ประกาศกรมเจ้าท่า ที่ 165/2566 เรื่อง กำหนดให้แม่น้ำเจ้าพระยา เขตท่ากรุงเทพฯ เป็นพื้นที่ควบคุมการเดินเรือ สำหรับเรือลำเลียงและเรือลากจูง เป็นการเฉพาะคราว
ประกาศกรมเจ้าท่า ที่ 165/2566 เรื่อง กำหนดให้แม่น้ำเจ้าพระยา เขตท่ากรุงเทพฯ เป็นพื้นที่ควบคุมการเดินเรือ สำหรับเรือลำเลียงและเรือลากจูง เป็นการเฉพาะคราว
ประกาศกรมเจ้าท่า ที่ 165 / 25 66 เรื่อง ก้าหนดให้แม่น้้าเจ้าพระยา เขตท่ากรุงเทพฯ เป็นพื้นที่ควบคุมการเดินเรือ ส้าหรับเรือล้าเลียงและเรือลากจูง เป็นการเฉพาะคราว ด้วยแม่น้้าเจ้าพระยามีการสัญจรของเรือล้าเลียงสินค้าเป็นจ้านวนมาก ประกอบกับการพัฒนา รูปแบบโครงสร้างของเรือล้าเลียงมีขนาดที่ใหญ่ขึ้น ดังนั้น เพื่อให้การจราจรทางน้้าบริเวณพื้นที่ แม่น้้าเจ้าพระยา เขตท่ากรุงเทพฯ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย เกิดความปลอดภัยในการเดิ นเรือ ความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สิน รวมถึงการรักษาสภาพแวดล้อมทางน้้า อาศัยอ้านาจตามความใน มาตรา 52 ทวิ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้้าไทย พระพุทธศักราช 2456 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้้าไทย (ฉบับที่ 11) พ.ศ . 2520 อธิบดีกรมเจ้าท่า จึงออกประกาศก้าหนดให้แม่น้้าเจ้าพระยา เขตท่ากรุงเทพฯ เป็นพื้นที่ควบคุมการเดินเรือส้าหรับ เรือล้าเลียงและเรือลากจูงเป็นการเฉพาะคราว ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศกรมเจ้าท่า ที่ 165 / 2566 เรื่อง ก้าหนดให้แม่น้้าเจ้าพระยา เขตท่ากรุงเทพฯ เป็นพื้นที่ควบคุมการเดินเรือส้าหรับเรือล้าเลียงและเรือลากจูง เป็นการเฉพาะคราว ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2568 ข้อ 3 ให้ยกเลิกประกาศกรมเจ้าท่า ที่ 72/2564 เรื่อง ก้าหนดให้แม่น้้าเจ้าพระยา เขตท่าเรือกรุงเทพฯ เป็นพื้นที่ควบคุมการเดินเรือ ส้าหรับเรือล้าเลียง และเรือลากจูง เป็นการเฉพาะคราว ลงวันที่ 5 เมษายน 2564 ข้อ 4 ค้าสั่ง ระเบียบ หรือประกาศใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับประกาศนี้ ให้ใช้ประกาศนี้แทน ข้อ 5 การลากจูงเรือล้าเลียง เรือลากจูงต้องมีก้าลังของเครื่องจักรใหญ่ไม่น้อยกว่า 200 แรงม้า (14 9.20 กิโลวัตต์) และขณะจูงทวนน้้าไปต้องมีความเร็วชั่วโมงละ 2 ไมล์ (3 .70 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เป็นอย่างน้อย ข้อ 6 ให้เรือลากจูงต้องมีวิทยุสื่อสารที่สามารถติดต่อกับเจ้าหน้าที่กรมเจ้าท่า เจ้าพนักงาน น้าร่องหรือระหว่างเรือด้วยกัน ดังนี้ (1) กรณีติดต่อเจ้าหน้าที่กรมเจ้าท่า ให้ใช้ความถี่ 156.575 MHz ( VHF ช่อง 71) (2) กรณีติดต่อเจ้าพนักงานน้าร่อง ให้ใช้ความถี่ 156.650 MHz ( VHF ช่อง 13) ( 3 ) กรณีติดต่อระหว่างเรือลากจูง เรือล้าเลียง หรือเรืออื่น ให้ใช้ความถี่ 156.600 MHz ( VHF ช่อง 1 2) และเมื่อพ้นทุ่นหมายเลข 23 บริเวณโค้งบางปู ให้ใช้ความถี่ 157.150 MHz ( VHF ช่อง 23) ้ หนา 51 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 174 ง ราชกิจจานุเบกษา 18 กรกฎาคม 2566
