Tue Jul 11 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนนายาง - หนองจอก จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2566


ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนนายาง - หนองจอก จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2566

ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนนายาง - หนองจอก จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2566 โดยที่เป็นการสมควรให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนนายาง - หนองจอก จังหวัดเพชรบุรี เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาและการดารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบทในด้านการใช้ประโยชน์ ในทรัพย์สิน การคมนาคมและการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะ และสภาพแวดล้อม ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการผังเมือง อาศัยอานาจตามความในมาต รา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 33 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ การผังเมือง พ.ศ. 2562 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวม ชุมชนนายาง - หนองจอก จังหวัดเพ ชรบุรี พ.ศ. 2566” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ใช้บังคับผังเมืองรวม ในท้องที่ตาบลหนองจอก และตาบลปึกเตียน อำเภอท่ายาง ตาบลหนองศาลา ตาบลบางเก่า ตาบลนายาง ตาบลดอนขุนห้วย และตาบลเขาใหญ่ อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรี ภายในแนวเขตตามแผนที่ท้ายประกาศนี้ ข้อ 4 ให้ผู้มีหน้าที่และอานาจในการควบคุมการก่อสร้างอาคารหรือการประกอบกิจการ ในเขตผังเมืองรวมปฏิบัติการให้เป็นไปตามประกาศนี้ หมวด 1 วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทำผังเมืองรวม ข้อ 5 การวางและจัดทาผังเมืองรวมตามประกาศนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการพัฒนาพื้นที่ชุมชนนายาง - หนองจอก ให้เป็นเมืองน่าอยู่ มีการพัฒนาอย่างสมดุลและยั่งยืน รองรับการขยายตัวจากพื้นที่ชุมชนหลักของจังหวัดเพชรบุรี ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ด้วยการพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการผลิตทางด้านเกษตรกรรมแบบผสมผสาน การพัฒนาการท่องเที่ยว การชลประทาน และการระบายน้า ตลอดจนการดารงรักษาสภาพแวดล้อม ทางธรรมชาติในพื้นที่ราบลุ่มและชายฝั่งทะเล ในบริเวณแนวเขตตามข้อ 3 ให้สอดคล้องกับ การพัฒนา ระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ข้อ 6 ผังเมืองรวมตามประกาศนี้ มีนโยบายและมาตรการเพื่อจัดระบบและควบคุม การใช้ประโยชน์ที่ดิน โครงข่ายคมนาคมขนส่งและบริการสาธารณะให้มีประสิทธิภาพ สามารถรองรับ และสอดคล้องกับการขยำยตัวของพื้นที่ชุมชนในอนาคต รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดยมีสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้ ้ หนา 10 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

( 1 ) ส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่ชุมชนนายาง - หนองจอก ให้เป็นศูนย์กลางการค้า การบริการ และการท่องเที่ยวของจังหวัดเพชรบุรี ( 2 ) ส่งเสริมการพัฒนาและรักษาพื้นที่เกษตรกรรมของชุมชน โดยพัฒนาการเกษตร และรักษาพื้นที่เกษตรกรรมชลประทาน พื้นที่ที่มีศักยภาพด้านการเกษตร และพื้นที่ตามโครงการ พระราชประสงค์ และส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ และพัฒนาด้านการเกษตรเพื่อสร้างฐานราก ทาง เศรษฐกิจที่ยั่งยืนให้ประชากรในพื้นที่ ( 3 ) ส่งเสริมการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเพื่อเป็นพื้นที่รองรับการขยายตัว ด้านการท่องเที่ยวของจังหวัดเพชรบุรีและภูมิภาคที่สอดคล้องกับลักษณะทางกายภาพและสภาพแวดล้อม ของพื้นที่ ( 4 ) ดำรงรักษาและควบคุมพื้นที่อ่อ นไหวต่อการพัฒนา ได้แก่ พื้นที่ป่าไม้และภูเขาสูง พื้นที่เพื่อการเก็บกัก และระบายน้า และพื้นที่ชายฝั่งทะเล เพื่อการป้องกันภัยพิบัติ การรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสภาพแวดล้อม ลดภาวะโลกร้อน การลดการใช้พลังงาน และการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ( 5 ) พัฒนาโครงสร้ำงพื้นฐาน การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ให้เพียงพอและได้มาตรฐาน ( 6 ) ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็กซึ่งปลอดมลพิษ และเกี่ยวเนื่อง กับกิจกรรมการผลิตในพื้นที่ให้อยู่ในพื้นที่ที่เหมาะสม อาทิ อุตสาหกรรมการเกษตร การผลิตอาหาร ขนม ผลิตภัณฑ์ชุมชน และสินค้าสำหรับการท่องเที่ยวเพื่อสร้างรายได้ให้ชุมชน ข้อ 7 การใช้ประโยชน์ที่ดินภายในเขตผังเมืองรวม ให้เป็นไปตามแผนผังกำหนด การใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท แผนผังแสดงที่โล่ง แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง แผนผังแสดงโครงการ กิจการสาธารณูปโภค และรายการประกอบแผนผัง ท้ายประกาศนี้ หมวด 2 แผนผังและข้อกาหนด ส่วนที่ 1 แผนผังกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จำแนกประเภท ข้อ 8 การใช้ประโยชน์ที่ดินตามแผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท ท้ายประกาศนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ที่ดินประเภท ย. 1 และ ย. 2 ที่กาหนดไว้เป็นสีเหลือง ให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย โดยมีวัตถุประสงค์และจำแนกเป็นบริเวณ ดังต่อไปนี้ (ก) ที่ดินประเภท ย. 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นพื้นที่รองรับการอยู่อาศัยของชุมชน ในพื้นที่ตั้งถิ่นฐานดั้งเดิม จำแนกเป็นบริเวณ ย. 1 - 1 ถึง ย. 1 - 16 ้ หนา 11 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

(ข) ที่ดินประเภท ย. 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นพื้นที่รองรับการอยู่อาศัยของชุมชน ในบริเวณพื้นที่พัฒนาใหม่ และเป็นพื้นที่ รองรับการขยายตัวของการอยู่อาศัยบริเวณริมชายฝั่งทะเลอ่าวไทย จำแนกเป็นบริเวณ ย. 2 - 1 ถึง ย. 2 - 20 ( 2 ) ที่ดินประเภท ย. 3 ที่กาหนดไว้เป็นสีส้ม ให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กลางการอยู่อาศัยที่มีความหนาแน่นปานกลาง สาหรับเป็นพื้นที่รองรับ การขยายตัวของชุมชนจากการพัฒนาพื้นที่บริเวณศูนย์กลางหลักด้านการค้า การบริการ การท่องเที่ยว และนันทนาการแก่ชุมชนและภูมิภาค จำแนกเป็นบริเวณ ย. 3 - 1 ถึง ย. 3 - 7 ( 3 ) ที่ดินประเภท พ. 1 และ พ. 2 ที่กาหนดไว้เป็นสีแดง ให้เป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรม และที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก โดยมีวัตถุประสงค์และจำแนกเป็นบริเวณ ดังต่อไปนี้ (ก) ที่ดินประเภท พ. 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กลางพาณิชยกรรมรองที่มีบทบาท เป็นศูนย์กลางการค้าและบริการแก่ชุมชนในระดับท้องถิ่น จำแนกเป็นบริเวณ พ. 1 - 1 ถึง พ. 1 - 3 (ข) ที่ดินประเภท พ. 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กลางพาณิชยกรรมหลัก ที่มีบทบาทการเป็นศูนย์กลางการค้า การบริการ และการท่องเที่ยวของจังหวัดเพชรบุรี แ ละภูมิภาค เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของพื้นที่ จำแนกเป็นบริเวณ พ. 2 - 1 ถึง พ. 2 - 3 ( 4 ) ที่ดินประเภท ก. ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียว ให้เป็นที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อเกษตรกรรม การสงวนรักษาสภาพทางธรรมชาติ และการส่งเสริมเศร ษฐกิจการเกษตร จำแนกเป็นบริเวณ ก. - 1 ถึง ก. - 21 ( 5 ) ที่ดินประเภท อก. ที่กาหนดไว้เป็นสีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสีเขียว ให้เป็นที่ดิน ประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นพื้นที่เกษตรกรรมพัฒนา เกษตรกรรมผสมผสาน แหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร และพื้นที่เกษตรกรรมตามโครงการพระราชประสงค์ จำแนกเป็นบริเวณ อก. - 1 และ อก. - 2 ( 6 ) ที่ดินประเภท ล. ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทที่โล่ง เพื่อนันทนาการ และการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม มีวัตถุประสงค์เพื่อสงวนรักษาพื้นที่โล่งเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ นันทนาการของชุมชน เพื่อการรักษาสภาพแวดล้อมของลาคลองและชายฝั่ง และเพื่อการระบายน้า จำแนกเป็นบริเวณ ล. - 1 ถึง ล. - 14 ( 7 ) ที่ดินประเภท อป. ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อนมีเส้นทแยงสีขาว ให้ เป็นที่ดิน ประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ มีวัตถุประสงค์เพื่อดารงรักษาป่าไม้ในบริเวณพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ และพื้นที่ป่าไม้ ตามมติคณะรัฐมนตรี จำแนกเป็นบริเวณ อป. - 1 ถึง อป. - 5 ( 8 ) ที่ดินประเภท ศษ. ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ให้เป็นที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อดารงไว้ซึ่งสถาบันการศึกษา เพื่อให้บริการด้านวิชาการความรู้ เพื่อเป็นบริการขั้นพื้นฐาน แก่ชุมชน การศึกษาหรือเกี่ยวข้องกับการศึกษา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคที่เป็นของรัฐ หรือสาธารณประโยชน์ จำแนกเ ป็นบริเวณ ศษ. - 1 ถึง ศษ. - 14 ้ หนา 12 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

( 9 ) ที่ดินประเภท ลส. ที่กำหนดไว้เป็นสีฟ้า ให้เป็นที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม มีวัตถุประสงค์เพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือเกี่ยวข้องกับการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การรักษาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง การอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้า การประมงชายฝั่ง การคมนาคม และขนส่งทางน้ำ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ และสาธารณประโยชน์ จำแนกเป็นบริเวณ ลส. ( 10 ) ที่ดินประเภท ศน. ที่กำหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทสถาบันศาสนา มีวัตถุประสงค์เพื่อดารงรักษาไว้ซึ่งสถาบันศาสนา จำแนกเป็นบริเวณ ศน. - 1 ถึง ศน. - 22 ( 11 ) ที่ดินประเภท ส. ที่กำหนดไว้เป็นสีน้ำเงิน ให้เป็นที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ มีวัตถุประสงค์เพื่อกิจการของรัฐ กิจการเกี่ยวกับการสา ธารณูปโภค และสาธารณูปการหรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น จำแนกเป็นบริเวณ ส. - 1 ถึง ส. - 25 ข้อ 9 ที่ดินประเภท ย. 1 เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการใด ๆ นอกจากกิจการตามข้อห้าม ดังต่อไปนี้ (1) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภทและชนิด ที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และมีพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกัน ไม่เกิน 500 ตารางเมตร และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน (2) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย (3) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซ ปิโตรเลียมเหลว ประเภทโรงเก็บตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง (4) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า (5) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน (6) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม (7) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม ( 8 ) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ่ ( 9 ) สนามแข่งรถ ( 10 ) สนามแข่งม้า ( 11 ) สนามยิงปืน ( 12 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 13 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 14 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า ( 15 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ ้ หนา 13 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันรำชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 15 เมตร ยกเว้นบริเวณ ย. 1 - 2 และ ย. 1 - 3 ให้ดำเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 6 เมตร แต่ไม่หมายความรวมถึงโครงสร้างสำหรับใช้ในการรับส่งสัญญาณวิทยุ สัญญาณโทรทัศน์ หรือสัญญาณสื่อสารโทรคมนาคมทุกชนิด หอถังน้า และเสาส่งไฟฟ้า การวัดความสูงของอาคาร ให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สาหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้น ดิน ที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด ( 2 ) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ไม่เกิน 1.5 : 1 ทั้งนี้ ที่ ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอน ไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตามอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดิน ที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 1.5 : 1 ( 3 ) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกินร้อยละห้าสิบ ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ ว่าจะกี่ครั้งก็ตามอัตราส่วน พื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมด รวมกันต้องไม่เกินร้อยละห้าสิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบห้าของแปลงที่ดิน ที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ยกเว้ นการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณ ย. 1 - 2 และ ย. 1 - 3 ไม่ต้องเป็นไป ตามอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร หากเป็นการก่อสร้างแทนที่เดิม โดยการก่อสร้างต้องมีความสูงและขนาดของอาคารเท่าเดิม (4) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ดำเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูง ไม่เกิน 12 เมตร ยกเว้นบริเวณหมายเลข ย. 1 - 2 และ ย. 1 - 3 ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจ การได้ ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 6 เมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สำหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด (5) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อ การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลัง ต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกิน 0.5 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลัง ต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกัน ต้องไม่เกิน 0.5 : 1 ้ หนา 14 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

