Wed Jul 26 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตําบลปูโยะ เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2563


ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตําบลปูโยะ เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2563

ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลปูโยะ เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2563 โดยที่เป็นการสมควรตราขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลปูโยะ วาด้วยการควบคุมอาคาร อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 10 (1) แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2558 และมาตรา 71 แห่งพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 ซึ่งแกไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 องคการบริหาร สวนตําบลปูโยะ โดยความเห็นชอบของงสภาองคการบริหารสวนตําบลปูโยะและนายอําเภออําเภอสุไหงโก - ลก จึงตราขอบัญญัติไว ดังต่อไปนี้ ขอ 1 ขอบัญญัตินี้ให้เรียกวา “ ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลปูโยะ เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2563 ” ขอ 2 ขอบัญญัตินี้ให้ใชบังคับในเขตองคการบริหารสวนตําบลปูโยะ ตั้งแต่วันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นตนไป ขอ 3 ในกรณีที่ขอบัญญัตินี้มิได้บัญญัติเรื่องใดไวให้บังคับเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ถึง (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2558 และกฎกระทรวงที่ออกตามความ ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ขอ 4 ในขอบัญญัตินี้ “ เจ้าพนักงานทองถิ่น ” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนตําบลปูโยะ “ อาคาร ” หมายความวา ตึก บ้าน เรือน โรง ราน แพ คลังสินคา สํานักงาน และสิ่งที่สรางขึ้นอยางอื่นซึ่งบุคคลอาจเขาอยู่หรือเขาใชสอยได้ และหมายความรวมถึง (1) อัฒจันทร์หรือสิ่งที่สรางขึ้นอยางอื่นเพื่อใชเป็นที่ชุมนุมของประชาชน (2) เขื่อน สะพาน อุโมงค ทางหรือทอระบายน้ํา อูเรือ คานเรือ ทาน้ํา ทาจอดเรือ รั้วกําแพง หรือประตูที่สรางขึ้นติดต่อหรือใกลเคียงกับที่สาธารณะ หรือสิ่งที่สรางขึ้นให้บุคคลทั่วไปใชสอย ้ หนา 134 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 180 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 กรกฎาคม 2566

(3) ปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย (ก) ที่ติดหรือตั้งไวเหนือที่สาธารณะและมีขนาดเกินหนึ่งตารางเมตร หรือมีน้ําหนัก รวมทั้งโครงสรางเกินสิบกิโลกรัม (ข) ที่ติดหรือตั้งไวในระยะหางจากที่สาธารณะซึ่งเมื่อวัดในทางราบแล้ว ระยะหางจากที่สาธารณะมีนอยกวาความสูงของปายนั้นเมื่อวัดจากพื้นดิน และมีขนาดหรือมีน้ําหนัก เกินกวาที่กําหนดในกฎกระทรวง (4) พื้นที่หรือสิ่งที่สรางขึ้นเพื่อใชเป็นที่จอดรถ ที่กลับรถ และทางเขาออกของรถ สําหรับอาคารที่กําหนดตามมาตรา 8 (9) แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 (5) สิ่งที่สรางขึ้นอยางอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวงกําหนดสิ่งที่สรางขึ้นอยางอื่น เป็นอาคารตามกฎหมายวาด้วยการควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544 ทั้งนี้ ให้หมายความรวมถึงสวนตาง ๆ ของอาคารด้วย “ อาคารสูง ” หมายความวา อาคารที่บุคคลอาจเขาอยู่หรือเขาใชสอยได้ที่มีความสูง ตั้งแต่ยี่สิบสามเมตรขึ้นไป การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่กอสรางถึงพื้นดาดฟา สําหรับอาคารทรงจั่วหรือปนหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่กอสรางถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด “ อาคารชุมนุมคน ” หมายความวา อาคารหรือสวนใดของอาคารที่บุคคลอาจเขาไป ภายในเพื่อประโยชนในการชุมนุมคนที่มีพื้นที่ตั้งแต่หนึ่งพันตารางเมตรขึ้นไป หรือชุมนุมคนได้ตั้งแต่ หารอยคนขึ้นไป “ โรงมหรสพ ” หมายความวา อาคารหรือสวนใดของอาคารที่ใชเป็นสถานที่สําหรับ ฉายภาพยนตร แสดงละคร แสดงดนตรี หรือการแสดงรื่นเริงอื่นใด และมีวัตถุประสงคเพื่อเปดให้สาธารณชน เขาชมการแสดงนั้นเป็นปกติธุระ โดยจะมีคาตอบแทนหรือไม่ก็ตาม “ ที่สาธารณะ ” หมายความวา ที่ซึ่งเปดหรือยินยอมให้ประชาชนเขาไปหรือใชเป็นทางสัญจรได้ ทั้งนี้ ไม่วาจะมีการเรียกเก็บคาตอบแทนหรือไม่ “ กอสราง ” หมายความวา สรางอาคารขึ้นใหมทั้งหมด ไม่วาจะเป็นการสรางขึ้นแทน ของเดิมหรือไม่ ้ หนา 135 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 180 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 กรกฎาคม 2566

