Fri Aug 04 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ข้อบัญญัติขององค์การบริหารส่วนตำบลท้ายสำเภา เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ พ.ศ. 2563


ข้อบัญญัติขององค์การบริหารส่วนตำบลท้ายสำเภา เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ พ.ศ. 2563

ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลทายสําเภา เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงหรือปลอยสัตว พ.ศ. 2563 โดยที่เป็นการสมควรตราขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลทายสําเภา วาด้วยการควบคุม การเลี้ยงหรือปลอยสัตวในเขตองคการบริหารสวนตําบลทายสําเภา อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 71 แห่งพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 และที่แกไขเพิ่มเติม ประกอบมาตรา 29 แห่งพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม องคการบริหารสวนตําบลทายสําเภา โดยความเห็นชอบของสภาองคการบริหาร สวนตําบลทายสําเภาและนายอําเภอพระพรหม จึงตราขอบัญญัติไว ดังต่อไปนี้ ขอ 1 ขอบัญญัตินี้เรียกวา “ ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลทายสําเภา เรื่อง การควบคุม การเลี้ยงหรือปลอยสัตว พ.ศ. 2563 ” ขอ 2 ขอบัญญัตินี้ให้ใชบังคับในเขตองคการบริหารสวนตําบลทายสําเภา ตั้งแต่วันถัดจาก วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตนไป ขอ 3 บรรดาขอบัญญัติ ประกาศ ระเบียบ หรือคําสั่งอื่นใดในสวนที่ได้ตราไวแล้ว ในขอบัญญัตินี้หรือซึ่งขัดหรือแยงกับขอบัญญัตินี้ ให้ใชขอบัญญัตินี้แทน ขอ 4 ในขอบัญญัตินี้ “ การเลี้ยงสัตว ” หมายความวา การมีสัตวไวในครอบครองและดูแลเอาใจใสบํารุงรักษา ตลอดจนให้อาหารเป็นอาจิณ “ การปลอยสัตว ” หมายความวา การสละการครอบครองสัตว หรือปลอยให้อยู่ นอกสถานที่เลี้ยงสัตวโดยปราศจากการควบคุม “ เจ้าของสัตว ” หมายความวา ผู้ครอบครองสัตวด้วย “ สถานที่เลี้ยงสัตว ” หมายความวา คอกสัตว กรงสัตว ที่ขังสัตว หรือสถานที่ในลักษณะอื่น ที่มีการควบคุมของเจ้าของสัตว “ ที่หรือทางสาธารณะ ” หมายความวา สถานที่หรือทางซึ่งมิใชเป็นของเอกชน และประชาชนสามารถใชประโยชนหรือใชสัญจรได้ ้ หนา 60 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 185 ง ราชกิจจานุเบกษา 4 สิงหาคม 2566

“ เจ้าพนักงานทองถิ่น ” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนตําบลทายสําเภา “ เจ้าพนักงานสาธารณสุข ” หมายความวา เจ้าพนักงานซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ขอ 5 ให้องคการบริหารสวนตําบลทายสําเภาเป็นเขตควบคุมการเลี้ยงหรือปลอยสัตว ดังต่อไปนี้ (1) สุนัข (2) แมว (3) ชาง (4) โค (5) กระบือ (6) แพะ แกะ (7) นก (8) ไก (9) เปด หาน (10) สุกร (11) สัตวปาตามกฎหมายวาด้วยการสงวนและคุมครองสัตวปาซึ่งได้รับอนุญาตจากกรมปาไม ขอ 6 หามทําการเลี้ยงหรือปลอยสัตวที่ต้องควบคุมตามขอ 5 ในที่หรือทางสาธารณะ ในเขตองคการบริหารสวนตําบลทายสําเภาโดยเด็ดขาด ความในวรรคหนึ่งไม่ใชบังคับแกการเลี้ยงสัตว ดังต่อไปนี้ (1) เพื่อการรักษาโรคเจ็บปวยหรือสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของสัตว (2) เพื่อกิจกรรมใด ๆ ที่องคการบริหารสวนตําบลทายสําเภาประกาศกําหนดพื้นที่ สวนหนึ่งสวนใดให้เลี้ยงโดยมีกําหนดระยะเวลาที่แนนอนเป็นการเฉพาะ (3) เพื่อการยายถิ่นที่อยู่ของเจ้าของสัตว ความในวรรคหนึ่งไม่ใชบังคับแกการปลอยสัตว เพื่อการกุศลหรือจารีตประเพณีโดยได้รับอนุญาต จากองคการบริหารสวนตําบลทายสําเภา หรือเพื่อในพระราชพิธีหรือพิธีกรรมทางศาสนาตามประกาศ ของทางราชการ ้ หนา 61 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 185 ง ราชกิจจานุเบกษา 4 สิงหาคม 2566