(6) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็น ที่ตั้งอาคารไม่เกินร้อยละสามสิบ ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอน ไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตามอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจาก การแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกินร้อยละสามสิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านไม่น้อยกว่า ร้อยละสามสิบห้าของแปล งที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร (7) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ทางหลวงชนบท พบ. 4016 และทางหลวงชนบท พบ. 1045 ไม่น้อยกว่า 10 เมตร (8) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของลาคลอง หรือแหล่งน้าสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมและขนส่งทางน้าหรือการสาธารณูปโภค ข้อ 10 ที่ดินประเภท ย. 2 เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการใด ๆ นอกจากกิจการตามข้อห้าม ดังต่อไปนี้ (1) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภทและชนิด ที่กำหนดให้ดำเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และมีพื้นที่อาคารรวมทุกชั้นในหลังเดียวกัน ไม่เกิน 500 ตารางเมตร และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน (2) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย (3) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลว ประเภทโรงเก็บตามกฎหมา ยว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง (4) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า (5) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน (6) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม (7) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม ( 8 ) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ่พิเศษ ( 9 ) สนามแข่งรถ ( 10 ) สนามแข่งม้า ( 11 ) สนามยิงปืน ( 12 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 13 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 14 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า ( 15 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ ้ หนา 15 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 18 เมตร แต่ไม่หมายความรวมถึง โครงสร้างสาหรับใช้ในการรับส่งสัญญาณวิทยุ สัญญาณโทรทัศน์ หรือสัญญาณสื่อสารโทรคมนาคมทุกชนิด หอถังน้า และเสาส่งไฟฟ้า การวัดความสูงขอ งอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สำหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด ( 2 ) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ไม่เกิน 2 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลั งต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจาก การแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 2 : 1 ( 3 ) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกินร้อยละห้าสิบ ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตามอัตราส่วน พื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอน ทั้งหมดรวมกันต้อง ไม่เกินร้อยละห้าสิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบห้าของแปลงที่ดิน ที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร (4) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ดำเนินการหรือประกอบกิจการ ได้ในอาคารที่มีความสูง ไม่เกิน 12 เมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สำหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด (5) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่ แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกิน 0.5 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยก หรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดิน ที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 0.5 : 1 (6) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่ อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็น ที่ตั้งอาคารไม่เกินร้อยละสามสิบ ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่ งโอน ไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตามอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจาก การแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกินร้อยละสามสิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านไม่น้อยกว่า ร้อยละสามสิบห้าของแปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้ งอาคาร ้ หนา 16 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

(7) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ทางหลวงชนบท พบ. 1046 แยกทางหลวงหมายเลข 4 - บ้านท่า ทางหลวงชนบท สส. 2021 และทางหลวงชนบท พบ. 1045 ไม่น้อยกว่า 10 เมตร (8) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของลาคลอง หรือแหล่งน้าสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมและขนส่งทางน้าหรือการสาธารณูปโภค ข้อ 11 ที่ดินประเภท ย. 3 เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ให้ใช้ประโยชน์ที่ ดิน เพื่อกิจการใด ๆ นอกจากกิจการตามข้อห้าม ดังต่อไปนี้ (1) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภทและชนิด ที่กำหนดให้ดำเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และมีพื้นที่อาคารรวมทุกชั้นในหลังเดียวกัน ไม่เกิน 500 ตารางเมตร และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน (2) คลังน้ำมันและสถานที่เก็บรักษาน้ำมัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย (3) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประ เภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลว ประเภทโรงเก็บตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง (4) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 5 ) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน ( 6 ) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 7 ) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงสัตว์ ( 8 ) สนามแข่งรถ ( 9 ) สนามแข่งม้า ( 10 ) สนามยิงปืน ( 11 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 12 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 13 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า ( 14 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย พาณิชยกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ให้ดำเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 23 เมตร แต่ไม่หมายความรวมถึงโครงสร้างสาหรับใช้ในการรับส่งสัญญาณวิทยุ สัญญาณโทรทัศน์ หรือสัญญาณสื่อสาร โทรคมนาคมทุกชนิด หอถังน้า และเสาส่งไฟฟ้า การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดิน ้ หนา 17 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

ที่ ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สาหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนัง ของชั้นสูงสุด ( 2 ) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย พาณิชยกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคาร ทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดิน ที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกิน 2.5 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยก หรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดิน ที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 2.5 : 1 ( 3 ) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย พาณิชยกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ ตั้งอาคาร ไม่เกินร้อยละห้าสิบห้า ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอน ไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตามอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ที่เกิดจาก การแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน ร้อยละห้าสิบห้า และให้มีพื้นที่น้ำซึมผ่านไม่น้อยกว่า ร้อยละยี่สิบของแปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร (4) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อการอยู่อาศัย พาณิชยกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจกำรได้ในอาคาร ที่มีความสูงไม่เกิน 12 เมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สำหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยา ให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด (5) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อการอยู่อาศัย พาณิชยกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้น ของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกิน 0.5 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใด ที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่ง แยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้น ของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมด รวมกันต้องไม่เกิน 0.5 : 1 (6) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อกำรอยู่อาศัย พาณิชยกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่ แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกินร้อยละสามสิบ ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยก หรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตามอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกินร้อยละสามสิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่าน ไม่น้อยกว่าร้อยละสามสิบห้าของแปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้ง อาคาร (7) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ทางหลวงชนบท พบ. 1046 แยกทางหลวงหมายเลข 4 - บ้านท่า ทางหลวงชนบท สส. 20 2 1 และทางหลวงชนบท พบ. 4016 ไม่น้อยกว่า 10 เมตร ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

(8) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชา ติของลาคลอง หรือแหล่งน้าสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมและขนส่งทางน้าหรือการสาธารณูปโภค ข้อ 12 ที่ดินประเภท พ. 1 เป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการใด ๆ นอกจากกิจการตามข้อห้าม ดังต่อไปนี้ (1) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภทและชนิด ที่กำหนดให้ดำเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และมีพื้นที่อาคารรวมทุกชั้นในหลังเดียวกัน ไม่เกิน 300 ตารางเมตร (2) คลังน้ำมัน สถานที่เก็บรักษาน้า มัน ลักษณะที่สาม สถานีบริการน้ามันประเภท ก สถานีบริการน้ามันประเภท ข สถานีบริการน้ามันประเภท ค ลักษณะที่สอง สถานีบริการน้ามัน ประเภท จ ลักษณะที่สอง และสถานีบริการน้ามันประเภท ฉ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย (3) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ และสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง (4) เลี้ยงม้ำ โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า (5) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน (6) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 7 ) สนามแข่งรถ ( 8 ) สนามแข่งม้า ( 9 ) สนามยิงปืน ( 10 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 11 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 12 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า ( 13 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การใช้ประโยชน์เพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ให้ดำเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 23 เมตร แต่ไม่หมายความรวมถึงโครงสร้างสาหรับใช้ในการรับส่งสัญญาณวิทยุ สัญญาณโทรทัศน์ หรือสัญญาณสื่อสาร โทรคมนาคมทุกชนิด หอถังน้า และเสาส่งไฟฟ้า การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดิน ที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สาหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนัง ของชั้นสูงสุด ้ หนา 19 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

( 2 ) การใช้ประโยชน์เพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบั นราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดิน ที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกิน 3 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยก หรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่ วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดิน ที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 3 : 1 ( 3 ) การใช้ประโยชน์เพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ไม่เกินร้อยละหกสิบห้า ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอน ไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็ นที่ตั้งอาคารที่เกิดจาก การแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกินร้อยละหกสิบห้า (4) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ ในอาคา ร ที่มีความสูงไม่เกิน 12 เมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สำหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด (5) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้น ของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกิน 0.5 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใด ที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่ำจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกัน ทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอน ทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 0.5 : 1 (6) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อพาณิชยกรรม การอยู่ อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่ แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกินร้อยละสามสิบ ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยก หรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกินร้อยละสามสิบ (7) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ทางหลวงชนบท พบ. 4016 และทางหลวงชนบท สส. 20 2 1 ไม่น้อยกว่า 10 เมตร (8) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของลาคลอง หรือแหล่งน้าสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมและขนส่งทางน้าหรือการสาธารณูปโภค ข้อ 1 3 ที่ดินประเภท พ. 2 เป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการใด ๆ นอกจากกิจการตามข้อห้าม ดังต่อไปนี้ ้ หนา 20 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

(1) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภทและชนิด ที่กำหนดให้ดำเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และมีพื้น ที่อาคารรวมทุกชั้นในหลังเดียวกัน ไม่เกิน 500 ตารางเมตร (2) คลังน้ำมัน สถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม สถานีบริการน้ามันประเภท ก สถานีบริการน้ามันประเภท ข สถานีบริการน้ามันประเภท ค ลักษณะที่สอง สถานีบริการน้ามัน ประเภท จ ลักษณะที่สอง และ สถานีบริการน้ามันประเภท ฉ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย (3) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ และสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง (4) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า (5) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน (6) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ( 7 ) สนามแข่งรถ ( 8 ) สนามแข่งม้า ( 9 ) สนามยิงปืน ( 10 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ( 11 ) กำจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ( 12 ) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า ( 13 ) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกัน ทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดิน ที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกิน 3.5 : 1 ทั้งนี้ แปลงที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยก หรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดิน ที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 3.5 : 1 ( 2 ) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ ตั้งอาคาร ไม่เกินร้อยละเจ็ดสิบ ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ที่เกิดจากการแบ่งแยก ้ หนา 21 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

หรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกินร้ อยละเจ็ดสิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านลงดินได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละสิบห้าของแปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร (3) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ดาเนินการหรือประกอ บกิจการได้ในอาคาร ที่มีความสูงไม่เกิน 12 เมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สำหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด (4) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจาก เพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้น ของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกิน 0.5 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใด ที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกัน ทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมด รวมกันต้องไม่เกิน 0.5 : 1 (5) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่ แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกินร้อยละสามสิบ ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยก หรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตามอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกินร้อยละสามสิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่าน ไม่น้อยกว่าร้อยละสามสิบห้าของแปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้ง อาคาร (6) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ทางหลวงชนบท สส. 20 2 1 และทางหลวงชนบท พบ. 1046 แยกทางหลวงหมายเลข 4 - บ้านท่า ไม่น้อยกว่า 10 เมตร (7) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของลาคลอง หรือแหล่งน้า สาธารณะ ไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมและขนส่งทางน้าหรือการสาธารณูปโภค ข้อ 1 4 ที่ดินประเภท ก. เป็นที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการใด ๆ นอกจากกิจการตามข้อห้าม ดังต่อไปนี้ (1) โรงงานทุกจาพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภทและชนิด ที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ และมีพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกัน ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน (2) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้า มัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย ้ หนา 22 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

(3) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลว ประเภทโรงเก็บตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง (4) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม (5) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม (6) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม (7) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย (8) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ่ (9) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว (10) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคแ ละสาธารณูปการ ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 12 เมตร แต่ไม่หมายความรวมถึง โครงสร้างสาหรับใช้ในการรับส่งสัญญาณวิทยุ สัญญาณโทรทัศน์ หรือสัญญาณสื่อสารโทรคมนาคมทุกชนิด หอถังน้า และเสาส่งไฟฟ้า การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สำหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด ( 2 ) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้ นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ไม่เกิน 1 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจาก การแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 1 : 1 ( 3 ) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคา รไม่เกินร้อยละสี่สิบ ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน พื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมด รวมกันต้องไม่เกินร้อยละสี่ สิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้ไม่น้อยกว่าร้อยละสามสิบของแปลงที่ดิน ที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร (4) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ดำเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูง ไม่เกิน 9 เมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สำหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด ้ หนา 23 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

(5) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประก อบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่ แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกิน 0.5 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแย ก หรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดิน ที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 0.5 : 1 (6) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็น ที่ตั้งอาคารไม่เกินร้อยละสามสิบ ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอน ไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตำม อัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจาก การแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกินร้อยละสามสิบ และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละสามสิบห้าของแปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร (7) ให้มีที่ว่างตาม แนวขนานริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ทางหลวงชนบท พบ. 1046 แยกทางหลวงหมายเลข 4 - บ้านท่า ทางหลวงชนบท พบ. 4016 ทางหลวงชนบท สส. 20 2 1 และทางหลวงชนบท พบ. 1045 ไม่น้อยกว่า 10 เมตร (8) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของลาคลอง หรือแหล่งน้าสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมและขนส่งทางน้าหรือการสาธารณูปโภค ข้อ 1 5 ที่ดินประเภท อก. เป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการใด ๆ นอกจากกิจการตามข้อห้าม ดังต่อไปนี้ (1) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน (2) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม น้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจำหน่าย (3) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลว ประเภทโรงเก็บตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง (4) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม (5) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม (6) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม (7) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย (8) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ่ (9) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว (10) การอยู่อาศัยประเภท อาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ้ หนา 24 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 7 เมตร แต่ไม่หมายความรวมถึง โครงสร้างสาหรับใช้ในการรับส่งสัญญาณวิทยุ สัญญาณโทรทัศน์ หรือสัญญาณสื่อสารโทรคมนาคมทุกชนิด หอถังน้า และเสาส่งไฟฟ้า การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สำหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้ นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด ( 2 ) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ไม่เกิน 0.5 : 1 ทั้งนี้ ที่ดิน แปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจาก การแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 0.5 : 1 ( 3 ) การใช้ประโยชน์ ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ไม่เกินร้อยละสี่สิบ ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตำม อัตราส่วน พื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมด รวมกันต้องไม่เกินร้อยละสี่สิบ (4) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ดำเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูง ไม่เกิน 7 เมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สำหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด (5) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่ แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกิน 0.5 : 1 ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใ ช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยก หรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดิน ที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 0.5 : 1 (6) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ นอกจากเพื่อเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็น ที่ตั้งอาคารไม่เกินร้อยละสามสิบ ทั้งนี้ แปลงที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ ว หากมีการแบ่งแยก หรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกินร้อยละสามสิบ (7) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของลาคลอ ง หรือแหล่งน้าสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมและขนส่งทางน้าหรือการสาธารณูปโภค ้ หนา 25 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