“ ดัดแปลง ” หมายความวา เปลี่ยนแปลง ต่อเติม เพิ่ม ลด หรือขยาย ซึ่งลักษณะ ขอบเขตแบบ รูปทรง สัดสวน น้ําหนัก เนื้อที่ของโครงสรางของอาคารหรือสวนตาง ๆ ของอาคาร ซึ่งได้กอสรางไวแล้วให้ผิดไปจากเดิม และมิใชการซอมแซมหรือการดัดแปลงที่กําหนดในกฎกระทรวง “ ซอมแซม ” หมายความวา ซอมหรือเปลี่ยนสวนตาง ๆ ของอาคารให้คงสภาพเดิม “ รื้อถอน ” หมายความวา รื้อสวนอันเป็นโครงสรางของอาคารออกไป เชน เสา คาน ตง หรือสวนอื่นของโครงสรางตามที่กําหนดในกฎกระทรวง “ กฎกระทรวง ” หมายความวา กฎกระทรวงที่ออกตามความในพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ขอ 5 ให้นายกองคการบริหารสวนตําบลปูโยะรักษาการให้เป็นไปตามขอบัญญัตินี้ และมีอํานาจออกระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่งอื่นใดเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามขอบัญญัตินี้ หมวด 1 หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการอนุญาตและการแจง ขอ 6 ผู้ใดจะกอสราง ดัดแปลง หรือเคลื่อนยายอาคารต้องได้รับใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่น ผู้ใดจะรื้อถอนอาคาร ดังต่อไปนี้ต้องได้รับใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่น (1) อาคารที่มีสวนสูงเกิน 15 เมตร ซึ่งอยู่หางจากอาคารอื่นหรือที่สาธารณะ นอยกวาความสูงของอาคาร (2) อาคารที่อยู่หางจากอาคารอื่นหรือที่สาธารณะนอยกวา 2 เมตร ขอ 7 ให้กําหนดระยะเวลาอายุใบอนุญาตกอสราง ดัดแปลงอาคาร หรือใบรับแจงตามขอ 9 ตามขนาดของพื้นที่อาคารสวนที่จะทําการกอสรางหรือดัดแปลง ดังนี้ (1) อาคารที่มีพื้นที่รวมกันนอยกวา 10 , 000 ตารางเมตร กําหนดอายุใบอนุญาตไม่เกิน 1 ป (2) อาคารที่มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 10 , 000 ตารางเมตรขึ้นไป แต่ไม่เกิน 50 , 000 ตารางเมตร กําหนดอายุใบอนุญาตไม่เกิน 2 ป (3) อาคารที่มีพื้นที่รวมกันมากกวา 50 , 000 ตารางเมตร กําหนดอายุใบอนุญาตไม่เกิน 3 ป ขอ 8 ผู้ได้รับใบอนุญาตผู้ใดประสงคจะขอต่ออายุใบอนุญาตกอสรางอาคาร ดัดแปลงอาคาร รื้อถอนอาคาร หรือเคลื่อนยายอาคาร ให้ยื่นคําขอต่ออายุใบอนุญาตต่อเจ้าพนักงานทองถิ่น กอนใบอนุญาตสิ้นอายุ ้ หนา 136 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 180 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 กรกฎาคม 2566

ขอ 9 ผู้ใดจะกอสราง ดัดแปลง รื้อถอน หรือเคลื่อนยายอาคารโดยไม่ยื่นคําขอรับ ใบอนุญาตให้ดําเนินการแจงต่อเจ้าพนักงานทองถิ่น ดังต่อไปนี้ (1) แจงให้เจ้าพนักงานทองถิ่นทราบตามแบบที่เจ้าพนักงานทองถิ่นกําหนด พรอมทั้งแจงขอมูลและยื่นเอกสาร ดังต่อไปนี้ (ก) ชื่อของผู้รับผิดชอบงานออกแบบอาคาร ซึ่งต้องเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตให้เป็น ผู้ประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมประเภทวุฒิสถาปนิกตามกฎหมายวาด้วยวิชาชีพสถาปตยกรรม และจะต้องไม่เป็นผู้ได้รับการแจงเวียนชื่อตามมาตรา 49 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 (ข) ชื่อของผู้รับผิดชอบงานออกแบบและคํานวณอาคาร ซึ่งต้องเป็นผู้ได้รับ ใบอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมประเภทวุฒิวิศวกรตามกฎหมายวาด้วยวิชาชีพวิศวกรรม และจะต้องไม่เป็นผู้ได้รับการแจงเวียนชื่อตามมาตรา 49 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 (ค) ชื่อของผู้ควบคุมงาน ซึ่งจะต้องเป็นผู้ได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ สถาปตยกรรมควบคุมตามกฎหมายวาด้วยวิชาชีพสถาปตยกรรม และเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตให้เป็น ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายวาด้วยวิชาชีพวิศวกรรม และจะต้องไม่เป็นผู้ได้รับการแจงเวียนชื่อ ตามมาตรา 49 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 (ง) สําเนาใบอนุญาตของบุคคลตามขอ (ก) (ข) และ (ค) (จ) หนังสือรับรองของบุคคลตาม (ก) (ข) และ (ค) วาตนเป็นผู้ออกแบบอาคาร เป็นผู้ออกแบบและคํานวณอาคาร หรือจะเป็นผู้ควบคุมงาน แล้วแต่กรณี พรอมทั้งรับรองวาการกอสราง ดัดแปลง รื้อถอน หรือเคลื่อนยายอาคารนั้นถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎกระทรวงขอบัญญัตินี้ และกฎหมายที่เกี่ยวของทุกประการ (ฉ) แผนผังบริเวณ แบบแปลน รายการประกอบแบบแปลน และรายการคํานวณ ของอาคารที่จะกอสราง ดัดแปลง รื้อถอน หรือเคลื่อนยาย ซึ่งมีคํารับรองของบุคคลตาม (ก) และ (ข) วาตนเป็นผู้ออกแบบอาคาร และเป็นผู้ออกแบบและคํานวณอาคารนั้น (ช) วันเริ่มตนและวันสิ้นสุดการดําเนินการดังกลาว ้ หนา 137 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 180 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 กรกฎาคม 2566