ขอ 7 เพื่อประโยชนการควบคุมการเลี้ยงหรือปลอยสัตวในเขตองคการบริหารสวนตําบลทายสําเภา ให้นายกองคการบริหารสวนตําบลทายสําเภา มีอํานาจออกประกาศกําหนดเขตพื้นที่เลี้ยงสัตวหรือปลอยสัตว ที่ต้องควบคุมตามขอ 5 โดยให้มีมาตรการอยางหนึ่งอยางใด ดังต่อไปนี้ (1) กําหนดจํานวน ประเภท และชนิดของสัตวที่เลี้ยง (2) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการทําทะเบียนตามประเภทและชนิดของสัตว (3) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการปลอยสัตวตามขอ 6 ขอ 8 นอกจากการเลี้ยงสัตวตามปกติวิสัยแล้ว เจ้าของสัตวจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ และเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีสถานที่เลี้ยงสัตวที่มั่นคงแข็งแรงตามความเหมาะสมแกประเภท และชนิดของสัตว โดยมีขนาดเพียงพอแกการดํารงชีวิตของสัตว มีแสงสวางและการระบายอากาศที่เพียงพอ มีระบบการระบายน้ํา และกําจัดสิ่งปฏิกูลให้ถูกสุขลักษณะ (2) รักษาสถานที่เลี้ยงสัตวให้สะอาดอยู่เสมอ จัดเก็บสิ่งปฏิกูลให้ถูกสุขลักษณะเป็นประจํา ไม่ปลอยให้เป็นที่สะสมหมักหมมจนเกิดกลิ่นเหม็นรบกวนผู้ที่อยู่บริเวณใกลเคียง (3) เมื่อสัตวตายลงเจ้าของสัตวจะต้องกําจัดซากสัตวและมูลสัตวให้ถูกสุขลักษณะ เพื่อปองกันมิให้เป็นแหลงเพาะพันธุแมลงหรือสัตวนําโรค ทั้งนี้ โดยวิธีที่ไม่กอเหตุรําคาญจากกลิ่น ควัน และไม่เป็นเหตุให้เกิดการปนเปอนของแหลงน้ํา (4) จัดให้มีการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในสัตวเพื่อปองกันอันตรายจากเชื้อโรคที่เกิดจากสัตว (5) ให้เลี้ยงสัตวภายในสถานที่ของตนไม่ปลอยให้สัตวอยู่นอกสถานที่เลี้ยงสัตว โดยปราศจากการควบคุม กรณีเป็นสัตวดุรายจะต้องเลี้ยงในสถานที่หรือกรงที่บุคคลภายนอกเขาไปไม่ถึงตัวสัตว และมีปายเตือนให้ระมัดระวังโดยสังเกตได้อยางชัดเจน (6) ไม่เลี้ยงสัตวภายในสถานที่ที่เจ้าพนักงานทองถิ่นกําหนด (7) ควบคุมดูแลสัตวของตนมิให้กออันตรายหรือเหตุรําคาญต่อผู้อื่น (8) ปฏิบัติการอื่นใดตามคําแนะนําของเจ้าพนักงานสาธารณสุข คําสั่งเจ้าพนักงานทองถิ่น รวมทั้งขอบังคับ ระเบียบ และคําสั่งขององคการบริหารสวนตําบลทายสําเภา ขอ 9 หลังจากที่ขอบัญญัตินี้มีผลบังคับใช ผู้ใดประสงคจะเลี้ยงสัตวตามขอ 5 ต้องได้รับ ความยินยอมจากการประชุมประชาคมหมู่บ้าน และได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่น ้ หนา 62 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 185 ง ราชกิจจานุเบกษา 4 สิงหาคม 2566