ข้อ 1 6 ที่ดินประเภท ล. เป็นที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เฉพาะที่ดินซึ่งเป็นของรัฐ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อนันทนาการหรือเกี่ยวข้องกับนันทนาการ การรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น ที่ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การอยู่ อาศัย เกษตรกรรม หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น และห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ( 2 ) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย ( 3 ) การอยู่อาศัยประเภทห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว ( 4 ) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ( 5 ) กำจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ตามวรรคสอง ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 6 เมตร และมีพื้นที่อาคาร แต่ละหลังรวมกันไม่เกิน 75 ตารางเมตร แต่ไม่หมายความรวมถึงโครงสร้างสาหรับใช้ในการรับส่ง สัญญาณวิทยุ สัญญาณโทรทัศน์ หรือสัญญาณสื่อสารโทรคมนาคมทุกชนิด หอถังน้ำ และเสาส่งไฟฟ้า การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สำหรับอาคารทรงจั่ว หรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด ( 2 ) ให้มีพื้นที่น้ำซึมผ่านไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของแปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ( 3 ) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของลาคลอง หรือแหล่งน้าสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมและขนส่งทางน้าหรือการสาธารณูปโภค ( 4 ) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานแนวชายฝั่งตามสภาพธรรมชาติของทะเลอ่าวไทยไม่น้อยกว่า 20 เม ตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมทางน้าหรือการสาธารณูปการ ข้อ 1 7 ที่ดินประเภท อป. เป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการสงวน และคุ้มครองดูแล รักษา หรือบารุงป่าไม้ สัตว์ป่า ต้นน้า ลาธาร และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ตามมติคณะรัฐมนตรี และกฎหมายเกี่ยวกับการป่าไม้ การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า และการส่งเสริม และการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ที่ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม การอยู่อาศัยประเภทบ้านเ ดี่ยวที่มิใช่การจัดสรรที่ดินพื้นที่อาคารรวมไม่เกิน 150 ตารางเมตร และมีความสูงของอาคารไม่เกิน 6 เมตร แต่ไม่หมายความรวมถึงโครงสร้างสาหรับใช้ในการรับส่ง สัญญาณวิทยุ สัญญาณโทรทัศน์ หรือสัญญาณสื่อสารโทรคมนาคมทุกชนิด หอถังน้ำ และเสาส่งไฟฟ้า การวัดควำมสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สำหรับอาคารทรงจั่ว ้ หนา 26 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

หรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด และให้มีพื้นที่น้าซึมผ่านลงดินได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของแปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ยกเว้นที่ดินบริเวณหมายเลข อป. - 3 ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเช่นเดียวกับที่ดินประเภท ย. 2 ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย การใช้ประโยชน์ที่ดินริมฝั่งลาคลองหรือแหล่งน้าสาธารณะ ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่ง ตามสภาพธรรมชาติของลาคลอง หรือแหล่งน้าสาธารณะ ไม่น้อยกว่ำ 12 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้าง เพื่อการคมนาคมและขนส่งทางน้าหรือการสาธารณูปโภค ข้อ 1 8 ที่ดินประเภท ศษ. เป็นที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อการศึกษา หรือเกี่ยวข้องกับการศึกษา สถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น ข้อ 1 9 ที่ดินประเภท ลส. เป็นที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือเกี่ยวข้องกับการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ การประมงชายฝั่ง การคมนาคมและขนส่งทางน้ำ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ และสาธารณประโยชน์เท่านั้น ข้อ 20 ที่ดินประเภท ศน. เป็นที่ดินประเภทสถาบันศาสนา ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อการศาสนาหรือเกี่ยวข้องกับการศาสนา การศึกษา สถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น ข้อ 21 ที่ดินประเภท ส. เป็นที่ ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการของรัฐ กิจการเกี่ยวกับการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น ส่วนที่ 2 แผนผังแสดงที่โล่ง ข้อ 22 แผนผังแสดงที่โล่งพร้อมด้วยข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้จัดทำขึ้น เพื่อประโยชน์ในการดารงรักษาที่โล่งไว้เพื่อสาธารณประโยชน์และรักษาสภาพแวดล้อมอันจะเป็น การรักษาสภาพภูมิทัศน์ที่ดีของชุมชน รวมทั้งเพื่อป้องกันภัยพิบัติ ที่โล่งตามแผนผังแสดงที่โล่งท้ายประกำศนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ที่โล่งประเภท ลร. ให้เป็นที่โล่งเพื่อการสงวนรักษาสภาพการระบายน้าตามธรรมชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อสงวนรักษาสภาพการระบายน้ำตามธรรมชาติ จำแนกเป็นบริเวณ ลร. - 1 ถึง ลร - 7 ( 2 ) ที่โล่งประเภท ลส. ให้เป็นที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม มีวัตถุประสงค์ เพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพแวดล้อมชายฝั่งทะเล จำแนกเป็นบริเวณ ลส. ข้อ 2 3 ที่โล่งประเภท ลร. เป็นที่โล่งเพื่อการสงวนรักษาสภาพการระบายน้าตามธรรมชาติ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการสงวนรักษาสภาพ การระบายน้ำตามธรรมชาติ หรือตามประกาศ การใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภทไว้ในบริเวณนั้น โดยต้องไม่มีการถม ปรับพื้นที่ หรือปิดกั้น ซึ่งทาให้แหล่งน้าสาธารณะตื้นเขิน เปลี่ยนทิศทางหรือทาให้น้าในแหล่งน้านั้นไม่อาจไหลไปได้ตามปกติ ้ หนา 27 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

เว้นแต่เป็นการกร ะทาโดยรัฐเพื่อสาธารณะหรือป้องกันน้าท่วม หรือตามข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ของแผนผังอื่นในบริเวณนั้น ข้อ 2 4 ที่โล่งประเภท ลส. เป็นที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้ใช้ประโยชน์ เพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพแวดล้อมชายฝั่งทะเล หรือตามประกาศการใช้ ประโยชน์ที่ดิน ตามที่ได้จำแนกประเภทไว้ในบริเวณนั้น โดยต้องไม่มีการถมทะเล เว้นแต่การดาเนินการโดยรัฐ หรือตามข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินของแผนผังอื่นในบริเวณนั้น ส่วนที่ 3 แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง ข้อ 2 5 แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่งพร้อมด้วยข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้จัดทำขึ้นเพื่อส่งเสริม และพัฒนาระบบคมนาคมและขนส่งให้มีประสิทธิภาพ สามารถรองรับ และสอดคล้องกับการขยายตัวของชุมชนในอนาคต โครงการคมนาคมและขนส่งตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง ให้เ ป็นไป ดังต่อไปนี้ (1) ถนนแบบ ก ที่กำหนดไว้เป็นสีส้ม ให้มีขนาดเขตทาง 12.00 เมตร จำนวน 5 สาย (2) ถนนแบบ ข ที่กำหนดไว้เป็นสีแดง ให้มีขนาดเขตทาง 16.00 เมตร จำนวน 2 สาย (3) ถนนแบบ ค ที่กำหนดไว้เป็นสีเหลือง ให้มีขนาดเขตทาง 20.00 เมตร จำนวน 6 สาย (4) ถนนแบบ ง ที่กำหนดไว้เป็นสีเทา ให้มีขนาดเขตทาง 30.00 เมตร จำนวน 5 สาย (5) ถนนแบบ จ ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียว ให้มีขนาดเขตทาง 40.00 เมตร จำนวน 1 สาย ข้อ 2 6 ที่ดินในบริเวณแนวถนนสาย ก 1 ถนนสาย ก 2 ถนนสาย ก 3 ถนนสาย ก 4 ถนนสาย ก 5 ถนนสาย ข 1 ถนนสาย ข 2 ถนนสาย ค 1 ถนนสาย ค 2 ถนนสาย ค 3 ถนนสาย ค 4 ถนนสาย ค 5 ถนนสาย ค 6 ถนนสาย ง 1 ถนนสาย ง 2 ถนนสาย ง 3 ถนนสาย ง 4 ถนนสาย ง 5 และถนนสาย จ ตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง ท้ายประกาศนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่นนอกจากกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การสร้างถนนหรือเกี่ยวข้องกับถนน และการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ( 2 ) การสร้างรั้วหรือกำแพง ( 3 ) เกษตรกรรมที่มีความสูงของอาคารไม่เกิน 9 เมตร หรือไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ ส่วนที่ 4 แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค ข้อ 2 7 แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภคพร้อมด้วยข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้จัดทำขึ้นเพื่อส่งเสริมและพัฒนาระบบสาธารณูปโภคให้เหมาะสมเพียงพอกับการให้บริการ และได้มาตรฐาน ้ หนา 28 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

การใช้ป ระโยชน์ที่ดินตามแผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภคท้ายประกาศ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ (1) ที่ดินประเภท สฆ. ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาลายจุด ให้เป็นที่ดินเพื่อกิจการสาธารณูปโภค ประเภทโรงฆ่าสัตว์ จำแนกเป็นบริเวณ สฆ. (2) ที่ดินประเภท สบ. ที่กาหนดไว้เป็นสีม่วงลายจุด ให้เป็นที่ดินเพื่อกิจการสาธารณูปโภค ประเภทโรงบำบัดน้ำเสีย จำแนกเป็นบริเวณ สบ. - 1 และ สบ. - 2 ข้อ 2 8 ที่ดินประเภท สฆ. เป็นที่ดินเพื่อกิจการสาธารณูปโภคประเภทโรงฆ่าสัตว์ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการก่อสร้างโรงฆ่าสัตว์ หรือตามข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินของแผนผังอื่น ในบริเวณนั้น ข้อ 2 9 ที่ดินประเภท สบ. เป็นที่ดินเพื่อกิจการสาธารณูปโภคประเภทโรงบาบัดน้าเสีย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการก่อสร้างโรงบำบัดน้ำเสีย หรือตามข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ของแผนผังอื่นในบริเวณนั้น ประกาศ ณ วันที่ 23 มิ ถุนายน พ.ศ. 25 6 6 พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ้ หนา 29 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 166 ง ราชกิจจานุเบกษา 11 กรกฎาคม 2566

ที่อยู่อาศัย ชนบท หนาแน่นปานกลาง และเกษตรกรรม ( ย .1) ( ย .2) ( ย .3) ( พ .1) ( พ .2) ( ก .) 4 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับสัตว์ ซึ่งมิใช่สัตว์น้ําอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (1) การฆ่าสัตว์ ได้ 5 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับน้ํานมอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (1) การทํานมสดให้ไร้เชื้อหรือฆ่าเชื้อ โดยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ เช่น การพาสเจอร์ไรส์ หรือสเตอริไลส์ 9 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเมล็ดพืชหรือหัวพืชอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (1) การสี ฝัด หรือขัดข้าว ได้ 10 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับอาหารจากแป้งอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (1) การทําขนมปังหรือขนมเค้ก ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ (2) การทําขนมปังกรอบหรือขนมอบแห้ง ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ (3) การทําผลิตภัณฑ์อาหารจากแป้ง เป็นเส้น เม็ด หรือชิ้น ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ 12 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับชา กาแฟ โกโก้ ช็อกโกเลต หรือขนมหวานอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (11) การทําไอศกรีม ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ 14 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการทํา ตัด ซอย บด หรือย่อยน้ําแข็ง ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ บัญชีท้ายประกาศกระทรวงมหาดไทย พ . ศ . 2566 ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก หนาแน่นน้อย ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หมายเหตุ เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนนายาง - หนองจอก จังหวัดเพชรบุรี ที่ดินประเภท ที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรมและ

ที่อยู่อาศัย ชนบท หนาแน่นปานกลาง และเกษตรกรรม ( ย .1) ( ย .2) ( ย .3) ( พ .1) ( พ .2) ( ก .) 15 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับอาหารสัตว์อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (1) การทําอาหารผสมหรืออาหารสําเร็จรูปสําหรับเลี้ยงสัตว์ ได้ ปศุสัตว์ 20 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับน้ําดื่ม เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ น้ําอัดลม หรือน้ําแร่อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (1) การทําน้ําดื่ม ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ (4) การทําน้ําแร่ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ 22 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับสิ่งทอ ด้าย หรือเส้นใยซึ่งมิใช่ใยหิน (Asbestos) อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (4) การพิมพ์สิ่งทอ ได้ พื้นเมือง 26 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเชือก ตาข่าย แห หรืออวน อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (2) การผลิต ประกอบ หรือซ่อมแซมตาข่าย แห หรืออวน ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ เฉพาะซ่อมแซม และรวมถึงชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว 34 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับไม้อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (1) การเลื่อย ไส ซอย เซาะร่อง หรือการแปรรูปไม้ด้วยวิธีอื่น ได้ ได้ ได้ ที่คล้ายคลึงกัน (2) การทําวงกบ ขอบประตู ขอบหน้าต่าง บานหน้าต่าง บานประตู ได้ ได้ ได้ หรือส่วนประกอบที่ทําด้วยไม้ของอาคาร พาณิชยกรรมและ หนาแน่นน้อย ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เฉพาะในบริเวณฟาร์ม 2 ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ ที่อยู่อาศัย เฉพาะการพิมพ์สิ่งทอ

