ประกาศคณะกรรมการการบินพลเรือน เรื่อง แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ พ.ศ. 2566
ประกาศคณะกรรมการการบินพลเรือน เรื่อง แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ พ.ศ. 2566
ประกาศคณะกรรมการการบินพลเรือน เรื่อง แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ พ.ศ. 256 6 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 15 (1) แห่งพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินอากาศ (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562 ประกอบกับมติ คณะกรรมการการบินพลเรือน ในคราวประชุมครั้งที่ 4/2565 เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2565 ได้อนุมัติแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมตามที่สานักงานการ บินพลเรือน แห่งประเทศไทยเสนอ คณะกรรมการการบินพลเรือนจึงออกประกาศ เรื่อง แผนนิรภัยในการบินพลเรือน แห่งชาติ ไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศคณะกรรมการการบินพลเรือน เรื่อง แผนนิรภัย ในการบินพลเรือนแห่งชาติ พ.ศ. 2566 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการการบินพลเรือน เรื่อง แผนนิรภัยในการบินพลเรือน แห่งชาติ พ.ศ. 2562 ลงวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2562 ข้อ 4 การจัดการด้านนิรภัยในการบินพลเรือนให้เป็นไปตามแผนนิรภัยในการบิ นพลเรือน แห่งชาติ ฉบับแก้ไข ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2566 แนบท้ายประกาศนี้ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีหน้าที่ดำเนินการตามอำนาจหน้าที่เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตาม แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ข้อ 5 ให้สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยมีหน้าที่กำกับดูแลและควบคุมการดาเนินการ ให้เป็นไปตามแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ให้คณะกรรมการนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติซึ่งคณะกรรมการการบินพลเรือนแต่งตั้ง ขับเคลื่อนแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติให้เป็นไปตามวั ตถุประสงค์และเป้าหมาย ประกาศ ณ วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 256 6 อธิรัฐ รัตนเ ศรษฐ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม รักษาราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ประธานกรรมการการบินพลเรือน ้ หนา 13 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 173 ง ราชกิจจานุเบกษา 17 กรกฎาคม 2566
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ State Safety Programme ( SSP ) ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 1 ไ ปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 ก บันทึกการแก้ไขเอกสาร ลำดับที่ วันที่ รายละเอียดการแก้ไข แก้ไขโดย 00 17 เม.ย. 62 เอกสารออกใหม่ บันเทิง เมฆฉาย 01 9 มิ.ย. 65 ปรับปรุง โครงสร้าง เอกสาร และ เนื้อหา ในการกำกับ ดูแลด้านความปลอดภัย ขจรพัฒน์ มากลิ่น
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 1 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 ข บทนำ แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( State Safety Programme : SSP ) มีวัตถุประสงค์ หลักในการพัฒนา ความปลอดภัยในการบินพลเรือนของประเทศอย่างต่อเนื่อง ผ่านการจัดการความเสี่ยง ด้านความปลอดภัยแบบเชิงรุก อันจะนาไปสู่ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ผู้ ใช้บริการ และผู้ที่มีส่วนได้ส่ วนเสียใน อุตสาหกรรมการบินของประเทศ รวมทั้ ง เพื่ อ สนั บสนุนและ ส่ งเสริมวัฒนธรรม ความปลอดภัยเชิงบวก เพื่อให้การดาเนินการจัดการด้าน ความปลอดภัยใน การบินพลเรือนของประเทศไทยเป็นไป อย่ำงมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ข้างต้น จาเป็น ต้องมีการประสานงาน ความร่วมมือ ใน การดาเนิน กิจกรรมร่วมกัน และการสื่อสาร ระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมการบิน ทั้งในส่วนของภาครัฐ และภาคเอกชน ตลอดจน การกากับดูแลด้านความปลอดภัยร่วมกับการตัดสินใจบนพื้นฐานของข้ อมูล (data - driven decision making) รวมทั้งต้องมีการกาหนด นโยบายและกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ เพื่อใช้ดำเนินการ ดังต่อไปนี้ - นโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ที่มีผลบังคับใช้กับผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในระบบ การบิน ของ ประเทศ - กรอบการกำกับดูแลและกฎระเบียบด้านความปลอดภัย รวมทั้งการประสานงาน และการ ดำเนินการ ร่วมกันระหว่างผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในระบบการบิน ของ ประเทศ - วิธีการในการระบุและจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในระดับประเทศ อันเป็นผลมา จากการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนข้อมูลด้ำนความปลอดภัยและสารสนเทศด้านความปลอดภัยของผู้ที่มีส่วนได้ ส่วนเสียในระบบการบิน ของ ประเทศ - วิธีการติดตามสมรรถนะความปลอดภัยในการบินพลเรือน รวมถึงประสิทธิผล ของการดำเนินงานระบบการจัดการด้านนิรภัย - วิ ธีในการส่งเสริม ด้านความปลอดภัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ ง การส่งเสริม วัฒนธรรม ความปลอดภัยเชิงบวกและ วัฒนธรรมการปฏิบัติอย่างเป็นธรรม ( Just Culture ) ในระบบการบินของประเทศ ทั้งหมด สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย (กพท.) มีหน้าที่รับผิดชอบในการ ประสานงาน และบริหารจัดการแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ( นายอธิรัฐ รัตนเศรษฐ ) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม รักษาราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรว ง คมนาคม ประธานกรรมการการบินพลเรือน
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) สารบัญ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 ค สารบัญ หน้า บันทึกการแก้ไขเอกสาร … … … … .. ก บทนำ … … … … … ข สารบัญ … … … … … ค บทที่ 1 นิยามศัพท์ … … … … … 1 - 1 บทที่ 2 การแจกจ่ายและการแก้ไขเอกสาร … … … … 2 - 1 2.1 การแจกจ่ายเอกสาร … … … … 2 - 1 2.2 การแก้ไขเอกสาร … … … … 2 - 1 บทที่ 3 นโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( State safety policy ) … … 3 - 1 3.1 นโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ … … … 3 - 1 บทที่ 4 ขอบเขตของระบบการบินของประเทศไทย ( Thailand aviation system description ) … 4 - 1 บทที่ 5 การกำกับดูแลด้านความปลอดภัยของประเทศ ( State safety governance ) … 5 - 1 5.1 ระบบ โครงสร้างองค์กร และหน้าที่ความรับผิดชอบ ( State system and functions ) … 5 - 1 5.2 กรอบกฎหมายด้านความปลอดภัยในการบินพลเรือนของประเทศ ( State safety legislative framework ) … … … … .. 5 - 9 5.3 การจัดการเอกสารแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP document management ) … 5 - 11 5.4 การจัดการแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( Thailand aviation safety action plan management ) … … … … 5 - 12 5.5 การจัดการนโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( State safety policy governance ) … 5 - 12 5.6 การจัดการวัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัย ( State safety objectives governance ) … 5 - 12 บทที่ 6 การจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของประเทศ ( State safety risk management ) … 6 - 1 6.1 การออกใบรับรอง ใบอนุญาต ใบสำคัญ หนังสืออนุญาต และหนังสือรับรอง ( Licensing, certification, authorization and approval obligations ) … … … 6 - 1 6.2 การกำหนดให้องค์กรด้านการบินพลเรือนจัดทำระบบการจัดการด้านนิรภัยการบิน ( Safety managem ent system obligations ) … … … 6 - 1 6.3 การสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ ( Accident and incident investigation ) … 6 - 2
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) สารบัญ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 ง 6.4 การระบุชี้สภาวะอันตรายและการประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัย ( Hazard identification and safety risk assessment ) … … … … 6 - 4 บทที่ 7 การประกันด้านความปลอดภัยของประเทศ ( State safety assurance ) … … 7 - 1 7.1 การตรวจติดตาม ( Surveillance obligations ) … … … 7 - 1 7.2 การจัดการสมรรถนะความปลอดภัย ( State safety performance ) … … 7 - 2 7.3 การจัดการความเปลี่ยนแปลง ( Management of change ) … … 7 - 2 บทที่ 8 การส่งเสริมด้านความปลอดภัยของประเทศ ( State safety promotion ) … … 8 - 1 8.1 วัฒนธรรมการปฏิบัติอย่างเป็นธรรม ( Just Culture) … … … 8 - 1 8.2 การสื่อสารด้านความปลอดภัย ( Safety communication ) … … 8 - 1 8.3 บุคลากรทางเทคนิคและการพัฒนาบุคลากรทางเทคนิค ( Qualified technical personnel and training ) … … … … … 8 - 2
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 1 - 1 นิยามศัพท์ นิยามศัพท์ที่ปราก ฏ ในเอกสารฉบับนี้ ให้มีความหมายดังต่อไปนี้ การจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย ( Safety risk management ) หมายความถึง กระบวนการ อย่างเป็นระบบในการระบุชี้สภาวะอันตรายที่เกิดขึ้นในระบบการบิน ของ ประเทศ การประเมินความเสี่ ยง และกาหนดวิธีใน การควบคุมและจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ การตรวจติดตาม ( Surveillance ) หมายความถึง การดาเนินการของสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศ ไทย เพื่อตรวจสอบว่าผู้ได้รับใบรับรอง ใบอนุญาต ใบสำคัญ หนังสืออนุญาตหรือหนังสือรับรอง ยังคงมี คุณสมบัติครบถ้วนตามที่กฎหมายกำหนด หรือยังคงปฏิบัติตามข้อกำหนดหรือเงื่อนไขของใบรับรอง ใบอนุญาต ใบสำคัญ หนังสืออนุญาต หรื อหนังสือรับรอง และมีความปลอดภัยเป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ ในกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง รวมถึง มีสมรรถนะความปลอดภัยในระดับที่สานักงานการบินพลเรือน แห่งประเทศไทยกาหนด การตรวจติดตามความเสี่ยง ( Risk - based surveillance ) หมายความถึง การตรวจติดตาม ซึ่งใช้ข้อมู ล ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในการจัดลาดับความสาคัญของการดาเนินการ ซึ่งมุ่งเน้นกลุ่มที่มีความเสี่ยง ด้านความปลอดภัยสูงเป็นลาดับแรก การประเมินความเสี่ยง ( Risk assessment ) หมายความถึง การประเมินความเป็นไปได้ และความรุนแรง ของ การ สูญเสีย การบาดเจ็บ สาหัส และ ความเสียหายของ อากา ศยาน หรือ โครงสร้างอากาศยานอันเป็นผลลัพธ์ จาก สภาวะ อันตราย การระบุชี้ สภาวะอันตราย ( Hazard identification ) หมายความถึง กระบวนการในการระบุ สภาวะ อันตราย ที่มีอยู่ และกาหนดผลลัพธ์ของ สภาวะอันตราย นั้นจากข้อมูลด้านความปลอดภัย ด้วยวิธีการเชิงรับ และ เชิ งรุก ที ได้มีการ รวบรวม ไว้ การลดความเสี่ยง ( Risk mitigation ) หมายความถึง กระบวนการในการป้องกัน ควบคุม หรือการกาหนด มาตรการ เพื่อลดความรุนแรงและ/หรือโอกาสในการเกิดผลกระทบจาก สภาวะอันตราย กฎหมายหลักด้านการบินพลเรือน ( Primary aviation legislation ) หมายความถึง พระราชบัญญัติ การเดินอากาศ พ.ศ. 2497 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม และพระราชกาหนดการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558 กฎข้อบังคับเฉพาะด้าน ( Specific operating regulations ) หมายความถึง กฎหมายที่ออกตามความ ในพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 และ ฉบับ แก้ไขเพิ่มเติม และพระราชกาหนดการบินพลเรือน แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558 ข้อมูลด้านความปลอดภัย ( Safety data ) หมายความถึง ข้อมูลซึ่งเป็นข้อเท็จจริง ( Facts ) หรือ สิ่งที่มีนัยยะ ต่อความปลอดภัย ( Safety v alues ) ที่ได้จากการรวบรวมจาก หลากหลาย แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ การบิน ซึ่งนำไ ปใช้ในการคงไว้ซึ่งความปลอดภัยหรือเพื่อพัฒนาด้านความปลอดภัย