(2) ชําระคาธรรมเนียมการตรวจแบบแปลนกอสรางหรือดัดแปลงอาคารถาผู้แจง ได้ดําเนินการตามที่ระบุไวครบถวนแล้ว ให้เจ้าพนักงานทองถิ่นออกใบรับแจงให้แกผู้นั้นภายในวันที่ได้รับแจง และให้ผู้แจงเริ่มตนดําเนินการตามที่ได้แจงไวได้ตั้งแต่วันที่ได้รับใบแจง ขอ 10 คาธรรมเนียมการออกใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาตและคาธรรมเนียม ในการตรวจแบบแปลนให้เป็นไปตามบัญชีอัตราคาธรรมเนียมทายขอบัญญัตินี้ หมวด 2 ลักษณะอาคารตาง ๆ ขอ 11 อาคารที่มิได้กอสรางด้วยวัตถุถาวร หรือวัตถุทนไฟเป็นสวนใหญ ครัวไฟต้องอยู่นอกอาคาร เป็นสัดสวนตางหาก ถาจะรวมครัวไฟไวในอาคารด้วยก็ได้ แต่ต้องลาดพื้น บุผนัง ฝาเพดาน ครัวไฟด้วยวัตถุถาวรหรือวัตถุทนไฟเป็นสวนใหญ ขอ 12 อาคารที่มิได้กอสรางด้วยวัตถุถาวร หรือวัตถุทนไฟเป็นสวนใหญ หรือกอด้วยอิฐ ไม่เสริมเหล็กให้ปลูกสรางได้ไม่เกินสองชั้น ขอ 13 อาคารสองชั้นที่มิได้กอสรางด้วยวัตถุถาวรหรือวัตถุทนไฟเป็นสวนใหญ พื้นชั้นลาง ของอาคารนั้นจะสูงจากระดับทางสาธารณะดานหน้าอาคารเกินกวา 1 เมตรไม่ได้ ขอ 14 โรงมหรสพ หอประชุม หรื ออาคารที่ปลูกสรางเกินสองชั้นให้สรางด้วยวัสดุถาวร และวัสดุทนไฟเป็นสวนใหญโรงมหรสพหรือหอประชุมที่ปลูกสรางเกินหนึ่งชั้น หรืออาคารที่ปลูกสราง เกินสามชั้นนอกจากมีบันไดตามปกติแล้วต้องมีทางหนีโดยเฉพาะอยางนอยอีกหนึ่งทางตามลักษณะแบบ ของอาคารที่กําหนดให้ ขอ 15 หองแถวและตึกแถวต้องมีความกวางจากเสนกึ่งกลางของผนังดานหนึ่งไปยังเสนกึ่งกลาง ของผนังอีกดานหนึ่งไม่นอยกวา 4 เมตร ความลึกของหองต้องไม่นอยกวา 4 เมตรและต้องมีประตู หรือทางให้คนเขาออกได้ทั้งดานหน้าและดานหลัง ในกรณีที่เป็นตึกแถวผนังต้องทําด้วยวัตถุถาวร และวัตถุทนไฟถากอด้วยอิฐหรือคอนกรีตไม่เสริมเหล็กหรือวัตถุทนไฟอยางอื่น ผนังนี้ต้องหนาไม่นอยกวา 10 เซนติเมตร หองแถวและตึกแถวซึ่งปลูกสรางติดต่อกันเป็นแนวยาวให้มีผนังกันไฟหนาไม่นอยกวา 20 เซนติเมตร ตั้งแต่ระดับพื้นดินขึ้นไปสูงถึงใตทองหลังคาโดยไม่มีชองวางทุกระยะไม่เกินหาหองหองแถว ตึกแถว หรือบ้านแถวจะสรางต่อเนื่องกันได้ไม่เกินสิบคูหา และมีความยาวของอาคารแถวหนึ่ง ๆ รวมกันไม่เกิน 40 เมตร โดยวัดระหวางจุดศูนยกลางของเสาแรกถึงจุดศูนยกลางของเสาสุดทายไม่วาจะเป็นเจ้าของเดียวกัน และใชโครงสรางเดียวกันหรือแยกกันก็ตาม ้ หนา 138 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 180 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 กรกฎาคม 2566

ตึกแถวที่สูงสามชั้นต้องมีพื้นชั้นสองหรือชั้นสามสรางด้วยวัตถุทนไฟชั้นใดชั้นหนึ่งเป็นอยางนอย ถาสูงเกินสามชั้นต้องสรางพื้นด้วยวัตถุทนไฟทุกชั้น ขอ 16 อาคารทุกชนิดจะปลูกสรางบนที่ดินซึ่งถมด้วยขยะมูลฝอยมิได้ เวนแต่ขยะมูลฝอยนั้น จะได้กลายสภาพเป็นดินแล้ว หรือได้ทับด้วยดินกระทุงแนนไม่ต่ํากวา 30 เซนติเมตร และมีลักษณะ ไม่เป็นอันตรายแกอนามัยและมั่นคงแข็งแรง ขอ 17 รั้วหรือกําแพงกั้นเขตให้ทําได้สูงเหนือระดับถนนสาธารณะไม่เกิน 3 เมตร และต้องให้คงสภาพได้ดีอยู่เสมอไป ประตูรั้วหรือกําแพงซึ่งเป็นทางรถเขาออก ถามีคานบนให้วางคานนั้น สูงจากระดับถนนสาธารณะไม่นอยกวา 3 เมตร ขอ 18 ปายโฆษณา การกอสรางและติดตั้งปายให้เป็นไปตามนี้ปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติด หรือตั้งปายที่อาคารต้องไม่บังชองระบายอากาศ หน้าตางประตู หรือทางหนีไฟ ปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายบนหลังคาหรือดาดฟาของอาคารต้องไม่ล้ําออกนอก แนวผนังรอบนอกของอาคาร และสวนบนสุดของปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายต้องสูงไม่เกิน 6 เมตรจากสวนสูงสุดของหลังคาหรือดาดฟาของอาคารที่ติดตั้งปายนั้น ปายที่ยื่นจากผนังอาคารให้ยื่นได้ไม่เกินแนวกันสาดและให้สูงได้ไม่เกิน 60 เซนติเมตร หรือมีพื้นที่ปายไม่เกิน 2 ตารางเมตร ปายที่ติดตั้งใตกันสาดให้ติดตั้งแนบผนังอาคารและต้องสูงจากพื้นทางเทานั้นไม่นอยกวา 2.50 เมตร ปายโฆษณาสําหรับโรงมหรสพให้ติดตั้งขนานกับผนังอาคารโรงมหรสพ แต่จะยื่นหางจากผนังได้ไม่เกิน 50 เซนติเมตร หรือหากติดตั้งปายบนกันสาดจะต้องไม่ยื่นล้ําแนวปลายกันสาดนั้นและมีความสูงของ ปายทั้งสองกรณีต้องไม่เกินความสูงของอาคาร ปายที่ติดตั้งอยู่บนพื้นที่ดินโดยตรงต้องมีความสูงไม่เกินระยะที่วัดจากจุดที่ติดตั้งปายไปจนถึงกึ่งกลาง ขอ 19 สะพานสวนบุคคลสําหรับรถยนตต้องมีทางเดินรถกวางไม่นอยกวา 3.50 เมตร มีสวนลาดชันไม่เกิน 10 ใน 100 สะพานที่ใชเป็นทางสาธารณะสําหรับรถยนตต้องมีทางเดินรถกวางไม่นอยกวา 6 เมตร มีสวนลาดชันไม่เกิน 8 ใน 100 มีทางเทาสองขาง ๆ ละไม่นอยกวา 1.50 เมตร เวนแต่สะพานที่สราง สําหรับรถยนตโดยเฉพาะจะไม่มีทางเทาก็ได้ และมีราวสะพานที่มั่นคงแข็งแรงยาวตลอดตัวสะพานสองขางด้วย ้ หนา 139 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 180 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 กรกฎาคม 2566