ที่อยู่อาศัย ชนบท หนาแน่นปานกลาง และเกษตรกรรม ( ย .1) ( ย .2) ( ย .3) ( พ .1) ( พ .2) ( ก .) 37 โรงงานทําเครื่องเรือนหรือตบแต่งภายในอาคารจากไม้ แก้ว ยาง ได้ ได้ ได้ หรืออโลหะอื่น ซึ่งมิใช่เครื่องเรือนหรือเครื่องตบแต่งภายในอาคาร จากพลาสติกอัดเข้ารูป และรวมถึงชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว 41 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ (1) การพิมพ์ การทําแฟ้มเก็บเอกสาร การเย็บเล่ม ทําปก ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ หรือตบแต่งสิ่งพิมพ์ 55 โรงงานผลิตภัณฑ์เครื่องกระเบื้องเคลือบ เครื่องปั้นดินเผา ได้ เฉพาะการทําผลิตภัณฑ์ หรือเครื่องดินเผา และรวมถึงการเตรียมวัสดุเพื่อการดังกล่าว เครื่องปั้นดินเผา หรือ เครื่องดินเผา และรวมถึง การเตรียมวัสดุเพื่อการ ดังกล่าว 56 โรงงานผลิตอิฐ กระเบื้อง หรือท่อสําหรับใช้ในการก่อสร้าง ได้ เฉพาะผลิตอิฐจาก เบ้าหลอมโลหะ กระเบื้องประดับ (Architectural Terracotta) ดินเหนียว รองในเตาไฟ ท่อหรือยอดปล่องไฟ หรือวัตถุทนไฟจากดินเหนียว 57 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับซีเมนต์ ปูนขาว หรือปูนปลาสเตอร์ อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (2) การลําเลียงซีเมนต์ ปูนขาว หรือปูนปลาสเตอร์ด้วยระบบ ได้ สายพานลําเลียงหรือระบบท่อลม (3) การผสมซีเมนต์ ปูนขาว หรือปูนปลาสเตอร์อย่างหนึ่งอย่างใด ได้ เข้าด้วยกัน หรือการผสมซีเมนต์ ปูนขาว หรือปูนปลาสเตอร์ ่ ่ อย่างหนึ่งอย่างใดเข้ากับวัสดุอื่น ที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรมและ หนาแน่นน้อย ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก 3 ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ

ที่อยู่อาศัย ชนบท หนาแน่นปานกลาง และเกษตรกรรม ( ย .1) ( ย .2) ( ย .3) ( พ .1) ( พ .2) ( ก .) 58 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์อโลหะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (1) การทําผลิตภัณฑ์คอนกรีต ผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสม ผลิตภัณฑ์ ได้ เฉพาะผลิตภัณฑ์ ยิปซัม หรือผลิตภัณฑ์ปูนปลาสเตอร์ คอนกรีตผสม 61 โรงงานผลิต ตบแต่ง ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องมือ หรือเครื่องใช้ ได้ เฉพาะดัดแปลงหรือ ที่ทําด้วยเหล็กหรือเหล็กกล้า และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ ซ่อมแซม ของเครื่องมือหรือเครื่องใช้ดังกล่าว 62 โรงงานผลิต ตบแต่ง ดัดแปลง หรือซ่อมแซม เครื่องเรือน หรือ ได้ เฉพาะดัดแปลงหรือ เครื่องตบแต่งภายในอาคารที่ทําจากโลหะหรือโลหะเป็นส่วนใหญ่ ซ่อมแซม และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของเครื่องเรือนหรือ เครื่องตบแต่งดังกล่าว 63 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์โลหะสําหรับใช้ในการ ก่อสร้าง หรือติดตั้งอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (2) การทําส่วนประกอบสําหรับใช้ในการก่อสร้างอาคาร ได้ 64 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์โลหะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (13) การกลึง เจาะ คว้าน กัด ไส เจียน หรือเชื่อมโลหะทั่วไป ได้ 65 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องยนต์ ได้ เฉพาะดัดแปลงหรือ เครื่องกังหัน และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของเครื่องยนต์ ซ่อมแซม หรือเครื่องกังหันดังกล่าว หนาแน่นน้อย ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก 4 ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ ที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรมและ

ที่อยู่อาศัย ชนบท หนาแน่นปานกลาง และเกษตรกรรม ( ย .1) ( ย .2) ( ย .3) ( พ .1) ( พ .2) ( ก .) 66 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องจักรสําหรับ ได้ ได้ ได้ เฉพาะดัดแปลงหรือ ใช้ในการกสิกรรมหรือการเลี้ยงสัตว์ และรวมถึงส่วนประกอบ ซ่อมแซม หรืออุปกรณ์ของเครื่องจักรดังกล่าว 69 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องคํานวณ ได้ เฉพาะดัดแปลงหรือ เครื่องทําบัญชี เครื่องจักรสําหรับระบบบัตรเจาะ เครื่องจักรสําหรับ ซ่อมแซม ใช้ในการคํานวณชนิดดิจิทัลหรือชนิดอนาล็อก หรือเครื่อง อิเล็กทรอนิกส์สําหรับปฏิบัติกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันหรืออุปกรณ์ (Digital or Analog Computers, Associated Electronic Data Processing Equipment, or Accessories) เครื่องรวม ราคาของขาย (Cash Registers) เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องชั่งซึ่งมิใช่ เครื่องชั่งที่ใช้ในห้องทดลองวิทยาศาสตร์ หรือเครื่องอัดสําเนาซึ่งมิใช่ เครื่องอัดสําเนาด้วยการถ่ายภาพ และรวมถึงส่วนประกอบ หรืออุปกรณ์ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว 70 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องสูบน้ํา ได้ เฉพาะดัดแปลงหรือ เครื่องอัดอากาศหรือก๊าซ เครื่องเป่าลม เครื่องปรับหรือถ่ายเทอากาศ ซ่อมแซม เครื่องโปรยน้ําดับไฟ ตู้เย็นหรือเครื่องประกอบตู้เย็น เครื่องขายสินค้า อัตโนมัติ เครื่องล้าง ซัก ซักแห้ง หรือรีดผ้า เครื่องเย็บ เครื่องส่งกําลังกล เครื่องยก ปั้นจั่น ลิฟต์ บันไดเลื่อน รถบรรทุก รถแทรกเตอร์ รถพ่วงสําหรับใช้ในการอุตสาหกรรม รถยกซ้อนของ (Stackers) เตาไฟหรือเตาอบสําหรับใช้ในการอุตสาหกรรมหรือสําหรับใช้ในบ้าน แต่ผลิตภัณฑ์นั้นต้องไม่ใช้พลังงานไฟฟ้า และรวมถึงส่วนประกอบ หรืออุปกรณ์ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว หนาแน่นน้อย ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก 5 ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ ที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรมและ

ที่อยู่อาศัย ชนบท หนาแน่นปานกลาง และเกษตรกรรม ( ย .1) ( ย .2) ( ย .3) ( พ .1) ( พ .2) ( ก .) 71 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องจักรหรือ ได้ เฉพาะดัดแปลงหรือ ผลิตภัณฑ์ที่ระบุไว้ในลําดับที่ 70 เฉพาะที่ใช้ไฟฟ้า เครื่องยนต์ไฟฟ้า ซ่อมแซม เครื่องกําเนิดไฟฟ้า หม้อแปลงแรงไฟฟ้า เครื่องสับหรือบังคับไฟฟ้า เครื่องใช้สําหรับแผงไฟฟ้า เครื่องเปลี่ยนทางไฟฟ้า เครื่องส่งหรือ จําหน่ายไฟฟ้า เครื่องสําหรับใช้บังคับไฟฟ้า หรือเครื่องเชื่อมไฟฟ้า 72 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องรับวิทยุ ได้ เฉพาะดัดแปลงหรือ เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องกระจายเสียงหรือบันทึกเสียง เครื่องเล่น ซ่อมแซม แผ่นเสียง เครื่องบันทึกคําบอก เครื่องบันทึกเสียงด้วยเทป เครื่องเล่นหรือเครื่องบันทึกแถบภาพ ( วีดิทัศน์ ) แผ่นเสียง เทปแม่เหล็กที่ได้บันทึกเสียงแล้ว เครื่องโทรศัพท์หรือโทรเลข ชนิดมีสายหรือไม่มีสาย เครื่องส่งวิทยุ เครื่องส่งโทรทัศน์ เครื่องรับส่ง สัญญานหรือจับสัญญาน เครื่องเรดาร์ ผลิตภัณฑ์ที่เป็นตัวกึ่งนํา หรือตัวกึ่งนําชนิดไวที่เกี่ยวข้อง (Semi - Conductor or Related Sensitive Semi - Conductor Devices) คาปาชิเตอร์หรือ คอนเดนเซอร์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดคงที่หรือเปลี่ยนแปลงได้ (Fixed or Variable Electronic Capacitors or Condensers) เครื่องหรือหลอดเรดิโอกราฟ เครื่องหรือหลอดฟลูโรสโคป หรือ เครื่องหรือหลอดเอกซเรย์ และรวมถึงการผลิตอุปกรณ์หรือชิ้นส่วน สําหรับใช้กับเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าว 73 โรงงานผลิต ประกอบ หรือดัดแปลงเครื่องมือหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า ได้ เฉพาะดัดแปลงหรือ ที่ไม่ได้ระบุไว้ในลําดับใด และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ ซ่อมแซม ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก หมายเหตุ ที่อยู่อาศัย 6 ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท พาณิชยกรรมและ หนาแน่นน้อย

ที่อยู่อาศัย ชนบท หนาแน่นปานกลาง และเกษตรกรรม ( ย .1) ( ย .2) ( ย .3) ( พ .1) ( พ .2) ( ก .) 75 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเรืออย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (1) การต่อ ซ่อมแซม ทาสี หรือตอกหมันเรือในอู่ต่อเรือ ได้ ได้ ได้ เฉพาะการซ่อมแซม ทาสี นอกจากเรือยาง หรือตอกหมันเรือใน อู่ต่อเรือ 76 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับรถไฟ รถรางไฟฟ้า หรือกระเช้าไฟฟ้า อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (1) การสร้าง ดัดแปลง หรือซ่อมแซมรถที่ใช้ในการรถไฟ รถรางไฟฟ้า ได้ เฉพาะดัดแปลงหรือ หรือกระเช้าไฟฟ้า ซ่อมแซม 79 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับอากาศยานหรือเรือโฮเวอร์คราฟท์ อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (1) การสร้าง ประกอบ ดัดแปลง ซ่อมแซม หรือเปลี่ยนแปลง ได้ เฉพาะดัดแปลงหรือ สภาพอากาศยานหรือเรือโฮเวอร์คราฟท์ ซ่อมแซมหรือ เปลี่ยนแปลงสภาพ 80 โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซ่อมแซมล้อเลื่อนที่ขับเคลื่อน ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ เฉพาะดัดแปลงหรือ ด้วยแรงคนหรือสัตว์ ซึ่งมิใช่จักรยาน และรวมถึงส่วนประกอบ ซ่อมแซม หรืออุปกรณ์ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว 81 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องมือ เครื่องใช้ หรืออุปกรณ์ วิทยาศาสตร์ หรือการแพทย์อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (1) การทํา ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องมือหรืออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ได้ เฉพาะดัดแปลงหรือ ที่ใช้ในห้องทดลอง หรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการชั่ง ตวง วัด หรือบังคับ ซ่อมแซม ควบคุม หนาแน่นน้อย ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก 7 ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ ที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรมและ

ที่อยู่อาศัย ชนบท หนาแน่นปานกลาง และเกษตรกรรม ( ย .1) ( ย .2) ( ย .3) ( พ .1) ( พ .2) ( ก .) 84 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเพชร พลอย ทอง เงิน นาก หรืออัญมณีอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (1) การทําเครื่องประดับโดยใช้เพชร พลอย ไข่มุก ทองคํา ทองขาว ได้ เงิน นาก หรืออัญมณี (2) การทําเครื่องใช้ด้วยทองคํา ทองขาว เงิน นาก กะไหล่ทอง ได้ หรือโลหะที่มีค่า (3) การตัด เจียระไน หรือขัดเพชร พลอย หรืออัญมณี ได้ (5) การทําดวงตรา หรือเหรียญตราของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ได้ หรือเหรียญอื่น 87 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องเล่น เครื่องมือ หรือเครื่องใช้ ที่มิได้ระบุไว้ในลําดับอื่นอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (4) การทําร่ม ไม้ถือ ขนนก ดอกไม้เทียม ซิป กระดุม ไม้กวาด ได้ ได้ ได้ เฉพาะการผลิตสินค้า แปรง ตะเกียง โป๊ะตะเกียงหรือไฟฟ้า กล้องสูบยา หรือกล้องบุหรี่ พื้นเมืองหรือของชําร่วย ก้นกรองบุหรี่ หรือไฟแช็ก (5) การทําป้าย ตรา เครื่องหมาย ป้ายติดของ หรือเครื่องโฆษณาสินค้า ได้ ได้ ได้ ตราโลหะ หรือยางแม่พิมพ์ลายฉลุ (Stencils) 90 โรงงานจัดหาน้ํา ทําน้ําให้บริสุทธิ์ หรือจําหน่ายน้ําไปยังอาคาร ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ หรือโรงงานอุตสาหกรรม 91 โรงงานบรรจุสินค้าในภาชนะโดยไม่มีการผลิตอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (1) การบรรจุสินค้าทั่วไป ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก 8 ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ ที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรมและ หนาแน่นน้อย

