่อยกลูแคน ( Glucan ) ซึ่งเป็น พอลิแซ็กคาไรด์ของน้าตาลกลูโคส ในการผลิตอาหาร หรือ เครื่องดื่ม เช่น เครื่องดื่มน้าผลไม้ เบียร์ หรือชีส เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม แอสเพอร์จิลลัส อะคูเลียทัส (Aspergillus aculeatus)

  • 12 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ 27 บีตา - กลูคาเนส ( Beta - glucanase ) ได้แก่ EC 3 . 2 . 1 . 6 เอนโด - 1,3, - บีตา - กลูคาเนส ( Endo - 1,3 - beta - glucanase ) ไทรโคเดอร์มา ฮาร์เซียนัม ( Trichoderma harzianum ) สารช่วยในการผลิตเพื่อย่อยกลูแคน ( Glucan ) ซึ่งเป็น พอลิแซ็กคาไรด์ของน้าตาลกลูโคสในการผลิต อาหาร หรือ เครื่องดื่ม เช่น เครื่องดื่มน้าผลไม้ ไวน์ เบียร์ หรือน้ามันพืช เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม EC 3 . 2 . 1 . 58 เอกโซ - 1,3 - บีตา - กลูคาเนส ( Exo - 1,3 - beta - glucanase ) 28 มิกซ์ บีตา กลูคาเนส (Mixed ß - glucanase) เซลลูเลส (Cellulase ) และไซลาเนส ( Xylanase) ได้แก่ EC 3 . 2 . 1 . 6 เอนโด - 1,3(4) บีตา - กลูคาเนส (endo - 1,3(4) - ß - glucanase ) หรือ บีตา - กลูคาเนส ( ß - glucanase ) ราแซมโซเนีย เอเมอร์โซนิไอ ( Rasamsonia emersonii ) สารช่วยในการผลิตเพื่อเร่งปฏิกิริยาย่อย ß - D - glucans, cellulose , lichenin และ Xylans ซึ่งเป็นผนังเซลล์ของ เมล็ดธัญพืช ข้าว ผักและผลไม้ ในการผลิตอาหาร หรือ เครื่องดื่ม เช่น การแปรรูปเมล็ดข้าว และการผลิต เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือเบียร์ เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม EC 3 . 2 . 1 . 4 เซลลูเลส ( Cellulase ) EC 3 . 2 . 1 . 8 เอนโด - 1,4 - บีตา - ไซลำเนส (endo - 1,4 - ß - xylanase) หรือ ไซลาเนส ( Xylanase ) 29 มิกซ์ ไซลาเนส ( Mixed Xylanase) หรือ บีตา - กลูคาเนส (ß - Glucanase) หรือ มิกซ์ บีตา - กลูคาเนส และ ไซลาเนส (Mixed ß - Glucanase and Xylanase) ได้แก่ EC 3 . 2 . 1 . 6 บีตา - กลูคาเนส ( beta - Glucanase ) ฮูนิโคลา อินโซเลนส์ ( Hunicola insolens ) สารช่วยในการผลิตเพื่อเร่งปฏิกิริยา ไฮโดรไลเซตของเบต้า กลูแคน ( beta - glucans ) หรือไซแลน ( xylans ) ซึ่งมีอยู่ใน ผนังเซลล์ของเมล็ดข้าว ธัญพืช และผัก ผลไม้ หรือเพนโทแซน ( pentosans ) และยาง ( gum ) อื่น ๆ ในการผลิตอาหาร และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ และการหมักอาหาร อื่น ๆ ปริมาณที่เหมาะสม EC 3 . 2 . 1 . 8 เอนโด - 1,4 - บีตา - ไซลำเนส (endo - 1,4 - ß - xylanase) หรือ ไซลาเนส ( Xylanase ) ไดสปอโรทริคัม ไดมอร์โฟสปอรัม ( Disporotrichum dimorphosporum ) 30 EC 3.2.1.7 อินูไลเนส (Inulinase) แอสเปอร์จิลลัส ไนเจอร์ วาร์ (Aspergillus niger var. ) สารช่วยในการย่อยสลายพันธะ (2 → 1 ) - β - D - fructosidic linkage ในโมเลกุลของอินูลิน เพื่อผลิต โอลิโกฟรุตโตส ปริมาณที่เหมาะสม

  • 13 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ 31 EC 3 . 2 . 1 . 8 เอนโด - 1,4 - บีตา - ไซลาเนส (endo - 1,4 - beta - xylanase) หรือ ไซลาเนส (Xylanase) บาซิลลัส ซับทิลิส ( Bacillus subtilis ) ที่มี หน่วยพันธุกรรม จาก บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis ) สารช่วยในการผลิตเพื่อเร่งปฏิกิริยาการย่อยพันธะ xylosidic linkages ของ arabinoxylans ไปเป็น oligosaccharides ขนาดเล็กในการผลิต ; o ผลิตภัณฑ์ขนมอบ เพื่อให้แป้งโดว์มีความคงตัว o อุตสาหกรรมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และเบียร์ ปริมาณที่เหมาะสม ฟิวซาเรียม วีเนนาตัม ( Fusarium venenatum) ที่มีหน่วยพันธุกรรมจาก เทอร์มอไมซีส ลานูจิโนซัส (Thermomyces lanuginosus ) แอสเพอร์จิลลัส ออไรซี เจเอแอล 339 (Aspergillus Oryzae JaL339) ที่มีหน่วย พันธุกรรมจาก เทอร์โมไมเซส ลานูจิโนซัส (Thermomyces lanuginosus) แอสเพอร์จิลลัส ออไรซี เอ็มที 2181 - 2.3 อีเค 4 (Aspergillus oryzae MT 2181 - 2.3 Ek4 ) ที่มีหน่วยพันธุกรรมจาก แอสเพอร์ จิลลัส เอคูลีทัส ( Aspergillus aculeatus) 32 เฮมิเซลลูเลส ( Hemicellulase ) ได้แก่ EC 3 . 2 . 1 . 8 เอนโด - 1,4 - บีตา - ไซลาเนส ( Endo - 1,4 - beta - xylanase ) แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ วา ร์ ( Aspergillus niger, var . ) สารช่วยในการผลิตเพื่อ เร่งปฏิกิริยาการไฮโดรไลซ์ พันธะ โพลีแซ็ ก คาไรด์ ( polysaccharide chains) ที่เชื่อม น้าตาลกลุ่มต่างๆ ไว้ด้วยกัน หรือไฮโดรไลซ์เฮมิ เซลลูโลส ซึ่งเป็นองค์ประกอบของผนังเซลล์พืช ในการผลิตอาหาร เช่น กาแฟสาเร็จรูป ขนมปัง รวมทั้งผลิตภัณฑ์ขนมอบ ปริมาณที่เหมาะสม EC 3 . 2 . 1 . 37 ไซแลน 1,4 - บีตา - ไซโลซิเดรส ( Xylan 1,4 - beta - xylosidase ) แอสเพอร์จิลลัส อะคูเลียทัส (Aspergillus aculeatus) EC 3 . 2 . 1 . 55 นอน - ริดิวซิง เอ็น แอลฟา - แอล - อะรา บิโนฟิวราโนซิเดส ( non - reducing end alpha - L - arabinofuranosidase ) หรือ แอลฟา - แอล - อะราบิโนฟิวราโนซิ เดส ( alpha - L - Arabinofuranosidase )

  • 14 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ EC 3 . 2 . 1 . 4 เซลลูเลส ( Cellulase ) - กาแล็กโทแมนนาเนส ( Galactomannanase ) 33 EC 3 . 2 . 1 . 20 แอลฟ่า - กลูโคซิเดส แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ ( Aspergillus niger ) (1) สารปรับปรุงคุณภาพแป้ง (2) สารช่วยในการผลิตเพื่อย่อย พอลิแซ็กคาไรด์ ใน ผลิตภัณฑ์อาหารซึ่งวัตถุดิบมี พอลิแซ็กคาไรด์ เป็น องค์ประกอบ เช่น o น้าตาล น้าเชื่อม รวมถึงโอลิโกแซ็กคาไรด์และสาร ให้ความหวาน o ผลิตภัณฑ์พาสต้า ก๋วยเตี๋ยว และผลิตภัณฑ์ทำนอง เดียวกัน ชนิดสดและกึ่งสำเร็จรูป o ผลิตภัณฑ์จากข้าวสุกหรือข้าวแปรรูป o ขนมปังและโรล ขนมอบที่ไ ม่ปรุงแต่งรสชาติ ชนิด อื่น ๆ เช่น หมั่นโถว ซาลาเปา o ขนมอบที่มีการปรุงแต่งรสชาติชนิดอื่น ๆ o ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์บด ทาให้สุกโดยใช้ความร้อน เช่น ไส้กรอก o ผลิตภัณฑ์เนื้อปลาบด เฃ่น ปลาเส้น ลู ก ชิ้นปลา ไส้ กรอกปลา หรือผลิตภัณฑ์ซูริมิต่าง ๆ ปรุงสุก o แป้งสาหรับชุบทอด ปริมาณที่เหมาะสม ( alpha - glucosidase ) ไทรโคเดอร์มา รี เซอิ อาร์แอล - พี 37 (Trichoderma reesei RL - P37 ) ที่ มีหน่วย พันธุกรรมจาก แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ (Aspergillus niger) 34 EC 3.2.1.23 บีตา - กาแล็กโทซิเดส (Beta - Galactosidase) หรือ แล็กเทส (Lactase ) คลุย เวอโรไมซีส แล็กติส ( Kluyveromyces lactis ) สารช่วยใน การ ผลิต ได้แก่ (1) เพื่อย่อยน้าตาลแล็กโตส ( Lactose ) ในผลิตภัณฑ์อาหาร ที่มีนมเป็นวัตถุดิบ ปริมาณที่เหมาะสม บาซิลลัส เซอร์คู แลนส์ เอทีซีซี 31382 (Bacillus circulans ATCC 31382)

  • 15 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ พาพิลิโอทรีมา เทอเรสทิส เออี - บีแอลซี ( Papiliotrema terrestris AE - BLC ) ( 2 ) เพื่อเร่งปฏิกิริยาทรานกาแล็กโต ซิเลชัน (Transgalactosylation) โดยนาน้าตาลแลคโตสไป เชื่อมกับหมู่น้าตาล galactose residue เกิดเป็น Galacto - oligosaccharide (GOS) บาซิลลัส ไลเคนิฟอร์มิส พีพี 3930 (Bacillus licheniformis PP3930 ) ที่มี หน่วยพันธุกรรมจาก บิฟิโดแบคทีเรียม บิฟิดัม (Bifidobacterium bifidum ) 35 EC 3 . 2 . 1 . 26 บีตา - ฟรักโทฟิวราโนซิเดส ( ß - Fructofuranosidase ) หรือ อินเวอร์เทส ( Invertase) แซ็กคาโรไมซีส เซอรีวิซีอี ( Saccharomyces cerevisiae ) สารช่วยในการผลิต เพื่อย่อยซูโคสให้เป็นกลูโคสและ ฟรั กโทส ใน การผลิตอาหารที่มีน้าตาลเป็นส่วนประกอบ เช่น ลูกกวาดลูกอม ช็อกโกแลต รวมทั้งขนมอบจำพวก เพสตรี ( pastry ) ปริมาณที่เหมาะสม 36 คาร์โบไฮเดรส ( Carbohydrase ) ได้แก่ EC 3 . 2 . 1 . 26 บีตา - ฟรักโทฟิวราโนซิเดส ( ß - Fructofuranosidase ) หรือ อินเวอร์เทส ( invertase ) แซ็ กคาโรไมเซส สปีชีส์ ( Saccharomyces species ) สารช่วยในการผลิตอาหารซึ่งวัตถุดิบมีน้าตาลซูโครส หรือ น้าตาลแลคโตส เป็นองค์ประกอบ เช่น ไอศกรีม ลูกอม หรือผลิตภัณฑ์ อาหารต่าง ๆ ที่มีนมเป็นวัตถุดิบ ปริมาณที่เหมาะสม EC 3 . 2 . 1 . 23 บีตา - กาแล็กโทซิเดส ( ß - Galactosidase ) หรือ แล็กเทส ( lactase ) 37 EC 3.2.1.39 กลูแคน เอนโด - 1,3 - บีตา - ดี - กลูโคซิ เดส ( glucan endo - 1,3 - beta - D - glucosidase) หรือ กลูคาเนส ( glucanase) สเตรปโทไมซีส ไวโอเลซีโอรูเบอร์ 1326 (Streptomyces violaceoruber 1326 ) ที่มีหน่วยพันธุกรรมจาก สเตรปโทไมซีส ไวโอเลซีโอรูเบอร์ (Streptomyces violaceoruber) สารช่วยในกระบวนการผลิต ; o สารสกัดจากยีสต์ (yeast extract) o เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือเบียร์ เพื่อย่อยสลายเซลล์ ยีสต์ในระหว่างการกรอง ( filter aids) ปริมาณที่เหมาะสม