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 1 - 2 ความเสี่ยงด้านความปลอดภัย ( Safety risk ) หมายความถึง การ คาดการณ์ ความน่าจะเป็นและความรุนแรง ของผลลัพธ์อันเกิดจาก สภาวะอันตราย ฐานข้อมูลด้านความปลอดภัย ( Safety database ) หมายความถึง ฐานข้อมูล ที่รวมถึง ข้อมูลด้าน ความปลอดภัยและสารสนเทศ ด้านความปลอดภัย ที่ใช้ สนับสนุน การวิเคราะห์ข้อมูลด้านความปลอดภัย เช่น 1. ข้อมูล การสอบสวน อากาศยานอุบัติเหตุ หรืออุบัติการณ์ 2. ข้อมูล เหตุการณ์ด้านความปลอดภัย ภาคบังคับ 3. ข้อมูลการรายงาน เหตุการณ์ ด้านความปลอดภัย ภาคสมัครใจ 4. ข้อมูลการรายงานการคงความต่อเนื่องความสมควรเดินอากาศ 5. ข้อมูลการประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัย 6. ข้อมูลจากกรณีศึกษาด้านความปลอดภัย 7. ข้อมูลความปลอดภัยจากประเทศ ต่าง ๆ หรือองค์กรกากับดูแลความปลอดภัยระดับภูมิภาค ( RSOOs ) หรือองค์ก รสอบสวน อุบัติเหตุแล ะอุบัติ การณ์ในระ ดับภูมิภาค ( RAIOs ) เป็นต้น ตัวชี้วัดสมรรถนะความปลอดภัย ( Safety Performance Indicators : SPIs ) หมายความถึง ตัวชี้วัด ซึ่งกาหนดขึ้นจากข้อมูลด้านความปลอดภัย เพื่อนาไปใช้ในการติดตาม ( Monitor ) และประเมิน ( Assess ) สมรรถนะ ความปลอดภัย ทะเบียน สภาวะอันตราย ( Hazard register ) หมายความถึง ตารางหรือทะเบียนที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล สภาวะอันตราย ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะประกอบด้วย สภาวะอันตราย ผลลัพธ์ที่สาคัญจาก สภาวะอันตราย นั้น การประเมินความเสี่ยง วันที่ระบุชี้สภาวะอันตราย ประเภทของ สภาวะอันตราย คำอธิบายโดยสังเขป ผู้ที่ระบุ ชี้ สภำวะอันตราย และมาตรการในการลดความเสี่ยง นโยบายการบังคับใช้กฎหมาย ( Enforcement p olicy ) หมายความถึง นโยบายที่อธิบายหลักและวิธีปฏิบัติ ซึ่งถือเป็นแนวดาเนินการในการพิทักษ์ข้อมูลด้านความปลอดภัยและสารสนเทศด้านความปลอดภัย รวมถึง แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่า งยิ่ง ข้อมูลอาจจะทำให้ตนต้องรับผิดทางอาญา รวมทั้งระบุถึง สถานการณ์และบริบทที่องค์กรด้านการบินพลเรือนสามารถจัดการประเด็นปัญหาด้านความปลอดภัยของตน เป็นการภายในภายใต้ระบบการจัดการด้านนิรภัยที่ได้รับการยอมรับจากสำนักงานการบินพลเรือน แห่งประเทศไทย โดยที่ ระบบการจั ดการด้านนิรภัยนั้นเป็นไปตามกรอบ และแสดงให้เห็นว่าเป็นระบบที่ มี ประสิทธิ ผล และสมบูรณ์ ประเด็นปัญหาความปลอดภัย ( Safety issue ) หมายความถึง ข้อบ่งชี้ถึง สภาวะอันตราย โดยทั่วไปสามารถ ระบุจากกระบวนการระบุชี้ สภาวะอันตราย ขององค์กร ผลิตภัณฑ์ หมายความถึง อากาศยาน ส่วนปร ะกอบสาคัญของอากาศยาน ชิ้นส่วนรับรองคุณภาพ ชิ้นส่วน มาตรฐาน หรือบริภัณฑ์ แล้วแต่กรณี สมรรถนะความปลอดภัย ( Safety performance ) หมายความถึง การบรรลุผลด้านความปลอดภัยของรัฐ หรือองค์กรด้านการบินพลเรือน ซึ่งกาหนดจากเป้าหมายสมรรถนะความปลอ ดภัยและตัวชี้วัดสมรรถนะ ความปลอดภัย
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏ ที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 1 - 3 เป้าหมายสมรรถนะความปลอดภัย ( Safety Performance Targets : SPTs ) หมายความถึง ค่าของตัวชี้วัด ด้านความปลอดภัยซึ่งกาหนดให้เป็นเป้าหมายที่ต้องการบรรลุในช่วงเวลาใด เวลาหนึ่ง ซึ่งมีความสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัย ผู้ดำเนินการเดินอากาศ ( Air ope rator ) หมายความถึง ผู้ได้รับใบรับรองผู้ดำเนินการเดินอากาศ จากสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย องค์กรที่มีการทำการบินทั่วไป ( Organization with g eneral a viation o peration ) หมายความถึง องค์กรที่มีการปฏิบัติการของอากาศยานนอกเหนือจากการขนส่งทางอากาศเพื่อการพา ณิชย์และการทางาน ทางอากาศ ผู้ดำเนินการหน่วยซ่อม ( Approved maintenance organization ) หมายความถึง ผู้ได้รับใบรับรอง หน่วยซ่อมจากสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ผู้ ดำเนิน การ สนามบิน ( Airport operator ) หมายความถึง ผู้ได้รับใบรับรองการดำเนินงานสนามบิน สาธารณะ และผู้ได้รับในอนุญาตจัดตั้งสนามบินส่วนบุคคล จากสำนักงาน การบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ผู้ให้บริการการเดินอากาศ ( Air navigation service provider ) หมายความถึง ผู้ให้บริการการจัดการ จราจรทางอากาศ ผู้ให้บริการระบบสื่อสาร ระบบช่วยการเดินอากาศ และระบบติดตามอากาศยาน ผู้ ให้บริการอุตุนิยมวิทยาการบิน ผู้ให้บริการข่าวสารการบิน ผู้ให้บริการการออกแบบวิธีปฏิบัติการบินด้วย เครื่องวัดประกอบการบิน และผู้ให้บริการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานประสบภัย ผู้ให้บริการ การจัดการ จราจรทางอากาศ ( Air traffic management services providers ) หมายความ ถึง ผู้ได้รับใบรับรองการให้บริการการจัดการจราจรทางอากาศ ประเภทบริการจราจรทางอากาศ สาหรับ บริการที่เกี่ยวกับข้อมูลสาหรับเที่ยวบิน ( Flight information service ) การเฝ้าระวังและแจ้งเตือน ( Alerting service ) การแนะนำจราจรทางอากาศ ( Air traffic advisory ser vices ) และการควบคุมการจราจรทางอากาศ ในพื้นที่ควบคุม เขตประชิดสนามบิน และบริเวณสนามบิน ( Air traffic control service ) ผู้ได้รับใบรับรอง การให้บริการการจัดการจราจรทางอากาศ ประเภทการจัดการห้วงอากาศ และผู้ได้รับใบรับรองการให้บริการ การจัดการจราจรทางอากาศ ประเภทกา รจัดการความคล่องตัวของการจราจรทางอากาศ ผู้ออกแบบและผลิตผลิตภัณฑ์ ( Aircraft / Product design and manufacturer ) หมายความถึง ผู้ได้รับ ใบรับรองแบบ และผู้ได้รับใบอนุญาตผลิตผลิตภัณฑ์จากสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย แผน ปฏิบัติการด้านความปลอดภัย การบินพลเรือนของ โลก ( Global Aviation Safety Plan : GASP ) หมายความถึง แผนยุทธศาสตร์และภารกิจซึ่งกำหนดโดยองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ เพื่อการบรรลุเป้าหมายด้านความปลอดภัยการบินของโลก โดยมีการกาหนดแผนและขั้นตอนการดาเนินงาน ด้านความปลอดภัยอย่างชัดเจน
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 1 - 4 แผนนิรภัยในการบินพลเ รือนแห่งชาติ ( State Safety Programme : SSP ) หมายความถึง กลไกหรือระบบ ที่ ใช้ในการจัดการด้านความปลอดภัยด้านการบินพลเรือนของประเทศไทย ซึ่งรวมถึงการกากับดูแลด้าน ความปลอดภัยในการบินพลเรือนของประเทศด้วย ระดับสมรรถนะความปลอดภัยที่ยอมรับได้ ( Acceptable L evel of S afety P erformance : ALoSP ) หมายความถึง ระดับสมรรถนะความปลอดภัยขั้นต่าที่ยอมรับได้ของระบบการบินของประเทศ ซึ่งกาหนดไว้ ในแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ หรือระดับประสิทธิภาพความปลอดภัยขั้นต่าที่ยอมรับได้ ซึ่งกาหนด ไว้ในระบบการจัดการด้านนิรภัยของ องค์กรด้านการบิ นพลเรือนและได้รับการยอมรับจากสานักงานการบิน พลเรือนแห่งประเทศไทย โดย เป็นการ กำหนดในรูปแบบเป้าหมายสมรรถนะความปลอดภัย ( SPTs ) และตัวชี้วัดสมรรถนะความปลอดภัย ( SPIs ) ระบบการจัดการด้านนิรภัย ( Safety Management System : SMS ) หมายความถึง กระบวนการเชิง ระบบในการจัดกำรด้านนิรภัย ซึ่งรวมถึงการจัดโครงสร้างองค์กร การกำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบ การกาหนดนโยบาย และวิธีปฏิบัติในการจัดการด้านนิรภัย ระบบการบิน ของประเทศ ( Aviation system ) หมายความถึง กิจการด้านการบินพลเรือน การฝึกสอนบิน การออกแบบ การผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน การซ่อมบารุงอากาศยาน พื้นที่ทาการบิน การจราจรทางอากาศ ระบบช่วยการเดินอากาศ สนามบิน รวมถึงข้อมูลข่าวสาร การบริการ กฎหมาย นโยบาย ข้อบังคับ วิธีปฏิบัติ บุคลากร และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมดังกล่าวข้างต้น ระบบเก็บข้อมูลและประมวลผลข้อมูลด้านความปลอด ภัย ( Safety D ata C ollection and P rocessing System : SDCPS ) หมายความถึง ระบบที่ใช้ในการจัดเก็บ รวบรวม และนาข้อมูลและสารสนเทศไปใช้ ในการวิเคราะห์ด้านความปลอดภัย เพื่อสนับสนุนกิจกรรมด้านการบริหารจัดการสมรรถนะความปลอดภัย ระบบรายงาน เหตุการณ์ด้านความปลอดภัย ภาคบัง คับ ( Mandatory reporting system ) หมายความถึง ระบบการรายงานเหตุการณ์ ด้านความปลอดภัย ที่เกิดขึ้นตามที่กาหนดไว้ในข้อกาหนดของสานักงานการบิน พลเรือนแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการรายงานเหตุการณ์ด้านความปลอดภัยในการบินพลเรือน วัฒนธรรมความปลอดภัย ( Positive safety culture ) หมายความถึง การรับรู้ ค่านิยม และการให้ ความสาคัญด้านความปลอดภัยขององค์กร ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นที่จะทาให้เกิดความปลอดภัย ในทุก ๆ ระดับขององค์กร วัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัย ( Safety objective ) หมายความถึง ข้อความซึ่งเป็นภาพรวมในระดับ นโยบาย ซึ่ งระบุถึงความมุ่ งหมายด้ำนความปลอดภัย ( Safety a chievement ) หรือผลลั พธ์ ด้ำน ความปลอดภัย ( Safety o utcomes ) ที่ต้องการดาเนินการให้บรรลุผลภายใต้ระบบการจัดการด้านนิรภัย ขององค์กร สถาบันฝึกอบรมด้านการบิน ( Approved training organization ) หมายความถึง ผู้ได้รับใบรับ รอง สถาบันฝึกอบรมด้านการบินจากสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย องค์กรด้านการบินพลเรือน ( Civil a viation o rganization ) หมายความถึง องค์กรซึ่งปฏิบัติการ ดังต่อไปนี้
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 1 - 5 1. ผู้ดำเนินการเดินอากาศ ( A ir operator ) 2. ผู้ดำเนินการสนามบินสาธารณะ ( P ublic aerodrome operator ) 3. ผู้ให้บริการการจัดการจราจรทางอากาศ ( A ir traffic management service provider ) 4. ผู้ให้บริการระบบสื่อสาร ระบบช่วยการเดินอากาศ และระบบติดตามอากาศยาน ( Communication , Navigation, and Surveillance service p rovider ) 5. ผู้ให้บริการข่าวสารการบิน ( A eronautical informati on service provider ) 6. สถาบันฝึกอบรมด้านการบินที่มีการปฏิบัติการบิน ( A pproved training organ ization with aircraft operation ) 7. ผู้ดำเนินการหน่วยซ่อม ( A pproved maintenance organization ) 8. ผู้ได้รับใบอนุญาตผลิตอากาศยาน หรือส่วนประกอบสำคัญของอากาศยาน ( Manufacture o f a ircraft, Engine or Propeller organization ) 9. ผู้ได้รับใบรับรองแบบอากาศยาน หรือส่วนประกอบสาคัญของอากาศยาน ( Type design of aircraft, Engine or Propeller o rganization ) 10. องค์กรที่มีการทำงานทางอากาศ เพื่อบำเหน็จทางการค้า ( O rganization with commercial aerial wor k operation ) 11. องค์กรที่มีการทำการบินทั่วไป ( O rganization with general aviation operation ) แหล่งข้อมูลด้านความปลอดภัย ( Safety data sources ) หมายความถึง ที่มาของข้อมูลด้านความปลอดภัย เช่น 1. ข้อมูลการสอบสวนอากาศยานอุบัติเหตุ หรืออุบัติการณ์ 2. รายงาน เหตุการณ์ ด้านความปลอดภัย (ภาคบังคับและภาคสมัครใจ) 3. รายงานด้านการคงความต่อเนื่องความสมควรเดินอากาศ 4. การติดตามประสิทธิภาพการปฏิบัติการบิน 5. รายงานการตรวจพินิจ การตรวจสอบ การตรวจติดตาม และ การสำรวจ 6. กรณีศึกษาด้านความปลอดภัย วัฒนธรรมการปฏิบัติอย่างเป็นธรรม ( Just Culture ) หมายความถึง บรรยากาศของความเชื่อใจซึ่ง บุคคล ในองค์กรได้รับการ ส่งเสริม ในการ ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ขณะที่มี ความชัดเจนในการแบ่ง พฤติกรรมที่ยอมรับได้ และพฤติกรรมที่ยอมรับไม่ได้
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไป ใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 2 - 1 การแจกจ่ายและการแก้ไข เอกสาร 2.1 การแจกจ่ายเอกสาร แผน นิร ภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติได้จัดทาขึ้นเพื่อเผยแพร่ให้กับ องค์กรด้านการบินพลเรือน ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญกับกิจการการบินพลเรือน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ หน่วยงานรัฐที่ปฏิบัติการบิน ร่วมกับการบินพลเรือน ซึ่งการแจกจ่ายจะดาเนินการโดยการจัดส่งให้ผู้เกี่ยวข้องในรูปแบบสาเนา เอกสาร และ / หรือรูปแบบ อิเล็กทรอนิกส์ 2.2 การแก้ไขเอกสาร เมื่อเนื้อหาของแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงตามมาตรฐาน และข้อแนะนาพึงปฏิบัติในภาคผนวกที่ 1 9 และเอกสารฉบับที่ 9859 ข องอนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ระหว่างประเทศ ค.ศ. 1944 ( Chicago Convention, 1944) รวมทั้งการแก้ไข เปลี่ยนแปลง ตามนโยบายนิรภัย ในการบินพลเรือนแห่งชาติ กฎหมายหลักด้านการบินพลเรือนหรือกฎข้อบังคับเฉพาะด้าน สานักงานการบิน พลเรือนแห่งประเทศไทยจะเป็นผู้ดาเนินการแจ้งข้ อแก้ไขไปยัง คณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ ของอากาศยาน คณะกรรมการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานประสบภัย แห่งชาติ องค์กรด้าน การบิน พลเรือน ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียที่ สำคัญกั บกิจการการบินพลเรือน หน่วยงานที่เกี่ ยวข้อง และ หน่วยงานรัฐ ที่ปฏิบัติการบินร่วมกับกา รบินพลเรือน การแก้ไขแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติดาเนินการโดยคาแนะนาของคณะกรรมการนิรภัย ในการบินพลเรือนแห่งชาติ และต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการการบินพลเรือน ภายหลังการอนุมัติ เอกสารจะ ดำเนินการ แจกจ่ายเผยแพร่ให้ผู้เกี่ยวข้อง โดยการดำเนินการตามข้อ 2 . 1