ที่อยู่อาศัย ชนบท หนาแน่นปานกลาง และเกษตรกรรม ( ย .1) ( ย .2) ( ย .3) ( พ .1) ( พ .2) ( ก .) 92 โรงงานห้องเย็น ได้ ได้ ได้ เฉพาะที่ไม่ใช้แอมโมเนีย เป็นสารทําความเย็น 93 โรงงานซ่อมรองเท้าหรือเครื่องหนัง ได้ ได้ ได้ 94 โรงงานซ่อมเครื่องมือไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า สําหรับใช้ในบ้าน ได้ ได้ ได้ หรือใช้ประจําตัว 95 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับยานที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ รถพ่วง จักรยานสามล้อ จักรยานสองล้อ หรือส่วนประกอบของ ยานดังกล่าวอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (1) การซ่อมแซมยานที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หรือส่วนประกอบ ได้ ได้ ได้ ของยานดังกล่าว (2) การซ่อมแซมรถพ่วง จักรยานสามล้อ จักรยานสองล้อ หรือ ได้ ได้ ได้ ส่วนประกอบของยานดังกล่าว (3) การพ่นสีกันสนิมยานที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ ได้ ได้ ได้ (4) การล้างหรืออัดฉีดยานที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ 96 โรงงานซ่อมนาฬิกา เครื่องวัดเวลา หรือเครื่องประดับที่ทําด้วยเพชร ได้ ได้ ได้ พลอย ทองคํา ทองขาว เงิน นาก หรืออัญมณี 97 โรงงานซ่อมผลิตภัณฑ์ที่มิได้ระบุการซ่อมไว้ในลําดับใด ได้ 98 โรงงานซักรีด ซักแห้ง ซักฟอก รีด อัด หรือย้อมผ้า เครื่องนุ่งห่ม ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ไม่มีการฟอกย้อมสี พรม หรือขนสัตว์ 9 ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ ที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรมและ หนาแน่นน้อย ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก

ที่อยู่อาศัย ชนบท หนาแน่นปานกลาง และเกษตรกรรม ( ย .1) ( ย .2) ( ย .3) ( พ .1) ( พ .2) ( ก .) 102 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิต หรือจําหน่ายไอน้ํา ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ ได้ (Steam Generating) ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก 10 ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ที่ดินประเภท หมายเหตุ ที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรมและ หนาแน่นน้อย หมายเหตุ ลําดับที่ หมายถึง ลําดับที่ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน ได้ หมายถึง สามารถประกอบกิจการโรงงานได้ภายใต้บังคับของกฎหมายว่าด้วยโรงงาน

 รายการประกอบแผนผังกําหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จําแนกประเภทท้ายประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนนายาง – หนองจอก จังหวัดเพชรบุรี พ . ศ . 2566 การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นไปตามแผนผังกําหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จําแนกประเภท ท้ายประกาศ ตามที่กําหนดในข้อ 8 คือ 1 . ที่ดินประเภท ย . 1 และ ย . 2 ที่กําหนดไว้เป็นสีเหลือง ให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย มีรายการดังต่อไปนี้ ย . 1 - 1 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 250 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนสายหนองจอก - ชายนา ด้านตะวันออก จดเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสายหนองจอก - ชายนา ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลหนองจอกกับตําบลในดง ย . 1 – 2 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 250 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนไม่ปรากฏชื่อ และเส้นตรงที่ลากเป็นแนวเดียวกันกับเส้นขนานระยะ 250 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนไม่ปรากฏชื่อไปทางทิศตะวันตกจนบรรจบกับเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันออก ด้านตะวันออก จดทางหลวงชนบท พบ . 7002 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันออก ย . 1 - 3 ด้านเหนือ จดถนนสาย ก 1 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก 2 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ก 5 ฟากเหนือ และโรงเรียน วัดหนองจอก ( ศรีสรรค์พานิช ) ด้านตะวันตก จดทางหลวงชนบท พบ . 7002 ฟากตะวันออก ย . 1 - 4 ด้านเหนือ จดถนนสาย ก 1 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก 3 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ก 5 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก 2 ฟากตะวันออก ย . 1 - 5 ด้านเหนือ จดถนนสาย ก 1 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก 1 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ก 5 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก 3 ฟากตะวันออก ย . 1 - 6 ด้านเหนือ จดถนนสายหนองจอก - ชายนา ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก 4 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 4016 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลหนองจอกกับตําบลในดง

 2 ย . 1 - 7 ด้านเหนือ จดถนนสาย ก 5 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก 1 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 4016 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก 2 ฟากตะวันออก ย . 1 - 8 ด้านเหนือ จดเส้นตั้งฉากกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ที่จุดซึ่งอยู่ ห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อบรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวงหมายเลข 4 - บ้านท่า ไปทางทิศใต้ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ เป็นระยะ 700 เมตร ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 400 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนไม่ปรากฏชื่อ ด้านใต้ จดเส้นตั้งฉากกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ที่จุดซึ่งอยู่ ห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อบรรจบกับคลองระบายน้ํา D 1 ฝั่งเหนือ ไปทางทิศเหนือตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ เป็นระยะ 350 เมตร ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 10 0 เมตร กับริมฝั่ง คลองระบายน้ํา D 1 ฝั่งเหนือ และเส้นขนานระยะ 400 เมตร กับศูนย์กลางถนนไม่ปรากฏชื่อ ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ศน . - 7 ที่กําหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ย . 1 - 9 ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก และ วัดไตรรัตน์เจริญผล ด้านใต้ จดถนนสาย ค 4 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันออก ย . 1 - 10 ด้านเหนือ จดถนนสาย ค 4 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ค 4 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ง 5 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันออก ย . 1 - 11 ด้านเหนือ จดถนนสาย ง 5 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ง 5 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ค 6 ฟากตะวันออก ย . 1 - 12 ด้านเหนือ จดถนนสาย ง 5 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ค 6 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ค 4 ฟากตะวันออก ย . 1 - 13 ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงชนบท พบ . 1045 ฟากตะวันตก

 3 ด้านใต้ จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลเขาใหญ่กับตําบลชะอํา และทางหลวงชนบท พบ . 1045 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ค 6 ฟากตะวันออก ย . 1 - 14 ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ค 6 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 1045 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ค 4 ฟากตะวันออก ย . 1 - 15 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท พบ . 1045 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดด่านกักกันสัตว์เพชรบุรี สํานักงานเทศบาล ตําบลนายาง วัดนิคมวชิราราม และเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ล . - 14 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน ย . 1 - 16 ด้านเหนือ จดหมวดทางหลวงชะอํา ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ วัดถ้ําแจง และสํานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานเพชรบุรี ด้านตะวันออก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านทิศตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลเขาใหญ่กับตําบลชะอํา และวนอุทยานเขานางพันธุรัต ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันออก ย . 2 - 1 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนไม่ปรากฏชื่อ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 50 เมตร กับริมฝั่งทะเล อ่าวไทย ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 70 เมตร กับริมฝั่ง คลองระบายน้ํา D 8 ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงชนบท สส . 2021 ฟากตะวันออก ย . 2 - 2 ด้านเหนือ จดคลองส่งน้ําชลประทาน ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 30 เมตร กับริมฝั่งคลองส่งน้ํา ชลประทาน ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ง 1 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย จ ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ล . - 6 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน ย . 2 - 3 ด้านเหนือ จดถนนสาย ง 1 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ง 2 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ง 3 ฟากเหนือ

 4 ด้านตะวันตก จดถนนสาย จ ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ศษ . - 6 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ย . 2 - 4 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 70 เมตร กับริมฝั่งคลอง ระบายน้ํา D 8 ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 50 เมตร กับริมฝั่งทะเล อ่าวไทย ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงชนบท สส . 2021 ฟากตะวันออก ย . 2 - 5 ด้านเหนือ จดถนนสาย ง 3 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ง 2 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ง 4 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย จ ฟากตะวันออก ย . 2 - 6 ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ และเส้นตรง ที่ลากเป็นแนวเดียวกันกับศูนย์กลางถนนไม่ปรากฏชื่อไปทางทิศตะวันออก จนบรรจบกับเส้นขนานระยะ 50 เมตร กับริมชายฝั่งทะเลอ่าวไทย ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 50 เมตร กับริมฝั่งทะเล อ่าวไทย ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดแนวเขตป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และวันที่ 17 ตุลาคม 2543 ด้านตะวันตก จดทางหลวงชนบท สส . 2021 ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ศษ . - 7 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ย . 2 - 7 ด้านเหนือ จดถนนสาย ง 4 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ง 2 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวง หมายเลข 4 - บ้านท่า ฟากเหนือ และที่ทําการองค์การบริหารส่วนตําบลหนองศาลา ด้านตะวันตก จดถนนสาย จ ฟากตะวันออก ย . 2 - 8 ด้านเหนือ จดเส้นตั้งฉากกับเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งทางรถไฟสายใต้บรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวงหมายเลข 4 – บ้านท่า ด้านตะวันออก จดเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 10 0 เมตร กับริมฝั่ง คลองระบายน้ํา D 1 ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลาง ทางรถไฟสายใต้ ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ล . - 9 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน

 5 ย . 2 - 9 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวง หมายเลข 4 - บ้านท่า ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 70 เมตร กับริมฝั่งคลอง ระบายน้ํา D 5 ฝั่งตะวันตก และเส้นขนานระยะ 70 เมตร กับริมฝั่งคลองระบายน้ํา D 3 ฝั่งใต้ ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 7020 ฟากเหนือ และคลองส่งน้ําสายใหญ่ 1 ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ล . - 9 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน ย . 2 - 10 ด้านเหนือ จดค่ายศรียานนท์ ค่ายเพชรโยธิน กองบัญชาการกองอาสารักษาดินแดน กระทรวงมหาดไทย และแนวเขตป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และวันที่ 17 ตุลาคม 2543 ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 50 เมตร กับริมชายฝั่ง ทะเลอ่าวไทย ฝั่งตะวันตก และค่ายศรียานนท์ ด้านใต้ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงชนบท สส . 2021 ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ส . – 15 และที่ดินบริเวณ ส . – 16 ที่กําหนดไว้ เป็นสีน้ําเงิน ย . 2 - 11 ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 70 เมตร กับริมฝั่งคลอง ระบายน้ํา D 3 ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงชนบท สส . 2021 ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ศน . - 10 ที่กําหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ย . 2 - 12 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท พบ . 7020 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 30 เมตร กับริมฝั่ง คลองส่งน้ําชลประทาน ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 10 0 เมตร กับริมฝั่ง คลองระบายน้ํา D 1 ฝั่งเหนือ และทุ่งเลี้ยงสัตว์เกาะกะพงสาธารณประโยชน์ ด้านตะวันตก จดเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันออก ย . 2 - 13 ด้านเหนือ จดถนนสาย ค 3 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 1027 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนเลียบคลองส่งน้ําชลประทาน ฟากตะวันออก

 6 ย . 2 - 14 ด้านเหนือ จดแนวเขตป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และวันที่ 17 ตุลาคม 2543 ด้านตะวันออก จดแนวเขตป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และวันที่ 17 ตุลาคม 2543 ด้านใต้ จดแนวเขตป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และวันที่ 17 ตุลาคม 2543 ด้านตะวันตก จดแนวเขตป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และวันที่ 17 ตุลาคม 2543 ย . 2 - 15 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท พบ . 1027 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ค 5 ฟากเหนือ และวิทยาลัย การอาชีพวังไกลกังวล 2 ด้านตะวันตก จดถนนเลียบคลองส่งน้ําชลประทาน ฟากตะวันออก ย . 2 - 16 ด้านเหนือ จดแนวเขตป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และวันที่ 17 ตุลาคม 2543 และเส้นขนานระยะ 70 เมตร กับริมฝั่งคลอง ระบายน้ํา D 3 ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 50 เมตร กับริมชายฝั่ง ทะเลอ่าวไทย ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลบางเก่ากับตําบลชะอํา ด้านตะวันตก จดทางหลวงชนบท สส . 2021 ฟากตะวันออก ย . 2 - 17 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 10 0 เมตร กับริมฝั่งคลอง ระบายน้ํา D 1 ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 30 เมตร กับริมฝั่ง คลองส่งน้ําชลประทาน ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 1045 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดแนวเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันออก ย . 2 - 18 ด้านเหนือ จดถนนสาย ค 5 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนเลียบคลองส่งน้ําชลประทาน ฟากตะวันออก ย . 2 - 19 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท พบ . 1045 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 30 เมตร กับริมฝั่ง คลองส่งน้ําชลประทาน ฝั่งตะวันตก