ขอ 20 การปลูกสรางโดยต่อเติมหรือดัดแปลงอาคาร ดังต่อไปนี้จะต้องได้รับอนุญาตกอน (1) เพิ่มชั้นหรือขยายพื้นที่ชั้นหนึ่งชั้นใดรวมกันเกินหาตารางเมตรขึ้นไป (2) เปลี่ยนหลังคาหรือขยายหลังคาให้ปกคลุมเนื้อที่มากขึ้นกวาเดิมอันเป็นการเพิ่ม น้ําหนักแกหลังคาเดิมเกินรอยละสิบ (3) เพิ่มหรือลดจํานวนเสาหรือคาน (4) เปลี่ยนเสา คาน บันได ผนัง หรือเพิ่มผนังหรือสวนประกอบอื่นอันเป็นการเพิ่ม น้ําหนักอาคารเดิมเกินรอยละสิบ หมวด 3 สวนตาง ๆ ของอาคาร ขอ 21 อาคารอยู่อาศัยรวมต้องมีพื้นที่ภายในแต่ละหนวยที่ใชเพื่อการอยู่อาศัยไม่นอยกวา 20 ตารางเมตร ขอ 22 หองนอนในอาคารให้มีความกวางดานแคบที่สุดไม่นอยกวา 2.50 เมตร และมีพื้นที่ไม่นอยกวา 8 ตารางเมตร ขอ 23 หองนอนหรือหองที่ใชเป็นที่พักอาศัยในอาคารให้มีชองประตูและหน้าตางเป็นเนื้อที่ รวมกันไม่นอยกวารอยละสองของพื้นที่ของหองนั้น โดยไม่รวมนับสวนประตูหรือหน้าตางอันติดต่อกับหองอื่น ขอ 24 ชองทางเดินในอาคารต้องมีความกวางตามที่กําหนดไว ดังต่อไปนี้ (1) อาคารที่อยู่อาศัยต้องมีความกวางไม่นอยกวา 1 เมตร (2) อาคารที่อยู่อาศัยรวม หอพักตามกฎหมายวาด้วยหอพัก สํานักงาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย โรงงาน อาคารพิเศษต้องมีความกวางไม่นอยกวา 1.50 เมตร ขอ 25 ยอดหน้าตางและประตูในอาคารให้ทําสูงจากพื้นไม่นอยกวา 1.80 เมตร และบุคคลซึ่งอยู่ในหองต้องสามารถเปดประตูหน้าตางและออกจากหองนั้นได้โดยสะดวก ขอ 26 หองหรือสวนของอาคารที่ใชในการทํากิจกรรมตาง ๆ ต้องมีระยะดิ่งไม่นอยกวา ตามที่กําหนดไว ดังต่อไปนี้ ้ หนา 140 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 180 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 กรกฎาคม 2566

ประเภทใชอาคาร ระยะดิ่ง 1. หองที่ใชเป็นที่พักอาศัย บ้านแถว หองพักโรงแรม หองเรียน นักเรียนอนุบาล ครัวสําหรับอาคารอยู่อาศัย หองพักคนไข พิเศษ ชองทางเดินในอาคาร 2.60 เมตร 2. หองที่ใชเป็นสํานักงานหองเรียน หองอาคาร หองโถงภัตตาคาร โรงงาน 3 เมตร 3. หองขายสินคา หองประชุม หองคนไขรวม คลังสินคา โรงครัว ตลาดและอื่น ๆ ที่คลายกัน 3.50 เมตร 4. หองแถว ตึกแถว 4.1 ชั้นลาง 4.2 ตั้งแต่ชั้นสองขึ้นไป 3.50 เมตร 3 เมตร 5. ระเบียง 2.20 เมตร ความสูงสุทธิของอาคารสวนที่ใชจอดรถยนต หมายถึง ความสูงจากพื้นถึงใตคานหรือทอ หรือสิ่งคลายคลึงกันต้องไม่นอยกวา 2.10 เมตร หองในอาคารซึ่งมีระยะดิ่งระหวางพื้นถึงพื้นอีกชั้นหนึ่งตั้งแต่ 5 เมตรขึ้นไปจะทําพื้นชั้นลอย ในหองนั้นก็ได้ โดยพื้นชั้นลอยดังกลาวนั้นต้องมีเนื้อที่ไม่เกินรอยละสี่สิบของเนื้อที่หอง ระยะดิ่งระหวาง พื้นชั้นลอยถึงพื้นอีกชั้นหนึ่งต้องไม่นอยกวา 2.50 เมตร และระยะดิ่งระหวางพื้นหองถึงพื้นชั้นลอย ต้องไม่นอยกวา 2.40 เมตร ขอ 27 พื้นชั้นลางของอาคารที่พักอาศัยต้องมีระดับอยู่เหนือพื้นดินปลูกสรางไม่ต่ํากวา 75 เซนติเมตร แต่ถาเป็นพื้นซีเมนต อิฐ หิน หรือวัตถุแข็งอยางอื่นที่สรางติดพื้นดินต้องมีระดับ อยู่เหนือพื้นดินปลูกสรางอาคารไม่ต่ํากวา 10 เซนติเมตร และถาเป็นอาคารตั้งอยู่ริมทางสาธารณะ ความสูงจะต้องวัดจากระดับทางสาธารณะนั้น ในกรณีที่มีการถมดินเพื่อปลูกสรางอาคารให้ถมดินได้ไม่เกินความสูง 60 เซนติเมตร จากระดับทางสาธารณะดานหน้า เวนแต่จะได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่นเป็นกรณีพิเศษ ทั้งนี้ ผู้ขออนุญาตจะต้องทําการฝงทอลอดดานหน้าให้การระบายน้ําเป็นไปได้โดยสะดวก ตลอดจน ต้องหาทางปองกันมิให้เกิดความเดือดรอนแกที่ดินขางเคียงอีกด้วย ้ หนา 141 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 180 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 กรกฎาคม 2566