( 4 ) ให้นายเรือของเรือลากจูง ต้องท้าการแจ้งการลากจูงเรือ โดยแจ้งต้าบลที่ต้นทาง เพื่อไปถึงต้าบลที่ปลายทาง และแจ้งสินค้าที่บรรทุก เมื่อมีการเดินเรือผ่านพื้นที่บริเวณส้านักงานเจ้าท่า ภูมิภาคสาขาทุกส้านักงาน ที่มีการเดินเรือผ่านทุกครั้ง ข้อ 7 ให้เรือลากจูงเรือล้าเลียงได้ โดยความยาวของการพ่วงเรือล้าเลียงนับจากท้ายเรือลากจูง จนถึงท้ายเรือล้าเลียงล้าสุดท้ายต้องมีความยาวไม่เกิน 2 40 เมตร และกรณีต้องใช้เรือลากจูงมากกว่า 1 ล้า ห้ามไม่ให้เรือลากจูงลากควบระหว่างเรือลากจูงเหล็กกับเรือลากจูงไม้ และ ( 1 ) กรณีเรือลากจูงมีก้าลังของเครื่องจักรใหญ่ ไม่น้อยกว่า 200 แรงม้า (14 9.20 กิโลวัตต์) ให้ลากจูงได้ ดังนี้ (ก) เรือล้าเลียงมีน้้าหนักบรรทุกรวมกันไม่เกิน 3 , 000 ตัน และ (ข) จ้านวนเรือในการลากจูงไม่เกิน 4 ล้า ( 2 ) กรณีเรือลากจูงมีก้าลังของเครื่องจักรใหญ่ ไม่น้อยกว่า 300 แรงม้า (223.8 0 กิโลวัตต์) ให้ลากจูงได้ ดังนี้ (ก) เรือล้าเลียงมีน้้าหนักบรรทุกรวมกันไม่เกิน 4,600 ตัน และ (ข) จ้านวนเรือในการลากจูงไม่เกิน 4 ล้า ( 3 ) กรณีเรือลากจูงมีก้าลังของเครื่องจักรใหญ่ ไม่น้อยกว่า 400 แรงม้า (298 .8 0 กิโลวัตต์) ให้ลากจูงได้ ดังนี้ (ก) เรือล้าเลียงมีน้้าหนักบรรทุกรวมกันไม่เกิน 6,6 00 ตัน และ (ข) จ้านวนเรือในการลากจูงไม่เกิน 4 ล้า ( 4 ) กรณีเรือลากจูงมีก้าลังของเครื่องจักรใหญ่ ไม่น้อยกว่า 4 2 0 แรงม้า (313.32 กิโลวัตต์) ให้ลากจูงได้ ดังนี้ (ก) เรือล้าเลียงมีน้้าหนักบรรทุกรวมกันไม่เกิน 7,100 ตัน และ (ข) จ้านวนเรือในการลากจูงไม่เกิน 4 ล้า ( 5 ) กรณีเรือลากจูงมีก้าลังของเครื่องจักรใหญ่ ไม่น้อยกว่า 4 4 0 แรงม้า (328.24 กิโลวัตต์) ให้ลากจูงได้ ดังนี้ (ก) เรือล้าเลียงมีน้้าหนักบรรทุกรวมกันไม่เกิ น 7,6 00 ตัน และ (ข) จ้านวนเรือในการลากจูงไม่เกิน 4 ล้า ( 6 ) กรณีเรือลากจูงมีก้าลังของเครื่องจักรใหญ่ ไม่น้อยกว่า 4 6 0 แรงม้า (343.16 กิโลวัตต์) ให้ลากจูงได้ ดังนี้ (ก) เรือล้าเลียงมีน้้าหนักบรรทุกรวมกันไม่เกิน 8,1 00 ตัน และ (ข) จ้านวนเรือในการลากจูงไม่เกิน 4 ล้า ( 7 ) กรณีเรือลากจูงมีก้าลังของเครื่องจักรใหญ่ ไม่น้อยกว่า 4 8 0 แรงม้า (358.08 กิโลวัตต์) ให้ลากจูงได้ ดังนี้ ้ หนา 52 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 174 ง ราชกิจจานุเบกษา 18 กรกฎาคม 2566
(ก) เรือล้าเลียงมีน้้าหนักบรรทุกรวมกันไม่เกิน 8,6 00 ตัน และ (ข) จ้านวนเรือในการลากจูงไม่เกิน 4 ล้า ( 8 ) กรณีเรือลากจูงมีก้าลังของเครื่องจักรใหญ่ ไม่น้อยกว่า 5 00 แรงม้า (373.00 กิโลวัตต์) ให้ลากจูงได้ ดังนี้ (ก) เรือล้าเลียงมีน้้าหนักบรรทุกรวมกันไม่เกิน 9,100 ตัน และ (ข) จ้านวนเรือในการลากจูงไม่เกิน 4 ล้า ( 9 ) กรณีเรือลากจูงมีก้าลังของเครื่องจักรใหญ่ ไม่น้อยกว่า 6 00 แรงม้า (447.60 กิโลวัตต์) ให้ลากจูงได้ ดังนี้ (ก) เรือล้าเลียงมีน้้าหนักบรรทุกรวมกันไม่เกิน 11,400 ตัน และ (ข) จ้านวนเรือในการลากจูงไม่เกิน 4 ล้า ( 10 ) กรณีเรือลากจูงที่ลากเรือล้าเลียงที่ไม่มีการบรรทุกสินค้าในระวาง สามารถลากจูงไ ด้ไม่เกิน 4 ล้า ( 11 ) เรือล้าเลียงทุกล้าต้องบรรทุกสินค้าไม่เกินกว่าน้้าหนักบรรทุกที่ใบอนุญาตใช้เรือก้าหนด หรือเกินกว่าแนวน้้าบรรทุกที่ก้าหนด ข้อ 8 การลากจูงเรือล้าเลียงบรรทุกสินค้าในแม่น้้าเจ้าพระยา ต้องมีเรือดึงท้าย หรือเรือโต่งท้าย ที่มีก้าลังของเครื่องจักรใหญ่ไม่น้อยกว่าก้าลังของเครื่องจักรใหญ่เรือลากจูงล้าหน้าในระยะ 500 เมตร ก่อนการเดินเรือเข้าพื้นที่และออกจากพื้นที่ และการเดินเรือช่วงระหว่างพื้นที่สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า กรุงเทพมหานคร ถึงสะพานกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร รวมถึงต้อ งจัดคนประจ้าเรืออย่างน้อยหนึ่งคน ประจ้าอยู่ที่หัวเรือล้าเลียงทุกล้า ข้อ 9 กรณีฤดูน้้าหลาก หรือมีเหตุเชื่อได้ว่าอาจเป็นอันตรายต่อการเดินเรือ บริเวณโค้ง ช่องนนทรี โค้งบางจาก และโค้งพระประแดง อธิบดีกรมเจ้าท่าอาจออกประกาศเพิ่มเติม เพื่อก้าหนดให้ การลากจูงเรือล้าเลียงบรรทุกสินค้าต้องมีเรือดึงท้ายหรือเรือโต่งท้าย ในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เป็นการเฉพาะคราวได้ ข้อ 10 การลากจูงเรือล้าเลียงห้ามมิให้มีการแซงกันบริเวณช่วงโค้งช่องนนทรี โค้งบางจาก โค้งพระประแดง และโค้งโรงเรียนนายเรือ ข้อ 1 1 การลากจูงให้ นายเรือของเรือลากจูง ควบคุมให้เรือมีระยะห่างพ่วงจูงไม่น้อยกว่า 250 เมตร นับจากท้ายเรือของเรือล้าเลียงพวงก่อนหน้า ในพื้นที่ระหว่างสะพานกรุงธนบุรี ถึงป้อมพระจุลจอมเกล้า ข้อ 1 2 นายเรือหรือผู้ควบคุมเรือผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามประกาศนี้ ต้องระวางโทษปรับ ตั้งแต่ห้าร้อยบาทถึงห้าพันบาท และให้เจ้าท่ามีอ้านาจสั่งยึดประกาศนียบัตรผู้ควบคุมเรือมีก้าหนด ไม่เกินหกเดือน ตามมาตรา 52 ทวิ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้้าไทย พระพุทธศักราช 2456 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินเรื อในน่านน้้าไทย (ฉบับที่ 14) ้ หนา 53 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 174 ง ราชกิจจานุเบกษา 18 กรกฎาคม 2566
พ.ศ. 2535 หากปฏิบัติหน้าที่ในระหว่างที่ประกาศนียบัตรผู้ควบคุมเรือถูกยึด ตามมาตรา 52 ทวิ วรรคสอง ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสองหมื่นบาทตามมาตรา 52 ตรี แห่งพระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้้าไทย (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ เจ้าท่ามีอ้านาจสั่งงดไม่ให้ใช้ประกาศนียบัตร หรือใบอนุญาตมีก้าหนดไม่เกินสองปี โดยไม่ลบล้างโทษอย่างอื่นซึ่งนายเรือหรือผู้ควบคุมเรือนั้นจะพึงได้รับ ตามมาตรา 291 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้้าไทย พระพุทธศักราช 2456 แก้ไขเพิ่ มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้้าไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 ประกาศ ณ วันที่ 22 มิ ถุนายน พ.ศ. 25 6 6 กริชเพชร ชัยช่วย ผู้ตรวจราชการกระทรวงคมนาคม รักษาราชการแทน อธิบดีกรมเจ้าท่า ้ หนา 54 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 174 ง ราชกิจจานุเบกษา 18 กรกฎาคม 2566