 7 ด้านใต้ จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลบางเก่ากับตําบลชะอํา ด้านตะวันตก จดแนวเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันออก ย . 2 - 20 ด้านเหนือ จดถนนสาย ข 2 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันตก และแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลเขาใหญ่ กับตําบลชะอํา ด้านตะวันตก จดถนนเลียบคลองส่งน้ําชลประทาน ฟากตะวันออก 2 . ที่ดินประเภท ย . 3 - 1 ถึง ย . 3 - 7 ที่กําหนดไว้เป็นสีส้ม ให้เป็นที่ดินประเภท ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง มีรายการดังต่อไปนี้ ย . 3 - 1 ด้านเหนือ จดถนนสายหนองจอก - ชายนา ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 4016 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก 4 ฟากตะวันออก ย . 3 - 2 ด้านเหนือ จดถนนสาย ก 5 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก 2 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 4016 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นตั้งฉากกับถนนสาย ก 5 ฟากใต้ ที่จุดซึ่งถนนสาย ก 5 บรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 7002 ย . 3 - 3 ด้านเหนือ จดถนนสาย ง 1 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 30 เมตร กับริมฝั่ง คลองส่งน้ําชลประทาน ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ง 3 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ง 2 ฟากตะวันออก ย . 3 - 4 ด้านเหนือ จดถนนสาย ง 3 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 30 เมตร กับริมฝั่ง คลองส่งน้ําชลประทาน ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ง 4 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ง 2 ฟากตะวันออก ย . 3 - 5 ด้านเหนือ จดถนนสาย ง 4 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 30 เมตร กับริมฝั่ง คลองส่งน้ําชลประทาน ฝั่งตะวันตก แนวเขตป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และวันที่ 17 ตุลาคม 2543 สถานีพัฒนาที่ดินเพชรบุรี และวัดโตนดหลวง ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวง หมายเลข 4 - บ้านท่า ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ง 2 ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ส . - 1 2 ที่กําหนดไว้เป็นสีน้ําเงิน

 8 ย . 3 - 6 ด้านเหนือ จดถนนสาย ง 5 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ค 4 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ และสํานักงานปศุสัตว์อําเภอชะอํา สํานักงานขนส่งจังหวัดเพชรบุรี ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ย . 3 - 7 ด้านเหนือ จดถนนสาย ข 1 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ข 2 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนเลียบคลองส่งน้ําชลประทาน ฟากตะวันออก และโรงเรียนชาวไร่ 3 . ที่ดินประเภท พ . 1 และ พ . 2 ที่กําหนดไว้เป็นสีแดง ให้เป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก มีรายการดังต่อไปนี้ พ . 1 - 1 ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงชนบท พบ . 7002 ฟากตะวันตก และเส้นตั้งฉากกับถนนสาย ก 5 ฟากใต้ ที่จุดซึ่งถนนสาย ก 5 บรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 7002 ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 4016 ฟากเหนือ และสํานักปฏิบัติธรรมพูลสวัสดิ์ วัฒนธรรม ด้านตะวันตก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ศน . - 1 ที่กําหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน พ . 1 - 2 ด้านเหนือ จดถนนสาย ง 5 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์กลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ด้านใต้ จดสํานักงานปศุสัตว์อําเภอชะอํา สํานักงานขนส่ง จังหวัดเพชรบุรี ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันออก พ . 1 - 3 ด้านเหนือ จดโรงเรียนนิคมสร้างตนเองเขื่อนเพชร และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนิคมสร้างตนเอง ด้านตะวันออก จดศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุรี สํานักงานทางหลวงชนบทที่ 4 และเส้นขนานระยะ 300 เมตร กับศูนย์ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ด้านใต้ จดวัดนิคมวชิราราม ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันออก

 9 พ . 2 - 1 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวง หมายเลข 4 - บ้านท่า ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 30 เมตร กับริมฝั่ง คลองส่งน้ําชลประทาน ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 70 เมตร กับริมฝั่ง คลองระบายน้ํา D 3 ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 70 เมตร กับริมฝั่ง คลองระบายน้ํา D 5 ฝั่งตะวันออก พ . 2 - 2 ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนเลียบคลองส่งน้ําชลประทาน ฟากตะวันออก พ . 2 - 3 ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ข 1 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนเลียบคลองส่งน้ําชลประทาน ฟากตะวันออก 4 . ที่ดินประเภท ก . - 1 ถึง ก . - 21 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียว ให้เป็นที่ดินประเภทชนบท และเกษตรกรรม มีรายการดังต่อไปนี้ ก . - 1 ด้านเหนือ จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านเหนือ ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างอําเภอท่ายางกับอําเภอเมืองเพชรบุรี ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับริมฝั่ง คลองระบายน้ํา D 9 ฝั่งเหนือ ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับริมฝั่ง คลองระบายน้ํา D 9 ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลหนองจอกกับตําบลมาบปลาเค้า ก . - 2 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับริมฝั่ง คลองระบายน้ํา D 9 ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงชนบท พบ . 7002 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 250 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนไม่ปรากฏชื่อ เส้นตรงที่ลากต่อจากเส้นขนานระยะ 250 เมตร กับศูนย์กลางถนนไม่ปรากฏชื่อ ไปทาง ทิศตะวันตก เป็นระยะ 155 เมตร จนบรรจบกับเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจาก ถนนสายหนองจอก - ชายนา บรรจบกับเขตทางรถไฟสายใต้ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ เป็นระยะ 250 เมตร และเส้นขนานระยะ 250 เมตร กับศูนย์กลางถนนสายหนองจอก - ชายนา

 10 ด้านตะวันตก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลหนองจอกกับตําบลในดง และเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลหนองจอก กับตําบลมาบปลาเค้า ก . - 3 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับริมฝั่ง คลองระบายน้ํา D 9 ฝั่งใต้ และทุ่งเลี้ยงสัตว์สาธารณประโยชน์ ด้านตะวันออก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก และ ทางหลวงชนบท พบ . 4016 ฟากเหนือ ด้านใต้ จดถนนสาย ก 1 ฟากตะวันออกและฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงชนบท พบ . 7002 ฟากตะวันออก ก . - 4 ด้านเหนือ จดแนวเขตป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และวันที่ 17 ตุลาคม 2543 และแนวเขตผังเมืองรวมด้านเหนือ ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างอําเภอท่ายางกับอําเภอเมืองเพชรบุรี ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 50 เมตร กับริมชายฝั่ง ทะเลอ่าวไทย ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับศูนย์กลาง ถนนไม่ปรากฏชื่อ และทางหลวงชนบท พบ . 4016 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดคลองส่งน้ําสายใหญ่ 2 ฝั่งใต้ และเส้นขนาน ระยะ 200 เมตร กับริมฝั่งคลองระบายน้ํา D 9 ฝั่งใต้ ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ศน . – 3 ที่กําหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ที่ดินบริเวณ ล . - 5 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน และที่ดินบริเวณ ส . - 6 ที่กําหนดไว้เป็นสีน้ําเงิน ก . - 5 ด้านเหนือ จดคลองส่งน้ําสายใหญ่ 2 ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดคลองส่งน้ํา 1 ขวา - สายใหญ่ 2 ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลหนองจอกกับตําบลในดง ก . - 6 ด้านเหนือ จดคลองส่งน้ําสายใหญ่ 2 ฝั่งใต้ และ คลองส่งน้ําชลประทาน ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย จ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวง หมายเลข 4 - บ้านท่า ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดคลองส่งน้ํา 1 ขวา - 1 ขวา - สายใหญ่ 2 ฝั่งตะวันออกและฝั่งเหนือ เขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันออก โรงเรียนบ้านหนองเกตุ โรงเรียนหนอกจอกวิทยา และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตําบลหนองจอก ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ล . - 6 และที่ดินบริเวณ ล . - 7 ที่กําหนดไว้ เป็นสีเขียวอ่อน และที่ดินบริเวณ ศน . - 4 ที่กําหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน

 11 ก . - 7 ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลางถนนไม่ปรากฏชื่อ ด้านตะวันตก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลหนองจอกกับตําบลในดง ก . - 8 ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตกและฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวง หมายเลข 4 – บ้านท่า ฟากเหนือ และวัดหนองศาลา ด้านตะวันตก จดเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันออก ก . - 9 ด้านเหนือ จดเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างอําเภอชะอํากับอําเภอท่ายาง และสํานักงานนิคมสหกรณ์ชะอํา ด้านตะวันออก จดแนวเขตทางรถไฟสายใต้ เส้นตั้งฉาก กับเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งทางรถไฟสายใต้ บรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวงหมายเลข 4 - บ้านท่า และเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลางทางรถไฟสายใต้ ด้านตะวันตก จดคลองส่งน้ําสายใหญ่ 1 ฝั่งตะวันออก และฝั่งเหนือ ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ล . - 9 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน ก . - 10 ด้านเหนือ จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างอําเภอชะอํากับอําเภอท่ายาง ทางหลวงชนบท พบ . 4034 ฟากใต้ และวัดคลองสายหนึ่ง ด้านตะวันออก จดทางหลวงชนบท พบ . 4034 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวง หมายเลข 4 - บ้านท่า ฟากเหนือ และเส้นขนานระยะ 10 0 เมตร กับริมฝั่งคลองระบายน้ํา D 1 ฝั่งตะวันออก และฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันออก ก . - 11 ด้านเหนือ จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างอําเภอชะอํากับอําเภอท่ายาง ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ ก . - 12 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 10 0 เมตร กับริมฝั่งคลอง ระบายน้ํา D 1 ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 10 0 เมตร กับริมฝั่งคลอง ระบายน้ํา D 1 ฝั่งตะวันตก และถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก

 12 ด้านใต้ จดถนนเลียบคลองส่งน้ําชลประทาน ฟากเหนือ และทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวงหมายเลข 4 - บ้านท่า ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันออก และสถานีทดลองการใช้น้ําชลประทานที่ 6 ( เพชรบุรี ) ก . - 13 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวง หมายเลข 4 - บ้านท่า ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงชนบท พบ . 7020 ฟากตะวันตก และเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับศูนย์กลางทางรถไฟสายใต้ ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 10 0 เมตร กับริมฝั่ง คลองระบายน้ํา D 1 ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ 10 0 เมตร กับริมฝั่ง คลองระบายน้ํา D 1 ฝั่งตะวันออก เส้นตั้งฉากกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจาก ถนนไม่ปรากฏชื่อ บรรจบกับคลองส่งน้ํา D 1 ไปทางทิศเหนือตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ เป็นระยะ 350 เมตร เส้นขนานระยะ 400 เมตร กับศูนย์กลางถนนไม่ปรากฏชื่อ เส้นตั้งฉากกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก และฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อ บรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทาง หลวงหมายเลข 4 – บ้านท่า ไปทางทิศใต้ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ เป็นระยะ 700 เมตร เส้นขนานระยะ 400 เมตร กับศูนย์กลางถนนไม่ปรากฏชื่อ และเส้นขนานระยะ 100 เมตร กับริมฝั่งคลองระบายน้ํา D 1 ฝั่งตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ศษ . – 8 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ก . - 14 ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ และวัดหนองเผาถ่าน ด้านตะวันออก จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนสาย ค 3 ฟากเหนือ และถนนเลียบคลอง ส่งน้ําชลประทาน ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างอําเภอชะอํากับอําเภอท่ายาง ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ศษ . - 9 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ก . - 15 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวง หมายเลข 4 - บ้านท่า ฟากใต้ และคลองส่งน้ํา 2 ขวา – สายใหญ่ 1 ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก และคลองสาธารณะ ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือและ ฟากตะวันออก ด้านตะวันตก จดโรงเรียนบ้านร่องระกํา และทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ล . - 11 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน และที่ดินบริเวณ ศน . - 13 ที่กําหนดไว้เป็นสีเทา

 13 ก . - 16 ด้านเหนือ จดคลองส่งน้ํา 1 ขวา – สายใหญ่ 1 ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดคลองส่งน้ํา 1 ขวา – สายใหญ่ 1 ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 1027 ฟากเหนือ และโครงการตามพระราชประสงค์ดอนขุนห้วย ด้านตะวันตก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างอําเภอชะอํากับอําเภอท่ายาง ก . - 17 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 10 0 เมตร กับริมฝั่ง คลองระบายน้ํา D 1 ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 1045 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก ก . - 18 ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้และฟากตะวันออก และคลองส่งน้ํา 2 ขวา – สายใหญ่ 1 ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก เขาเตาจีน และสํานักสงฆ์ถ้ําเขาตาจีน ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 1045 ฟากเหนือ และถนนสาย ง 5 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ค 4 ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ศน . - 1 5 ที่กําหนดไว้เป็นสีเทา ก . - 19 ด้านเหนือ จดโครงการตามพระราชประสงค์ดอนขุนห้วย และทางหลวงชนบท พบ . 1027 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดคลองส่งน้ํา 1 ขวา – สายใหญ่ 1 ฝั่งตะวันตก ด้านใต้ จดคลองสาธารณะ ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดแนวเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าชะอําและ ป่าบ้านโรง ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ส . - 20 ที่กําหนดไว้เป็นสีน้ําเงิน ก . - 20 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท พบ . 1045 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดเขตทางรถไฟสายใต้ ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลนายางกับตําบลชะอํา และแนวเขตวนอุทยานเขานางพันธุรัต ด้านตะวันตก จดทางหลวงชนบท พบ . 1045 ฟากตะวันออก ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ศน . - 16 ที่กําหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ก . - 21 ด้านเหนือ จดคลองสาธารณะ ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดคลองส่งน้ํา 1 ขวา – สายใหญ่ 1 ฝั่งตะวันตก และแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลเขาใหญ่กับตําบลชะอํา ด้านตะวันตก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก และ แนวเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าชะอําและป่าบ้านโรง