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 3 - 1 นโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( State safety policy ) คณะกรรมการการบินพลเรือน (กบร.) เห็นว่าการจัดการด้าน ความปลอดภัย ในการบิน พลเรือนระดับประเทศ เป็นแรงผลักดันที่สาคัญในการเสริมสร้างการจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย ในการบิ นทั่วทั้งระบบการบิน ของ ประเทศ และเพิ่มขีดความสามารถในการกากับดูแลด้านความปลอดภัย ให้เหมาะสม เพื่อให้เป็ นไปตามมาตรฐาน และอยู่ ในระดับสูง กว่ามาตรฐานสากลที่เกี่ยวข้อง ซึ่งนโยบายนิรภัย ในการบินพลเรือนแห่งชาตินี้จะแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่น ในการพัฒนาความปลอดภัยในการบินพลเรือน ของคณะกรรมการการบินพลเรือนและ หน่วยงานรัฐด้านการบินที่เกี่ยวข้อง นโยบายนิรภัยในการบินพลเรือน แห่งชาตินี้มีผลบังคับใช้กับทุกองค์กรและผู้ถือใบอนุญาตในระบบการบิน ของ ประเทศ ไทย รวมถึงรัฐบาล หน่วยงานของรัฐ และอุตสาหกรรมการบิน 3.1 นโ ยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ประเทศไทยมุ่งมั่นที่จะดำเนินการ จัดการด้าน ความปลอดภัย ในการบินพลเรือนของประเทศ ดังนี้ (1) การ จัดทำ แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติให้มีประสิทธิ ผล ผ่านการระบุและจัดการ ความเสี่ยงด้านความปลอดภัย ซึ่งจะ ช่วยส่งเสริมความปลอดภัยและประสิ ทธิภาพของระบบการบิน ของ ประเทศ ซึ่งรวมถึง จัดให้มี ระบบการกากับดูแลด้านความปลอดภัย เพื่อให้ มั่น ใจว่ามีการดาเนินการ ตามมาตรฐานสากลที่กาหนดไว้ และมีการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความปลอดภัยเพื่อใช้ในการกาหนดภาพความ เสี่ยง ( Risk profile ) ขององค์กรด้านการบินพลเรือน (2) พัฒนามาตรฐานความปลอดภัยด้านการบินพลเรือนของประเทศให้สอดคล้องกับ มาตรฐานและข้อพึงปฏิบัติขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ โดยคานึงถึงความเหมาะสม โปร่งใส ตามหลัก ธรรมำภิบาล (3) สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย คณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและ อุบัติการณ์ของอากาศยำน และ คณะกรรมการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานประสบภัย แห่งชาติ ต้องได้รับ การจัดสรรทรัพยากรทางการเงินและทรัพยากรบุคคลอย่างเพียงพอ เพื่อให้มั่นใจ ว่า การจัดการ ด้านนิรภัยและการกากับดูแลด้านความปลอดภัยของระบบการบินพลเ รือน ของ ประเทศมีประสิทธิ ผล รวมถึงมี การบริหารจัดการ ความสามารถของ บุคลากรของสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย และคณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยาน ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ให้ อย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (4) ส่งเสริม ให้เกิดวัฒนธรรมความปลอดภัยเชิงบวกใน ระ บบ การบินของประเทศ ทั้งหมด โดยส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านความปลอดภัยและสารสนเทศ ด้านความปลอดภัย ระหว่างองค์กร ด้านการบินพลเรือน รวมถึง ผู้ที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมการบิน และ สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศ ไทย เพื่อวัตถุประสงค์ในการพัฒนาการวิเคราะห์ ข้อ มูล ด้านความปลอดภัยและการจัดการด้านความปลอดภัย เชิงรุก
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 3 - 2
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 3 - 3 (5) ส่งเสริม ให้เกิด วัฒนธรรมการปฏิบัติอย่างเป็นธรรม ใน ระบบ การบินของประเทศ โดยส่งเสริมให้บุคคลหรือองค์กร เกิดความเชื่อมั่นในการ รายงานปัญหาด้านความปลอดภัยหรือข้อกังวล โดย ปราศจาก การดาเนินการใด ๆ และจะมีการปฏิบัติอย่างเป็นธรรมต่อผู้ที่ เกี่ ยวข้ อง เว้นแต่ มีเจตนา จงใจ หรือ การประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง (6) ดำเนิน การตาม นโยบายการบังคับใช้กฎหมาย ที่ สอดคล้องกับหลักการ วัฒนธรรม การปฏิบัติอย่างเป็นธรรม (7) เผยแพร่ข้อมูล ด้านความปลอดภัยและสารสนเทศ ด้านความปลอดภัย ที่สำ คัญ รวมถึง คู่มือ แนะนำเกี่ยวกับแนวคิดและหลักการการจัดการด้านนิรภัยให้กับผู้ปฏิบัติงานด้าน การ บินในอุตสาหกรรมการบิน (8) สร้างความร่วมมือภายในอุตสาหกรรมการบินของไทยใน ประเด็น ความปลอดภัย และความเสี่ยง รวมถึงกาหนดมาตรการในการลดความเสี่ยงที่เหมาะสมร่วมกัน (9) ติดตามสมรรถนะ ด้าน ความปลอดภัยทั้งหมดของระบบการบิน ของ ประเทศ ผ่าน การกาหนดระดับสมรรถนะ ความปลอดภัย ที่ยอมรับได้ วัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัย ตัวชี้วัดและเป้าหมาย สมรรถนะด้านความปลอดภัย (10) ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการพิทักษ์ข้อมูลด้านความปลอดภัยและสารสนเทศ ด้านความปลอ ดภัย เพื่อให้แน่ใจว่า มีการรักษาความลับของ ข้อมูล และจะนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ ในการพัฒนาและบริหารจัดการด้านความปลอดภัยในการบินพลเรือนเท่านั้น (11) การแก้ไขประเด็นความปลอดภัย โดยความร่วมมือและการทางานร่วมกันขององค์กร ด้านการบินพลเรือนให้มีประสิทธิผล
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุ ณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 4 - 1 ขอบเขตของระบบการบินของประเทศไทย ( Thailand aviation system description ) ระบบการบินของประเทศไทยมี หน่วยงานหรือองค์กร ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ในการปฏิบัติการบินจานวนมาก ซึ่งครอบคลุมถึงหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องด้านการบิน องค์กรด้านการบิน พลเรือน และผู้มีส่วนได้เสียในอุตสาหกรรมการบินพลเรือน นอกจากนี้ยังมีส่วนต่อประสาน ( Interface ) ร่วมกับหน่วยงานและองค์กรด้านการบินพลเรือนที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกประเทศ รวมถึงมีการ ดำเนินงานอย่างใกล้ชิดร่วมกับคณะทำงานด้านความปลอดภัยการบิ นประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก รูปที่ 4 - 1 : ผู้มีส่วนไ ด้ เสียในระบบการบินของประเทศไทย
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 5 - 1 การกำกับดูแลด้านความปลอดภัยของประเทศ ( State safety governance ) การกากับดูแล ( Governance ) ของ แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ซึ่งรวมถึงระบบ โครงสร้างองค์กร และหน้าที่รับผิดชอบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กลไกในการประสานงานระหว่างผู้มีส่วนได้ เสียในการดาเนินงานแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ทั้งนี้ การจัดการเชิงกลยุทธ์ของแผนนิรภัย ในการบินพลเรือนแห่ง ชาติ ดาเนินการผ่านคณะกรรมการการบินพลเรือน (กบร.) และคณะกรรมการนิรภัย ในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( National Civil Aviation Safety Board : NCASB ) โดยมีสำนักงานการบิน พลเรือนแห่งประเทศไทย (กพท.) คณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากา ศยาน (กสอ.) สานักงาน กส อ. คณะกรรมการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานประสบภัย แห่งชาติ (กชย.) และสานักงาน กชย. ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบในการดาเนินงานแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติภายใต้การประสานงาน ของ กพท. นอกจากนี้ กพท. ยังมีหน้าที่รับผิดชอบในการกากับดูแลอุตสาหกรรมการบินของประเทศ และกา ร จัดการการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลด้านความปลอดภัยและสารสนเทศด้านความปลอดภัย 5.1 ระบบ โครงสร้างองค์กร และหน้าที่ความรับผิดชอบ ( State system and functions ) 5.1.1 หน้าที่ความรับ ผิ ดชอบของหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องต่อแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติมีการดาเนินงานโดยผู้มีอานาจและหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องตามบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ ดังนี้ 5.1.1.1 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมเป็นประธานกรรมการการบินพลเรือน ซึ่งมีหน้าที่ในการบริหารนโยบาย นิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ เพื่อให้มั่นใจว่าการขนส่งทางอากาศมีความปลอดภัย และให้อำนาจแก่ กพท. ในการควบคุมและดำเนินการกำกับดูแลตามนโยบาย นิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ และแผนนิรภัย ในการบินพลเรือนแห่งชาติ 5.1.1.2 คณะกรรมการการบินพลเรือ น (กบร.) คณะกรรมการการบินพลเรือนมีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดนโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ และพิจารณาอนุมัติแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ นอกจากนี้ ยังมีอานาจหน้าที่ในการกากับดูแล การปฏิบัติงานของ กพท. เพื่อให้มั่นใจว่าประเทศไทยปฏิบัติตามพันธกรณีด้านค วามปลอดภัยระหว่างประเทศ และอุตสาหกรรมการบินของประเทศให้มีมาตรฐานและความปลอดภัย
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 5 - 2 5.1.1.3 สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย (กพท.) สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยมีอานา จ หน้าที่ตามมาตรา 8 และ 37 แห่งพระราชกาหนดการบิน พลเรือนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558 ในการดาเนินการจั ดทาและประสานงานแผนนิรภัยในการบินพลเรือน แห่งชาติ เพื่อเสนอให้คณะกรรมการการบินพลเรือนพิจารณาอนุมัติ รวมทั้งกากับดูแลควบคุมการดาเนิน การให้เป็นไปตามแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติอย่างมีประสิทธิผล ทั้งนี้ อำนาจและหน้าที่ ความรับผิดชอบในการดาเนินงานเกี่ยวกับแ ผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติของสานักงานการบินพลเรือน แห่งประเทศไทย มีดังนี้ 1) รวบรวม วิเคราะห์ และรายงานข้อมูลด้านความปลอดภัยและสารสนเทศด้านความ ปลอดภัยที่ได้รับจากการรายงานข้อมูลเหตุการณ์ด้านความปลอดภัย ผลการดาเนินกิจกรรมในการกากับดูแล และตรวจติดตามด้านควา มปลอดภัย องค์กรด้านการบินต่างประเทศ ได้แก่ องค์กรด้านการบิน พลเรือนระหว่างประเทศ และหน่วยงานกำกับดูแลด้านการบินของประเทศอื่น ๆ 2) ประสานงานการประชุมคณะกรรมการการบินพลเรือน และคณะกรรมการนิรภัยในการ บินพลเรือนแห่งชาติ รวมทั้งการประชุมอื่น ๆ ที่สนับสนุนการดำเนินงำนแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ 3) จัดทาเอกสารแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติเพื่อเสนอให้คณะกรรมการการบินพล เรือนพิจารณาอนุมัติ รวมทั้งกำกับและควบคุมการดำเนินงานแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ 4) ตรวจสอบ ติดตาม ควบคุม รวมทั้งส่งเสริมให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในอุตสำหกรรมการบินและ กิจการการบินพลเรือนปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ และมาตรฐานสากล 5) ร่วมมือและประสานงานกับองค์กรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาด้านความปลอดภัย และการปรับปรุงด้านความปลอดภัยในการบินพล เรือนร่วมกัน โดยรวมถึงกา รแบ่งปันประเด็นปัญหาด้านความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับผู้ดาเนินการเดินอากาศ ต่างประเทศ และสนามบินต่างประเทศ 6) พัฒนากฎหมายหลักด้านการบินพลเรือนและกฎข้อบังคับเฉพาะด้านที่เกี่ยวข้องกับการ ควบคุมความปลอดภัยด้านการบินในประเทศไทย ซึ่งรวมถึงการทบทวนกฎหมายอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้แน่ใจ ว่ากฎหมายเป็นปัจจุบัน และสอดคล้องกับมาตรฐานสากล
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่ อนา Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 5 - 3 5.1.1.4 สำนักนิรภัยแ ละกำกับมาตรฐานการตรวจสอบ สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย สานักนิรภัยแ ละกากับมาตรฐานการตรวจสอบ สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยเป็นหน่วยงานที่มี หน้าที่รับผิดชอบในการเป็นผู้ประสานงานและอานวยความสะดวกในการดาเนินงานแผนนิรภัยในการบิน พลเรือนแห่งชาติ หน้าที่หลักของ สานักนิรภัยแ ละกากับมาตรฐานการตรวจสอบ คือ การวิเคราะห์ข้อมูลด้าน ความปลอดภัยและสารสนเทศด้าน ความปลอดภัยที่รวบรวมผ่านแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ โดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความปลอดภัยและสารสนเทศด้านความปลอดภัยนั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อระบุ และจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย รวมถึงจัดทาแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการบินพลเรือน แห่งชาติ นอกจากนี้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความปลอดภัยและสารสนเทศด้านความปลอดภัยถูกนาไปใช้ ประกอบการกากับดูแลอุตสาหกรรมการบินของฝ่ายกากับดูแลด้านความปลอดภัยการบิน สานักงานการบิน พลเรือนแห่งประเทศไทย เพื่อให้มั่นใจว่าการดำเนินงานด้านการบินนั้นเป็นไปตามมาตรฐานด้าน ความปลอดภัยที่ คาดหวัง โดยให้ความสาคัญกับผลประโยชน์ของสาธารณะเป็นอันดับต้น 5.1.1.5 คณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยาน (กสอ.) คณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยานทาหน้าที่เป็นหน่วยงานสอบสวนอุบัติเหตุ และอุบัติการณ์ของประเทศ มีอานาจหน้าที่ในการ ดาเนิ นการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์รุนแรงของ อากาศยานที่เกิดขึ้นใน ราชอาณาจักรอย่างเป็นอิสระ รวมถึงหน้าที่ อื่น ๆ ตามที่กาหนดไว้ใน มาตรา 64/4 แห่ง พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 โดยการดาเนินการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ เพื่อป้องกันมิให้เกิด อุบัติเหตุ และอุบัติ การณ์ ทานองเดียวกันขึ้นอีก และ มิ ได้เป็น การตาหนิบุคคลหรือกำหนดให้บุคคลใดรับผิดไม่ว่า ทางใด ๆ ทั้งนี้ การดำเนินการสอบสวน กรณีที่เป็นอุบัติเหตุหรืออุบัติการณ์รุนแรงตามภาคผนวก 13 แห่ง อนุสัญญาว่าด้วยการบิ นพลเรือนระหว่างประเทศ นั้น จะดาเนินการตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก 13 แห่ง อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมถึงพระราชบัญญัติ การเดินอากาศ พ.ศ. 2497 เพื่อให้มีการประสานการดาเนินการร่วมกันระหว่างคณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของ อากาศยาน (กสอ.) และสำนักงานการบินพลเรื อนแห่งประเทศไทย (กพท.) จึงจัดทาบันทึกความเข้าใจ ( Memorandum of Understanding: MoU ) ระหว่างสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย คณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของ อากาศยาน และ คณะกรรมการ ค้นหาและช่วยเหลืออากาศ ยานประสบภัย แ ห่ งชาติ โดยบันทึกความเข้าใจนั้นใ ห้รายละเอียดเกี่ยวกับอานาจและหน้าที่ รวมถึงกิจกรรม เพื่ออานวยความสะดวกในการปฏิบัติภารกิจและจัดการด้าน ความปลอดภัย ในการบินพลเรือนของประเทศ 5.1.1.6 สำนักงานคณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยาน (สำนักงาน กสอ.) สำนักงานคณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติกำรณ์ของอากาศยานมีหน้าที่เป็นหน่วยธุรการ ของคณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยาน รับผิดชอบในการอำนวย การ และสนับสนุน ในด้านวิชาการ การศึกษาและค้นคว้าข้อมูล และกิจการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ ของคณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยาน และคณะอนุกรรมการที่ คณะกรรมการ สอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยาน แต่งตั้ง