  • 16 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ 38 EC 3 . 2 . 1 . 41 พัลลูลาเนส (Pullulanase) หรือ พัลลูแลน 6 - แอลฟ่า - กลูคาโนไฮโดรเลส ( pullulan 6 - α - glucanohydrolase ) บาซิลลัส ซับทิลิส เอ 164 ( Bacillus subtilis A164 ) ที่มีหน่วยพันธุกรรม จาก บาซิลลัส เดอ รามิฟิแคนส์ (Bacillus deramificans ) สารช่วยในการผลิตเพื่อเร่งปฏิกิริยา ไฮโดรไลซ์สตาร์ช ( strach) ในการผลิตอาหาร เช่น น้าตาล มอลโทไตรโอส (Maltotriose) หรือน้าเชื่อมจากแป้งข้าวโพด ( High Fructose Corn Syrup ) ร ว มทั้งการหมักเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ และเบียร์ เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม บาซิลลัส ไลเคนิฟอ มิส เอชวายจีอี 486 (Bacillus licheniformis HyGe 486 ) ที่ หน่วยพันธุกรรมจาก บาซิลลัส เดรามิฟิแคนส์ (Bacillus deramificans ) 39 EC 3 . 2 . 1 . 60 กลูแคน 1,4 - แอลฟ่า - มอลโทเททระ โอไฮโดรเลส ( glucan 1,4 - α - maltotetraohydrolase ) หรือ มอล โทเททระโอไฮโดรเลส (Maltotetraohydrolase) บาซิลลัส ไลเคนิฟอร์มิส (Bacillus licheniformis ) ที่มีหน่วยพันธุกรรมจาก ซูโดโมเนส สตัตเซอไร (Pseudomonas stutzeri ) สารช่วยในการผลิตเพื่อเร่งปฏิกิริยาการย่อย แป้ง ในการ ผลิตอาหารที่วัตถุดิบมีแป้งเป็นองค์ประกอบ เช่น ผลิตภัณฑ์ขนมอบ เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม 40 EC 3 . 2 . 1 . 68 ไอโซแอไมเลส (Isoamylase ) หรือ ดีบรานชิงเอนไซม์ ( Debranching enzyme) ซูโดโมแนส แอมีโลเดอราโมซา ( Pseudomonas anmyloderamosa ) สารช่วยในการ ผลิต เพื่อย่อยไกลโคเจนแอมีโลแพกติน และ เด็กซ์ตรินในผลิตภัณฑ์อาหารที่มีแป้งเป็นองค์ประกอบ ปริมาณที่เหมาะสม 41 EC 3 . 2 . 1 . 133 กลูแคน 1,4 - แอลฟ่า - มอลโทไฮโดร เลส ( glucan 1,4 - α - maltohydrolase ) หรือ มอลโทจีนิก แอมีเลส (Maltogenic Amylase) บาซิลลัส ซับทิลิส ( Bacillus subtilis) ที่ มี หน่วยพันธุกรรมจาก บาซิลลัส สเตียโรเทอร์ มอฟิลัส (Bacillus stearothermophilus ) สารช่วย ในการผลิตเพื่อเร่งปฏิกิริยาการย่อย แ อมี โลส ( amylose ) แ อมี โลเพกทิน ( amylopectin ) หรือ กลูโคส พอลิเมอร์ ( glucose polymers ) อื่นๆ ในการผลิตอาหาร ซึ่งมีแป้งหรือน้าตาลเป็นส่วนประกอบ เช่น น้าเชื่อม กลูโคสชนิดมอลโตสสูง หรือผลิตภัณฑ์ขนมอบ ( baked goods ) เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม

  • 17 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ 42 โพรทิเอส ( Protease ) ได้แก่ EC 3 . 4 . 11 (1) แอมิโนเพปทิเดส ( Aminopeptidases ) แอสเพอร์จิลลัส ออไรซี วา ร์. ( Aspergillus oryzae, var . ) (1) สารเพิ่มรสชาติ (2) สารปรับปรุงคุณภาพแป้ง (3) สารทาให้คงตัว (4) สารช่วยในการผลิตอาหาร ; o ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์และเนื้อปลา o เครื่องดื่ม o น้าแกงและซุป o ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ o ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีนมเป็นวัตถุดิบ o ข้าวสุก หรือข้าวสารโปรตีนต่ำ ปริมาณที่เหมาะสม EC 3 . 4 . 21 (2) ซีรีน เอนโดเพปทิเดส ( Serine endopeptidases ) EC 3 . 4 . 23 (3) แอสพาร์ติกเอนโดเพปทิเดส ( Aspartic endopeptidases ) 43 EC 3 . 4 . 21 . 1 ไคโมทริปซิน ( Chymotrypsin ) หรือ ซีรีน โพรทีเอส วิท ไคโมทริปซิน สเป ซิฟิซิตี (Serine Protease with Chymotrypsin Specificity ) บาซิลลัส ไลเคนิฟอร์มิส ( Bacillus Licheniformis ) ที่มีหน่วยพันธุกรรมจาก โนคาร์ดิออปซิส พราซินา ( Nocardiopsis prasina ) สารช่วยในการผลิตเพื่อย่อยโปรตีน เช่น เคซีน เวย์โปรตีน สกัดจากถั่วเหลือง โปรตีนถั่วเหลืองเข้มข้น กลูเตนข้าว สาลี หรือกลูเตนข้าวโพด เพื่อการผลิตโปรตีนไฮโดรไลซ์ บางส่วนหรือทั้งจำนวนจากพืช หรือสัตว์ ปริมาณที่เหมาะสม 44 EC 3 . 4 . 21 . 4 ทริปซิน ( Trypsin ) หรือซีรีน โพรที เอส และ ไคโมทริปซิน สเปซิฟิซิตี (Serine Protease with Trypsin Specificity) ฟิวซาเรียม วีเนนาตัม ( Fusarium venenatum) ที่มีหน่วยพันธุกรรมจาก ฟิวซาเรียม ออกซิสปอรัม (Fusarium oxysporum ) สารช่วยในการผลิตเพื่อย่อย polypeptides, amides, esters ให้เป็น peptides ที่โมเลกุลขนาดเล็กลง ในการ ผลิตอาหาร เช่น ผลิตภัณฑ์ขนมอบ ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ รวมทั้งการผลิตโปรตีนไฮโดรไลเสต ปริมาณที่เหมาะสม สารสกัดจากตับอ่อนของสุกร หรือวัว 45 EC 3 . 4 . 21 . 62 ซับทิลิซิน (Subtilisin) หรือ โพรทิเอส (Protease ) บาซิลลัส ไลเคนิฟอร์มิส ( Bacillus licheniformis ) สารช่วยในการผลิตเพื่อเร่งปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส โปรตีนให้ เป็นเพปไทด์ที่สายสั้นลง หรือกรดอะมิโน ในการผลิต อาหาร เช่น สารสกัดโปรตีนจากเนื้อสัตว์ สัตว์ปีก และ สัตว์น้า โปรตีนนม โปรตีนจากพืช เช่น ถั่วเหลือง ผลิตภัณฑ์ซุป ซอส และผลิตภัณฑ์ทำนองเดียวกัน ปริมาณที่เหมาะสม

  • 18 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ 46 EC 3.4.21.63 ออไรซิน (Oryzin) หรือ โพรทิเอส (Protease ) แอสเพอร์จิลลัส เมลิอัส พี – 52 (Aspergillus melleus P - 52 ) สารช่วยในการผลิตเพื่อเร่งปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส โปรตีนให้ เป็นเพปไทด์ที่สายสั้นลง หรือกรดอะมิโน ในการผลิต อาหาร เช่น โปรตีนนม ผงปรุงรสและผลิตภัณฑ์ปรุงรส และสารสกัดจากยีสต์ (Yeast extract) ปริมาณที่เหมาะสม 47 EC 3.4.21 เอนโดเพปทิเดส (Endopeptidase) หรือ แอซิด โพรลิล เอนโดเพปทิเดส (Acid prolyl endopeptidase) หรือ โพรลิล เอนโดเพปทิเดส (Prolyl endo peptidase ) หรือ โพรลีน เอนโดเพปทิเดส (Proline endopeptidase) แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ จีอีพี (Aspergillus niger GEP ) ที่ มีหน่วยพันธุกรรมของ แอส เพอร์จิลลัส ไนเจอร์ (Aspergillus niger) สารช่วยในการผลิตเพื่อเร่งปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสโปรตีน และเพปไทด์ ที่ตาแหน่ง carboxylic side ของโพรลีนให้ เป็นเพปไทด์ที่มีขนาดสั้นลง ในการผลิตอาหารและ เครื่องดื่ม เช่น เบียร์ โปรตีนไฮโดรไลเซท (Protein hydrolysate) จากพืชหรือสัตว์ ปริมาณที่เหมาะสม 48 พาเพน ( Papain ) ได้แก่ EC 3 . 4 . 22 . 2 (1 ) พาเพน ( Papain ) ผลมะละกอ ( Carica papaya ( L )) ( Fam . Caricaceae ) (1) สารเพิ่มรสชาติ (2) สารช่วยในการผลิตเพื่อเร่งปฏิกิริยาการย่อย polypeptides, amides, esters, leucine หรือ glycine ให้เป็น peptides ที่โมเลกุลขนาดเล็กลงในการ ผลิตอาหารหรือเครื่องดื่ม เช่น เบียร์ ผลิตภัณฑ์อาหาร ที่มีเนื้อสัตว์เป็นวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์จากธัญพืชกึ่งพร้อม รับประทาน รวมทั้งผลิตภัณฑ์โปรตีนไฮโดรไลเซต ( protein hydrolysates ) เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม EC 3 . 4 . 22 . 6 (2 ) ไคโมพาเพน ( Chymopapain )