 14 ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ศษ . - 14 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ที่ดินบริเวณ ศน . – 2 2 ที่กําหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน และที่ดินบริเวณ ส . - 25 ที่กําหนดไว้เป็นสีน้ําเงิน 5 . ที่ดินประเภท อก . - 1 และ อก . - 2 ที่กําหนดไว้เป็นสีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสีเขียว ให้เป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม มีรายการดังต่อไปนี้ อก . - 1 โครงการตามพระราชประสงค์ดอนขุนห้วย อก . - 2 ด้านเหนือ จดแนวเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าชะอําและ ป่าบ้านโรง ด้านตะวันออก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก และแนวเขต ผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลเขาใหญ่กับตําบลชะอํา ด้านใต้ จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านใต้ ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขต การปกครองระหว่างตําบลเขาใหญ่กับตําบลสามพระยา ด้านตะวันตก จดวัดป่าเขาหนอกวัว และแนวเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าชะอําและป่าบ้านโรง ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ศน . - 21 ที่กําหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน 6 . ที่ดินประเภท ล . – 1 ถึง ล . – 14 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทที่โล่ง เพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม มีรายการดังต่อไปนี้ ล . - 1 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับริมฝั่ง คลองระบายน้ํา D 9 ฝั่งเหนือ และแนวเขตผังเมืองรวมด้านเหนือ ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่าง อําเภอท่ายางกับอําเภอเมืองเพชรบุรี ด้านตะวันออก จดแนวเขตป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และวันที่ 17 ตุลาคม 2543 ด้านใต้ จดคลองระบายน้ํา D 9 ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลหนองจอกกับตําบลมาบปลาเค้า ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ศษ . - 2 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก และที่ดินบริเวณ ส . - 1 ที่กําหนดไว้เป็นสีน้ําเงิน ล . - 2 ด้านเหนือ จดคลองระบายน้ํา D 9 ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดแนวเขตป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และวันที่ 17 ตุลาคม 2543 ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับริมฝั่ง คลองระบายน้ํา D 9 ฝั่งใต้ และทุ่งเลี้ยงสัตว์สาธารณประโยชน์ ด้านตะวันตก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลหนองจอกกับตําบลมาบปลาเค้า ล . - 3 ที่ดินในบริเวณเส้นขนานระยะ 50 เมตร กับริมชายฝั่งทะเลอ่าวไทย ฝั่งตะวันตก ล . - 4 ทุ่งเลี้ยงสัตว์สาธารณประโยชน์ ล . - 5 ที่ดินในบริเวณเส้นขนานระยะ 30 เมตร กับริมฝั่งคลองส่งน้ําชลประทาน ฝั่งตะวันตก

 15 ล . - 6 ที่ดินในบริเวณเส้นขนานระยะ 70 เมตร กับริมฝั่งคลองระบายน้ํา D 8 ฝั่งเหนือและฝั่งใต้ ล . - 7 ที่ดินในบริเวณเส้นขนานระยะ 70 เมตร กับริมฝั่งคลองระบายน้ํา D 7 ฝั่งตะวันตกและฝั่งตะวันออก ล . - 8 ที่ดินในบริเวณเส้นขนานระยะ 70 เมตร กับริมฝั่งคลองระบายน้ํา D 5 ฝั่งตะวันตกและฝั่งตะวันออก ล . - 9 ที่ดินในบริเวณเส้นขนานระยะ 70 เมตร กับริมฝั่งคลองระบายน้ํา D 3 ฝั่งตะวันตกและฝั่งตะวันออก ล . - 10 ที่ดินในบริเวณเส้นขนานระยะ 10 0 เมตร กับริมฝั่งคลองระบายน้ํา D 1 ฝั่งเหนือและฝั่งใต้ ล . - 11 เขานายาง ล . - 12 เขาตาจีน ล . - 13 ทุ่งเลี้ยงสัตว์เกาะกะพงสาธารณประโยชน์ ล . - 14 เขาตกน้ํา 7 . ที่ดินประเภท อป . - 1 ถึง อป . – 5 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน มีเส้นทแยงสีขาว ให้เป็น ที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ มีรายการดังต่อไปนี้ อป . - 1 ป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และ วันที่ 17 ตุลาคม 2543 ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ส . - 4 และบริเวณ ส . - 5 ที่กําหนดไว้เป็นสีน้ําเงิน อป . - 2 ป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และ วันที่ 17 ตุลาคม 2543 ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ส . - 9 ที่กําหนดไว้เป็นสีน้ําเงิน อป . - 3 ป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และ วันที่ 17 ตุลาคม 2543 อป . - 4 ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าชะอําและป่าบ้านโรง อป . - 5 วนอุทยานเขานางพันธุรัต ทั้งนี้ ยกเว้นที่ดินบริเวณ ศน . - 12 บริเวณ ศน . - 19 และบริเวณ ศน . - 20 ที่กําหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน 8 . ที่ดินประเภท ศษ . - 1 ถึง ศษ . - 14 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ให้เป็นที่ดิน ประเภทสถาบันการศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อดํารงไว้ซึ่งสถาบันการศึกษา มีรายการดังต่อไปนี้ ศษ . - 1 โรงเรียนบ้านบ่อโพง ศษ . - 2 โรงเรียนบ้านหันตะเภา ศษ . - 3 โรงเรียนวัดหนองจอก ( ศรีสรรค์พานิช ) ศษ . - 4 โรงเรียนหนองจอกวิทยา ศษ . - 5 โรงเรียนบ้านหนองเกตุ ศษ . - 6 โรงเรียนบ้านบ่อไร่

 16 ศษ . - 7 โรงเรียนบ้านบางเก่า ศษ . - 8 โรงเรียนบ้านนายาง ศษ . - 9 โรงเรียนบ้านหนองเผาถ่าน ศษ . - 10 โรงเรียนบ้านร่องระกํา ศษ . - 11 วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล 2 ศษ . - 12 โรงเรียนนิคมสร้างตนเองเขื่อนเพชร ศษ . - 13 โรงเรียนชาวไร่ ศษ . - 14 โรงเรียนบ้านหนองยาว 9 . ที่ดินประเภท ลส . ที่กําหนดไว้เป็นสีฟ้า ให้เป็นที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม มีรายการดังต่อไปนี้ ลส . ด้านเหนือ จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านเหนือ ซึ่งเป็น เส้นตรงที่ลากต่อจากเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างอําเภอท่ายางกับอําเภอเมืองเพชรบุรี ฟากตะวันออก ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับริมชายฝั่ง ทะเลอ่าวไทย ฝั่งตะวันออก ด้านใต้ จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็น เส้นตรงที่ลากต่อจากเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลบางเก่ากับตําบลชะอํา ฟากตะวันออก ด้านตะวันตก จดแนวชายฝั่งทะเลอ่าวไทย 10 . ที่ดินประเภท ศน . - 1 ถึง ศน . - 23 ที่กําหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภท สถาบันศาสนา มีรายการดังต่อไปนี้ ศน . - 1 วัดหนองจอก ศน . - 2 วัดหนองจอก ศน . - 3 วัดปึกเตียน ศน . - 4 วัดดอนเตาอิฐ ศน . - 5 วัดคลองสายหนึ่ง ศน . - 6 วัดหนองศาลา ศน . - 7 วัดนายาง ศน . - 8 วัดหนองเผาถ่าน ศน . - 9 วัดโตนดหลวง ศน . - 10 วัดสมุทรคาม ศน . - 11 วัดไตรรัตน์เจริญผล ศน . - 12 วัดไร่มะม่วง ศน . - 13 สํานักสงฆ์ถ้ํานาขวาง ศน . - 14 สํานักสงฆ์ถ้ําเขาตาจีน ศน . - 15 วัดเทพประสิทธิ์ ศน . - 16 วัดป่าวิสุทธิคุณ ศน . - 17 วัดนิคมวชิราราม

 17 ศน . - 18 วัดถ้ําแจง ศน . - 19 สถานธรรมเมี่ยวซ่าน ศน . - 20 สถานธรรมเมี่ยวซ่าน ศน . - 21 วัดหุบกระพง ศน . - 22 สํานักปฏิบัติธรรม ธรรมรังสี ศน . - 23 สํานักปฏิบัติธรรม ธรรมรังสี 11 . ที่ดินประเภท ส . - 1 ถึง ส . – 25 ที่กําหนดไว้เป็นสีน้ําเงิน ให้เป็นที่ดินประเภท สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ มีรายการดังต่อไปนี้ ส . - 1 ที่ทําการองค์การบริหารส่วนตําบลหนองจอก ส . - 2 ที่สาธารณประโยชน์ประจําหมู่บ้านตําบลหนองจอก ส . - 3 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตําบลหนองจอก ส . - 4 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลปึกเตียน ส . - 5 ศูนย์ฝึกอบรมสํานักงานพิสูจน์หลักฐานตํารวจ ส . - 6 ที่ทําการองค์การบริหารส่วนตําบลปึกเตียน ส . - 7 สํานักงานนิคมสหกรณ์ชะอํา ส . - 8 สถานีทดลองการใช้น้ําชลประทานที่ 6 ( เพชรบุรี ) ส . - 9 ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพ บุคลากรในนิคมสหกรณ์ ส . - 10 ที่ทําการองค์การบริหารส่วนตําบลหนองศาลา ส . - 1 1 สถานีพัฒนาที่ดินเพชรบุรี ส . - 1 2 เพื่อใช้ในราชการของโรงเรียนโตนดหลวงวิทยา ส . - 1 3 ศูนย์พัฒนานักเรียนและบุคลากร กรมสามัญศึกษา ส . - 1 4 ค่ายเพชรโยธิน กองบัญชาการกองอาสารักษาดินแดน กระทรวงมหาดไทย ส . - 1 5 ค่ายศรียานนท์ ส . - 1 6 ค่ายศรียานนท์ ส . - 1 7 สํานักงานเทศบาลตําบลบางเก่า ( ที่เดิม ) ส . - 1 8 สํานักงานปศุสัตว์อําเภอชะอํา สํานักงานขนส่งจังหวัดเพชรบุรี สาขาอําเภอชะอํา ส . - 1 9 ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุรี สํานักงานทางหลวงชนบทที่ 4 ส . - 20 ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเทศบาลตําบลนายาง ส . - 2 1 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนิคมพัฒนาตนเอง ส . - 2 2 ด่านกักกันสัตว์เพชรบุรี สํานักงานเทศบาลตําบลนายาง ส . - 2 3 สํานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานเพชรบุรี ส . - 2 4 หมวดทางหลวงชะอํา ส . - 2 5 โครงการกําจัดขยะมูลฝอย เทศบาลเมืองชะอํา

รายการประกอบแผนผังแสดงที่โล่งท้ายประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนนายาง - หนองจอก จังหวัดเพชรบุรี พ . ศ . 2566 การใช้ประโยชน์ที่โล่งให้เป็นไปตามแผนผังแสดงที่โล่ง ตามที่กําหนดไว้ในข้อ 22 คือ 1 . ที่ดินในบริเวณหมายเลข ลร . - 1 ถึงบริเวณหมายเลข ลร . - 7 ให้เป็นที่ดินประเภท ที่โล่งเพื่อการสงวนรักษาสภาพการระบายน้ําตามธรรมชาติ มีรายการดังต่อไปนี้ ลร . - 1 ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับริมฝั่ง คลองระบายน้ํา D 9 ฝั่งเหนือ และแนวเขตผังเมืองรวมด้านเหนือ ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่าง อําเภอท่ายางกับอําเภอเมืองเพชรบุรี ด้านตะวันออก จดแนวเขตป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และวันที่ 17 ตุลาคม 2543 ด้านใต้ จดคลองระบายน้ํา D 9 ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลหนองจอกกับตําบลมาบปลาเค้า ลร . - 2 ด้านเหนือ จดคลองระบายน้ํา D 9 ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดแนวเขตป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และวันที่ 17 ตุลาคม 2543 ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับริมฝั่ง คลองระบายน้ํา D 9 ฝั่งใต้ ด้านตะวันตก จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลหนองจอกกับตําบลมาบปลาเค้า ลร . - 3 ที่ดินในบริเวณระยะขนาน 70 เมตร กับริมฝั่งคลองระบายน้ํา D 8 ฝั่งเหนือและฝั่งใต้ ลร . - 4 ที่ดินในบริเวณระยะขนาน 70 เมตร กับริมฝั่งคลองระบายน้ํา D 7 ฝั่งตะวันตกและฝั่งตะวันออก ลร . - 5 ที่ดินในบริเวณระยะขนาน 70 เมตร กับริมฝั่งคลองระบายน้ํา D 5 ฝั่งตะวันตกและฝั่งตะวันออก ลร . - 6 ที่ดินในบริเวณระยะขนาน 70 เมตร กับริมฝั่งคลองระบายน้ํา D 3 ฝั่งตะวันตกและฝั่งตะวันออก ลร . - 7 ที่ดินในบริเวณระยะขนาน 100 เมตร กับริมฝั่งคลองระบายน้ํา D 1 ฝั่งเหนือและฝั่งใต้ 2 . ที่ดินบริเวณ ลส . ให้เป็นที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม มีรายการ ดังต่อไปนี้ ลส . ด้านเหนือ จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านเหนือ ซึ่งเป็น เส้นตรงที่ลากต่อจากเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างอําเภอท่ายางกับอําเภอเมืองเพชรบุรี ฟากตะวันออก ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ 500 เมตร กับริมชายฝั่ง ทะเลอ่าวไทย ฝั่งตะวันออก