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 5 - 4 5.1.1.7 คณะกรรมการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานประสบภัย แห่งชาติ (กชย.) คณะกรรมการค้นหาและช่วยเหลืออา กาศยานประสบภัยแห่งชาติ มีอานาจ หน้าที่ ในการ กา หนดนโยบาย แนวทาง มาตรการ และเขตความรับผิดชอบในการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานประสบภัยของประเทศไทย และ เห็นชอบแผนการค้นหาและช่วยเหลื ออากาศยานประสบภัยแห่งชาติ โดยคา นึงถึงมาตรฐานและข้อพึง ปฏิบัติขององค์การการบินพลเรือนระห ว่างประเทศ รวมถึงหน้าที่อื่น ๆ ตามที่กาหนดไว้ใน มาตรา 64/ 22 แห่งพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 เพื่อให้มีการประสานการดาเนินการร่วมกันระหว่าง คณะกรรมการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานประสบภัย แห่งชาติ (กชย.) และสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย (กพท.) จึงจัดทำบันทึกความเข้าใจ ( Memorandum of Understanding: MoU ) ระหว่างสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย คณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของ อากาศยาน และ คณะกรรมการ ค้นหาและช่วยเหลืออากาศ ยานประสบภัย แ ห่ งชาติ โดยบันทึกความเข้าใจนั้นให้รายละเอียดเกี่ยวกับอา นาจและหน้าที่ รวมถึงกิจกรรม เพื่ออานวยความสะดวกในการปฏิบัติภารกิจและจัดการด้าน ความปลอดภัย ในการบินพลเรือนของประเทศ 5.1.1.8 สำนักงานค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานและเรือที่ประสบภัย (สำนักงาน กชย.) สำนักงานค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานและเรือที่ประสบภัย ทำ หน้าที่เป็นศูนย์ประสา นงานค้นหา และช่วยเหลืออากาศยานประสบภัย ในการดาเนินงานและประสานงานในการบูรณาการกับหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้อง เพื่อช่วยเหลืออากาศยานที่อยู่ในภาวะอันตรายหรืออากาศยานที่สูญหายหรือขาดการติดต่อ และ มีอานาจหน้าที่ในการ กากับดูแลการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานประสบภัย ให้เป็นไปตามมาตรการ ที่คณะกรรมการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานประสบภัยแห่งชาติ (กชย.) กาหนด โดยจัดทาแผนค้นหา และช่วยเหลืออากาศยานและเรือที่ประสบภัยแห่งชาติเสนอให้ กชย. เห็นชอบ รวมถึงหน้าที่อื่ น ๆ ตามที่กำหนดไว้ในมาตรา 64/ 24 แห่งพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 5.1.1.9 หน่วยงานการบินทหารและตำรวจ หน่วยงานการบินทหารและตารวจมีส่วนเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยการบินของประเทศไทย เนื่องจาก มีการปฏิบัติการบินทั้งในสนามบินพลเรือนและสนามบินทหาร รวมทั้งมีการใช้ห้วงอากาศร่วมกับการบิน พลเรือนในทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ทั้งการบินทหารอากาศ ทหารบก ทหารเรือ และการบินตำรวจ โดยส่วนงาน ที่เกี่ยวข้องทางการบิน ได้แก่ กองทัพอากาศ กองทัพบก กองทัพเรือ และกองบินตำรวจ ซึ่งมีผู้แทนเข้าร่วมเป็น กรรมการในคณะกรรมการนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( NCASB ) เพื่อให้ข้อมูลและแบ่งปันประเด็นปัญหา ด้ำนความปลอดภัยกับหน่วยงานด้านการบินพลเรือน
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 5 - 5 5.1.2 กลไกในการดำเนินงานและการประสานงานแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ คณะกรรมการนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( The National Civil Aviation Safety Board : NCASB ) คณะทางานด้านความปลอดภัยการบิน ( The Aviation Safety Acti on Group : ASAG ) เป็นหน่วยงานหลัก ในการสนับสนุนการดาเนินงานของสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย และคณะกรรมการการบิน พลเรือน ในการขับเคลื่อนแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ รวมทั้งเป็นหน่วยงานที่จัดให้มีการทางาน ร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องในกา รจัดการแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ การขับเคลื่อนแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ รวมถึงการพัฒนาแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัย ในการบินพลเรื อ นแ ห่งชำติ ( Thailand Aviation Safety Action Plan : TASAP ) การดำเนิ น งำ น เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัย และ การพัฒนา ความปลอดภัยในการบินพลเรือนของประเทศ รูปที่ 5 - 1 : กิจกรรม การ ประกันด้านความปลอดภัย 5.1.2.1 คณะกร รมการนิรภัยในการบินพลเรือนแห่ งชาติ ( The National Civil Aviation Safety Board : NCASB ) คณะกรรมการนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ แต่งตั้งขึ้นโดยคณะกรรมการการบินพลเรือนทำหน้าที่ ขับเคลื่อน แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ รวมทั้ง ทำหน้าที่ประสานงานและตัดสินใจในระดับยุทธศาสตร์ เกี่ยวกับการจัดการด้าน ความปลอดภัย ในการบินของประเทศ ตามนโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ที่ถูกกาหนดโดยคณะกรรมกา รการบินพลเรือน คณะกรรมการนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติประกอบไปด้วยผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการดำเนินงานแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ และองค์กรการบินพลเรือนที่เกี่ยวข้อง โดยมี ผู้อานวยการสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยเป็นประธานกรรมการ และผู้จั ดการ สำนักนิรภัย
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 5 - 6 แ ละกากับมาตรฐานการตรวจสอบ สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยเป็นเลขานุการฯ คณะกรรมการ นิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติกาหนดให้มีการประชุมร่วมกันอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี หรือตามเห็นสมควร ของประธานกรรมการฯ อานาจและหน้าที่ของคณะกรรมการนิรภัยในการบิน พลเรือนแห่งชาติ มีดังนี้ 1. พิจารณา ทบทวนและเสนอแนะให้มีการแก้ไขนโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ และวัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัยให้สอดคล้องกับภารกิจและสถานการณ์การบินของประเทศ 2. พิจารณาผลการดำเนินงานการระบุชี้สภาวะอันตราย การประเมินความเสี่ยง การ วิ เคราะห์และ การจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัยการบินที่ระบุในแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัย ในการบินพลเรือนแห่งชาติ และเห็นชอบกิจกรรมด้านความปลอดภัย รวมทั้งอนุมัติแผนปฏิบัติการด้าน ความปลอดภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ 3. พิจารณา สมรรถนะ ของแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ และแผนปฏิบัติการ ด้านความปลอดภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ เพื่อให้แน่ใจว่าเป็นปัจจุบัน พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะในการ ปรับปรุง สมรรถนะ ดังกล่าว 4. พิจารณาและให้ ความ เห็นชอบระดับสมรรถนะความปลอดภัยที่ยอมรับได้ ( Acceptable level of safety performance : ALoSP ) และตัวชี้วัดและเป้าหมายสมรรถนะความปลอดภัยการบิน ของประเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ จะมีการดำเนินงาน ดังนี้ 1. พิจารณาผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความปลอดภัยและสารสนเทศด้าน ความปลอดภัยที่ดาเนินการโดย สานักนิรภัยและกากับมาต รฐานการตรวจสอบ สานักงานการบินพลเรือนแห่ง ประเทศไทย ซึ่งเสนอโดยคณะทางานด้านความปลอดภัย การบิน รวมทั้งให้ข้อมูลตลอดจนคาแนะนาที่เป็น ประโยชน์ต่อคณะทำงานด้านความปลอดภัย การบิน 2. แต่งตั้งคณะทางานเพื่อดาเนินงานกิจกรรมอันอยู่ในขอบเขตแห่งอานาจและหน้าที่ ของ คณะกรรมการนิรภั ยในการบินพลเรือนแห่งชาติ 3. ระบุประเด็นปัญหาด้านความปลอดภัยที่ไม่สามารถระบุได้ผ่านระบบการรายงาน เหตุการณ์ด้านความปลอดภัย
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องกำรให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 5 - 7 5.1.2.2 คณะทำงานด้านความปลอดภัยการบิน ( Aviation Safety Action Group : ASAG ) คณะทางานด้านความปลอดภัยการบินเป็นคณะทางานของสานักงานการบินพลเรือนแห่ง ประเทศไทยที่ทา หน้าที่ในการกากับดูแลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( Thailand Aviation Safety Action Plan : TASAP ) ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอำนาจหน้าที่ของ กพท. คณะทางานด้านความปลอดภัยการบินประกอบไปด้วยผู้จัดการฝ่ายกากับดูแลด้านความปลอดภัยการบิน ผู้จัดการ สานักนิรภัยแ ละกากับมาตรฐานการตรวจสอบ โดยมีผู้อานวยการสานักงานการบินพลเรือนแห่ง ประเทศไทยเป็นประธานคณะทำงานฯ โดยกำหนดให้มีการประชุมอย่างน้อยเป็นรายไตรมาส อานาจ หน้า ที่ และความรับผิดชอบของคณะทำงานด้านความปลอดภัยการบิน มีดังนี้ 1. เห็นชอบแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ และกาหนด กิจกรรมด้านความปลอดภัยในการจัดการและบรรเทาความเสี่ยง 2. เสนอ Safety Enhancement Initiatives ( SEIs ) ในแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยใ น การบินพลเรือนแห่งชาติต่อคณะกรรมการนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ 3. เสนอ ข้อเสนอแนะ ด้านความปลอดภัยและกิจกรรมด้านความปลอดภัยที่เกี่ยวกับการ ดำเนินงานแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติต่อคณะกรรมการนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาแผนนิรภัยในการบิ นพลเรือนแห่งชาติอย่างต่อเนื่อง 5.1.2.3 คณะอนุทางานตรวจสอบข้อมูลด้านความปลอดภัย ( Safety Data Verification Sub Group : SDV / SG ) คณะอนุทางานตรวจสอบข้อมูลด้านความปลอดภัยเป็นส่วนหนึ่งของคณะทางานด้านความปลอดภัยการบิน ของสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย คณะอนุทางานฯ ประกอ บไปด้วยผู้แทนจากฝ่ายกากับดูแล ด้านความปลอดภัยการบิน และ สานักนิรภัยแ ละกากับมาตรฐานการตรวจสอบ โดย คณะอนุทางานฯ มีหน้าที่ ในการตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลด้านความปลอดภัยในระบบการรายงานเหตุการณ์ด้านความ ปลอดภัย และประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยเบื้องต้น รวมทั้งกาหนด กิจกรรมด้านความปลอดภัยในการบิน ในการจัดการความเสี่ยง เพื่อนาเสนอต่อคณะทางานด้านความปลอดภัยการบิน โดยกาหนดให้มีการประชุม เดือนละ 1 ครั้ง โดยมีผู้จัดการ สำนักนิรภัยแ ละกากับมาตรฐานการตรวจสอบ เป็นประธาน ฯ สานักนิรภัยแ ละกากับมาตรฐานการตรวจสอบ สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย จะจัดเตรียมการ วิเคราะห์ข้อมูลด้านความปลอดภัยในเบื้องต้น เพื่อให้คณะอนุทางานฯ ตรวจสอบผลการวิเคราะห์ดังกล่าวก่อน นาเสนอผู้เชี่ยวชาญตัดสินใจ ดาเนินการ พร้อมทั้งให้คาแนะนาต่อคณะทางานด้านความปลอดภัยการบิน ใน การ จัดการความเสี่ยงที่ ระบุได้