ขอ 28 หามมิให้มีประตูหน้าตางหรือชองลมจากครัวไฟเปดเขาสูหองสวมหรือหองนอน ของอาคารได้โดยตรง ขอ 29 เตาไฟสําหรับโรงงานหรือการพาณิชยต้องมีผนังเตากอด้วยอิฐดินเผาหรืออิฐทนไฟ กําบังความรอนมิให้เกิดอันตรายไฟไหมสวนอาคารที่ต่อเนื่องกับเตา และต้องตั้งอยู่ในอาคารที่ประกอบด้วย วัตถุทนไฟ ทั้งนี้ เตาต้องตั้งหางจากผนังอาคาร หรือสิ่งที่เป็นเชื้อไฟรอบรัศมีไม่ต่ํากวา 4 เมตร โครงหลังคาวัตถุมุงหลังคาปลองระบายควันไฟ และเพดาน สวนประกอบเพดาน ถามีต้องเป็นวัตถุทนไฟ และต้องทําปลองระบายควันไฟมิให้ฝาผนังหรือหลังคารับความรอนจัดโดยความสูงของปลองต้องสูงกวา หลังคาอาคารขางเคียงภายในระยะโดยรอบ 25 เมตรไม่นอยกวา 1 เมตรและมีความกวาง ของปลองโดยวัดเสนผาศูนยกลางไม่นอยกวา 20 เซนติเมตร ขอ 30 ประตูสําหรับอาคารสาธารณะ โรงงานหรืออาคารพาณิชย ถามีธรณีประตูต้องเรียบ เสมอกับพื้น ขอ 31 บันไดของอาคารอยู่อาศัยถาต้องมีอยางนอยหนึ่งบันไดที่มีความกวางสุทธิไม่นอยกวา 80 เซนติเมตร ชวงหนึ่งสูงไม่เกิน 3 เมตร ลูกตั้งสูงไม่เกิน 20 เซนติเมตร ลูกนอนเมื่อหักสวนที่ขั้นบันได เหลื่อมกันออกแล้วเหลือความกวางไม่นอยกวา 22 เซนติเมตร และต้องมีพื้นหน้าบันไดมีความกวาง และยาวไม่นอยกวาความกวางของบันไดบันไดที่สูงเกิน 3 เมตร ต้องมีชานพักบันไดทุกชวง 3 เมตร หรือนอยกวานั้น และชานพักบันไดต้องมีความกวางและยาวไม่นอยกวาความกวางของบันได ระยะดิ่งจากขั้นบันไดหรือชานพักบันไดถึงสวนต่ําสุดของอาคารที่อยู่เหนือขึ้นไปต้องสูงไม่นอยกวา 1.90 เมตร ขอ 32 บันไดของอาคารอยู่อาศัยรวม หอพักตามกฎหมายวาด้วยหอพัก สํานักงานอาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย โรงงาน และอาคารพิเศษ สําหรับที่ใชกับชั้นที่มีพื้นที่อาคารชั้นเหนือขึ้นไปรวมกัน ไม่เกิน 300 ตารางเมตร ต้องมีความกวางสุทธิไม่นอยกวา 1.20 เมตร แต่สําหรับบันไดของอาคารดังกลาว ที่ใชกับชั้นที่มีพื้นที่อาคารชั้นเหนือขึ้นไปรวมกันเกิน 300 ตารางเมตร ต้องมีความกวางสุทธิไม่นอยกวา 1.50 เมตร ถาความกวางสุทธิของบันไดนอยกวา 1.50 เมตร ต้องมีบันไดอยางนอยสองบันได และแต่ละบันไดต้องมีความกวางสุทธิไม่นอยกวา 1.20 เมตร บันไดของอาคารที่ใชเป็นที่ชุมนุมของคนจํานวนมาก เชน บันไดหองประชุมหรือหองบรรยาย ที่มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 500 ตารางเมตรขึ้นไป หรือบันไดหองรับประทานอาหารหรือสถานบริการ ที่มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 1 , 000 ตารางเมตรขึ้นไป หรือบันไดของแต่ละชั้นของอาคารนั้นที่มีพื้นที่รวมกัน ตั้งแต่ 2 , 000 ตารางเมตรขึ้นไป ้ หนา 142 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 180 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 กรกฎาคม 2566

ต้องมีความกวางไม่นอยกวา 1.50 เมตร ต้องมีบันไดอยางนอยสองบันไดถามีบันไดเดียวต้อง มีความกวางไม่นอยกวา 3 เมตร บันไดที่สูงเกิน 4 เมตร ต้องมีชานพักบันไดทุกชวง 4 เมตร หรือนอยกวานั้น และระยะดิ่ง จากขั้นบันไดหรือชานพักบันไดถึงสวนต่ําสุดของอาคารที่อยู่เหนือขึ้นไปต้องสูงไม่นอยกวา 2.10 เมตร ชานพักบันไดและพื้นหน้าบันไดต้องมีความกวางและความยาวไม่นอยกวาความกวางสุทธิของบันได เวนแต่บันไดที่มีความกวางสุทธิเกิน 2 เมตร ชานพักบันไดและพื้นหน้าบันไดจะมีความยาวไม่เกิน 2 เมตรก็ได้ บันไดตามวรรคหนึ่ง และวรรคสองต้องมีลูกตั้งสูงไม่เกิน 18 เซนติเมตร ลูกนอนเมื่อหักสวน ที่ขั้นบันไดเหลื่อมกันออกแล้วเหลือความกวางไม่นอยกวา 25 เซนติเมตร และต้องมีราวบันไดกันตกบันได ที่มีความกวางสุทธิเกิน 6 เมตร และชวงบันไดสูงเกิน 1 เมตร ต้องมีราวบันไดทั้งสองขางบริเวณจมูกบันได ต้องมีวัสดุกันลื่น ขอ 33 บันไดตามขอ 32 จะต้องมีระยะหางไม่เกิน 40 เมตร จากจุดที่ไกลสุดบนพื้นที่ชั้นนั้น ขอ 34 บันไดตามขอ 31 และขอ 32 ที่เป็นแนวโคงเกิน 90 องศา จะไม่มีชานพักบันไดก็ได้ แต่ต้องมีความกวางเฉลี่ยของลูกนอนไม่นอยกวา 22 เซนติเมตร สําหรับบันไดตามขอ 31 และไม่นอยกวา 25 เซนติเมตร สําหรับบันไดตามขอ 32 ขอ 35 บันไดซึ่งมีชวงระยะสูงกวาที่กําหนดไวให้ทําที่พักมีขนาดกวางยาวไม่นอยกวา สวนกวางของบันไดนั้น ถาตอนใดต้องทําเลี้ยวมีบันไดเวียนสวนแคบที่สุดของลูกนอนต้องกวางไม่นอยกวา 10 เซนติเมตร อาคารที่มีบันไดติดต่อกันตั้งแต่สี่ชั้นขึ้นไป พื้น ประตู หน้าตาง วงกบของหอง บันได และสิ่งกอสรางโดยรอบบันไดต้องกอสรางด้วยวัตถุทนไฟ หน้าตางหรือชองระบายอากาศ หรือชองแสงสวาง ซึ่งทําติดต่อกันสูงเกิน 10 เมตร ต้องสรางด้วยวัตถุทนไฟ ขอ 36 ลิฟตสําหรับบุคคลใชสอยให้ทําได้แต่ในอาคารที่ซึ่งประกอบด้วยวัตถุทนไฟเป็นสวนใหญ และโดยเฉพาะสวนต่อเนื่องกับลิฟตนั้นต้องเป็นวัตถุทนไฟทั้งสิ้น สวน ปลอดภัยของลิฟตต้องมีอยู่ ไม่นอยกวาสี่เทาของน้ําหนักที่กําหนดให้ ขอ 37 วัตถุมุงหลังคาให้ทําด้วยวัตถุทนไฟ เวนแต่อาคารซึ่งตั้งอยู่หางอาคารอื่นซึ่งมุง ด้วยวัตถุทนไฟ หรือหางเขตที่ดินหรือทางสาธารณะเกิน 40 เมตรจะใชวัตถุอื่นก็ได้ ้ หนา 143 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 180 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 กรกฎาคม 2566