2 ด้านใต้ จดแนวเขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็น เส้นตรงที่ลากต่อจากเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตําบลบางเก่ากับตําบลชะอํา ฟากตะวันออก ด้านตะวันตก จดแนวชายฝั่งทะเลอ่าวไทย

รายการประกอบแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่งท้ายประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนนายาง - หนองจอก จังหวัดเพชรบุรี พ . ศ . 2566 ถนนตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง แบ่งเป็น 5 ขนาด คือ 1 . ถนนแบบ ก ขนาดเขตทาง 12 . 00 เมตร จํานวน 5 สาย ดังนี้ ถนนสาย ก 1 เป็นถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท พบ . 7002 ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท พบ . 7002 บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงชนบท พบ . 7002 ระยะประมาณ 350 เมตร ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 690 เมตร ตัดกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 2 ) ที่บริเวณห่างจาก ถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 2 ) ตัดกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 5 ) ไปทางทิศเหนือ ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 2 ) ระยะประมาณ 500 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 620 เมตร บรรจบกับถนนสาย ก 3 ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ก 3 ตัดกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 5 ) ไปทางทิศเหนือตามแนวถนนสาย ก 3 ระยะประมาณ 500 เมตร ไปทางทิศตะวันออก เฉียงใต้และทิศใต้ ระยะประมาณ 1 , 070 เมตร ตัดกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 5 ) ที่บริเวณห่างจาก ถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 5 ) บรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 4016 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 5 ) ระยะประมาณ 520 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 230 เมตร จนบรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 4016 ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท พบ . 4016 บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 5 ) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงชนบท พบ . 4016 ระยะประมาณ 580 เมตร ถนนสาย ก 2 เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกําหนดให้ขยายเขตทางและถนนโครงการ กําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากถนนสาย ก 1 ไปทางทิศใต้ตามแนวถนนเดิม ระยะประมาณ 350 เมตร ไปทางทิศใต้ ระยะประมาณ 150 เมตร ตัดกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 5 ) ที่บริเวณห่างจาก ถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 5 ) บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนว ถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 5 ) ระยะประมาณ 850 เมตร ไปทางทิศใต้ ระยะประมาณ 450 เมตร จนบรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 4016 ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท พบ . 4016 บรรจบกับ ถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 5 ) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงชนบท พบ . 4016 ระยะประมาณ 1 , 960 เมตร ถนนสาย ก 3 เป็นถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากถนนสาย ก 1 ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ก 1 บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 2 ) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวถนนสาย ก 1 ระยะประมาณ 620 เมตร ไปทางทิศใต้ ระยะประมาณ 500 เมตร ตัดกับถนนสาย ก 5 ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ก 5 บรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 4061 ไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 1 , 160 เมตร ไปทางทิศใต้ ระยะประมาณ 200 เมตร จนบรรจบ กับทางหลวงชนบท พบ . 4016 ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท พบ . 4016 บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ก 5 ) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงชนบท พบ . 4016 ระยะประมาณ 1 , 300 เมตร ถนนสาย ก 4 เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกําหนดให้ขยายเขตทาง เริ่มต้นจาก ถนนสายหนองจอก - ชายนา ไปทางทิศใต้ตามแนวถนนเดิมจนบรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 4016

2 ถนนสาย ก 5 เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกําหนดให้ขยายเขตทาง เริ่มต้นจาก ถนนไม่ปรากฏชื่อไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนเดิมจนบรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 4016 2 . ถนนแบบ ข ขนาดเขตทาง 16 . 00 เมตร จํานวน 2 สาย ดังนี้ ถนนสาย ข 1 เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกําหนดให้ขยายเขตทาง เริ่มต้นจาก ถนนเลียบคลองส่งน้ําชลประทานไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนเดิมจนบรรจบกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ถนนสาย ข 2 เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกําหนดให้ขยายเขตทาง เริ่มต้นจาก ถนนเลียบคลองส่งน้ําชลประทานไปทางทิศตะวันออกและทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนเดิม จนบรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) 3 . ถนนแบบ ค ขนาดเขตทาง 20 . 00 เมตร จํานวน 6 สาย ดังนี้ ถนนสาย ค 1 เป็นถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากถนนสาย ง 4 ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวงหมายเลข 4 – บ้านท่า บรรจบกับ ถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย จ ) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย จ ) ระยะประมาณ 1,540 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 460 เมตร ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนสาย ค 2 ระยะประมาณ 870 เมตร ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ง 2 ) บรรจบกับถนนสาย ค 2 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 6 9 0 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจนบรรจบกับถนนสาย ง 3 ระยะประมาณ 820 เมตร ที่บริเวณห่างจาก ถนนไม่ปรากฏชื่อ บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ง 3) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 380 เมตร ถนนสาย ค 2 เป็นถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากถนนสาย จ ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อบรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย จ ) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย จ ) ระยะประมาณ 310 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 340 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตัดกับถนนสาย ค 1 ระยะประมาณ 630 เมตร ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อบรรจบกับถนนสาย ค 1 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือระยะประมาณ 480 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จนบรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย ง 2) ระยะประมาณ 690 เมตร ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ง 2 บรรจบกับถนนสาย ง 3 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ระยะประมาณ 810 เมตร ถนนสาย ค 3 เป็นถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ที่บริเวณห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) บรรจบกับ ทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวงหมายเลข 4 - บ้านท่า ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนว ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ระยะประมาณ 1 , 200 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 1 , 030 เมตร จนบรรจบกับถนนเลียบคลองส่งน้ําชลประทาน ที่บริเวณห่างจาก ถนนเลียบคลองส่งน้ําชลประทานบรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 1027 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนเลียบคลองส่งน้ําชลประทาน ระยะประมาณ 960 เมตร

3 ถนนสาย ค 4 เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกําหนดให้ขยายเขตทาง และถนนโครงการ กําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนเดิมระยะประมาณ 580 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 1 , 280 เมตร ตัดกับถนนสาย ง 5 ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ง 5 บรรจบกับทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนสาย ง 5 ระยะประมาณ 650 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 670 เมตร ที่บริเวณห่างจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนเดิม ระยะประมาณ 660 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนเดิมจนบรรจบกับ ทางหลวงชนบท พบ . 1045 ถนนสาย ค 5 เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกําหนดให้ขยายเขตทาง เริ่มต้นจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวถนนเดิมจนบรรจบกับ ถนนไม่ปรากฏชื่อ ถนนสาย ค 6 เป็นถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท พบ . 1045 ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท พบ . 1045 บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 2 1 0 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 530 เมตร ตัดกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อบรรจบกับ ทางหลวงชนบท พบ . 1045 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 640 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 400 เมตร จนบรรจบกับถนนสาย ง 5 ที่บริเวณ ห่างจากถนนสาย ง 5 บรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 1045 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวถนนสาย ง 5 ระยะประมาณ 8 8 0 เมตร 4 . ถนนแบบ ง ขนาดเขตทาง 30 . 00 เมตร จํานวน 5 สาย ดังนี้ ถนนแบบ ง 1 เป็นถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท สส . 2021 ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท พบ . 4016 บรรจบกับทางหลวงชนบท สส . 2021 ไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามแนวทางหลวงชนบท สส . 2021 ระยะประมาณ 2,340 เมตร ไปทางทิศตะวันตก เฉียงเหนือบรรจบกับถนนสาย ง 2 ระยะประมาณ 1,000 เมตร ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อบรรจบ กับถนนสาย ง 2 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือระยะประมาณ 850 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ จนบรรจบกับถนนสาย จ ระยะประมาณ 840 เมตร ที่บริเวณห่างจากถนนสาย จ บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ไปทางทิศใต้และทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 430 เมตร ถนนแบบ ง 2 เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกําหนดให้ขยายเขตทาง และถนนโครงการ กําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวงหมายเลข 4 - บ้านท่า ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย จ ) บรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวง หมายเลข 4 – บ้านท่า ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวง หมายเลข 4 – บ้านท่า ระยะประมาณ 980 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศเหนือ ตัดกับถนนสาย ง 4 ระยะประมาณ 2,110 เมตร ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย จ ) บรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวงหมายเลข 4 - บ้านท่า ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย จ ) ระยะประมาณ 1,540 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 1,100 เมตร .

4 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือบรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 450 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 640 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนสาย ง 3 ระยะประมาณ 570 เมตร ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท สส . 2021 บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศใต้ ตามแนวทางหลวงชนบท สส . 2021 ระยะประมาณ 630 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 1,050 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจนบรรจบกับ ถนนสาย ง 1 ระยะประมาณ 1,290 เมตร ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท สส . 2021 บรรจบกับ ถนนไม่ปรากฏชื่อไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวทางหลวงชนบท สส . 2021 ระยะประมาณ 570 เมตร ถนนแบบ ง 3 เป็นถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท สส . 2021 ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท สส . 2021 บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อไปทางทิศตะวันตก เฉียงใต้และทิศใต้ ตามแนวทางหลวงชนบท สส . 2021 ระยะประมาณ 630 เมตร ไปทางทิศตะวันตก เฉียงเหนือ ตัดกับถนนสาย ง 2 ระยะประมาณ 1,050 เมตร ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อ บรรจบกับถนนสาย ง 2 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 430 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ จนบรรจบกับถนนสาย จ ระยะประมาณ 1,270 เมตร ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อ บรรจบกับ ถนนสาย จ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ 410 เมตร ถนนแบบ ง 4 เป็นถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท สส . 2021 ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท สส . 2021 บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงชนบท สส . 2021 ระยะประมาณ 530 เมตร ไปทางทิศตะวันตก เฉียงเหนือ ตัดกับถนนสาย ง 2 ระยะประมาณ 2,090 เมตร ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวงหมายเลข 4 - บ้านท่า บรรจบกับถนนสาย ง 2 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศเหนือ ระยะประมาณ 2,110 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจนบรรจบกับ ถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย จ ) ระยะประมาณ 1,100 เมตร ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวงหมายเลข 4 - บ้านท่า บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย จ ) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ( ถนนสาย จ ) ระยะประมาณ 1,540 เมตร ถนนแบบ ง 5 เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกําหนดให้ขยายเขตทาง และถนนโครงการกําหนดให้ ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนเดิม ระยะประมาณ 190 เมตร ไปทางทิศตะวันออกตัดกับถนนสาย ค 4 ระยะประมาณ 450 เมตร ที่บริเวณ ห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 660 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือระยะประมาณ 670 เมตร ไปทางทิศตะวันออก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ บรรจบกับถนนสาย ค 6 ระยะประมาณ 950 เมตร ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท พบ . 1045 บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ไปทางทิศตะวันตก เฉียงใต้ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ 640 เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 400 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันออกเฉียงใต้จนบรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 1045 ระยะประมาณ 880 เมตร

5 5 . ถนนแบบ จ ขนาดเขตทาง 40 . 00 เมตร เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกําหนดให้ ขยายเขตทาง และถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท พบ . 1046 แยกทางหลวงหมายเลข 4 - บ้านท่า ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อจนสุดถนน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ บรรจบกับถนนสาย ค 2 ระยะประมาณ 340 เมตร ที่บริเวณห่างจาก ถนนสาย ค 1 บรรจบกับถนนสาย ค 2 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 63 0 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือบรรจบกับถนนสาย ง 3 ระยะประมาณ 870 เมตร ที่บริเวณห่างจาก ถนนไม่ปรากฏชื่อ บรรจบกับถนนสาย ง 3 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ . ระยะประมาณ 940 เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ บรรจบกับถนนสาย ง 1 ระยะประมาณ 1,750 เมตร ที่บริเวณห่างจาก ถนนสาย ง 2 บรรจบกับถนนสาย ง 1 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ 840 เมตร ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงเหนือ จนบรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 4016 ระยะประมาณ 2,080 เมตร ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท สส . 2021 บรรจบกับทางหลวงชนบท พบ . 4016 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงชนบท พบ . 4016 ระยะประมาณ 2,300 เมตร

รายการประกอบแผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภคท้ายประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนนายาง - หนองจอก จังหวัดเพชรบุรี พ . ศ . 2566 โครงการกิจการสาธารณูปโภคตามแผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค มีรายการ ดังต่อไปนี้ ที่ดินเพื่อโครงการกิจการสาธารณูปโภค แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ( ก ) ที่ดินประเภท สฆ . จํานวน 1 บริเวณ ดังนี้ สฆ . ด้านเหนือ จดถนนสาย ง 5 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดถนนสาย ค 6 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย ค 4 ฟากตะวันออก ( ข ) ที่ดินประเภท สบ . จํานวน 2 บริเวณ ดังนี้ สบ . - 1 ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท พบ . 4016 ฟากใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงชนบท สส . 2021 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดคลองระบายน้ํา D 8 ฝั่งเหนือ ด้านตะวันตก จดถนนสาย จ ฟากตะวันออก สบ . - 2 ด้านเหนือ จดคลองระบายน้ํา D 1 ฝั่งใต้ ด้านตะวันออก จดทางหลวงชนบท สส . 2021 ฟากตะวันตก ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท พบ . 1045 ฟากเหนือ ด้านตะวันตก จดเขตทางรถไฟ ฟากตะวันออก