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 5 - 8 อานาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะอนุทำงานตรวจสอบข้อมูลด้านความปลอดภัย มีดังนี้ 1. พิจารณาคุณภาพและความสมบูรณ์ของข้อมูลในรายงานเหตุการณ์ด้านความปลอดภัย และกาหนดสิ่งที่ต้องดาเนินการหรือกิจกรรมจากรายงานเหตุการณ์ด้านความปลอดภัย เพื่อให้การปฏิบัติการ เกิดความปลอดภัย 2. พิจารณาตัดสินในกรณีที่จาเป็นต้องดาเนินการร่วมกับฝ่ายกากับดูแลด้านความปลอดภัย การบิน เพื่อดำเนินการสอบสวนเหตุการณ์ด้านความปลอดภัย หรือวิเคราะห์ข้อมูลด้านความปลอดภัย 3. ระบุ สภาวะอันตราย และความเสี่ยงด้านความปลอดภัยจากกิจกรรรมกำรกากับดูแลด้าน ความปลอดภัยที่อาจต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูลหรือสอบสวนเพิ่มเติมโดย สานักนิรภัยและกากับมาตรฐานการ ตรวจสอบ รวมถึงการประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยเพื่อกาหนดกิจกรรมด้านความปลอดภัยในการ จัดการความเสี่ยง 4. พิจารณารายงานอุบัติเหตุและอุบัติการณ์รุนแรง เพื่ อกาหนดมาตรการในการแก้ไขหรือ ป้องกันในกรณีที่จำเป็น 5.1.2.4 กลุ่มอภิปราย ด้านความปลอดภัยการบิน ( Aviation Safety Focus Group : ASFG ) กลุ่ม อภิปราย ด้านความปลอดภัยการบิน เป็น การ ทำงานร่วมกัน ระหว่างสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศ ไทย และอุตสาหกรรมการบิน เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานของคณะกรรมการนิรภัยในการบินพลเรือน แห่งชาติ ซึ่งจะมีการจัดประชุมเพื่อให้อุตสาหกรรมมีส่วนร่วมในการดาเนินงานแผนนิรภัยในการบินพลเรือน แห่งชาติ โดยจะมีการเสนอประเด็นปัญหาด้านความปลอดภัยและพิจารณาผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้าน ความปลอดภัยของสำนั กงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย บทบาทและความรับผิดชอบของอุตสาหกรรมการบินไทยต่อแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ คือ การสนับสนุน ให้ความร่วมมือ และทางานร่วมกับสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ซึ่งรวมถึง การแบ่งปันข้อมูลด้านความปลอดภัยและสารสนเทศด้านความปล อดภัยระหว่างอุตสาหกรรมการบิน กับสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ผ่านการรายงานเหตุการณ์ด้านความปลอดภัย รวมทั้งการระบุ และการรายงานประเด็นปัญหาด้านความปลอดภัยที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขในระดับประเทศ ซึ่งการดำเนินการนี้จะช่วยให้สามารถเข้าใจความเสี่ยงด้านกำรบินของประเทศในภาพรวมได้ดีขึ้น อุตสาหกรรมการบินยังเป็นส่วนหนึ่งของคณะกรรมการนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ และกลุ่มอภิปราย ด้านความปลอดภัย การบิน ในการพัฒนาและอนุมัติแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการบินพลเรือน แห่งชาติ เพื่อให้แน่ใจว่าอุตสาหกรรมการบินสามารถให้ ข้อมูลและมีอิทธิพลต่อวิธีการจัดการด้านนิรภัยผ่าน แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ การดาเนินกิจกรรมด้านความปลอดภัยจะช่วยลดความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติการบินผ่าน กิจกรรมการดาเนินงานแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติที่ระบุอยู่ในแผนปฏิบัติการด้านความปลอด ภัย ในการบินพลเรื อนแห่งชาติ ซึ่ง กิจกรรม บางส่วน ดาเนินการโดยภาคอุตสาหกรรมการบิน ดังนั้น อุตสาหกรรม
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 5 - 9 การบินควรพิจารณาแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ และแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการบิน พลเรือนแห่งชาติ โดยให้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมและการดาเนินงานระบบกา รจัดการด้านนิรภัย ใน การบินพลเรือนขององค์กร 5.2 กรอบกฎหมายด้านความปลอดภัยในการบินพลเรือนของประเทศ ( State s afety legislative framework ) 5.2.1 นโยบายการบังคับใช้กฎหมาย ( Enforcement policy ) พระราชบัญญัติการเดินอากาศให้อานาจที่จาเป็นแก่สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยใ นการบังคับใช้ กฎหมายและดำเนินการเมื่อพบว่ามีการกระทำที่เป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย การกระทาที่เป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย ในหลายกรณีเกิดจากความไม่รู้ หรือสาคัญผิดในข้อกฎหมาย ตลอดจน การเจตนาละเว้นการกระทาเพื่อความปลอดภัยในการบิน ดังนั้น จึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการบังคับใช้กฎหมำย ที่เหมาะสม ซึ่งรวมถึง — การให้ข้อบกพร่อง ( Finding ) ในกรณีที่พบว่ามีการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย เพื่อให้ผู้กระทา ผิดดำเนินการแก้ไขภายในระยะเวลาที่กาหนด — การจากัด พักใช้ และเพิกถอน ใบอนุญาต ใบรับรอง การมอบอานาจ และการให้ความ เห็นชอบ — การดำเนินคดี รายละเอียดนโยบายการบังคับใช้กฎหมายและคู่มือในการบังคับใช้กฎหมายปราก ฏ อยู่ในเว็บไซต์สานักงาน การบินพลเรือนแห่งประเทศไทย www . caat . or . th 5.2.2 กฎหมายหลักด้านการบินพลเรือน ( Primary aviation legislation ) ประเทศไทยมีกฎหมายหลักด้านการบินพลเรือนทางด้านความปลอดภัย คือ พระ ราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 และพระราชกาหนดการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558 ซึ่งให้อานาจ และภารกิจ แก่หน่วยงานด้านการบินของประเทศ ได้แก่ สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย คณะกรรมการ สอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยาน สานักงานคณะกรรมการสอบสวนอุ บัติเหตุและอุบัติการณ์ ของอากาศยาน คณะกรรมการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานประสบภัย แห่งชาติ และสำนักงาน คณะกรรมการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานและเรือที่ประสบภัย ในการปฏิบัติหน้าที่ 5.2.2.1 พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 ( Air Navigation Act B . E . 2497) พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม เป็นกฎหมายหลักที่ใช้ในการอนุวัติการตาม อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือนระหว่างประเทศ และมาตรฐานและข้อพึงปฏิบัติตามภาคผนวกของอนุสัญญา ดังกล่าว เพื่อให้การบินของประเทศไทยมีมาตรฐานที่ยอมรับกันในระดับสากล
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ H eading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 5 - 10 พระ ราชบัญญัตินี้ไม่ใช้บังคับแก่การเดินอากาศในราชการทหาร ราชการตารวจ ราชการศุลกากร และราชการ อื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง เว้นแต่การทำแผนการบินตามมาตรา 18/1 และการปฏิบัติตามกฎจราจรทาง อากาศตามมาตรา 18/2 และ 18/3 พระราชบัญญัตินี้กาหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อ นไข ข้อจากัดในเรื่องเกี่ยวกับกิจกรรมด้านการบิน พลเรือน รวมถึงบทกาหนดโทษ ในส่วนของกฎหมายลำดับรองในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการกำกับดูแล และการควบคุมกิจการการบินพลเรือนจะปรากฏอยู่ในรูปของกฎกระทรวง ข้อบังคับ ข้อกาหนด ประกาศ ระเบียบและคาสั่ง 5.2.2.2 พระราชกาหนดการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558 ( Civil Aviation Authority of Thailand Emergency Decree B . E . 2558) พระราชกำหนดการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558 กำหนดให้สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศ ไทยมีอานาจหน้าที่ในการดาเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ในด้ำนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจการการบินพลเรือน ให้เป็นไปตามกฎหมายและมาตรฐานสากล รวมถึงด้านนิรภัยการบิน โดยการดาเนินการจัดทาแผนนิรภัย ในการบินพลเรือนแห่งชาติ รวมทั้งติดตามสมรรถนะการดำเนินการของแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ เพื่อให้แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่ งชาติสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย มีความรับผิดชอบต่อการกากับดูแลด้านความปลอดภัย เพื่อควบคุมการปฏิบัติการด้านการบินพลเรือนให้มี การจัดการด้านความปลอดภัย เชิงรุกและคงไว้ซึ่งมาตรฐานตามที่สากลกาหนด โดยการดาเนินการออก กฎหมาย ข้อกำหนด และ คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการด้านนิรภัย รวมทั้งกำหนดให้มีคณะกรรมการกำกับ สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ซึ่ง มีอานาจหน้าที่ควบคุมดูแลการดาเนินงานของสานักงานฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสำนักงาน อย่างมี ประสิทธิ ผล และ ประสิทธิ ภาพ 5.2.3 กฎข้อบังคับเฉพาะด้าน ( Specific o perating regulations ) กฎข้อบังคับเฉพาะด้านในเรื่องการบินพลเรือนของประเทศไทยจัดทาขึ้นโดยอาศัยอานาจตามที่กาหนดไว้ ในพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 และพระราชกาหนดการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558 รายการของกฎข้อบังคับเฉพาะด้านและรายละเอียดปราก ฏ อยู่ในเว็ บไซต์สานักงานการบินพลเรือน แห่งประเทศไทย www . caat . or . th 5.2.4 วิธีการที่ยอมรับได้ว่าเป็นไปตามกฎหมาย ( Acceptable Means of Compliance : AMCs ) เพื่อให้การปฏิบัติตามกฎหมายมีประสิทธิผลตามมาตรฐานด้านความปลอดภัยที่กาหนดไว้ สานักงานการบิน พลเรือนแห่งประเทศไทยจึงจัดทำวิ ธีการที่ยอมรับได้ว่าเป็นไปตามกฎหมาย ( AMC ) และคู่มือแนะนำ สาหรับกฎข้อบังคับเฉพาะด้าน เพื่อสนับสนุนให้องค์กรด้านการบินพลเรือนและผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าใจ กฎหมายได้มากขึ้น และมั่นใจได้ว่าการปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวถือว่าถูกต้องและเป็นไปตามที่กฎหมาย กำหนด
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 5 - 11 วิธีการที่ยอมรับได้ว่าเป็นไปตามกฎหมาย ( AMC ) ไม่ใช่กฎหมายหรือมาตรฐาน แต่เป็นข้อแนะนาการปฏิบัติ ตามข้อกาหนดของกฎหมาย เมื่อองค์กรด้านการบินพลเรือนหรือผู้ที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามวิธีการดังกล่าว จะได้รับการพิจารณาว่าไม่ต้องดำเนินการสาธิตเพิ่มเติม ทั้งนี้ เพื่อ ให้เกิดความยืดหยุ่นในการดาเนินงานขององค์กรด้านการบินพลเรือนหรือผู้ที่เกี่ยวข้องที่ไม่สามารถ ดาเนินการได้ตามวิธีการที่ยอมรับได้ว่าเป็นไปตามกฎหมาย สามารถจัดทาวิธีการทางเลือกในการปฏิบัติ ตามกฎหมาย ( Alternative Means of Compliance : AMoC ) ให้สานักงานการบินพลเรือ นแห่งประเทศไทย พิจารณาอนุมัติเมื่อองค์กรด้านการบินพลเรือนต้องการที่จะใช้วิธีการทางเลือกในการปฏิบัติตามกฎหมาย ( AMoC ) แทนวิธีการที่ยอมรับได้ว่าเป็นไปตามกฎหมาย ( AMC ) ก่อนที่จะนาวิธีการดังกล่าวไปดาเนินงาน องค์กรด้านการบินพลเรือนจะต้องชี้แจงและเสนอให้สานักงานการ บินพลเรือนแห่งประเทศไทยพิจารณาอนุมัติ เพื่อแสดงให้เห็นว่าวิธีการทางเลือกในการปฏิบัติตามกฎหมาย ( AMoC ) นั้นเป็นไปตามกฎหมายหรือข้อกาหนด ที่เกี่ยวข้อง องค์กรด้านการบินพลเรือนจะต้องมีการประเมินความเสี่ยงและจัดทาเป็นลายลักษณ์อักษร โดยผลการประเมินความเสี่ยงต้องมีร ะดับความปลอดภัยเทียบเท่ากับวิธีการที่ยอมรับได้ว่าเป็นไปตามกฎหมาย ( AMC ) ที่มีอยู่ พร้อมเสนอให้สานักงานการบินพลเรือนแห่ง ประเทศไทย พิจารณาองค์กรด้านการบินพลเรือน อาจดาเนินการตามวิธีการทางเลือกในการปฏิบัติตามกฎหมาย ( AMoC ) ได้ โดยต้องได้รับการอนุมัติและแจ้ง จากสำนั กงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย 5.2.5 คู่มือแนะนำ ( Guidance m aterial ) นอกจากวิธีการที่ยอมรับได้ว่าเป็นไปตามกฎหมาย ( AMC ) สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยได้จัดทำ คู่มือแนะนาเพื่อสนับสนุนการดาเนินการตามกฎหมาย โดยคู่มือแนะนาเป็นเอกสารอธิบายกฎหมายเพิ่มเติม และไม่มี ผลทางกฎหมาย ซึ่งจะประกอบไปด้วยตัวอย่างและรูปแบบ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถตีความ และประยุกต์ใช้กฎหมาย ข้อกำหนด และวิธีการที่ยอมรับได้ว่าเป็นไปตามกฎหมายได้ 5.3 การจัดการเอกสารแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP d ocument management ) สำนักนิรภัยแ ละกากับมาตรฐาน การตรวจสอบ สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย เป็นผู้จัดทา และแก้ไขเอกสารแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ตามคาแนะนาของคณะกรรมการนิรภัยในการบิน พลเรือนแห่งชาติ และ เอกสารแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาตินั้น ต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการ การบินพลเรือน เอกสารแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติจะมีการทบทวนเป็นประจาปีละ 1 ครั้ง เพื่อปรับปรุงแก้ไข ให้เหมาะสมกับกิจกรรมการจัดการด้าน ความปลอดภัย ในการบินและให้เป็นปัจจุบัน เมื่อเอกสารแผนนิรภัย ในการบินพลเรือนแห่งชาติมีการแก้ไข สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยจะเป็ นผู้ดาเนินการแก้ไข และแจ้งข้อแก้ไขไปยังผู้ที่เกี่ยวข้อง