การอนุญาตตามวรรคหนึ่งนั้นต้องปรากฏขอเท็จจริงวาสถานที่เลี้ยงสัตวนั้นเป็นบริเวณที่โปรง อากาศถายเทสะดวก มีตนไมให้รมเงาพอสมควร ตั้งอยู่หางจากแหลงชุมชน ศาสนสถาน โบราณสถาน สถาบันการศึกษา โรงพยาบาล หรือสถานที่ของราชการอื่น ๆ ในระยะที่ไม่ส งผลกระทบต่อสุขภาพ และไม่กอเหตุรําคาญต่อชุมชน โดยต้องมีระยะหางจากสถานที่ดังกลาว และแหลงน้ําสาธารณะในระยะ ดังต่อไปนี้ (1) สําหรับสถานประกอบกิจการเลี้ยงสัตวนอยกวา 50 ตัว ต้องมีระยะหาง ในระยะที่ไม่กอให้เกิดความรําคาญต่อชุมชนใกลเคียง (2) สําหรับสถานประกอบกิจการเลี้ยงสัตว ตั้งแต่ 50 - 500 ตัว ต้องมีระยะหาง ไม่นอยกวา 500 เมตร (3) สําหรับสถานประกอบกิจการเลี้ยงสัตว ตั้งแต่ 501 - 1 , 000 ตัว ต้องมีระยะหาง ไม่นอยกวา 1 กิโลเมตร (4) สําหรับสถานประกอบกิจการเลี้ยงสัตว ตั้งแต่ 1 , 001 ตัวขึ้นไป ต้องมีระยะหาง ไม่นอยกวา 2 กิโลเมตร ผู้ขออนุญาตดังกลาวให้ยื่นคํารองต่อเจ้าพนักงานทองถิ่นตามแบบและเงื่อนไขที่กําหนด พรอมด้วยหลักฐาน ดังต่อไปนี้อยางละ 1 ชุด 1) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน 2) สําเนาทะเบียนบ้าน 3) หนังสือแสดงความเป็นเจ้าของที่ดิน 4) เอกสารหรือหลักฐานอื่นที่เจ้าพนักงานทองถิ่นเห็นสมควรเรียกเพิ่มเติม เพื่อประกอบการพิจารณา ขอ 10 ในกรณีที่มีเหตุควรสงสัยวาสัตวที่เลี้ยงนั้นเป็นโรคอันอาจเป็นอันตรายแกสุขภาพ ของบุคคลทั่วไปให้เจ้าของสัตว แยก กักสัตวนั้นไวตางหาก และแจงให้เจ้าพนักงานทองถิ่นหรือเจ้าพนักงาน สาธารณสุขทราบ รวมถึงต้องแจงให้สัตวแพทยของหนวยงานราชการทราบ และต้องปฏิบัติตามคําแนะนํา โดยเครงครัด ้ หนา 63 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 185 ง ราชกิจจานุเบกษา 4 สิงหาคม 2566

ขอ 11 ในกรณีที่เจ้าพนักงานทองถิ่นพบสัตวในที่หรือทางสาธารณะอันเป็นการฝาฝนขอ 6 โดยไม่ปรากฏเจ้าของให้เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจกักสัตวดังกลาวเป็นเวลาอยางนอยสามสิบวัน เมื่อพนกําหนดแล้วยังไม่มีผู้ใดแสดงหลักฐานการเป็นเจ้าของเพื่อรับสัตวคืนให้สัตวนั้นตกเป็นของ องคการบริหารสวนตําบลทายสําเภาแต่ถาการกักสัตวไวอาจกอให้เกิดอันตรายแกสัตวนั้นหรือสัตวอื่น หรือต้องเสียคาใชจายเกินสมควร เจ้าพนักงานทองถิ่นจะจัดการขายหรือขายทอดตลาดนั้นตามควรแกกรณี กอนถึงกําหนดดังกลาวก็ได้เงินที่ได้จากการขายหรือทอดตลาดเมื่อได้หักคาใชจายในการขายทอดตลาด และคาเลี้ยงดูสัตวแล้วให้องคการบริหารสวนตําบลทายสําเภาเก็บรักษาไวแทนสัตว ในกรณีที่มิได้มีการขายหรือขายทอดตลาดสัตวตามวรรคหนึ่งและเจ้าของสัตวมาขอรับสัตวคืน ภายในกําหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง เจ้าของสัตวต้องเป็นผู้เสียคาใชจายสําหรับการเลี้ยงดูสัตว ให้แกองคการบริหารสวนตําบลทายสําเภา ตามจํานวนที่ได้จายจริงด้วย ในกรณีที่ปรากฏวาสัตวที่เจ้าพนักงานทองถิ่นพบนั้นเป็นโรคติดต่ออันอาจเป็นอันตราย ต่อประชาชนให้เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจทําลายหรือจัดการตามที่เห็นสมควรได้ ขอ 12 ให้นายกองคการบริหารสวนตําบลทายสําเภาเป็นผู้รักษาการขอบัญญัตินี้ และให้มีอํานาจออกระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่ง เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามขอบัญญัตินี้ ประกาศ ณ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2563 จิตรา ศรีพิบูลย นายกองคการบริหารสวนตําบลทายสําเภา ้ หนา 64 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 185 ง ราชกิจจานุเบกษา 4 สิงหาคม 2566