  • 19 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ 49 EC 3 . 4 . 22 . 3 ไฟซิน ( Fic a in ) น้ายางของพืชในสกุลมะเดื่อ ( Ficus sp .) สารช่วยในการผลิต เพื่อย่อย โพลิเปปไทด์ ( polypeptides ) ในการผลิตอาหารซึ่งวัตถุดิบมีโปรตีนเป็นส่วนประกอบ เช่น ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ เครื่องดื่ม รวมทั้งผลิตภัณฑ์ เบเกอร์รี่ เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม 50 EC 3 . 4 . 2 2.4 โบรมีเลน ( Bromelain ) ได้แก่ EC 3 . 4 . 22 . 32 สเต็ม โบรมีเลน ( stem bromelain ) เซลล์ต้นกำเนิดหรือผลของ ; (1) สับปะรด ( แอนานาส โคโมซัส ) ( Ananas comosus ) หรือ (2 ) สับปะรดแดง ( แอนานาส แบรกทีตัส (แอล) ) ( Ananas bracteatus ( L )) (1) สารเพิ่มรสชาติ (2) สารปรับปรุงคุณภาพแป้ง (3) สารทำให้คงตัว ( 4 ) สำรช่วยในการผลิตเพื่อย่อยพอลีเปบไทด์ ( polypeptides ) เอไมด์ ( amides ) และเอสเทอร์ ( esters ) ในอาหารซึ่งวัตถุดิบมีโปรตีนเป็น องค์ประกอบ เช่น ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์ ธัญพืชกึ่งสาเร็จรูป หรือผลิตภัณฑ์โปรตีนไฮโดรไลเซต ( protein hydrolysates ) รวมถึงเบียร์ ปริมาณที่เหมาะสม EC 3 . 4 . 22 . 33 ฟรุ๊ท โบรมีเลน ( fruit bromelain ) 51 EC 3 . 4 . 23 . 1 เอเวียนเพปซิน ( Avian Pepsin ) กระเพาะตอนหน้าหรือกระเพาะย่อยหรือ กระเพาะแท้ของไก่หรือไก่งวง สารช่วยในการผลิตเพื่อย่อยพอลีเปบไทด์ให้มีโมเลกุลขนาด เล็กลง ทำให้โปรตีนในน้านมแข็งตัวในระหว่างการผลิตชีส ปริมาณที่เหมาะสม 52 เพปซิน ( Pepsin ) ได้แก่ EC 3 . 4 . 23 . 1 (1) เพปซิน เอ ( Pepsin A ) กระเพาะอาหารของหมู สารช่วยในการผลิตเพื่อย่อยสลาย polypeptides รวมถึง พันธะที่ติดกับ aromatic หรือ L - leucine residues ให้เป็น เปปไทด์ที่มีมวลโมเลกุลเล็กลง ในการผลิตอาหารที่วัตถุ ดิบมี โปรตีนเป็นองค์ประกอบ เช่น เนยแข็ง ผลิตภัณฑ์จากเนื้อ ปลา หรือโปรตีนไฮโดรไลเสต เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม EC 3 . 4 . 23 . 2 (2 ) เพปซิน บี ( Pepsin B ) EC 3 . 4 . 23 . 3 (3 ) แก๊สตริซิน ( gastricsin) หรือ เพปซิน ซี ( Pepsin C )

  • 20 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ 53 EC 3 . 4 . 23 . 4 ไคโมซิน ( Chymosin ) หรือ เรนนิน ( Rennin ) หรือ เรนเนต (Rennet) เอสเชอริเคีย โคไล เค - 12 ( Escherichia coli K - 12 ) ที่ มี หน่วยพันธุกรรม โพรไคโมซิน เอ (Prochymosin A Gene ) สารช่วยในการผลิต เพื่อย่อยโปรตีนเคซีน ( casein ) ใน น้านมให้มีโมเลกุลเล็กลงในกระบวนการผลิต เนยแข็ง ( cheese ) ปริมาณที่เหมาะสม แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ วาร์ . แอวาโมริ ( Aspergillus niger var . awamori ) ที่ มี หน่วยพันธุกรรม ไคโมซิน บี ( Prochymosin B Gene ) คลุ ย เวอโรไมซีส แล็กติส ( Kluyveromyces lactis ) ที่ มี หน่วยพันธุกรรม โพรไคโมซิน บี (Prochymosin B Gene ) สารสกัดจากน้าย่อยที่ได้จากกระเพาะที่สี่ของ ลูกวัว ลูกแพะ หรือลูกแกะ สารสกัดจากน้าย่อยที่ได้จากกระเพาะที่สี่ของ วัว แพะ หรือแกะ ไรโซมูคอร์ สปีชีส์ ( Rhizomucor species ) 54 ไรโซพัสเพปซิน โพรทิเอส ( rhizopuspepsin protease) และไทรแอ - ซิลกลีเซอรอล ไลเพส (triacylglycerol lipase) EC 3.4.23.21 ไรโซพัสเพปซิน โพรทิเอส ( rhizopuspepsin protease) ไรโซพัส นิวีอัส ( Rhizopus niveus ) สารช่วยในการผลิต ; o ข้าวสุก หรือข้าวกึ่งสุกโปรตีนต่า o น้ามันและไขมัน ปริมาณที่เหมาะสม EC 3.1.1.3 ไทรแอ - ซิลกลีเซอรอลไลเพส (triacylglycerol lipase) หรือไทรแอ ซิล - กลีเซอรอล แอซิลไฮโดรเลส (Triacylglycerol acylhydrolase) 55 EC 3 . 4 . 24 . 27 เทอร์มอไลซิน (Thermolysin) หรือ เทอร์มอไลซิน โพรทีเอส (Thermolysin Protease) จีโอบาซิลลัส สเตียโรเทอร์มอฟิลัส ( Geobacillus stearothermophilus ) สารช่วยในการผลิตเพื่อเร่งปฏิกิริยาการสลายพันธะเปป ไทด์ของโปรตีนให้เป็นกรดอะมิโนขนาดเล็ก ได้แก่ การ ผลิตยีสต์สกัด หรือโปรตีนสกัด เพื่อใช้เป็นสารปรุงแต่ง ปริมาณที่เหมาะสม

  • 21 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ รสชาติในอาหาร เช่น เครื่องปรุงรส ซุปพร้อมบริโภค หรือ ซอสถั่วเหลือง เป็นต้น 56 EC 3.4.24.28 บาซิลโลไลซิน (Bacillolysin) หรือ แอนิโลไซม์ พี 10 (Anilozyme P 10 ) บาซิลลัส แอมีโลลิเคอฟาเซียนส์ เออี - เอ็นพี (Bacillus amyloliquefaciens AE - NP ) สารช่วยในการผลิตเพื่อเร่งปฏิกิริยาการสลายพันธะเปปไทด์ ได้ผลิตภัณฑ์เป็นโปรตีนสายสั้น และกรด แ อมิโน เพื่อการ ผลิตอาหาร เช่น สารสกัดจากยีสต์ (Yeast extract ) ผลิตภัณฑ์นม เครื่องดื่มน้านมถั่วเหลือง น้านมข้าว หรือ น้านมข้าวโอ๊ต ผงปรุงรสและผลิตภัณฑ์ปรุงรส และ ผลิตภัณฑ์โปรตีนสกัดจากเยื่อเปลือกไข่ (Eggshell membrane) ปริมาณที่เหมาะสม 5 7 EC 3 . 5 . 1 . 1 แอสพาราจิเนส ( Asparaginase ) แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ ( Aspergillus niger) ที่มีหน่วยพันธุกรรมจาก แอสเพอร์จิลลัส ไนเจอร์ (Aspergillus niger ) สารช่วยในการผลิต เพื่อลดการเกิดสารอะ ค ริลาไมด์จาก การทำปฏิกิริยาระหว่างแอสพาราจีนและน้าตาลรีดิวซ์ ใน ระหว่างการอบ หรือทอด ปริมาณที่เหมาะสม แอสเพอร์จิลลัส ออไรซี ( Aspergillus oryzae) ที่ มีหน่วยพันธุกรรมจาก แอสเพอร์ จิลลัส ออไรซี (Aspergillus oryzae ) 5 8 EC 3 . 5 . 1 . 2 กลูทามิเนส ( Glutaminase ) บาซิลลัส แอมีโลลิเคอฟาเซียนส์ ( Bacillus amyloliquefaciens ) สารช่วยในการผลิตเพื่อย่อย L - glutamine ในกระบวน การ ผลิตสารปรุงแต่งรสชาติ หรือผลิตภัณฑ์ปรุงรส เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม 59 EC 3 . 5 . 1 . 44 โพรทีน - กลูทามีน กลูทามิเนส ( Protein - glutamine glutaminase) ไครซีโอแบคทีเรียม โพรทีโอไลทิคัม 9670 ( Chryseobacterium proteolyticum 9670 ) สารช่วยในการผลิตอาหารที่วัตถุดิบมีโปรตีนเป็น องค์ประกอบ เช่น ผลิตภัณฑ์นม ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์จากเนื้อปลา รวมทั้งผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ พาสต้ำ ก๋วยเตี๋ยว ผลิตภัณฑ์จากธัญพืช ผลิตภัณฑ์ปรุงรสจากยีสต์ หรือผลิตภัณฑ์อาหารที่มีไข่เป็นส่วนประกอบ เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม 6 0 EC 3 . 5 . 4 . 6 เอเอ็มพี ดีแอมิเนส ( AMP deaminase ) แอสเพอร์จิลลัส เมลเลียส ( Aspergillus melleus ) สารช่วยในการผลิตสารสกัดจากยีสต์ ( yeast extract ) ปริมาณที่เหมาะสม

  • 22 - ลำดับ ที่ รหัสตัวเลข (1) ชื่อเอนไซม์ ( 2 ) แหล่งของเอนไซม์ เงื่อนไขการใช้ ปริมาณสูงสุดที่ อนุญาตให้ใช้ 6 1 EC 4 . 1 . 1 . 5 แอซีโทแล็กเทต ดีคาร์บอกซิเลส ( Acetolactate Decarboxylase ) บาซิลลัส ซับทิลิส ( Bacillus subtilis ) ที่มี หน่วยพันธุกรรมจาก บาซิลลัส เบรวิส ( Bacillus brevis) สารช่วยในการผลิตเบียร์ หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ปริมาณที่เหมาะสม 6 2 EC 5 . 3 . 1 . 5 ไซโลส ไอโซเมอเรส ( Xylose isomerase ) หรือ กลูโคส ไอโซเมอเรส ( Glucose isomerase ) แอกทิโนพลานีส มิสซูริเอนซิส ( Actinoplanes missouriensis ) สารช่วยในการผลิตอาหารซึ่งวัตถุดิบมีแป้งเป็น องค์ประกอบ เช่น น้าเชื่อมจากแป้งข้าวโพดที่มี ฟรักโทส สูง ( High fructose syrup; HFS ) และน้าเชื่อมอื่น ๆ ที่มี ฟรักโทสเป็นส่วนประกอบ ปริมาณที่เหมาะสม บาซิลลัส โคแอกูแลนส์ ( Bacillus coagulans ) สเตรปโทไมซีส โอลิวาเซียส ( Streptomyces olivaceus ) สเตรปโทไมซีส โอลิโวโครโมเจน ( Streptomyces olivochromogen ) สเตรปโทไมซีส รู บิจิโนซัส ( Streptomyces rubiginosus ) สเตรปโทไมซีส ไวโอเลซีโอไนเจอร์ ( Streptomyces violaceoniger ) สเตรปโทไมซีส รู บิจิโนซัส ( Streptomyces rubiginosus ) ที่มีหน่วยพันธุกรรม จาก ส เตรปโทไมซีส รู บิจิโนซัส ( Streptomyces rubiginosus ) สเตรปโทไมซีส มูรีนัส ดีเอสเอ็ม 3252 ( Streptomyces murinus DSM 3252 ) หมายเหตุ (1) หมายถึง รหัส หรือระบบ ตัวเลข ของเอนไซม์ตามข้อตกลงของคณะกรรมการเอนไซม์ ( Enzyme Commission ; EC ) แห่งสหภาพสากลแห่งชีวเคมี ( International Union of Biochemistry and Molecular Biology, IUBMB) (2) หมายถึง ชื่อ สามัญ (Accepted name) ชื่อเรียกตามระบบ ( systemamtic name) หรือชื่ออื่น ( Other name ) ของเอนไซม์ ตามข้อตกลงของคณะกรรมการเอนไซม์ แห่งสหภาพสากลแห่งชีวเคมี ทั้งนี้ รหัสตัวเลข และ ชื่อของเอนไซม์ อาจมี กำรเปลี่ยนแปลง ตาม มติของคณะกรรมการเอนไซม์ แห่งสหภาพสากลแห่งชีวเคมี