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 5 - 12 5.4 การจัดการแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( Thailand aviation safety action plan management ) การจัดทำแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติเป็นส่วนของการดาเนินงานแผนนิรภั ย ในการบินพลเรือนแห่งชาติ โดยคณะกรรมการนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติเป็นผู้พิจารณาอนุมัติ แผนปฏิบัติการดังกล่าว สำนักนิรภัยแ ละกากับมาตรฐานการตรวจสอบ สำนักงานการบินพลเรือนแห่ งประเทศไทย เป็นผู้ติดตาม การดาเนินงานกิจกรรมด้านความปลอดภัยที่ระบุในแผนปฏิบัติการฯ โ ดยแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัย ในการบินพลเรือนแห่งชาติจะมีการทบทวนเป็นประจาทุก ๆ 3 ปี ทั้งนี้ หากในช่วงระยะเวลา 3 ปี มีกิจกรรม ด้านความปลอดภัยเพิ่มเติม อาจจะรวมอยู่ในแผนปฏิบัติการฯ โดยจัดทาเป็นภาคผนวกเพิ่มเติม เพื่อระบุ ประเด็นปัญหาด้านความปลอดภัยใหม่ การเผย แพร่เอกสารแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติและแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการบิน พลเรือนแห่งชาติ ดาเนินการผ่านเว็บไซต์ของสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย www . caat . or . th สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยจะแจ้งผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องทราบเมื่อมีการแ ก้ไขหรือทบทวน เอกสารแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติและแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการบินพลเรือน แห่งชาติ 5.5 การจัดการนโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( State safety policy governance ) นโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติคือการแสดงเจตนารมณ์ และการประกาศทิศทางกลยุทธ์ด้าน ความปลอดภัยการบินของประเทศ โดยคณะกรรมการการบินพลเรือนเป็นผู้ออกนโยบายนิรภัยในการบิน พลเรือนแห่งชาติ นโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติจะจัดทาในรูปแบบประกาศคณะกรรมการบิน พลเรือน โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมในฐานะประธานกรรมการการบินพลเรือนเป็นผู้ลงนาม ในประกาศ นโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของเอกสารแผนนิรภัยในการบิ นพลเรือนแห่งชาติ โดยนโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติจะมีการเผยแพร่สื่อสารให้หน่วยงานการบิ นที่เกี่ยวข้องได้รับ ทราบ และจะมีการทบทวนปีละ 1 ครั้ง เพื่อปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมและเป็นปัจจุบัน 5.6 การจัดการวัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัย ( State safety objectives governance ) วัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัยเป็นการกาหนดทิศทางภาพรวมการจัดการสมรรถนะความปลอดภั ย ในการบิ น พลเรือนของประเทศ ซึ่งจัดทำโดยสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย โดยมีคณะกรรมการนิรภัยในการ บินพลเรือนแห่งชาติเป็นผู้พิจารณาอนุมัติ วัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัยปราก ฏ ในแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ และจะมีการทบทวนเพื่อให้เกิดความเหมาะส มและเป็นปัจจุบัน วัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัยจะเกี่ยวข้อง
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 5 - 2 กับการปรับปรุงหรือพัฒนาองค์กรและกระบวนการ รวมถึงความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติการบิน ซึ่งได้จากการดำเนินงานแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องกำรให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 6 - 1 การจัดการความเสี่ยงด้านความ ปลอดภัย ของประเทศ ( State safety risk m anagement ) การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของประเทศ ประกอบด้วย — การออกใบรับรอง ใบอนุญาต ใบสาคัญ หนังสืออนุญาต และหนังสือรับรอง ( Licensing, certification, authorization and approval obligat ions ) — การกาหนดให้องค์กรด้านการบินพลเรือนจัดทำระบบการจัดการด้านนิรภัยการบิน ( Safety management system obligations ) — การสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ ( Accident and incident investigation ) — การระบุชี้สภาวะอันตรายและการประเมินความเสี่ยง ( Hazard identification and safety risk assessment ) — การจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย ( Management of safety risks ) 6.1 การออก ใบรับรอง ใบอ นุญาต ใบสำคัญ หนังสืออนุญาต และ หนังสือรับรอง ( Licensing, certification, authorization and approval obligations ) การออก ใบรับรอง ใบอ นุญาต ใบสำคัญ หนั งสืออนุญาต และ หนังสือรับรอง ของบุคคลและองค์กร เป็นรากฐาน ในการจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัยการบินของประเทศ เนื่องจากเป็นการทาให้เกิดความเชื่อมั่นได้ว่า องค์กรด้านการบินพลเรือนและองค์กรการบินอื่นในอุตสาหกรรมการบินมีการดาเนินงานเป็นไปตามมาตรฐาน ด้านความปลอดภั ยที่กาหนด สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยมีอานาจในการสั่งพักใช้ เพิกถอน ระงับการดำเนินงาน หรือควบคุม การดาเนินงาน รวมทั้งมีการกาหนดโทษหากมีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานด้านการบินที่กาหนด รายละเอียดขั้นตอนการดำเนินการดังกล่าวปรากฏอยู่ในคู่มือและขั้นต อนของสานักงาน 6.2 การกำหนดให้องค์กรด้านการบินพลเรือนจัดทำระบบการจัดการด้านนิรภัยการบิน ( Safety management system obligations ) 6.2.1 กฎระเบียบ ข้อบังคับ ( Regulatory requirements ) สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยมีหน้าที่รับผิดชอบในการออกกฎหมายว่าด้วยระบบการจัดการ ด้ำนนิรภัย วิธีการที่ยอมรับได้ว่าเป็นไปตามกฎหมาย ( AMC ) และคู่มือแนะนำแก่อุตสาหกรรมการบิน ฝ่ายกากับดูแลด้านความปลอดภัยการบินของสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยมีหน้าที่รับผิดชอบ ในการประเมินและให้ความเห็นชอบระบบการจัดการด้านนิรภัยขององค์กรด้านการบินพลเรือ น ตามขั้นตอน ที่สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยกำหนด
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 6 - 2 องค์กรด้านการบินพลเรือนที่ต้องดำเนินการจัดทำระบบการจัดการด้านนิรภัยการบิน ได้แก่ 1) ผู้ดำเนินการเดินอากาศ ( A ir operator ) 2) ผู้ดำเนินการสนามบินสาธารณะ ( P ublic aerodrome operator ) 3) ผู้ให้บริการจราจรทางอากาศ ( A ir traffic service provider ) 4) ผู้ให้บริการระบบการสื่อสาร ระบบช่วยการเดินอากาศ และระบบติดตามอากาศยาน ( Communication , Navigation, and Surveillance service p rovider ) 5) ผู้ให้บริการอุตุนิยมวิทยาการบิน ( A eronautical meteorological service provider ) 6) ผู้ให้บริการข่ำวสารการบิน ( A eronautical information service provider ) 7) สถาบันฝึกอบรมด้านการบินที่มีการปฏิบัติการบิน ( A pproved training organ ization with aircraft operation ) 8) ผู้ดำเนินการหน่วยซ่อม ( A pproved maintenance organization ) 9) ผู้ได้รับใบอนุญาตผลิตอากาศยาน หรือส่วนป ระกอบสำคัญของอากาศยาน ( Manufacture of aircraft, Engine or Propeller organization ) 10) ผู้ได้รับใบรับรองแบบอากาศยาน หรือส่วนประกอบสำคัญของอากาศยาน ( Type design of aircraft, Engine or Propeller organization ) 11) องค์กรที่มีการทำการบินทั่วไป ( O rganization with general aviation operation ) รายละเอียดของกฎหมายว่าด้วยระบบการจัดการด้านนิรภัยปรากฏอยู่ในกฎข้อบังคับเฉพาะด้านที่เกี่ยวข้อง 6.2.2 การให้ความเห็นชอบและการตรวจติดตามระบบการจัดการด้านนิรภัยอย่างต่อเนื่อง ( SMS acceptance and continued oversight ) การให้ความเห็นชอบระบบกำรจัดการด้านนิรภัยเป็นกระบวนการหนึ่งในการออกใบรับรอง ในขณะที่การตรวจ ติดตามอย่างต่อเนื่องเป็นส่วนหนึ่งของการตรวจติดตามด้านความปลอดภัยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการดาเนินการ ที่เกี่ยวข้องกับการประกัน ด้าน ความปลอดภัยของประเทศ 6.3 การสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ ( Acciden t and incident investigation ) การสอบสวนอุบัติเหตุ และอุบัติการณ์ เป็นกระบวนการสาคัญในการจัดการด้าน ความปลอดภัยใน การบิน พลเรือน ของประเทศ ที่จะช่วยให้สามารถวิเคราะห์หาสาเหตุปัจจัยที่ทาให้เกิดอุบัติเหตุหรืออุบัติการณ์ รวมทั้ง ปัญหาข้อขัดข้องที่เกิดขึ้นในระบบการบิ น ของ ประเทศ อันจะนาไปสู่การกาหนดมาตรการที่จาเป็นในการ ป้องกัน และ แก้ไข เพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์ซ้า แม้ว่าจะมีการดาเนินการสอบสวนโดยคณะกรรมการสอบสวน อุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยานซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานและข้อพึงปฏิบัติตา ม ภาคผนวกที่ 13 แห่งอนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือนระหว่างประเทศ แต่การสอบสวนเพื่อความปลอดภัย สามารถดาเนินการ ได้ใน 3 ประเภทของหน่วยงานที่แตกต่างกัน โดยสามารถดำเนินการควบคู่กันไปได้กับการสอบสวน ของคณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศ ยาน
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 6 - 3 6.3.1 บทบาทของคณะกรรมการสอบสวนอุ บัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยานในการสอบสวน อุบัติเหตุและอุบัติการณ์รุนแรง คณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยานเป็นหน่วยงานอิสระจากสานักงานการบิน พลเรือนแห่งประเทศไทยและอุตสาหกรรมการบิน เพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน ( Conflict of interest ) ค ณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยานมีหน้าที่รับผิดชอบในการสอบสวนอากาศยาน อุบัติเหตุและอุบัติการณ์ตามภาคผนวกที่ 13 แห่งอนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือนระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์เดียวของการสอบสวนคือ การป้องกันมิให้เกิดอุบัติเหตุทำนองเดียวกันขึ้นอีก มิใช่การตำหนิบุคคล หรือกาหนดให้บุคคลใดรับผิด ไม่ว่าทางใด ๆ โดยคณะกรรมการสอบสวนอากาศยานอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ ของอากาศยานจะออกข้อเสนอแนะเพื่อความปลอดภัยหรือคาแนะนาเกี่ยวกับการดำเนินการเชิงนิรภัยที่ได้รับ จากการสอบสวนไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สานักงานกำรบินพลเรือนแห่งประเทศไทย องค์กรด้าน การบินพลเรือน หน่วยงานหรือองค์กรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบินพลเรือน เป็นต้น เพื่อส่งเสริมความปลอดภัย ด้านการบิน รวมทั้งติดตามผลการดาเนินการตามข้อเสนอแนะและคาแนะนาที่เกี่ยวกับการดาเนินการเชิง นิรภัยดังกล่าว ทั้งนี้ คณะกรร มการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยานสามารถดำเนิน การสอบสวนอุบัติการณ์ใดที่มีผลกระทบหรืออาจมีผลกระทบต่อความปลอดภัยของการปฏิบัติการ ของอากาศยานอย่างมีนัยสาคัญได้ ข้อมูลอุบัติเหตุและอุบัติการณ์รุนแรงจะได้รับการจัดเก็บไว้ในระบบฐานข้อมูลของสานักงานคณะก รรมการ สอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยาน และจะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับสานักงานการบินพลเรือน แห่งประเทศไทย โดยการส่งรายงานผลการสอบสวนเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลด้านความปลอดภัยกลาง ของสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยที่เก็บรวบรวมข้อมูลอุบัติเหตุ อุบัติการณ์ รุนแรง และรายงาน เหตุการณ์ด้านความปลอดภัยอื่น ๆ จากระบบรายงานภาคบังคับและภาคสมัครใจ 6.3.2 บทบาทของสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยในการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ รุนแรง ฝ่ายกากับดูแลด้านความปลอดภัยการบิน สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยจะดาเนินการสอบสวน อุบัติเหตุ อุบัติการณ์ และเหตุการณ์ด้านความปลอดภัยที่ได้รับการรายงานผ่านระบบการรายงานเหตุการณ์ ด้านความปลอดภัย โดยมีวัตถุประสงค์ในการสอบสวนเพื่อการระบุสาเหตุและปัจจัยส่งเสริม และกาหนด มาตรการที่จำเป็นในการป้ องกันแก้ไข เพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์ซ้ำอีก ในกรณีที่มีการสอบสวนอุบัติเหตุ หรืออุบัติการณ์รุนแรงโดยคณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยาน สานักงานการบิน พลเรือนแห่งประเทศไทยสามารถดาเนินการสอบสวนเหตุการณ์ดังกล่าวได้ตามอานาจหน้าที่ของสานักงาน การ บินพลเรือนแห่งประเทศไทย และสามารถเข้าถึงข้อมูลที่จำเป็นได้ ทั้งนี้ ทั้งสองฝ่ายจะยอมรับอานาจหน้าที่ ของแต่ละฝ่าย