ขอ 38 สวนฐานรากของอาคารซึ่งอยู่ใตดินต่อเนื่องกับทางสาธารณะจะล้ําทางสาธารณะเขาไปไม่ได้ ฐานรากของอาคารต้องทําเป็นลักษณะถาวรมั่นคงพอที่จะรับน้ําหนักของอาคาร และน้ําหนักที่จะใชบรรทุกได้ โดยปลอดภัย ในกรณีที่เห็นวาการกําหนดฐานรากยังไม่มั่นคงเพียงพอให้เรียกรายการคํานวณจาก เจ้าของอาคารเพื่อประกอบการพิจารณาได้ ขอ 39 อาคารที่ปลูกสรางสูงเกินเจ็ดชั้นให้มีพื้นที่ดาดฟาเพื่อใชเป็นทางหนีไฟทางอากาศ ตามสภาพที่เหมาะสม หมวด 4 แนวอาคารและระยะตาง ๆ ขอ 40 หามมิให้บุคคลใดปลูกสรางอาคารหรือสวนของอาคารยื่นออกมาในหรือเหนือทาง หรือที่ดินสาธารณะ ขอ 41 ตึกแถว หองแถว อาคารพาณิชย โรงงาน และอาคารสาธารณะที่ได้รนแนวหาง จากเขตทางสาธารณะไม่เกิน 2 เมตร ทองกันสาดของพื้นชั้นแรกต้องสูงจากระดับทางเทาที่กําหนด 3.25 เมตรระเบียงดานหน้าอาคารยื่นได้ไม่เกินสวนยื่นสถาปตยกรรม หามระบายน้ําจากกันสาดดานหน้าอาคารและจากหลังคาลงในที่สาธารณะหรือในที่ดิน ที่ได้รนแนวอาคารจากเขตทางสาธารณะโดยตรง แต่ให้มีรางระบายหรือทอระบายน้ําจากกันสาด หรือหลังคาให้เพียงพอลงไปถึงพื้นดินแล้วระบายลงสูทอสาธารณะหรือบอพัก อาคารตามวรรคหนึ่งที่ได้รนแนวหางจากเขตทางสาธารณะเกิน 2 เมตร หากมีกันสาดระเบียง หรือสวนยื่นสถาปตยกรรมใดยื่นออกมาในระยะ 2 เมตรจากเขตทางสาธารณะต้องปฏิบัติตามสองวรรคแรกด้วย ขอ 42 หามมิให้ปลูกสรางอาคารสูงกวาระดับพื้นดินเกินสองเทาของระยะจากผนังดานหน้า ของอาคารถึงแนวถนนฟากตรงขาม เวนแต่จะได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่นเป็นกรณีพิเศษ ขอ 43 อาคารที่กอสรางหรือดัดแปลงใกลถนนสาธารณะที่มีความกวางนอยกวา 6 เมตร ให้รนแนวอาคารหางจากกึ่งกลางถนนสาธารณะอยางนอย 3 เมตร อาคารที่สูงเกินสองชั้นหรือเกิน 8 เมตร หองแถว ตึกแถว บ้านแถว อาคาพาณิชย โรงงาน อาคารสาธารณะ ปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายหรือคลังสินคา ที่กอสราง หรือดัดแปลง ใกลถนนสาธารณะ ้ หนา 144 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 180 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 กรกฎาคม 2566

(1) ถาถนนสาธารณะนั้นมีความกวางนอยกวา 10 เมตร ให้รนแนวอาคารหางจาก กึ่งกลางถนนสาธารณะอยางนอย 6 เมตร (2) ถาถนนสาธารณะนั้นมีความกวางตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป แต่ไม่เกิน 20 เมตร ให้รนแนวอาคารหางจากเขตถนนสาธารณะอยางนอย 1 ใน 10 ของความกวางของถนนสาธารณะ (3) ถาถนนสาธารณะนั้นมีความกวางเกิน 20 เมตรขึ้นไป ให้รนแนวอาคารหางจาก เขตถนนสาธารณะอยางนอย 2 เมตร ขอ 44 อาคารหลังเดี่ยวซึ่งมีถนนสาธารณะสองสายขนาดไม่เทากันขนาบอยู่เมื่อระยะระหวาง ถนนสาธารณะสองสายนั้นไม่เกิน 60 เมตร และสวนกวางของอาคารตามแนวถนนสาธารณะ ที่กวางกวาไม่เกิน 60 เมตร ความสูงของอาคาร ณ จุดใดต้องไม่เกินสองเทาของระยะราบที่ใกลที่สุด จากจุดนั้นไปตั้งฉากกับแนวเขตถนนสาธารณะดานตรงขามของสายที่กวางกวา ขอ 45 อาคารหลังเดี่ยวซึ่งอยู่ที่มุมถนนสายสาธารณะสองสายขนาดไม่เทากัน ความสูงของอาคาร ณ จุดใดต้องไม่เกินสองเทาของระยะราบที่ใกลที่สุด จากจุดนั้นไปตั้งฉากกับแนวเขตถนนสาธารณะ ดานตรงขามของสายที่กวางกวา และความยาวของอาคารตามแนวถนนสาธารณะที่แคบกวาต้องไม่เกิน 60 เมตร สําหรับอาคารซึ่งเป็นหองแถวหรือตึกแถว ความยาวของอาคารตามแนวถนนสาธารณะ ที่แคบกวาต้องไม่เกิน 15 เมตร ขอ 46 ระยะหางของอาคารกับเขตที่ดิน กรณีผนังอาคารมีประตูหน้าตาง ชองระบายอากาศ ชองแสง หรือระเบียงอาคาร ต้องมีระยะหางจากเขตที่ดิน ดังนี้ (1) ผนังอาคารสวนที่สูงไม่เกิน 9 เมตร ต้องอยู่หางเขตที่ดินที่ไม่นอยกวา 2 เมตร (2) ผนังอาคารสวนที่สูงเกิน 9 เมตร แต่ไม่เกิน 23 เมตร ต้องอยู่หางเ ขตที่ดิน ไม่นอยกวา 3 เมตร ขอ 47 ผนังอาคารที่อยู่หางเขตที่ดินนอยกวาที่กําหนดไวในในขอ 46 (1) และ (2) ต้องอยู่หางเขตที่ดินไม่นอยกวา 50 เซนติเมตร และต้องกอสรางเป็นผนังทึบและดาดฟาของอาคารดานนั้น ให้ทําผนังทึบสูงจากดาดฟาไม่นอยกวา 1.80 เมตร ในกรณีกอสรางชิดเขตที่ดินต้องได้รับความยินยอม เป็นหนังสือจากเจ้าของที่ดินขางเคียงดานนั้นด้วย ขอ 48 อาคารแต่ละหลังหรือหนวยต้องมีที่วางตามที่กําหนด ดังต่อไปนี้ ้ หนา 145 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 180 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 กรกฎาคม 2566