  • 1 - บัญชีหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 44 3 ) พ.ศ. 2566 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง เอนไซม์สำหรับใช้ในการผลิตอาหาร รายการข้อมูลหรือหลักฐานประกอบการประเมินความปลอดภัย ลำดับ รายการข้อมูล คำอธิบาย 1 ข้อมูลคุณลักษณะเฉพาะของเอนไซม์ 1.1 ชื่ อ ของเอนไซม์ ระบุชื่อ ตาม ระบบ I UBMB ชื่อสามัญ ชื่อทางการค้า ชื่อพ้อง และตัวย่อ 1.2 รหัสตัวเลขของเอนไซม์ตามระบบ สากล เช่น EC Number , IUBMB number , INS number หรือ CAS number ( ถ้ามี) 1.3 องค์ประกอบโครงสร้างของเอนไซม์ กรณีเอนไซม์ที่ได้จากสิ่งมีชีวิตซึ่งไม่มีประวัติการใช้เป็นอาหาร หรือ สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ให้แสดงรายละเอียดข้อมูล ดังต่อไปนี้ (1) มวลโมเลกุล ( Molecular Mass ) (2) ลำดับของกรดอะมิโน ( Amino acid sequence ) 1.4 ประวัติการใช้เอนไซม์ในการผลิต อาหาร ประวัติการใช้เอนไซม์ชนิดนี้ในการผลิตอาหาร 1.5 คุณสมบัติของเอนไซม์ อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับ (1) กิจกรรมหลักของเอนไซม์ ( Active principle ) , ลักษณะจำเพาะ ของเอนไซม์ต่อสารตั้งต้น เช่น พันธะ หรือตำแหน่งของสารตั้งต้นที่ จะถูกย่อยโดยเอนไซม์ ปฏิกิริยาและผลผลิตที่ได้ และโคแฟกเตอร์ที่ ต้องใช้ (2) สภาวะที่เหมาะต่อการทำงานของเอนไซม์ (3) ผลิตภัณฑ์พลอยได้ หรือผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ ( subsidiary / side activities ) ซึ่งเกิดจากการทำงานของเอนไซม์ รวมถึงวิธีการตรวจวัดผลพลอยได้นั้นๆ (ถ้ามี) 1.6 ปฏิกิริ ยาที่เกิดขึ้นและวิถีของเอนไซม์ นั้น ๆ ในอาหาร ( Reactions and Fate of Enzyme in Food ) อธิบายถึงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเมื่อใช้เอนไซม์ในกระบวนการผลิตอาหาร การเกิดปฏิกิริยาระหว่างเอนไซม์กับสารต่าง ๆ ในอาหารในระหว่าง กระบวนการผลิต การปรุงหรือประกอบอาหาร ตลอดจนถึงวิธีการที่ทา ให้เอนไซม์นั้นถูกกำจัดออก ถูกทำลายหรือถูกทำให้เสื่อมลงไป 1.7 วิธีการตรวจวิเคราะห์กิจกรรมของ เอนไซม์ อธิบายถึงวิธีการทดสอบกิจกรรมของเอนไซม์ที่เป็นมาตรฐานและ ยอมรับในระดับสากล โดย อ้างอิงตามที่กำหนดไว้ใน Combined Compendium of Food Additive Specification หรือ Food Chemical Codex ซึ่งวิธีการตรวจวิเคราะห์จะต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ (1) มีความจำเพาะ ( specificity ) (2) แสดงข้อจำกัดของการตรวจวัด ( LOD หรือ LOQ ) (3) ความถูกต้อง ( accuracy )

  • 2 - ลำดับ รายการข้อมูล คำอธิบาย (4) ความแม่นยา ( precision ) กรณีเป็นวิธีการตรวจวิเคราะห์ที่ไม่สอดคล้องตามที่กำหนดไว้ ต้อง แนบเอกสารแสดงวิธีตรวจวิเคราะห์พร้อมคำรับรอง ความเทียบเท่า 1.8 ลักษณะปราก ฏ และ ความไม่บริสุทธิ์ ( impurities ) ที่อาจเกิดขึ้นใน กระบวนการผลิต เอนไซม์ อธิบายลักษณะปราก ฎ และแสดง ผลการตรวจวิเคราะห์ปริมาณสาร ปนเปื้อน เช่น โลหะหนัก สารพิษจากเชื้อรา ที่อาจเกิดขึ้นในระหว่าง กระบวนการผลิต พร้อมทั้งระบุวิธีการป้องกัน หรือกำจัดสารปนเปื้อน เหล่านั้น รวมทั้งระบุวิธีการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนเหล่านี้ 1.9 ข้อกำหนดคุณภาพมาตรฐานของ เอนไซม์ที่ผู้ผลิตกำหนดไว้ ข้อกำหนดคุณภาพมาตรฐานที่กาหนดควรสอดคล้องตามที่กำหนดไว้ใน General Specifications and Considerations for Enzyme Preparations used in Food Processing และต้องประกอบด้วย ข้อมูลดังต่อไปนี้ เป็นอย่างน้อย ( 1 ) ชื่อ และแหล่งของเอนไซม์ ( Enzyme Nomenclature and source ) (2) ชื่อเอนไซม์ที่ออกฤทธิ์ ( Active Component ): (3) คุณลักษณะทางกายภาพ ( 4 ) แอก ทิ วิตี ( Activity ) ของเอนไซม์และหน่วยที่วัด (5) สภาวะที่เหมาะสมของการใช้งาน รวมทั้งวิธีการใช้ที่แนะนา (6) ข้อจำกัดของสารแปลกปน (7) การบรรจุและการเก็บรักษา 2 แหล่งของเอนไซม์ และกระบวนการผลิต 2.1 แหล่งของเอนไซม์ ระบุสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ผลิต หรือผู้ให้เอนไซม์ แล้วแต่กรณี ดังนี้ (1) กรณีเป็นเอนไซม์ซึ่งได้จากสัตว์ ระบุชื่อวิทยาศาสตร์ รวมทั้งส่วน ของสัตว์ที่นามาสกัด เอนไซม์ (2) กรณี เป็นเอนไซม์ ซึ่งได้จากพืช ระบุชื่อวิทยาศาสตร์ของพืช รวมทั้งส่วนของพืชที่ นามาสกัด เอนไซม์ (3) กรณีเป็นเอนไซม์ซึ่งได้จาก เชื้อจุลินทรีย์ ระบุ ชนิดพันธ ุ ์ ( species ) และ สายพันธุ์ ( strain ) พร้อมทั้ง รายละเอียด จาเพาะของ จุลินทรีย์สายพันธ ุ ์ นั้น ๆ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างสารพิษ การก่อโรค การบริโภคเป็นอาหาร การสร้างต้านสารจุลชีพ รวมถึงวิธีการ เก็บรักษาเชื้อต้นแบบ และการควบคุมการกลายพันธุ์ ของเชื้อจุลินทรีย์ ต้นแบบที่ใช้ในแต่ละรุ่นการผลิต ( 4 ) กรณีที่เป็นเอนไซม์ซึ่งได้จาก จุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรม ต้องมีรายละเอียดข้อมูล ดังต่อไปนี้ 1 . รายละเอียดของจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรม ได้แก่ 1 . 1 ชนิดของจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรม (แบคทีเรีย ยีสต์ หรือราเส้นใย) 1 . 2 สายพันธุ์ของจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรม ( strain ) 1 . 3 ลักษณะพันธุกรรมที่ดัดแปร

  • 3 - ลำดับ รายการข้อมูล คำอธิบาย 1 . 4 วัตถุประสงค์ของการดัดแปรพันธุกรรม 1.5 ระดับความเสี่ยงของจุลินทรีย์ที่ดัดแปรพันธุกรรม 2 . รายละเอียดของจุลินทรีย์ผู้รับหน่วยพันธุกรรม ( recipient )/ จุลินทรีย์เจ้าบ้าน ( host ) 2 . 1 ชื่อวิทยาศาสตร์ 2.2 ชื่อสามัญ (ถ้ามี) 2 .3 การจำแนกทางอนุกรมวิธาน 2 . 4 หมายเลขทะเบียนสายพันธุ์ที่ระบุไว้กับแหล่งเก็บรักษาเชื้อ ต้นแบบ ( accession number ) หรือรายละเอียดที่ระบุไว้กับแหล่งเก็บ รักษาเชื้อต้นแบบ 2 . 5 ประวัติการใช้ การเพาะเลี้ยง การพัฒนาสายพันธุ์ และลักษณะ ที่อาจมีผลกระทบเชิงลบต่อสุขภาพมนุษย์ 2 . 6 ข้อมูลทางพันธุกรรม ( genotype ) และลักษณะที่ปราก ฏ ( phenotype ) ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ได้แก่ การสร้างสารพิษ การสร้างสารปฏิชีวนะ การต้านสารปฏิชีวนะ การก่อให้เกิดโรคใน มนุษย์หรือสัตว์ที่มีสุขภาพดี ผลกระทบต่อภูมิคุ้มกัน ความเสถียรของ พันธุกรรมของจุลินทรีย์ผู้รับหน่วยพันธุกรรม รวม ทั้งการมีดีเอ็นเอที่ เคลื่อนย้ายได้ตามความเหมาะสม 3 . รายละเอียดของสิ่งมีชีวิตผู้ให้หน่วยพันธุกรรม ( donor ) 3. 1 ในกรณีที่มีสิ่งมีชีวิตเป็นผู้ให้หน่วยพันธุกรรม ให้ระบุ 3 . 1 . 1 ชื่อวิทยาศาสตร์ 3 .1.2 ชื่อสามัญ (ถ้ามี) 3 .1.3 การจำแนกทางอนุกรมวิธาน 3 .1.4 หมายเลขทะเบียนสายพันธุ์ที่ระบุไว้กับแหล่งเก็บรักษา เชื้อต้นแบบ ( accession number ) หรือรายละเอียดที่ระบุไว้กับแหล่ง เก็บรักษาเชื้อต้นแบบ 3 .1.5 ข้อมูลความปลอดภัยทางด้านอาหาร 3 .1.6 ข้อมูลทางพันธุกรรม ( genotype ) และลักษณะที่ปราก ฏ ( phenotype ) ที่เกี่ยวข้องกับความป ลอดภัย ได้แก่ การสร้างสารพิษ การสร้างสารปฏิชีวนะ การต้านสารปฏิชีวนะ การก่อให้เกิดโรคใน มนุษย์หรือสัตว์ที่มีสุขภาพดี และผลกระทบต่อภูมิคุ้มกัน 3. 2 ในกรณีที่เป็นดีเอ็นเอสังเคราะห์ และไม่มีที่มาจากหน่วย พันธุกรรมที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ให้ระบุ 3 . 2 . 1 หน้าที่และบทบาทของดีเอ็นเอสังเคราะห์ 3. 2 .2 ลำดับเบสของดีเอ็นเอสังเคราะห์

  • 4 - ลำดับ รายการข้อมูล คำอธิบาย 4 . รายละเอียดของกระบวนการดัดแปรพันธุกรรม 4 . 1 วิธีการถ่ายยีน 4 . 2 ข้อมูลของดีเอ็นเอที่ใช้ในการดัดแปร ได้แก่ 4.2.1 ยีนเป้าหมายที่ควบคุมลักษณะที่ต้องการโดยระบุความ เป็นไปได้ในการก่อให้เกิดอันตรายของลาดับนิวคลีโอไทด์และลำดับกรด แอมิโนที่แสดงออก 4.2.2 ยีนเครื่องหมาย 4.2.3 โปรโมเตอร์ 4.2.4 เทอร์มิเนเตอร์ 4.2.5 องค์ประกอบอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น ยีนอื่นที่อาจได้รับ ผลกระทบจำกการทำงานของยีนนี้ 5 . ลักษณะของการดัดแปรพันธุกรรม 5 . 1 ข้อมูลการดัดแปรพันธุกรรมในจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรม 5 . 1 . 1 ลักษณะและรายละเอียดของดีเอ็นเอที่เพิ่ม แทรก ตัด ออก หรือวัสดุพันธุกรรมที่ดัดแปร รวมทั้งพลาสมิดหรือพาหะชนิดอื่นที่ ใช้ในการถ่ายทอดดีเอ็นเอที่ต้องการ โดยวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการ เคลื่อนย้าย 5 . 1 . 2 จำนวนตำแหน่งที่มีการแทรกของดีเอ็นเอ 5 . 1 . 3 การเรียงตัวของหน่วยพันธุกรรมในแต่ละตาแหน่งที่มีการ สอดแทรก ดัดแปร หรือตัดออกของดีเอ็นเอ และจานวนชุด ( copy ) ของดีเอ็นเอในแต่ละตำแหน่งการสอดแทรก 5 . 1 . 4 การวิเคราะห์ช่วงการถอดรหัส ( open reading frame ) ของดีเอ็นเอที่สอดแทรก หรือช่วงระหว่างดีเอ็นเอที่สอดแทรกที่ติดกัน ในโครโมโซมหรือพลาสมิด 5 . 1 . 5 ความเป็นไปได้ในการก่อให้เกิดโปรตีนชนิดที่อาจ ก่อให้เกิดอันตราย เช่น การก่อให้เกิดภูมิแพ้ของลาดับนิวคลีโอไทด์และ ลำดับกรดแอมิโนตามที่มีรายงานไว้ 5 . 2 ข้อมูลผลผลิตที่เกิดจากการแสดงออกของยีนในจุลินทรีย์ดัด แปรพันธุกรรม 5 . 2 . 1 ผลิตผลที่ได้จากการดัดแปรพันธุกรรม (โปรตีน หรืออาร์ เอ็นเอที่ยังไม่ได้รับการแปลรหัส) หรือข้อมูลอื่น ๆ เช่ น การวิเคราะห์ ผลิตผลที่ได้จากการถอดรหัสแล้ว หรือผลิตผลที่มีการแสดงออกเพื่อให้ สามารถระบุสารชนิดใหม่ใด ๆ ที่อาจปรากฏในอาหาร 5 . 2 . 2 หน้าที่ของผลิตผลที่เกิดจากการดัดแปรพันธุกรรม 5 . 2 . 3 รายละเอียดของลักษณะใหม่ที่ปรากฏ