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ He ading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 6 - 4 6.3.3 บทบาทของอุตสาหกรรมการบินในการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์รุนแรง การสอบสวนหรือการวิเคราะห์เหตุการณ์ด้านความปลอดภัยเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมในระบ บการจัดการ ด้านนิรภัย ( Safety Management System : SMS ) ขององค์กร โดยดำเนินการตรวจสอบหรือวิเคราะห์ ข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ด้านความปลอดภัยที่ได้รับรายงานผ่านระบบการรายงานด้านความปลอดภัย ขององค์กร การตรวจสอบหรือการวิเคราะห์รวมถึงการระบุสาเหตุและปัจจัย ส่งเสริม ( Contributing factors ) เพื่อกาหนดมาตรการป้องกันหรือแก้ไขเพื่อไม่ให้เหตุการณ์แบบดังกล่าวเกิดขึ้นซ้าอีก ผลของการสอบสวน หรือวิเคราะห์เหตุการณ์ด้านความปลอดภัยจะถูกรายงานไปยังสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศ ไทย โดยต้องคานึงถึงหลักการพิทักษ์ข้อมูลด้านความปลอดภัยและสารสนเท ศ ด้านความปลอดภัยด้วย เพื่อให้ สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความปลอดภัยของประเทศต่อไป 6.4 การระบุชี้ สภาวะอันตราย และการประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัย ( Hazard identifica tion and safety risk assessment ) การระบุชี้ สภาวะอันตราย ใช้ข้อมูลด้านความปลอดภัยและสารสนเทศด้านความปลอดภัยจากหลาย แหล่ง ที่มา ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลด้านความปลอดภัย และการวิเคราะห์ข้อมูลโดย สานักนิรภัย แ ละกากับมาตรฐานการตรวจสอบ สานักงานการบิ นพลเรือนแห่งประเทศไทย โดยข้อมูลที่มีการเก็บรวบรวม นั้นได้มาจากแหล่ง ที่มา ต่าง ๆ ได้แก่ รายงานเหตุการณ์ด้านความปลอดภัย รายงานการสอบสวนอุบัติเหตุ ข้อมูลด้านความปลอดภัยในการบินในระดับภูมิภาคและระดับโลก การประเมินความเสี่ยงเป็นกระบวนการ ร่วมระหว่าง สานักนิรภัยแ ละ กากับมาตรฐานการตรวจสอบ และฝ่ายกากับดูแลด้านความปลอดภัยการบิน สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ในการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากผลการตรวจสอบ และรายงานการตรวจสอบด้านความปลอดภัย 6.4.1 ระบบ จัด เก็บข้อมูลและประมวลผลข้อมูลด้านความปลอดภัย ( Safety data collection an d processing system : SDCPS ) สานักนิรภัยแ ละกากับมาตรฐานการตรวจสอบ สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย มีหน้าที่รับผิดชอบ ในการจัดการข้อมูลด้านความปลอดภัยที่จัดเก็บในซอฟท์แวร์ ECCAIRS ( European Coordination Centre for Accident and Incident Reporting Systems ) ซึ่ งเป็นระบบฐานข้อมูลด้านความปลอดภัยและสนับสนุน การวิเคราะห์ข้อมูลด้านความปลอดภัยของประเทศ โดยข้อมูลด้านความปลอดภัยที่ถูกเก็บรวบรวมและจัดเก็บ ในฐานข้อมูลดังกล่าวคือรายงานภาคบังคับ ( Mandatory reports ) และรายงานภาคสมัครใจ ( Voluntary reports ) รายงานเหตุการณ์ด้าน ความปลอดภัยเป็นแหล่งที่มาของข้อมูลด้านความปลอดภัยหลักที่ได้รับจาก องค์กรด้านการบินพลเรือนและผู้ทำการบิน นอกจากนี้ ในส่วนของรายงานการสอบสวนอุบัติเหตุ คณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยาน และหน่วยงานสอบสวนอุบัติเหตุจากประเทศ อื่น จะส่งรายงานผลกา รสอบสวนฉบับสมบูรณ์ให้กับสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย เพื่อนำมาเก็บ รวบรวมไว้ในระบบฐานข้อมูลกลางด้านความปลอดภัย
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 6 - 5 คณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยานสามารถเข้าถึงระบบฐานข้อมูลเหตุการณ์ ด้านความปลอดภัยกลาง เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานตามภารกิ จของหน่วยงานที่ได้มีการจัดทาบันทึก ความเข้าใจระหว่างหน่วยงาน นอกจากเก็บรวบรวมข้อมูลเหตุการณ์ด้านความปลอดภัยแล้ว สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ยั งเก็บรวบรวมข้อมูลผลการกำกับดูแลและตรวจสอบด้านความปลอดภัยอีกด้วย 6.4.2 การวิเคราะห์ข้อมูล ( Safety data analysis ) สานักนิรภัยแ ละกากับมาตรฐานการตรวจสอบ สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยจะดาเนินการ ประเมินข้อมูลด้านความปลอดภัยเบื้องต้น เพื่อให้มั่นใจว่าข้อมูลนั้นถูกต้องและครบถ้วนสมบูรณ์ หลังจากนั้น ข้อมูลด้านความปลอดภัยจะถูกวิเคราะห์โดยคณะอนุทำงานตรวจสอบข้อมูลด้านความปลอ ดภัย ( Safety Data Verification Sub Group : SDV / SG ) โดยคณะอนุทางาน ฯ จ ะดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความปลอดภัย ที่ สานักนิรภัยแ ละกากับมาตรฐานการตรวจสอบ ได้มีการเก็บรวบรวมไว้ในฐานข้อมูลของสานักงานการบิน พลเรือนแห่งประเทศไทยและจากแหล่งข้อมูลอื่น ๆ เพื่อระบุชี้ สภำวะอันตราย สาเหตุ และประเมินความเสี่ยง เพื่อกำหนดมาตรการในการแก้ไข ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลและการกำหนดมาตรการในการแก้ไขจะถูกสรุปและจัดส่งให้ฝ่ายกากับดูแล ด้านความปลอดภัยการบิน คณะทางานด้านความปลอดภัยการบิน และคณะกรรมการนิรภัยในการบิน พลเรือนแห่งชาติ สภาวะอั นตราย และข้อมูลด้านความปลอดภัยจะถูกจัดเก็บไว้ในซอฟท์แวร์ ECCAIRS การวิเคราะห์ความเสี่ยงจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพที่ได้มีการเก็บรวบรวมมาทำ การวิเคราะห์ โดยผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ ร่วมกันพิจารณาเกี่ยวกับแนวโน้มด้านความปลอดภัย ปัจจัยส่งเสริม ที่ส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุและอุบัติการณ์รุนแรง เหตุการณ์ที่อาจนาไปสู่อุบัติเหตุและอุบัติการณ์รุนแรง ประเด็น ปัญหาที่มีการตรวจพบจากการตรวจสอบความปลอดภัย รวมทั้งการหารือร่วมกับองค์กรด้านการบินพลเรือน ในการระบุชี้ประเด็นความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับแต่ละภาคส่วนการ บิน 6.4.3 การประเมินความเสี่ยง ( Risk assessment ) สานักนิรภัยแ ละกากับมาตรฐานการตรวจสอบ สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย จะดาเนินการ ประเมินความเสี่ยงเบื้องต้นโดยใช้หลักการ Event Risk Classification Scheme โดยวิธีนี้จะพิจารณา ความเป็นไปได้ของผลลัพธ์ของเหตุการณ์และ ประสิทธิ ผล ของตัวป้องกันที่เหลืออยู่ในแต่ละเหตุการณ์เพื่อไม่ให้ นาไปสู่อุบัติเหตุ โดยการรวมสองปัจจัยนี้จะมีการคานวณคะแนนความ เสี่ยงที่สอดคล้องกัน คะแนนความเสี่ยง จะถูกใช้เพื่อตัดสินใจว่าความเสี่ยงนั้นยอมรับได้หรือต้องมีการ ดาเนินการจัดกา ร ความ เสี่ยง เพิ่มเติม คณะอนุ ทางานตรวจสอบข้อมูลด้านความปลอดภัยจะตรวจสอบผลการประเมินความเสี่ยงเบื้องต้น และหากเห็นว่า เหตุการณ์ด้านความปลอดภัยนั้นจำเป็นต้องมีการดำเนินการสอบสวนเพิ่มเติม จะดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง ต่อไป เมื่อดำเนินการสอบสวนแล้ว เสร็จต้องมีการประเมินความเสี่ยงอีกครั้งหนึ่ง
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 6 - 6 6.4.4 การจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย ( Management of safety risks ) เมื่อประเมินความเสี่ยงแล้วพบว่า ความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับไม่ได้ จะมีการกาหนดมาตรการในการลด ความเสี่ยงและดาเนินการตามมาตรการนั้น เพื่อลดความเสี่ ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ในระดับประเทศ รายละเอียดของมาตรการในการลดความเสี่ยงจะระบุอยู่ในแผนปฏิบัติการด้าน ความปลอดภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ในการดำเนินการจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัยบางประเด็น สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย อาจจะกำหนดกฎหมายใหม่ หรือทบทวน แก้ไขกฎหมายเดิมที่มีอยู่เพื่อลดความเสี่ยง ซึ่งเป็นแนวทาง การแก้ปัญหาในระยะยาว แต่เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบต้องผ่านกระบวนการทางกฎหมายซึ่งต้อง ใช้ระยะเวลานาน ในบางสถานการณ์ ความเสี่ยงสามารถจัดการได้ผ่านกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยที่มี ประสิทธิภำพมากกว่าการบังคับใช้ ซึ่งสามารถนำไปใช้ได้ในขณะที่กาลังมีการเปลี่ยนแปลงกฎข้อบังคับ การลดความเสี่ยง หลายอย่างจำเป็นต้องดำเนินการโดยองค์กรด้านการบินพลเรือน สำนักงานการบิน พลเรือนแห่งประเทศไทยจะเป็นผู้ให้คำแนะนำในการดำเนินการอย่างมี ประสิทธิ ผล ในบางสถานการณ์ที่ ต้องดาเนินการอย่างทันท่วงทีเพื่อแก้ไขปัญหาด้านความปลอดภัยในการฟื้นฟูระดับ ความปลอดภัย จะดำเนินการโดยการออกนโยบายหรือกฎระเบียบเพิ่มเติม หรือการออกข้อแนะนำ ด้านปฏิบัติการ สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยจะดำเนินการตรวจสอบ ประสิทธิ ผล ของการดำเนินการ ลด ความเสี่ยงและการดาเนินการกิจกรรมความปลอดภัยที่ระบุในแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการบิน พลเรือนแห่งชาติที่เกี่ยวข้องกับองค์กรด้านการบินพลเรือนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการกำกับดูแล และการตรวจติดตามด้านความปลอดภัย
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 7 - 1 การประกันด้านความปลอดภั ยของประเทศ ( State safety a ssurance ) การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการประกันด้านความปลอดภัยการบินของประเทศ เป็นการ ดำเนินงานการติดตามสมรรถนะความปลอดภัยในภาพรวมของระบบการบินของประเทศ ซึ่งประกอบด้วย — การตรวจติดตาม ( Surveillance obligations ) — การจัดการสมรรถนะความปลอดภัยของประเทศ ( State safety performance ) การประกันด้านความปลอดภัยของประเทศมีเป้าหมายเพื่อให้มั่นใจได้ว่า การดาเนินงานแผนนิรภัยในการบิน พลเรือนแห่งชาติเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุระดับสมรรถนะความปลอดภัยที่ยอมรับได้ ( ALoSP ) และวัตถุป ระสงค์ด้านความปลอดภัยที่ตั้งไว้ ผ่านความร่วมมือระหว่างสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศ ไทยและผู้เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมการบินของประเทศ 7.1 การตรวจติดตาม ( Surveillance obligations ) สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยมีอานาจหน้าที่ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบั ติตาม กฎหมายที่ และ ประเมินระบบการจัดการด้านนิรภัยขององค์กรด้านการบินพลเรือน ฝ่ายกำกับดูแลด้านความปลอดภัยการบินจะต้องมีขั้นตอนและแผนงานสาหรับผู้ตรวจสอบด้านการบิน ดังนี้ — แผนการตรวจติดตามด้านความปลอดภัย — วิธีปฏิบัติและรายการตรวจสอบด้านความปลอดภัย — วิธีปฏิบัติและ เครื่องมือการประเมินระบบการจัดการด้านนิรภัย — วิธีปฏิบัติในการจัดการการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย — วิธีปฏิบัติในการบังคับใช้กฎหมาย การประเมินระบบการจัดการด้านนิรภัยและสมรรถนะความปลอดภัยจะใช้เครื่องมือการประเมินระบบ การจัดการด้านนิรภัย ( SMS assessment tool ) โดยเครื่อ งมือนี้จะช่วยให้สามารถประเมินองค์ประกอบ ของระบบการจัดการด้านนิรภัยได้ เพื่อให้มั่นใจว่าองค์กรด้านการบินพลเรือนสามารถดาเนินการตามระบบ การจัดการด้านนิรภัยของตนได้อย่างมี ประสิทธิ ผล โดย การประเมินระบบการจัดการด้านนิรภัยและสมรรถนะ ความ ปลอดภัย จะครอบคลุมถึง การประเมิน ตัวชี้วัดและเป้าหมายสมรรถนะความปลอดภัยของ องค์กรด้าน การบินพลเรือน เพื่อตรวจสอบว่าตัวชี้วัดและเป้าหมายสมรรถนะความปลอดภัยขององค์กรด้านการบิน พลเรือนมีความเหมาะสมและเป็นที่ยอมรับของสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย สานักงานการบินพลเรือน แห่งประเทศไท ย จะจัดให้มีกระบวนการจัดลำดับความสาคัญใน การดาเนิน การ ตรวจสอบความปลอดภัย เพื่อมุ่งเน้นการตรวจสอบไปยังองค์กรด้านการบินพลเรือนที่พบว่ามีประเด็นปัญหา
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการ ให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 7 - 2 ด้านความปลอดภัยหรือมีความจาเป็นต้องให้ความสำคัญ โดยกระบวนการข้างต้นถือ เป็นส่วน หนึ่งของกลยุทธ์ ในการตรวจติดตามตามควา มเสี่ยงด้านความปลอดภัย ( Safety Risk - Based Surveillance : SRBS ) 7.2 การจัดการสมรรถนะความปลอดภัย ( State safety performance ) สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยจะดาเนินการติดตามระดับสมรรถนะความปลอดภัยที่ยอมรับได้ ( ALoSP ) และตัวชี้วัดสมรรถนะความปลอดภัย ( SPIs ) ประกอบ กั บ เป้าหมายสมรรถนะความปลอดภัย ( SPTs ) ที่กาหนดในแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ตัวชี้วัดระดับสมรรถนะความปลอดภัยที่ยอมรับได้และตัวชี้วัดสมรรถนะความปลอดภัยที่กาหนด สามารถ ใช้ ในการตรวจติดตาม ระดับ สมรรถนะความปลอดภัย ในการบินพลเรือน ของประเทศ โดยรวม ซึ่งถือเป็น ข้อมูล ที่ สาคัญและ เป็นประโยชน์กับสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย คณะกรรมการนิรภัยในการบิน พลเรือนแห่งชาติ และคณะกรรมการการบินพลเรือนในการกาหนดการดาเนินการ เพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง ด้านสมรรถนะความปลอดภัย ตัวชี้วัดระดับสมรรถนะความปลอดภัยที่ย อมรับได้และตัวชี้วัดสมรรถนะความปลอดภัย จะต้องได้รับ การพิจารณาทบทวน มี ความเหมาะสม อยู่เสมอ และเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการด้าน ความปลอดภัยใน การบิน พลเรือนของประเทศ ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการแก้ไข ตัวชี้วัดดังกล่าว รายละเอียด ในการ ดาเนินการแก้ไข จะถูกบันทึกลงบน ภาคผนวก ของแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการบินพลเรือน แห่งชาติ 7.3 การจัดการความเปลี่ยนแปลง ( Management of change ) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระดับประเทศที่ส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยในระบบการบินของประเทศ อาจจะนาไปสู่การเกิด สภาวะอันตราย ใหม่หรือกระทบ กับ มาตรการค วบคุมความเสี่ยงที่มีอยู่เดิม สานักงาน การบินพลเรือนแห่งประเทศไทย คณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยาน และสำนักงานคณะกรรมการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานและเรือที่ประสบภัยจะต้องมั่นใจว่า การเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสำคัญจะไม่กระทบหรือสร้างค วามเสี่ยงใหม่ต่อความปลอดภัยด้านการบิน การเปลี่ยนแปลงนี้รวมถึงการเปลี่ยนแปลงในระดับการปฏิบัติการและระดับองค์กร ได้แก่ — การเปลี่ยนโครงสร้างองค์กร — การเปลี่ยนแปลงที่มีนั ย สาคัญต่อสภาพแวดล้อมการปฏิบัติการ เช่น การเกิดเทคโนโลยี อุปกรณ์หรือกิจกรรมใหม่ — การเปลี่ยนแปล งในเชิงโครงสร้างในการกากับดูแล เช่น การเปลี่ยนวิธีในการตรวจสอบ และการเปลี่ยนโครงสร้างกฎหมาย — การเปลี่ยนแปลงกะทันหันในอุตสาหกรรมและกระทบต่อความสามารถในการกากับดูแล ของประเทศ