(1) อาคารอยู่อาศัย อาคารอยู่อาศัยรวมต้องมีที่วางไม่นอยกวา 30 ใน 100 สวนของพื้นที่ชั้นใดชั้นหนึ่งที่มากที่สุดของอาคาร (2) หองแถว ตึกแถว อาคารพาณิชย โรงงาน อาคารสาธารณะ และอาคารอื่น ซึ่งไม่ได้ใชเป็นที่อยู่อาศัย ต้องมีที่วางไม่นอยกวา 10 ใน 100 สวนของพื้นที่ชั้นใดชั้นหนึ่งที่มากที่สุด ของอาคารแต่ถาอาคารดังกลาวใชเป็นที่อยู่อาศัยด้วยต้องมีที่วางตาม (1) (3) หองแถวหรือตึกแถวซึ่งดานหน้าไม่ติดริมถนนสาธารณะต้องมีที่วางดานหน้าอาคาร กวางไม่นอยกวา 6 เมตร โดยไม่ให้มีสวนใดของอาคารยื่นล้ําเขาไปในพื้นที่ดังกลาวหองแถว หรือตึกแถวต้องมีที่วางดานหลังอาคารกวางไม่นอยกวา 3 เมตร เพื่อใชติดต่อถึงกันโดยไม่ให้มีสวนใด ของอาคารยื่นล้ําเขาไปในพื้นที่ดังกลาว เวนแต่การสรางบันไดหนีไฟภายนอกอาคารที่ยื่นล้ําไม่เกิน 1.40 เมตร ระหวางแถวดานขางของหองแถวหรือตึกแถวที่สรางถึงสิบคูหา หรือมีความยาวรวมกันถึง 40 เมตร ต้องมีที่วางระหวางแถวดานขางของหองแถวหรือตึกแถวนั้นกวางไม่นอยกวา 4 เมตร เป็นชองตลอดความลึก ของหองแถวหรือตึกแถวเพื่อเชื่อมกับที่วางหลังอาคารหองแถวหรือตึกแถวที่สรางติดต่อกันไม่ถึงสิบคูหา หรือมีความยาวรวมกันไม่ถึง 40 เมตรแต่มีที่วางระหวางแถวดานขางของหองแถวหรือตึกแถวนั้น กวางนอยกวา 4 เมตร ไม่ให้ถือวาเป็นที่วางระหวางแถวดานขางของหองแถวหรือตึกแถว แต่ให้ถือวาหองแถว หรือตึกแถวนั้นสรางต่อเนื่องเป็นแถวเดียวกัน ที่วางตามวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสามจะกอสรางอาคาร รั้ว กําแพง หรือสิ่งกอสรางอื่นใด หรือจัดให้เป็นบอน้ํา สระวายน้ํา ที่พักมูลฝอย หรือที่พักรวมมูลฝอยไม่ได้ หองแถวหรือตึกแถวที่มีดานขางใกลเขตที่ดินของผู้อื่นต้องมีที่วางระหวางดานขางของหองแถว หรือตึกแถวกับเขตที่ดินของอื่นนั้นกวางไม่นอยกวา 2 เมตร เวนแต่หองแถวหรือตึกแถวที่กอสรางขึ้น ทดแทนอาคารเดิมโดยมีพื้นที่ไม่มากกวาพื้นที่ของอาคารเดิม และมีความสูงไม่เกิน 15 เมตร ขอ 49 หองแถว ตึกแถว และอาคารพาณิชยต้องมีชองหน้าตางหรือประตูเปดสูภายนอกได้ ไม่นอยกวา 20 ใน 100 สวนของพื้นที่อาคารทุกชั้นชองหน้าตางหรือประตูเปดสูภายนอก หมายถึงชองเปดของผนังดานทางสาธารณะหรือดานที่หางที่ดินเอกชนสําหรับอาคารชั้นสองลงมาไม่นอยกวา 2 เมตร สําหรับชั้นสามขึ้นไปไม่นอยกวา 3 เมตร ้ หนา 146 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 180 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 กรกฎาคม 2566

ขอ 50 อาคารที่กอสรางมากอนขอบัญญัตินี้มีผลใชบังคับ มีแนวอาคารและระยะขัดขอบัญญัตินี้ หามต่อเติมหรือขยาย เวนแต่ซอมแซมเพื่อความมั่นคงแข็งแรง และเป็นระเบียบเรียบรอยสวยงาม หมวด 5 บทกําหนดโทษ ขอ 51 ผู้ใดฝาฝนขอบัญญัตินี้มีความผิดตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 บทเฉพาะกาล ขอ 52 การขออนุญาตปลูกสรางอาคารที่ได้ยื่นคําขอไวกอนขอบัญญัตินี้ใชบังคับให้ปฏิบัติ ตามขอบัญญัติและกฎกระทรวงที่ใชอยู่เดิม ขอ 53 ในกรณีที่รัฐมนตรีออกกฎกระทรวงกําหนดภายหลังขอบัญญัตินี้ใชบังคับแล้ว ขอบัญญัตินี้สวนที่ขัดหรือแยงกับกฎกระทรวงให้เป็นอันยกเลิกและให้ขอบัญญัตินี้ในสวนที่ไม่ขัดหรือแยง กับกฎกระทรวงยังมีผลใชบังคับต่อไป ขอบัญญัตินี้สวนที่ขัดหรือแยงกับกฎหมายวาด้วยการผังเมืองให้บังคับตามกฎหมายวาด้วย การผังเมืองนั้น ประกาศ ณ วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2563 มูฮัมมัด สาแลแม นายกองคการบริหารสวนตําบลปูโยะ ้ หนา 147 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 180 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 กรกฎาคม 2566