  • 5 - ลำดับ รายการข้อมูล คำอธิบาย 5 . 2 . 4 ระดับและตำแหน่งการแสดงออกของผลิตผลจากยีน และ สารเมแทโบไลต์ที่เกิดจากผลิตผลจากยีน • กรณีของแบคทีเรียแกรมลบให้ระบุว่าผลิตผลจากยีน นั้นอยู่ภายในเซลล์ หรือในบริเวณ periplasm • กรณีจุลินทรีย์จำพวกยูคาริโอตให้ระบุว่าอยู่ใน โครงสร้างจาเพาะภายในเซลล์ ( organelle ) หรือมี การขับออกมานอก เซลล์ ( secretion ) 5 . 2 . 5 ปริมาณผลิตผลจากยีนที่แทรก ถ้าการแสดงออกของยีน นั้นทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระดับอาร์เอ็นเอส่งข่าวจาเพาะ ( specific endogenous mRNA ) หรือโปรตีน 5 . 2 . 6 การไม่พบผลิตผลจากยีน หรือไม่พบการเปลี่ยนแปลงของ สารเมแทโบไลต์ที่เกี่ยวข้อง กับผลิตผลจากยีน ในกรณีที่ผลนั้นเป็นไป ตามเจตนาของการดัดแปรพันธุกรรม 5 . 3 ข้อมูลอื่นๆ ได้แก่ 5 . 3 . 1 การจัดเรียงตัวของหน่วยพันธุกรรมที่ใช้ในการถ่ายยีนมี ความคงตัว หรือมีการจัดเรียงตัวใหม่ หลังจากการสอดแทรก 5 . 3 . 2 การเปลี่ยนแปลงลำดับกรดแอมิโนอันเป็นผลจากการดัด แปรพันธุกรรม ส่งผลต่อการดัดแปรโปรตีนภายหลังการแปลรหัสหรือมี ผลกระทบต่อโครงสร้างและหน้าที่ของโปรตีน 5 . 3 . 3 ผลที่เจตนาให้เกิดขึ้นเป็นไปตามวัตถุประสงค์ คงตัว และ สามารถถ่ายทอดได้ตามกฎของการถ่ายทอดทางพันธุกรรม 5 . 3 . 4 กำรแสดงออกของลักษณะใหม่เป็นไปตามคาดหวัง และ อยู่ในตำแหน่งของเซลล์ที่เหมาะสม โดยการแสดงออกเป็นไปในระดับที่ สอดคล้องกับยีนที่ควบคุมการแสดงออก 5 . 3 . 5 ผลกระทบจากกระบวนการดัดแปรพันธุกรรมต่อยีน ในจุลินทรีย์ผู้รับ/เจ้าบ้าน 5 . 3 . 6 ข้อมูลที่ยืนยันเอกลักษณ์ ( identity ) และ รูปแบบการ แสดงออกของโปรตีนผสม ( fusion protein ) ที่อาจเกิดขึ้นใหม่ 6 . การจำกัด และตรวจสอบการคงเหลือของจุลินทรีย์ดัดแปร พันธุกรรมและชิ้นส่วนของหน่วยพันธุกรรมในผลิตภัณฑ์สุดท้าย 6 . 1 แสดงข้อมูลวิธีการ หรือขั้นตอนการกาจัดสิ่งมีชีวิตดัดแปร พันธุกรรมและดีเอ็ นเอออกจากผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ 6.2 ผลการตรวจสอบเซลล์ของจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรม 6 .3 ผลการตรวจสอบชิ้นส่วนของหน่วยพันธุกรรม

  • 6 - ลำดับ รายการข้อมูล คำอธิบาย 2 .2 รายละเอียด วิธีการผลิต/ กระบวนการผลิตเอนไซม์ รายละเอียดเกี่ยวกับวัตถุดิบที่ใช้ในกระบวนการ ผลิต หรือกระบวนการ หมักจุลินทรีย์ รวมถึงปัจจัยที่ต้องควบคุม เช่น อุณหภูมิ ปริมาณ สารอาหาร ปริมาณก๊าซ ชื่อสารเคมีที่ใช้ในกระบวนการหมัก วิธีการทำให้ บริสุทธิ์ โดยมีการแสดงแผนผังกระบวนการผลิตเอนไซม์ประกอบด้วย 2 .3 สูตรส่วนประกอบของเอนไซม์เตรียม สำเร็จ รวมถึง กระบวนการตรึง เอนไซม์ รายละเอียดส่วนประกอบของวัตถุในเอนไซม์เตรียมสำเร็จ พร้อมระบุ สัดส่วนโดยคำนวณปริมาณของเอนไซม์เป็น %TOS ทั้งนี้รวมถึง ขั้นตอน และรายละเอียดของกระบวนการตรึงเอนไซม์ สารที่ใช้ในการตรึง รวมทั้งคุณสมบัติ และลักษณะของสารนั้น 3 ข้อมูลด้านความปลอดภัย 3 .1 กรณีที่เป็นเอนไซม์ซึ่งได้จากแหล่งที่ไม่มีประวัติการบริโภคเป็นอาหารหรือแหล่งที่ไม่มีปะวัติการใช้ใน กระบวนการผลิตอาหารหรือเป็นเอนไซม์ที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม 1 ’ 2 จะต้องมีรายละเอียดข้อมูล ด้านความปลอดภัย ดังต่อไปนี้ 3 .1.1 การศึกษาเกี่ยวกับการเกิดพิษกึ่ ง เรื้อรัง ข้อมูลการศึกษา โดยมีการออกแบบการทดสอบตาม Organization for Economic Co - operation and Development ( OECD Guideline 408, 2000a ) แล้วแต่กรณี ดังนี้ - Repeated Dose 90 - Day Oral Toxicity Study in Rodents หรือ - Repeated Dose 90 - Day Oral Toxicity Study in Non - Rodents 3 .1.2 ผลการประเมินความเป็นพิษต่อยีน ประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับการทดสอบการกลายพันธุ์ในแบคทีเรีย ( Ames test, OECD Guideline 471 ) หรือ mouse lymphoma tk assay และการทดลองในโครโมโซม ( chromosomal aberration / micronucleus assay, OECD Guideline 476 ) 1 ยกเว้น กรณีดังต่อไปนี้ 1.1 เอนไซม์ซึ่งได้จาก จุลินทรีย์ที่ผ่านกระบวนการพัฒนาแบบ self - cloning ซึ่งเป็นการนาชิ้นดีเอ็นเอหรือยีน ( nucleic acid sequences) ออกจากเซลล์ โดยจะมีการนากลับเข้าไปทั้งชิ้นหรือบางส่วน รวมทั้งที่สังเคราะห์ขึ้นแต่มีลาดับเบส เหมือนเดิม โดยก่อนที่จะนากลับเข้าไปนั้น อาจผ่านกระบวนการที่ ใช้เอนไซม์หรือวิธีการทางกล ( mechanical steps) หรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้รวมทั้งการนาเข้าไปในจุลินทรีย์ชนิด ( species) เดียวกันหรือชนิดใกล้เคียงกันที่สามารถแลกเปลี่ยนสาร พันธุกรรมได้ตามธรรมชาติ โดยจุลินทรีย์ที่ได้ต้องไม่ก่อโรคในคน สัตว์ และพืช นอกจากนั้น อาจรวมถึงก ำรใช้พาหนะ สังเคราะห์ ( recombinant vector) ที่มีประวัติการใช้งานอย่างปลอดภัยในจุลินทรีย์เจ้าบ้านชนิดนั้น ๆ ด้วย โดยพิจารณา เป็นรายกรณี 1.2 เอนไซม์ที่ใช้ในกระบวนการผลิตอาหาร ที่มีเอกสารหรือหลักฐานซึ่งพิสูจน์ได้ว่า ไม่มีชิ้นส่วนของเอนไซม์ตกค้างในทุก รายการ อาหาร ที่ ใช้เอนไซม์ นั้น 2 กรณีเอนไซม์ที่ได้จาก จุลินทรีย์ ซึ่ง มีประวัติการใช้อย่างปลอดภัย สามารถใช้ข้อมูลการทดสอบด้านพิษวิทยาของจุลินทรีย์ที่อยู่ ในชนิด ( species ) และสายการพัฒนาเดียวกัน ( safe strain lineage) ได้

  • 7 - ลำดับ รายการข้อมูล คำอธิบาย 3 .1.3 การก่อภูมิแพ้ ( Allergenicity ) ข้อมูลการเทียบลาดับของกรดอะมิโนของเอนไซม์ และ/หรือโครงสร้าง ของเอนไซม์ ( amino acid sequence and / or structural similarities ) กับลำดับกรดอะมิโนของโปรตีนที่ทราบว่าเป็นสารก่อภูมิแพ้หรือ สารพิษอื่น ๆ โดยเปรียบเทียบอย่างน้อย 2 ฐานข้อมูล และใช้ ฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน แต่ต้องไม่เกิน 3 ปี นับถึงวันที่ยื่นข้อมูล 3 .1.4 ข้อมูลปริมาณการได้รับสัมผัส ( dietary exposure ) และการอธิบาย ลักษณะของความเสี่ยง 1. ประเมินการได้รับสัมผัส กรณีร้ายแรง จากข้อมูลดังนี้ 1.1 ข้อมูลการบริโภคอาหารที่ต้องการใช้เอนไซม์ช่วยในการผลิต ของประชากรในประเทศไทย 3 1.2 ข้อมูล Conversion factor จากสูตรส่วนประกอบมาตรฐานของ อาหารชนิดนั้น ( standard recipe ) หรือ ค่าอ้างอิงตาม Food and Agriculture Organization of the United Nations 1.3 ข้อ มูล ปริมาณสู งสุดของเอนไซม์ที่แนะนาให้ใช้ในอาหารแต่ละ ชนิด โดยคำนวณเป็น mg ( TOS )/ kg food 2 . ประเมินลักษณะของความเสี่ยง โดยคำนวณค่า margin of exposure ( MOE ) ด้วยการนาค่าปริมาณการได้รับสัมผัสเทียบกับค่า point of departure ( POD ) ซึ่งได้แก่ ค่า NOEL หรือ NOAEL หรือ benchmark dose Level ที่ได้จากการศึกษาความเป็นพิษกึ่งเรื้อรัง ( subchronic oral toxicity studies ) 3 .1. 5 ค่าความปลอดภัยอ้างอิง ( Acceptable Daily Intake : ADI ) การกำหนดค่าความปลอดภัยอ้างอิง ( ADI ) โดยอ้างถึงข้อมูลอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ (ก) ขนาดสูงสุดของเอนไซม์ที่ให้แก่สัตว์ทดลองแล้วไม่สังเกตเห็น ความผิดปกติ ( no - observed - effect level : NOEL ) และ/หรือ the no - observed - adverse - effect level ( NOAEL ) (ข) ปัจจัยความปลอดภัย ( safety factor ) ในการคำนวณ (ค) ข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นพิษและปฏิกิริยาการตอบสนอง ของ ร่างกาย ( toxicological versus physiological responses ) (ง) ค่า MOE 3.2 กรณี อ้างอิงข้อมูล การทดสอบด้านพิษวิทยา จาก จุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรมที่อยู่ใน ชนิด ( species ) และสาย การ พัฒนาเดียวกั น ( safe strain lineage) จะต้องมีรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติม ดังนี้ 3.2.1 ประวัติของจุลินทรีย์ เช่น เอกสารแสดงสถานะของจุลินทรีย์ตามฐานข้อมูล Qualified Presumption of Safety (QPS) ของ European Food Safety (EFSA) และข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างจุลินทรีย์ทั้งสองสายพันธ ุ ์ 3 ยกเว้น ผลิตภัณฑ์ อาหารที่มีเอกสารหรือหลักฐานซึ่งพิสูจน์ได้ว่าไม่มีการตกค้างของชิ้นส่วนเอนไซม์