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 8 - 1 การส่งเสริมด้านความปลอดภัยของประเทศ ( State safety promotion ) การส่งเสริมด้านความปลอดภัย ของประเทศ เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดการ แบ่งปัน ข้อมูล ด้านความปลอดภัย และการเผยแพร่ข้อมูลด้านความปลอดภัย ทั้งภายในและภายนอก ถือเป็นปัจจัยสาคัญ ที่ช่วย สนับสนุนการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยเชิงบวก ( Positive safety culture ) ใน อุตสาหกรรมการบิน ของประเทศไทย ซึ่ง ส่งเสริมให้กระบวนการจัดการด้าน ความปลอดภัยในการบินพลเรือน ของประเทศ มี ประสิทธิ ผล 8.1 วัฒนธรรมการปฏิบัติอย่างเป็นธรรม ( Just Culture ) วัฒนธรรมการปฏิบัติอย่างเป็นธรรม คือ บรรยากาศของความเชื่อใจซึ่งบุคคลในองค์กรได้รับการส่งเสริม ในการใ ห้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ขณะที่มีความชัดเจนในการแบ่งพฤติกรรมที่ยอมรับได้ และพฤติกรรมที่ยอมรับไม่ได้ วัฒนธรรมการปฏิบัติอย่างเป็นธรรม ช่วยส่งเสริมให้มีการเผยแพร่ข้อมูลด้านความปลอดภัยระหว่างองค์กรด้าน การบินพลเรือนและสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ซึ่งจะช่วยให้มีข้อมูลด้านความปลอดภัย และสารสนเทศด้านความปลอดภัยที่จำเป็น เพียงพอ และมีคุณภาพ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลด้าน ความปลอดภัยของ สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยนาหลักการ ของ วัฒนธรรมการปฏิบัติอย่างเป็นธรรม มาใช้เป็นส่วน หนึ่งของระบบการรายงานเหตุการณ์ด้านความปลอดภัยทั้งภาคบังคับและสมัครใจ รวมทั้งกิจกรรมการตรวจ ติดตามด้านความปลอดภัย โดย วัฒนธรรมการปฏิบั ติอย่างเป็นธรรม จะให้การคุ้มครองและพิทักษ์ผู้รายงาน ประเด็นปัญหาด้านความปลอดภัย เว้นแต่พิสูจน์ได้ว่าประเด็นปัญหาด้านความปลอดภัยนั้นมีสาเหตุจาก การจงใจ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง หรือละเลยไม่เอาใจใส่ทั้งที่รู้ว่าความเสียหายอาจเกิดขึ้นได้ 8.2 การสื่อสารด้านความปลอ ดภัย ( Safety c ommunication ) 8.2.1 การทำงานร่วมกันและการสื่อสารด้านความปลอดภัยภายในระบบการบินของประเทศ สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยจะสื่อสารทั้งภายในและภายนอกองค์กรโดยใช้หลากหลายวิธี เว็บไซต์ของสานักงานการบินพล เรือนแห่งป ระเทศไทยจะเป็นช่องทางหลักในการสื่อสา รและเผยแพร่ข้อมูล ด้านความปลอดภัยกับหน่วยงานภายนอกสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย โดยข้อมูลที่มี การเผยแพร่จะรวมถึง — กฎหมาย กฎ ระเบียบ วิธีปฏิบัติที่ยอมรับได้ และ คู่มือแนะนำ — รายงานด้านความปลอดภัยประจำปี — เอกสารแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ และแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยใน การบินพลเรือนแห่งชาติ
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 8 - 2 — จดหมาย ข่าวด้านความปลอดภัย ( Safety bulletins ) และประกาศสารสนเทศด้าน ความปลอดภัย ( Safety information notices ) นอกจากนี้ สารสนเทศด้านความปลอดภัยจะถูกเผยแพร่ผ่านการประชุมคณะกรรมการนิรภัยในการบิน พลเรือนแห่งชาติ การประชุมและการประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับอุตสาหกรรมการบิน และ พนักงาน ของสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยจะเผยแพร่สารสนเทศด้านความปลอดภัยผ่านการปฏิบัติหน้าที่ ในการกำกับดูแลด้านความปลอดภัยการบินกับอุตสาหกรรมการบิน การสื่อสารด้านความปลอดภัยจ ะเป็นการสื่อสารสองทาง เพื่อสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือและการทางาน ร่วมกันที่ จาเป็นสาหรับการดาเนินงานแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติให้มีประสิทธิภาพ โดยต้องอาศัย การสื่อสารกับอุตสาหกรรมการบินและการ แบ่งปัน ประเด็นปัญหาและเหตุการณ์ด้านความปลอดภัยกับองค์กร อื่น ๆ และสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย แบ่งปันข้อมูล สารสนเทศด้านความปลอดภัยจะนาไปสู่ การเกิดวัฒนธรรมความปลอดภัยเชิงบวก และการพัฒนาสมรรถนะความปลอดภัย 8.2.2 การทำงานร่วมกันและการสื่อสารด้านความปลอดภัยกับต่างประเทศ สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยจะ แบ่งปันข้อมูล สา รสนเทศด้านความปลอดภัยกับหน่วยงานกากับ ดูแลด้านความปลอดภัยการบินของประเทศอื่น ในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ด้านความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับ การปฏิบัติการบินขององค์กรด้านการบินต่างประเทศที่ปฏิบัติการบินในประเทศไทย นอกจากนี้ สานักงาน การบินพลเรือนแห่งประเทศไทยยังทำงาน ร่วมกันกับหน่วยงานกำกับดูแลด้านความ ปลอดภัยการบิน ของประเทศ อื่น ในกรณีที่ได้รับรายงานเหตุการณ์ด้านความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับองค์กรด้านการบินพลเรือน ของไทย สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ได้เข้าร่วมประชุมความปลอดภัยระดับภูมิภาคขององค์กำ รการบิน พลเรือนระหว่ำงประเทศ ( International Civil Aviation Organization : ICAO ) และประชุมร่วมกับหน่วยงาน กากับดูแลด้านความปลอดภัยของประเทศอื่น หรือองค์กรด้านการบินพลเรือนต่างประเทศเพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้และประสบการณ์ในการจัดการด้าน ความปลอดภัยใน การบิน พลเรือน 8.3 บุคลากรทางเทคนิคและการพัฒนาบุคลากรทางเทคนิค ( Qualified technical personnel and training ) สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ ของอากาศยาน และสำนักงานคณะกรรมการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานและเรือที่ประสบภัยเป็นผู้ กาหนด คุณสมบัติเบื้องต้นและประสบการณ์ที่จำเป็นของบุคลากรทางเทคนิคที่ปฏิบัติหน้าที่ด้านความปลอดภัย ของหน่วยงาน และต้องจัดให้มีการฝึกอบรมที่เป็นการฝึกอบรมพื้นฐาน ( Initial training ) และการฝึกอบรม ทบทวน ( Recurrent training ) เพื่อให้บุคลากรมีสมรรถนะในระดับที่เหมา ะสม รวมทั้งต้องจัดทาระบบบันทึก ข้อมูลการฝึกอบรม ( Training records ) ของบุคลากรทางเทคนิค
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Head ing 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 8 - 3 บุคลากรทางเทคนิคที่เกี่ยวข้อง กับ แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ได้แก่ 1. ผู้จัดการ ฝ่ายต่าง ๆ ของสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยที่เป็นคณะกรรมการ นิรภัยในการบินพลเรือนแห่ งชาติ และคณะทำงาน ด้าน ความปลอดภัยการบิน 2. ผู้ตรวจสอบด้านการบิ นตามพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 และที่แก้ไข เพิ่มเติม 3. บุคลากรด้านนิรภัยการบิน และผู้แทนด้านความปลอดภัยจาก ฝ่ายกำกับดูแลด้าน ความปลอดภัยการบินของสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย 4. คณะกรรมการสอ บสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยาน (กสอ.) และ บุคลากรของ สานักงาน กสอ. ที่ปฏิบัติหน้าที่ในการจัดการและการประสานงานด้านการสอบสวนอุบัติเหตุของอากาศยาน รวมทั้งการสอบสวนอุบัติเหตุของอากาศยาน 5. คณะกรรมการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานประสบภัยแห่งชาติ และ บุคลากรของ สานักงาน คณะกรรมการ ค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานและเรือที่ประสบภัย ที่ปฏิบัติหน้าที่ในการจัดการ และการประสานงานด้านการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานประสบภัย รวมทั้งการปฏิบัติงาน ในการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานประสบภัย 8.3.1 การกาหนดคุณสมบัติ การฝึกอบรม และ ประสบการณ์หรับบุคลากรทางเทคนิค ( Qualification, training and experience requirements for technical personnel ) สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยได้กาหนดการพัฒนาที่จาเป็นสำหรับผู้ตรวจสอบด้านการบิน และบุคลากรทางเทคนิคด้านนิรภัยการบินของสำนักงานไว้ในแผนการฝึกอ บรม ( Training programme ) ของสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย สานักงานคณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยาน ได้กาหนดคุณสมบัติของบุคลากร ทางเทคนิคไว้ตามคู่มือการปฏิบัติงานสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยาน สำนักงานคณะกรรมการค้นหาและช่ว ยเหลืออากาศยานและเรือที่ประสบภัย ได้กำหนดคุณสมบัติของบุคลากร ทางเทคนิคไว้ตามคู่มือการปฏิบัติงานการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานและเรือที่ประสบภัย เพื่อให้มั่นใจได้ว่าบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ด้านความปลอดภัยมีคุณสมบัติและได้รับการพัฒนา ที่เหมาะสม สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุ และอุบัติการณ์ของอากาศยาน สานักงานคณะกรรมการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานและเรือที่ประสบภัย ต้องมีการพิจารณาดำเนินการ ดังนี้ 1. พัฒนาแผนการฝึกอบรม ภายในองค์กร (Internal training programme) โดยใ ห้ ความสำคัญกับการฝึกอบรมบุคคลกรทางเทคนิคก่อน ซึ่งรวมถึงการฝึกอบรมพื้นฐาน ( Initial training ) การฝึก ภาคปฏิบัติ ( On - the - job training ) และการฝึกอบรมทบทวน ( Recurrent training )
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 8 - 4 2. ดาเนินการวิเคราะห์ ความจาเป็นในการฝึกอบรม ( Training need analysis ) เพื่อกาหนด การพัฒนาแผนการฝึกอบรม 3. กำหนดและดำเนินการฝึกอบรมให้เหมาะสมกับแผนการฝึกอบรมพื้นฐานและ การฝึกอบรมทบทวน 4. กาหนดและดาเนิน การฝึกอบรมพื้นฐานและการฝีกอบรม ทบทวนที่เหมาะสมแก่บุคลากร ของหน่วยงานตามอานาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ แผนการฝึกอบรม ( Training programme ) ควรปร ะกอบไปด้วย — การฝึกอบรมสาหรับผู้บริหารของทุกองค์กรในระบบการบิน ของ ประเทศ เช่น รัฐบาล หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการบิน และอุตสาหกรรมการบิน เกี่ยวกับแผนนิรภัยในการบินพลเรือน แห่งชาติ ระบบการจัดการด้านนิรภัย นโยบายความปลอดภัย วัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัย และระ ดับ สมรรถนะความปลอดภัยที่ยอมรับได้ ( ALoSP ) — การฝึกอบรมสำหรับบุคลากรในการสร้างการตระหนักรู้ในบทบาทหน้าที่และ ความรับผิดชอบต่องานของตน โดยเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการด้าน ความปลอดภัยในการบินพลเรือน ของประเทศ การฝึกอบรมสำหรับผู้ตรวจสอบด้านการบิน โดยมีหัวข้อกำรฝึกอบรม ดังนี้ o หลักการของแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ o การดำเนินงานระบบการจัดการด้านนิรภัย o การประเมินสมรรถนะความปลอดภัยและการปฏิบัติตามข้อกาหนด รวมถึงวิธีการ ประเมินระบบการจัดการด้านนิรภัยขององค์กรที่อยู่ภายใต้การกากับดูแลของตน และการประเมินตัวชี้วั ด สมรรถนะความปลอดภัย ( SPIs ) เพื่อเห็นชอบ o กฎระเบียบและวิธีปฏิบัติในการกากับดูแลด้านความปลอดภัยการบินขององค์กร ด้านการบินพลเรือนในการจัดการความปลอดภัยภายในองค์กรของตน — การฝึกอบรมทักษะที่ไม่ใช่ทางเทคนิค เช่น ทักษะการสื่อสารการ เจรจาต่อรอง การแก้ไข ความขัดแย้ง เป็ นต้น เพื่อช่วยให้ผู้ตรวจสอบด้านการบินและองค์กรด้านการบินพลเรือนสามารถทางานร่วมกัน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในการปรับปรุงสมรรถนะความปลอดภัยและการปฏิบัติตามกฎระเบียบ — การฝึกอบรมเฉพาะทางสาหรับผู้ที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อการกาหนด วัตถุประสงค์ด้า นความปลอดภัย ตัวชี้วัดสมรรถนะความปลอดภัย ( SPIs ) และเป้าหมายสมรรถนะความ ปลอดภัย ( SPTs ) — การฝึกอบรมเฉพาะทางเกี่ยวกับการพิทักษ์ข้อมูลด้านความปลอดภัยและสารสนเทศด้าน ความปลอดภัย รวมถึงแหล่งที่มาที่เกี่ยวข้อง — การฝึกอบรมเฉพาะทางสำหรับผู้ตรวจสอบด้านการบิน บุคลากรด้านกฎหมายของ หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ เกี่ยวกับนโยบาย การบังคับใช้กฎหมาย และวิธีปฏิบัติ แผนการ ฝึกอบรม ด้านความปลอดภัย ( Safety t raining programme) บุคลากร ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน ตามแผนนิรภัยในการบิ นพลเรือนแห่งชาติ จะต้องมีการประสานร่วมกันระหว่างองค์กรของรัฐที่เกี่ยวข้อง
แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ ( SSP ) ผิดพลาด! ให้ใช้แท็บ หน้าแรก เพื่อนำ Heading 2 ไปใช้กับข้อความที่คุณ ต้องการให้ปรากฏที่นี่ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 พ.ศ. 256 6 8 - 5 และกรอบการฝึกอบรมเรื่องแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ และระบบการจัดการด้านนิรภัย ควรสะท้อนอำนาจและหน้าที่ของแต่ละบุคคลตามแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ การดำเนิน การ ตามแผนฝึกอบ รมที่เหมาะสมควรได้รับติดตามอย่างใกล้ชิด เพื่อให้มั่นใจได้ว่าบุคลากร ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานตามแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ อย่างมีประสิทธิผล