บัญชีอัตราคาธรรมเนียมทายขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลปูโยะ เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2563 1. คาธรรมเนียมการออกใบอนุญาต ดังนี้ (1) ใบอนุญาตกอสราง ฉบับละ 20 บาท ( 2 ) ใบอนุญาตดัดแปลง ฉบับละ 10 บาท (3) ใบอนุญาตรื้อถอน ฉบับละ 10 บาท (4) ใบอนุญาตเคลื่อนยาย ฉบับละ 10 บาท (5) ใบอนุญาตเปลี่ยนการใช ฉบับละ 20 บาท (6) ใบรับรอง ฉบับละ 10 บาท (7) ใบแทนใบอนุญาตหรือใบแทนใบรับรอง ฉบับละ 5 บาท 2 . คาธรรมเนียมการต่ออายุใบอนุญาต ดังนี้ (1) ใบอนุญาตกอสราง ฉบับละ 20 บาท ( 2 ) ใบอนุญาตดัดแปลง ฉบับละ 10 บาท (3) ใบอนุญาตรื้อถอน ฉบับละ 10 บาท (4) ใบอนุญาตเคลื่อนยาย ฉบับละ 10 บาท 3. คาธรรมเนียมการตรวจแบบแปลนกอสราง หรือดัดแปลงอาคาร สําหรับการกอสราง หรือสําหรับสวนที่มีการดัดแปลง ดังนี้ (1) อาคารซึ่งสูงไม่เกินสองชั้นหรือสูงไม่เกินสิบสองเมตร ให้คิดตามพื้นที่ของพื้นอาคารแต่ละชั้นรวมกัน ตารางเมตรละ 0.50 บาท ( 2) อาคารซึ่งสูงเกินสองชั้นแต่ไม่เกินสามชั้น หรือสูงเกินสิบสองเมตร แต่ไม่เกินสิบหาเมตร ให้คิดตามพื้นที่ของพื้นอาคารแต่ละชั้นรวมกัน ตารางเมตรละ 2 บาท (3) อาคารซึ่งสูงเกินสามชั้นหรือสูงเกินสิบหาเมตร ให้คิดตามพื้นที่ของอาคารแต่ละชั้นรวมกัน ตารางเมตรละ 4 บาท (4) อาคารประเภทซึ่งจะต้องมีพื้นรับน้ําหนักบรรทุกชั้นใดชั้นหนึ่งเกินหารอยกิโลกรัมต่อหนึ่งตารางเมตร ให้คิดตามพื้นที่ของพื้นอาคารแต่ละชั้นรวมกัน ตารางเมตรละ 4 บาท (5) พื้นที่หรือสิ่งที่สรางขึ้นเพื่อใชเป็นที่จอดรถ ที่กลับรถ และทางเขาออกของรถสําหรับอาคาร ที่กําหนดตามมาตรา 8 (9) แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ให้คิดตามพื้นที่ของที่จอดรถ ที่กลับรถ และทางเขาออกของรถรวมกันตารางเมตรละ 0.50 บาท ในกรณีที่พื้นที่หรือสิ่งที่สรางขึ้นเพื่อใชเป็นที่จอดรถ ที่กลับรถ และทางเขาออกของรถสําหรับอาคาร ที่กําหนดดังกลาวอยู่ในอาคารหรือชั้นหนึ่งชั้นใดของอาคารไม่ต้องคิดคาธรรมเนียมการตรวจแบบแปลน ตามวรรคหนึ่งอีก (6) ปายให้คิดตามพื้นที่ของปายโดยเอาสวนกวางที่สุดคูณด้วยสวนยาวที่สุดตารางเมตรละ 4 บาท

(7) อาคารประเภทซึ่งต้องวัดความยาว เชน เขื่อน ทางหรือทอระบายนา รั้วหรือ กําแพง รวมทั้งประตูรั้วหรือกําแพงให้คิดตามความยาว เมตรละ 1 บาท ในการคิดคาธรรมเนียมการตรวจแบบแปลน เศษของตารางเมตรหรือเมตรตั้งแต่กึ่งหนึ่งขึ้นไป ให้ถือเป็นหนวยเต็ม ถาต่ํากวากึ่งหนึ่งให้ปดทิ้ง ในการคิดความสูงของอาคารเป็นชั้นให้นับจํานวนชั้นของพื้นอาคารที่บุคคลเขาใชสอยได้ ยกเวนพื้นชั้นลอย ในการคิดความสูงของอาคารเป็นเมตรให้วัดจากระดับพื้นดินถึงหลังคา หรือสวนของอาคารที่สูงที่สุด ในกรณีที่อาคารมีพื้นชั้นลอยให้คิดพื้นชั้นลอยเป็นพื้นที่ของพื้นอาคาร ในการคิดคาธรรมเนียมการตรวจแบบแปลนด้วย 4. ให้อาคารดังต่อไปนี้ได้รับการยกเวนคาธรรมเนียมการออกใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต และการตรวจแบบแปลนกอสรางหรือดัดแปลงอาคาร (1) อาคารของกระทรวง ทบวง กรมที่ใชในราชการหรือใชเพื่อสาธารณประโยชน ( 2 ) อาคารของราชการสวนทองถิ่นที่ใชในราชการหรือใชเพื่อสาธารณประโยชน (3) อาคารขององคการของรัฐที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายที่ใชในกิจการขององคการ หรือใชเพื่อสาธารณประโยชน (4) โบราณสถาน วัดวาอาราม หรืออาคาร ตาง ๆ ที่ใ ชเพื่อการศาสนาซึ่งมีกฎหมาย ควบคุมการกอสรางไวแล้วโดยเฉพาะ (5) อาคารชั่วคราวเพื่อใชประโยชน ในการกอสรางอาคารถาวร ซึ่งสูงไม่เกินสองชั้น หรือสูงไม่เกินเกาเมตร และมีกําหนดเวลารื้อถอน (6) อาคารเพื่อใชประโยชนเป็นการชั่วคราวซึ่งสูงไม่เกินสองชั้นหรือสูงไม่เกินเกาเมตร และไม่ ใชอาคารสาธารณะ อาคารพิเศษ หรืออาคารประเภทควบคุมการใ ชตามมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และมีกําหนดเวลารื้อถอน