  • 8 - ลำดับ รายการข้อมูล คำอธิบาย 3.2.2 ข้อมูลลาดับกรดอะมิโนของเอนไซม์ ข้อมูลลาดับกรดอะมิโนของเอนไซม์จากจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรมทั้ง สองสายพันธุ์ 3 .3 กรณีที่เอนไซม์ได้จากแหล่งซึ่ง มีประวัติการบริโภคเป็นอาหาร หรือใช้ในกระบวนการผลิตอาหาร 3 .3.1 พืชหรือสัตว์ แนบเอกสาร หรือหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าแหล่งของเอนไซม์นั้นได้จาก ส่วนของพืชหรือสัตว์ที่บริโภคได้ 3 .3.2 จุลินทรีย์ แนบเอกสารหรือหลักฐานที่แสดงว่าเป็นจุลินทรีย์มีประวัติการใช้เป็น อาหาร หรือแนบเอกสาร หลักฐานที่แสดงว่าจุลินทรีย์ชนิดนั้น ๆ ผ่าน การประเมินความปลอดภัยและอนุญำตสาหรับใช้ในการผลิตอาหาร แล้ว เช่น เอกสาร Qualified Presumption of Safety ( QPS ) หรือ Bulletin of the International Dairy Federation ( IDF ) เป็นต้น 4 รายงานผลการประเมินหรือเอกสารทางกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) 4 .1 รายงานผลการประเมินความ ปลอดภัยหรือความเห็นจากหน่วย ประเมินความปลอดภัยของประเทศ ต่าง ๆ รายงานผลการประเมินความปลอดภัยหรือความเห็นจากหน่วยประเมิน ความปลอดภัยของประเทศต่าง ๆ เช่น เกาหลีใต้ แคนนาดา สหภาพ ยุโรป สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย - นิวซีแลนด์ เป็นต้น 4 . 2 เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หนังสือตอบ หรือเอกสารการอนุญาตจากหน่วยงานราชการ หรือ เอกสารแสดงสิทธิบัตรซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับเทคนิค หรือวิธีการผลิต เอนไซม์ เป็นต้น

บัญชีหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข ( ฉบับที่ 44 3 ) พ.ศ. 2566 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง เอนไซม์สำหรับใช้ในการผลิตอาหาร ข้อมูลประกอบการพิจารณาความจำเป็น ลำดับ รายการเอกสาร คำอธิบายเพิ่มเติม 1 ข้อมูลสรุปเกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะของเอนไซม์ พร้อมเอกสารแนบ 1 .1 ชื่อ และกลุ่มของเอนไซม์ ระบุชื่อทางเคมี ชื่อสามัญ ชื่อทางการค้า ชื่อพ้อง และตัวย่อ 1 .2 รหัสตัวเลขของเอนไซม์ตามระบบ สากล (ถ้ามี) ระบุ CAS number , EC Number, IUBMB number หรือ INS Number เป็นต้น 1 . 3 คุณสมบัติของเอนไซม์ ระบุข้อมูลเกี่ยวกับ (1) กิจกรรมหลักของเอนไซม์ ( Active principle ) , ลักษณะจาเพาะ ของเอนไซม์ต่อสารตั้งต้น เช่น พันธะ หรือตำแหน่งของสารตั้งต้นที่ จะถูกย่อยโดยเอนไซม์ ปฏิกิริยาและผลผลิตที่ได้ และโคแฟกเตอร์ ที่ ต้องใช้ (2) สภาวะที่เหมาะต่อการทำงานของเอนไซม์ (3) ผลพลอยได้ ( subsidiary / side activities ) หรือผลพลอยได้ที่ไม่ พึงประสงค์ที่เกิดจากการทำงานของเอนไซม์ในสภาวะที่ไม่ เหมาะสม รวมถึงวิธีการตรวจวัดผลพลอยได้นั้น ๆ (ถ้ามี) 2 ข้อมูล สรุปเกี่ยวกับ ความจำเป็น ของการใช้เอนไซม์ในกระบวนการผลิต พร้อมเอกสารแนบ 2 .1 ความจำเป็นของการใช้เอนไซม์ สาหรับการผลิตอาหารแต่ละชนิด ที่จะเสนอขอใช้ ข้อมูล งานวิจัย พร้อมทั้งเอกสารอ้างอิงที่น่าเชื่อถือที่แสดงถึง ประสิทธิภาพและความจำเป็นของการใช้เอนไซม์นั้น ๆ โดยระบุ ปริมาณ ซึ่งคานวณเป็น TOS และวัตถุประสงค์การใช้หรือหน้าที่ทาง เทคโนโลยีการผลิต 2 . 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการนำไปใช้ แนบรายละเอียด ลักษณะ วิธีการนาเอนไซม์ไปใช้ในกระบวนการ ผลิตอาหารอย่างละเอียด โดยรวมถึงกระบวนการผลิตที่มีผลต่อการ ทำงานหรือหยุดการทำงาน หรือการกำจัดเอนไซม์ออกจากผลิตภัณฑ์ อาหารโดยละเอียด 2 . 3 เอกสารทางกฎมายที่เกี่ยวข้อง อื่น ๆ (ถ้ามี) • กฎหมายหรือกฎระเบียบที่แสดงว่ามีการอนุญาตให้ใช้เอนไซม์ นั้น ๆ ในผลิตภัณฑ์อาหารที่จะเสนอขอใช้ในประเทศที่มีระบบ ประเมินความปลอดภัยที่น่าเชื่อถือ เช่น สหภาพยุโรป ออสเตรเลีย - นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น • เอกสารแสดงสิทธิบัตร

  • 1 - บัญชีหมายเลข 4 แนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข ( ฉบับที่ 44 3 ) พ.ศ. 2566 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง เอนไซม์สำหรับใช้ในการผลิตอาหาร รายการวัตถุเจือปนอาหารที่อนุญาตให้ใช้ในเอนไซม์ INS No . ชื่อวัตถุเจือปนอาหาร ปริมาณสูงสุดที่อนุญาตให้ใช้ใน เอนไซม์ปรุงสำเร็จ ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในเครื่องดื่ม ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในผลิตภัณฑ์อาหารอื่น INS 170 ( i ) Calcium carbonate (แคลเซียม คาร์บอเนต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 200 Sorbic acid (กรดซอร์บิก) 20,000 มิลลิกรัม ต่อ กิโลกรัม (ใช้อย่างเดียวหรือรวมกัน โดย คำนวณเป็นกรดซอร์บิก) 10 มิลลิกรัม ต่อลิตร 20 มิลลิกรัม ต่อ กิโลกรัม INS 202 Potassium sorbate (โพแทสเซียม ซอร์เบต) INS 210 Benzoic acid (กรดเบนโซอิก) (1) 5,000 มิลลิกรัม ต่อ กิโลกรัม (ใช้อย่างเดียวหรือรวมกัน โดย คำนวณเป็นกรดเบนโซอิก (2) 12,000 มิลลิกรัม ต่อ กิโลกรัม (เฉพาะเอนไซม์เรนเน็ต) 0 . 85 มิลลิกรัม ต่อลิตร 1 . 7 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม INS 211 Sodium benzoate (โซเดียม เบนโซเอต) 2 . 5 มิลลิกรัม ต่อลิตร (เครื่องดื่มที่มีเวย์ซึ่งใช้เอนไซม์ เรนเน็ตเป็นส่วนประกอบ) 5 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม (เนยแข็งที่ใช้เอนไซม์เรนเน็ต) INS 214 Ethyl - p ara - hydroxybenzoate (เอทิลพารา - ไฮดรอกซิเบนโซเอต) หรือ Ethylparaben (เอทิลพาราเบน) 2,000 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม (ใช้อย่างเดียวหรือรวมกัน โดย คำนวณเป็นกรดอิสระ) 1 มิลลิกรัม ต่อลิตร 2 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม INS - Sodium ethyl p ara - hydroxybenzoate (โซเดียม เอทิล พารา - ไฮดรอกซิเบนโซเอต) INS 218 Methyl p ara - hydroxybenzoate (เมทิล พารา - ไฮดรอกซิเบนโซ เอต) หรือ Methylparaben (เมทิลพาราเบน) INS - Sodium methyl p - hydroxybenzoate (โซเดียม เมทิล พารา - ไฮดรอกซิเบนโซเอต)

  • 2 - INS No . ชื่อวัตถุเจือปนอาหาร ปริมาณสูงสุดที่อนุญาตให้ใช้ใน เอนไซม์ปรุงสำเร็จ ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในเครื่องดื่ม ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในผลิตภัณฑ์อาหารอื่น INS 220 Sulfur dioxide (ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์) (1) 2,000 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม (ในรูปสารเดี่ยวหรือผสม กับซัลเฟอร์ไดออกไซด์อิสระ ( SO 2 )) (2) 5,000 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม (เฉพาะเอนไซม์ที่ใช้สำหรับ อุตสาหกรรมการผลิตเบียร์) (3) 6,000 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม (เฉพาะเอนไซม์ บีตาแอมีเลส จาก ข้าวบาร์เลย์) (4) 10,000 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม (เฉพาะเอนไซม์ พาเพน ในรูป ของแข็ง) 2 มิลลิกรัม ต่อลิตร 2 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม INS 221 Sodium sulfite (โซเดียม ซัลไฟต์) INS 222 Sodium hydrogen sulfite (โซเดียม ไฮโดรเจน ซัลไฟต์) INS 223 Sodium metabisulfite (โซเดียม เมทาไบซัลไฟต์) INS 224 Potassium metabisulfite (โพแทสเซียม เมทาไบซัลไฟต์) INS 250 Sodium nitrite (โซเดียม ไนไทรต์) 500 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม ห้ามใช้กับเอนไซม์ ที่ ใช้ในการผลิต เครื่องดื่ม 0 . 01 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม INS 260 Acetic acid (กรดแอซีติก) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 261 ( i ) Potassium acetate (โพแทสเซียม แอซีเทต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 262 ( i ) Sodium acetate (โซเดียม แอซีเทต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 263 Calcium acetate (แคลเซียม แอซีเทต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 270 Lactic acid (กรดแลกติก) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 281 Sodium propionate (โซเดียม โพรพิโอเนต) ปริมาณที่เหมาะสม 50 มิลลิกรัม ต่อลิตร ปริมาณที่เหมาะสม INS 290 Carbon dioxide (คาร์บอน ไดออกไซด์) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 296 Malic acid (กรดมาลิก) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 300 Ascorbic acid (กรดแอสคอร์บิก) หรือ กรดแอล - แอสคอร์บิก ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม

  • 3 - INS No . ชื่อวัตถุเจือปนอาหาร ปริมาณสูงสุดที่อนุญาตให้ใช้ใน เอนไซม์ปรุงสำเร็จ ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในเครื่องดื่ม ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในผลิตภัณฑ์อาหารอื่น INS 301 Sodium ascorbate (โซเดียม แอสคอร์เบต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 302 Calcium ascorbate (แคลเซียม แอสคอร์เบต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 304 Ascorbyl palmitate (แอสคอร์บิล แพลมิเทต) หรือ Vitamin C palmitate (วิตามินซี แพลมิเทต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS - Tocopherol - rich extract (โทคอเฟอรอล สกัดเข้มข้น) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 307a d - alpha - Tocopherol Concentrate (ดี - แอลฟา - โทคอเฟอรอลเข้มข้น หรือ Vitamin E (วิตามินอี) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 307b Tocopherol Concentrate, mixed (โทคอเฟอรอลผสมชนิดเข้มข้น) หรือ Vitamin E (วิตามินอี) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 307c dl - alpha - Tocopherol (ดีแอล - แอลฟา - โทคอเฟอรอล) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 322 ( i ) Lecithin (เลซิติน) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 325 Sodium lactate ( solution ) (สารละลายโซเดียม แล็กแทต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 326 Potassium lactate ( solution ) (สารละลายโพแทสเซียม แล็กแทต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 327 Calcium lactate (แคลเซียม แล็กแทต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 330 Citric acid Monoanhydrate (กรดซิทริก) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 331 ( i ) Sodium dihydrogen citrate (โซเดียม ไดไฮโดรเจน ซิเทรต) หรือ Monosodium citrate (มอโนโซเดียม ซิเทรต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 331 ( iii ) Trisodium citrate (ไทรโซเดียม ซิเทรต) หรือ Sodium citrate (โซเดียม ซิเทรต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 332 ( i ) Potassium dihydrogen citrate (โพแทสเซียม ไดไฮโดรเจน ซิเทรต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 332 ( ii ) Tripotassium citrate (ไทรโพแทสเซียม ซิเทรต) หรือ Potassium citrate (โพแทสเซียม ซิเทรต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 333 ( iii ) Calcium citrate (แคลเซียม ซิเทรต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 334 L (+) - Tartaric acid (กรดแอล (+) - ทาร์ทาริก) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม

  • 4 - INS No . ชื่อวัตถุเจือปนอาหาร ปริมาณสูงสุดที่อนุญาตให้ใช้ใน เอนไซม์ปรุงสำเร็จ ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในเครื่องดื่ม ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในผลิตภัณฑ์อาหารอื่น INS 335 ( ii ) Sodium L (+) - tartrate (โซเดียมแอล (+) - ทาร์เทรต) หรือ Sodium dextro - tartrate (โซเดียม เดกซ์โทร - ทาร์เทรต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS - Potassium tartrates (โพแทสเซียม ทาร์เทรต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 337 Potassium sodium L (+) - tartrate (โพแทสเซียมโซเดียมแอล (+) - ทาร์เทรต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 350 ( i ) Sodium hydrogen DL - malates (โซเดียมไฮโดรเจน ดีแอล - มาเลต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 350 ( ii ) Sodium DL - malates (โซเดียม ดีแอล - มาเลต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 338 Phosphoric acid (กรดฟอสฟอริก) 10,000 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม (ในรูปของฟอสฟอรัส เพนทอกไซด์) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 339 ( i ) Sodium dihydrogen phosphate (โซเดียม ไดไฮโดรเจน ฟอสเฟต) 50,000 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม (ในรูปสารเดี่ยวหรือผสมกับ ฟอสฟอรัสเพนทอกไซด์) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 339 ( ii ) Disodium hydrogen phosphate (ไดโซเดียม ไฮโดรเจน ฟอสเฟต) INS 339 ( iii ) Trisodium phosphate (ไทรโซเดียม ฟอสเฟต) INS 340 ( i ) Potassium dihydrogen phosphate (โพแทสเซียม ไดไฮโดรเจนฟอสเฟต) INS 340 ( ii ) Dipotassium hydrogen phosphate (ไดโพแทสเซียม ไฮโดรเจนฟอสเฟต) INS 340 ( iii ) Tripotassium phosphate (ไทรโพแทสเซียม ฟอสเฟต) INS 341 ( i ) Calcium dihydrogen phosphate (แคลเซียม ไดไฮโดรเจนฟอสเฟต) INS 341 ( ii ) Calcium Hydrogen Phosphate (แคลเซียม ไฮโดรเจน ฟอสเฟต) INS 341 ( iii ) Tricalcium phosphate (ไทรแคลเซียม ฟอสเฟต) INS 343 ( i ) Magnesium dihydrogen phosphate (แมกนีเซียม ไดไฮโดรเจนฟอสเฟต) INS 343 ( ii ) Magnesium hydrogen phosphate (แมกนีเซียม ไฮโดรเจนฟอสเฟต) INS 343 ( iii ) Trimagnesium phosphate (ไทรแมกนีเซียม ฟอสเฟต)

  • 5 - INS No . ชื่อวัตถุเจือปนอาหาร ปริมาณสูงสุดที่อนุญาตให้ใช้ใน เอนไซม์ปรุงสำเร็จ ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในเครื่องดื่ม ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในผลิตภัณฑ์อาหารอื่น INS - Potassium malate (โพแทสเซียม มาเลต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 352 ( ii ) Calcium DL - malate (แคลเซียม ดีแอล - มาเลต) หรือ DL - Monocalcium malate (ดีแอล มอโนแคลเซียม มาเลต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS - Calcium tartrate (แคลเซียม ทาร์เทรต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 380 Triammonium citrate (ไทรแอมโมเนียม ซิเทรต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 400 Alginic acid (กรดแอลจินิก) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 401 Sodium alginate (โซเดียม แอลจิเนต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 402 Potassium alginate (โพแทสเซียม แอลจิเนต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 403 Ammonium alginate (แอมโมเนียม แอลจิเนต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 404 Calcium alginate (แคลเซียม แอลจิเนต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 406 Agar (อะการ์) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 407 Carrageenan (แคร์ราจีแนน) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 407a Processed eucheuma seaweed (สาหร่ายทะเลยูชิวมาแปรรูป) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 410 Carob Bean Gum (คารอบบีนกัม) หรือ Locust bean gum (โลคัสบีนกัม) หรือ Carob bean gum ( Clarified ) (คารอบบีนกัม) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 412 Guar gum (กัวร์กัม) หรือ Guar Gum ( Clarified ) (กัวร์กัม) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 413 Tragacanth gum (ทรากาแคนท์กัม) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 414 Gum Arabic (กัมอะราบิก) หรือ Acacia gum (อาคาเชียกัม) หรือ Arabic gum (อะราบิกกัม) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 415 Xanthan gum (แซนแทนกัม) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 417 Tara gum (ทารากัม) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 418 Gellan gum (เจลแลนกัม) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 420 ( i ) Sorbitol (ซอร์บิทอล) หรือ D - Glucitol (ดี - กลูซิทอล) หรือ D - sorbitol (ดี - ซอร์บิทอล) หรือ Sorbit (ซอร์บิต) หรือ Sorbol (ซอร์บอล) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม

  • 6 - INS No . ชื่อวัตถุเจือปนอาหาร ปริมาณสูงสุดที่อนุญาตให้ใช้ใน เอนไซม์ปรุงสำเร็จ ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในเครื่องดื่ม ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในผลิตภัณฑ์อาหารอื่น INS 420(ii) Sorbitol syrup ( ซอร์บิทอล ไซรัป ) หรือ D - Glucitol syrup ( ดี - กลูซิทอล ไซรัป ) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 421 Mannitol (แมนนิทอล) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 422 Glycerol หรือ Glycerine (กลีเซอรอล หรือกลีเซอรีน) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 428 Edible Gelatin (เจลลาตินชนิดรับประทานได้) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 440 Pectins (เพ็กทิน) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 450 ( i ) Disodium diphosphate (ไดโซเดียม ไดฟอสเฟต) 50,000 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม ในรูป เดี่ยวหรือผสมกันอยู่ในรูปของ ฟอสฟอรัสเพน ทอกไซด์ ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 450 ( ii ) Trisodium diphosphate (ไทรโซเดียม ไดฟอสเฟต) INS 450 ( iii ) Tetrasodium diphosphate (เททระโซเดียม ไดฟอสเฟต) INS 450 ( v ) Tetrapotassium diphosphate (เททระโพแทสเซียม ได ฟอสเฟต) INS 450 ( vi ) Dicalcium di phosphate (ไดแคลเซียม ได ฟอสเฟต) INS 450 ( vii) Calcium dihydrogen diphosphate (แคลเซียม ไดไฮโดรเจน ไดฟอสเฟต) INS 450 ( ix ) Magnesium dihydrogen diphosphate (แมกนีเซียมเซียม ไดไฮโดรเจน ไดฟอสเฟต) INS 451 ( i ) Pentasodium triphosphate (เพนทะโซเดียม ไทรฟอสเฟต) INS 451 ( ii ) Pentapotassium triphosphate (เพนทะโพแทสเซียม ไทรฟอสเฟต) INS 452 ( i ) Sodium polyphosphate (โซเดียม พอลิฟอสเฟต) INS 452 ( ii ) Potassium polyphosphates (โพแทสเซียม พอลิ ฟอสเฟต) INS 452 ( iii ) Sodium calcium polyphosphate (โซเดียม แคลเซียม พอลิฟอสเฟต) INS 452 ( iv ) Calcium polyphosphate (แคลเซียม พอลิฟอสเฟต) INS 452 ( v ) Ammonium polyphosphate (แอมโมเนียม พอลิฟอสเฟต) INS - Sodium metaphosphate, insoluble หรือ Insoluble sodium polyphosphate (โซเดียม เมทะฟอสเฟต หรือ โซเดียม พอลิ ฟอสเฟตชนิดไม่ละลายน้า)

  • 7 - INS No . ชื่อวัตถุเจือปนอาหาร ปริมาณสูงสุดที่อนุญาตให้ใช้ใน เอนไซม์ปรุงสำเร็จ ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในเครื่องดื่ม ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในผลิตภัณฑ์อาหารอื่น INS 460 ( i ) Microcrystalline cellulose (ไมโครคริสทัลไลน์ เซลลูโลส) หรือ Cellulose gel (เจลเซลลูโลส) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 460 ( ii ) Powdered Cellulose (เซลลูโลสผง) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 461 Methyl cellulose (เมทิล เซลลูโลส) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 462 Ethyl cellulose (เอทิล เซลลูโลส) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 463 Hydroxypropyl cellulose (ไฮดรอกซิโพรพิล เซลลูโลส) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 464 Hydroxypropyl methyl cellulose (ไฮดรอกซิโพรพิล เมทิลเซลลูโลส) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 465 Methyl ethyl cellulose (เมทิล เอทิล เซลลูโลส) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 466 Sodium carboxymethyl cellulose (โซเดียม คาร์บอกซิเมทิลเซลลูโลส) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 469 Sodium carboxymethyl cellulose, Enzymatically hydrolyzed (โซเดียมคาร์บอกซิเมทิลเซลลูโลสชนิดย่อยสลายด้วยเอนไซม์) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS - Sodium, potassium and calcium salts of fatty acids (กลุ่มเกลือโซเดียมโพแทสเซียม และแคลเซียมของกรดไขมัน) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS - Magnesium salts of fatty acids (กลุ่มเกลือแมกนีเซียมของกรดไขมัน) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS - Mono - and diglycerides of fatty acids (กลุ่มมอโนและไดกลีเซอไรด์ของกรดไขมัน) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 472a Acetic and fatty acid esters of glycerol (เอสเตอร์ของกลีเซอรอลของ กรดแอซีติกและกรดไขมัน) หรือ Acetic acid esters of mono - and diglycerides (เอสเตอร์ของกลุ่มมอโนและไดกลีเซอไรด์ของกรดแอซีติก) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม

  • 8 - INS No . ชื่อวัตถุเจือปนอาหาร ปริมาณสูงสุดที่อนุญาตให้ใช้ใน เอนไซม์ปรุงสำเร็จ ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในเครื่องดื่ม ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในผลิตภัณฑ์อาหารอื่น INS 472b Lactic and fatty acid esters of glycerol (เอสเตอร์ของกลีเซอรอล ของกรดแล็กติกและกรดไขมัน) หรือ Lactic acid esters of mono - and diglycerides (เอสเตอร์ของกลุ่มมอโนและไดกลีเซอไรด์ของ กรดแล็กติก) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 472c Citric and fatty acid esters of glycerol (เอสเตอร์ของกลีเซอรอล ของกรดซิทริกและกรดไขมัน) หรือ Citric acid esters of mono - and diglycerides (เอสเตอร์ของกลุ่มมอโนและไดกลีเซอไรด์ของกรดซิทริก) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS - ( E 472d ) Tartaric acid esters of mono - and diglycerides of fatty acids (เอสเตอร์ของกลุ่มมอโนและไดกลีเซอไรด์ของกรดไขมันของ กรดทาร์ทาริก) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 472e Diacetyltartaric and fatty acid esters of glycerol (เอสเตอร์ ของกลีเซอรอลของกรดไดแอซีทิลทาร์ทาริกและกรดไขมัน) หรือ Diacetyltartaric acid esters of mono - and diglycerides (เอสเตอร์ของกลุ่มมอโนและไดกลีเซอไรด์ของกรดไดแอซีทิลทาร์ทาริก) หรือ Mixed acetic and tartaric acid esters of mono - and diglycerides of fatty acids (เอสเตอร์ของกลุ่มมอโนและไดกลีเซอ ไรด์ของกรดไขมันของกรดแอซีติกและกรดทาร์ทาริกผสม) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 473 Sucrose esters of fatty acids (ซูโครสเอสเตอร์ของกรดไขมัน) 50,000 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม 25 มิลลิกรัม / ล. 50 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม INS 473a Sucrose oligoesters Type I and Type II (ซูโครสโอลิโกเอสเตอร์ แบบชนิด 1 และแบบชนิด 2 ) Type I : Sucrose fatty acid esters ( high - esterified หรือ Sucrose oligoesters ( high - esterified ) Type II : Sucrose fatty acid esters หรือ Sucrose oligoesters

  • 9 - INS No . ชื่อวัตถุเจือปนอาหาร ปริมาณสูงสุดที่อนุญาตให้ใช้ใน เอนไซม์ปรุงสำเร็จ ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในเครื่องดื่ม ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในผลิตภัณฑ์อาหารอื่น INS 500 ( i ) Sodium carbonate (โซเดียมคาร์บอเนต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 500 ( ii ) Sodium hydrogen carbonate (โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต) INS 500 ( iii ) Sodium sesquicarbonate (โซเดียมไฮโดรเจนเซสควิคาร์บอเนต) หรือ Sodium monohydrogen dicarbonate (โซเดียมมอโน ไฮโดรเจนไดคาร์บอเนต) INS 501 ( i ) Potassium carbonate (โพแทสเซียมคาร์บอเนต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 501 ( ii ) Potassium hydrogen carbonate (โพแทสเซียมไฮโดรเจน คาร์บอเนต) INS 503 ( i ) Ammonium carbonate (แอมโมเนียมคาร์บอเนต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 503 ( ii ) Ammonium hydrogen carbonate (แอมโมเนียมไฮโดรเจน คาร์บอเนต) หรือ Ammonium bicarbonate (แอมโมเนียมไบ คาร์บอเนต) INS 504 ( i ) Magnesium carbonate (แมกนีเซียมคาร์บอเนต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 504 ( ii ) Magnesium hydroxide carbonate (แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์คาร์บอเนต) INS 507 Hydrochloric acid (กรดไฮโดรคลอริก) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 508 Potassium chloride (โพแทสเซียมคลอไรด์) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 509 Calcium chloride (แคลเซียมคลอไรด์) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 511 Magnesium chloride (แมกนีเซียมคลอไรด์) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 513 Sulfuric acid (กรดซัลฟูริก) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 514 ( i ) Sodium sulfate (โซเดียมซัลเฟต) INS 514 ( ii ) Sodium hydrogen sulfate (โซเดียมไฮโดรเจนซัลเฟต) INS 515 ( i ) Potassium sulfate (โพแทสเซียมซัลเฟต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม

  • 10 - INS No . ชื่อวัตถุเจือปนอาหาร ปริมาณสูงสุดที่อนุญาตให้ใช้ใน เอนไซม์ปรุงสำเร็จ ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในเครื่องดื่ม ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในผลิตภัณฑ์อาหารอื่น INS 516 Calcium sulfate (แคลเซียมซัลเฟต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS - Ammonium sulphate (แอมโมเนียมซัลเฟต) 100,000 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม 50 มิลลิกรัม ต่อลิตร 100 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม INS 524 Sodium hydroxide (โซเดียมไฮดรอกไซด์) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 525 Potassium hydroxide (โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 526 Calcium hydroxide (แคลเซียมไฮดรอกไซด์) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 527 Ammonia solution (สารละลายแอมโมเนีย) หรือ Ammonium hydroxide (แอมโมเนียม ไฮดรอกไซด์) หรือ Aqueous ammonia (แอมโมเนียชนิดน้า) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 528 Magnesium hydroxide (แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 529 Calcium oxide (แคลเซียมออกไซด์) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 530 Magnesium oxide (แมกนีเซียมออกไซด์) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS - Fatty acids (กรดไขมัน) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS - Gluconic acid (กรดกลูโคนิก) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 575 Glucono delta - lactone (กลูโคโนเดลต้า - แล็กโทน) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 576 Sodium gluconate (โซเดียมกลูโคเนต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 577 Potassium gluconate (โพแทสเซียมกลูโคเนต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 578 Calcium gluconate (แคลเซียมกลูโคเนต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS - Glycine and its sodium salt (ไกลซีนและเกลือโซเดียมของไกลซีน) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS - L - cysteine (แอล - ซีสเตอีน) 10 , 000 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม 5 มิลลิกรัม / ล. 10 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม INS 938 Argon (อาร์กอน) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 939 Helium (ฮีเลียม) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 941 Nitrogen (ไนโตรเจน) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม

  • 11 - INS No . ชื่อวัตถุเจือปนอาหาร ปริมาณสูงสุดที่อนุญาตให้ใช้ใน เอนไซม์ปรุงสำเร็จ ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในเครื่องดื่ม ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในผลิตภัณฑ์อาหารอื่น INS 942 Nitrous oxide (ไนทรัสออกไซด์) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 948 Oxygen (ออกซิเจน) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS - Hydrogen (ไฮโดรเจน) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 965 ( i ) Maltitol (มัลทิทอล) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 965 ( ii ) Maltitol syrup (มัลทิทอลไซรัป) INS 966 Lactitol (แล็กทิทอล) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 967 Xylitol (ไซลิทอล) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 1200 Polydextroses (พอลิเดกซ์โทรส) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 1400 Dextrins, Roasted Starch (เดกซ์ทรินจากสตาร์ชคั่ว) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 1404 Oxidized starch (ออกซิไดซด์สตาร์ช) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 1405 Starches, enzyme treated ( เอนไซม์ทรีเทดสตาร์ช) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 1410 Monostarch phosphate (มอโนสตาร์ชฟอสเฟต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 1412 Distarch phosphate (ไดสตาร์ชฟอสเฟต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 1413 Phosphated distarch phosphate (ฟอสเฟตไดสตาร์ชฟอสเฟต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 1414 Acetylated distarch phosphate (แอซีทิเลเทดไดสตาร์ชฟอสเฟต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 1420 Starch acetate (สตาร์ชแอซีเทต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 1422 Acetylated distarch adipate (แอซีทิเลเทดไดสตาร์ชอะดิเพต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 1440 Hydroxy propyl starch (ไฮดรอกซิโพรพิลสตาร์ช) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 1442 Hydroxy propyl distarch phosphate (ไฮดรอกซิโพรพิลไดสตาร์ชฟอสเฟต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 1450 Starch sodium octenyl succinate (สตาร์ชโซเดียมออกทีนิลซักซิเนต) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม

  • 12 - INS No . ชื่อวัตถุเจือปนอาหาร ปริมาณสูงสุดที่อนุญาตให้ใช้ใน เอนไซม์ปรุงสำเร็จ ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในเครื่องดื่ม ปริมาณการตกค้างสูงสุด ในผลิตภัณฑ์อาหารอื่น INS 1451 Acetylated oxidized starch (แอซีทิเลเทดออกซิไดซด์สตาร์ช) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม INS 1520 Propylene glycol (โพรพิลีนไกลคอล ) 500 ก. ต่อกิโลกรัม 1 ,000 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม (รูปแบบเดี่ยวหรือใช้ร่วมกับ Triethyl citrate , Glyceryl diacetate ( diacetin ) และ Glyceryltriacetate; triacetin ยกเว้นเครื่องดื่มเหล้าหวาน 3 , 000 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม (ในรูปแบบเดี่ยวหรือใช้ ร่วมกับ Triethyl citrate , Glyceryl diacetate ( diacetin ) และ Glyceryltriacetate; triacetin INS - Maltodextrin ( มอลโทเดกซ์ทริน ) ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม ปริมาณที่เหมาะสม

  • 1 - บัญชีหมายเลข 5 แนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข ( ฉบับที่ 44 3 ) พ.ศ. 2566 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง เอนไซม์ สำหรับใช้ในการผลิตอาหาร รายการ วัสดุ ที่อนุญาตให้ใช้ใน การผลิต เอนไซม์ ตรึงรูป INS 551 Silicon dioxide, Amorphous (ซิลิคอนไดออกไซด์อสัณฐาน) หรือ Silica (ซิลิคา) INS 558 Bentinite ( เบนโทไนท์ ) INS - PolyEthyleneimine; PEI (พอลิเอทิลีนอิมีน ) INS - Diatomaceous Earth ( ไดอะตอมไมท์ เอิร์ท ) , Diatomaceous silica (ไดอะตอมไมท์ ซิลิกา) , Diatomite (ไดอะตอมไมท์ ) INS - polymethayacryldivinylbenzene copolymer หรือ 2 - Propenoic acid, 2 - methyl - , butyl ester, polymer with diethenylbenzene, ethenylbenzene, ethenylethylbenzene andmethyl 2 - methyl - 2 - propenoate (CAS. 1204391 - 75 - 2)

บัญชีหมายเลข 6 แนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข ( ฉบับที่ 44 3 ) พ.ศ. 2566 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่องเอนไซม์ สำหรับใช้ในการผลิตอาหาร วิธีการตรวจวิเคราะห์ทางวิชาการของเอนไซม์ 1. วิธีการตรวจวิเคราะห์ค่าแอกทิวิตีของเอนไซม์ต้องเป็นไปตามที่กำหนดไว้ใน Combine compendium of food additive specifications : Analytical methods, test procedures and laboratory solutions used by and referenced in the food additive specifications กรณีที่ใช้วิธีการตรวจวิเคราะห์ค่าแอกทิวิตีซึ่งไม่เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในวรรคหนึ่งผู้ผลิตหรือ ผู้นาเข้า ต้องแนบรายละเอียดข้อมูลวิธีตรวจวิเคราะห์ พร้อมคำรับรองความเทียบเท่าของวิธีที่ใช้วัดและวิธีที่กาหนดไว้ 2. วิธีการตรวจวิเคราะห์คุ ณภาพหรือมาตรฐานอื่นต้องเป็นวิธีใดวิธีหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (1) วิธีที่ประกาศโดยองค์กรแห่งชาติหรือองค์กรระหว่างประเทศด้านมาตรฐานหรือตีพิมพ์ใน เอกสารคู่มือหรือสิ่งตีพิมพ์ ที่เป็นที่ยอมรับระดับสากล (2) วิธีที่มีความถูกต้องและเหมาะสม ( Performance characteristic ) มี ผลการประเมินความ ใช้ได้ ( Validation ) ของผลการทดสอบว่ามีความถูกต้องและเหมาะสมโดยห้องปฏิบัติการที่มีการศึกษา ร่วม กับ เครือข่าย ( collaborative study ) ตามหลักเกณฑ์ที่สอดคล้องกับองค์กรนานาชาติซึ่งเป็นที่ยอมรับทั่วไป หรือ โดยห้องปฏิบัติการที่มีระบบคุณภาพเพียงแห่งเดี ยว ( Single laboratory validation ) ตามหลักเกณฑ์ที่เป็นที่ ยอมรับในระดับสากล และ ผลการประเมินดังกล่าวนั้นต้องเป็นเอกสารหลักฐานที่สามารถตรวจสอบได้ตาม ระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO / IEC 17025 ฉบับล่าสุด